You are on page 1of 15

บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 134

บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)


6.1 การตั้งสมมติฐานทางสถิติ
ในการทดสอบสมมติฐานทางสถิติเราจะต้องตั้งสมมุติฐาน 2 อย่างคู่กันเสมอคือสมมุติฐานว่าง
(null hypothesis) ซึ่ ง เขี ย นแทนด้ ว ย H0และสมมุ ติ ฐ านทางเลื อ ก (alternative hypothesis)
ซึ่งเขียนแทนด้วย H1
เช่น ในการทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับระดับสติปัญญาของนักศึกษาของมหาวิทยาลั ยแห่ง
หนึ่งซึ่งทางมหาวิทยาลัยกล่าวว่า ระดับสติปัญญาเฉลี่ยเท่ากับ 130 แต่ผู้ทดสอบไม่แน่ใจในคากล่าว
อ้างนั้น
ถ้าให้  เป็นระดับสติปัญญาเฉลี่ยของนักศึกษาทั้งหมดในมหาวิทยาลัยแห่งนั้น
รูปแบบสมมติฐานคือ H0 :   130
H1 :   130

6.2 การทดสอบสมมติฐานทางเดียวและการทดสอบสมมติฐานสองทาง
การทดสอบสมมุติฐานทางสถิตินั้น การตั้งสมมุติฐานทางเลือกจะเป็นตัวกาหนดว่าการ
ทดสอบใด เป็นการทดสอบทางเดียวหรือสองทางโดยมีรายละเอียดดังนี้
6.2.1 การทดสอบสมมติฐานทางเดียว (one – sided test)
เกิดขึ้นเมื่อต้องการทดสอบสมมุติฐานดังนี้
H0 :0 หรือ H0 : 0
H1 :0 H1 : 0

บริเวณวิกฤตนั้นจะถูกกาหนดขึ้นจากH1เช่นบริเวณวิกฤตสาหรับ H1 : 0 จะอยู่ที่


ส่วนปลายทางด้านซ้ายทั้งหมดของการแจกแจง(รูป (ก))ทานองเดียวกัน บริเวณวิกฤตส าหรับ H1 :
0 จะอยู่ที่ส่วนปลายทางด้านขวาทั้งหมดของการแจกแจง (รูป (ข))

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 135

เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0 ของการทดสอบแบบทางเดียว

(ก) H1 : 0 (ข)H1 : 0

 α

บริเวณปฏิเสธ Ho บริเวณปฏิเสธ Ho

รูปที่ 6.1 บริเวณวิกฤตของการทดสอบ H1 : 0 และ H1 : 0

6.2.2 การทดสอบสองทาง(two – sided test)


การตั้งสมมุติฐานสาหรับการทดสอบสองทางคือ
H0: 0
H1: 0

บริเวณวิกฤตสาหรับ H1 : 0 อยู่ที่ส่วนปลายทั้งสองด้านของการแจกแจง เพราะ


เมื่อ 0 หมายถึง 0 หรือ 0

เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0ของการทดสอบแบบสองทาง

 
2 2

เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0 เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0

เขตยอมรับสมมติฐาน H0

รูปที่ 6.2 บริเวณวิกฤตของการทดสอบ H1:0

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 136

6.3 ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
1) การกาหนดสมมติฐาน
การตั้งสมมุติฐานหลัก (H0 ) และสมมติฐานทางเลือก (H1 ) โดยดูว่าเป็นการทดสอบทาง
เดียวหรือสองด้าน ถ้าด้านเดียวสมมติฐานทางเลือก (H1 ) จะต้องมีเครื่องหมาย < หรือ > แต่ถ้า
เป็นการทดสอบสองด้าน สมมติฐานทางเลือก (H1 ) จะต้องมีเครื่องหมาย 

2) การกาหนดสถิติทดสอบ
3) การคานวณค่าสถิติทดสอบ
4) กาหนดระดับนัยสาคัญ ()
5) สร้างเขตปฏิเสธสมมุติฐาน H0 หรือบริเวณวิกฤต
6) สรุปผลการทดสอบ
โดยเปรี ย บเทีย บค่าสถิติที่คานวณได้ใ นข้ อที่ 3) กับบริเวณวิกฤตในข้อที่ 5) ถ้าค่าสถิ ติ ที่
คานวณได้ตกอยู่ในบริเวณวิกฤตจะปฏิเสธ H0 แต่ถ้าค่าสถิติที่คานวณได้ไม่ตกอยู่ในบริเวณวิกฤตจะ
ยอมรับ H0

6.4 การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรหนึ่งกลุม่ (ประชากรเดียว) (  )


6.4.1 การตั้งสมมติฐาน
การทดสอบสมมุติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรหนึ่งกลุ่ม สามารถกาหนดรูปแบบการ
ตั้งสมมติฐานดังนี้
H0 :    0 หรือ H0 :    0 หรือ H0 :    0
H1 :    0 H1 :    0 H1 :    0
6.4.2 กาหนดสถิติที่ใช้ทดสอบ
1) กรณีที่ทราบความแปรปรวนของประชากร (  2 )
X  0
สถิติทดสอบที่ใช้คือ Z
/ n

2) กรณีที่ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร(  2 ) และขนาดตัวอย่างใหญ่
( n  30 )
X  0
สถิติทดสอบที่ใช้คือ Z
S/ n

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 137

3) กรณีที่ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากร (  2 ) และขนาดตัวอย่างเล็ก
( n  30 )
X  0
สถิติทดสอบที่ใช้คือ t โดยมีองศาอิสระเท่ากับ n  1
S/ n

6.4.3 การสร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
ตาราง Z
สมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
H1 :   0 ปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal  Z 1  

H1 :   0 ปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal   Z1  


H1 :   0 ปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal  Z  หรือ Z cal   Z 
1 1
2 2

ตาราง t
สมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
H1 :   0 ปฏิเสธ H0 ถ้า t cal  t 1   ; n1

H1 :   0 ปฏิเสธ H0 ถ้า t cal   t 1   ; n1


H1 :   0 ปฏิเสธ H0 ถ้า t cal  t  หรือ t cal   t 
1 ; n1 1 ; n1
2 2

ตัวอย่างที่ 6.1 สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งหนึ่ง กล่าวว่า จานวนแบคทีเรียโดยเฉลี่ยใน


น้าปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย จากทะเลสาบมากกว่าระดับมาตรฐานคือ 200 ซึ่งเป็นระดับที่ปลอดภัย
นักวิจัยจึงทาการสารวจและเก็บข้อมูลตัวอย่างน้ามาจานวน 10 ตัวอย่าง ตัวอย่างละ 1 ลูกบาศก์
หน่วยและนับจานวนแบคทีเรียที่ได้ ดังนี้ 205 190 215 198 195 207 210 193 196 212
ซึ่งนามาคานวณหาค่าเฉลี่ยจานวนแบคทีเรียได้เท่ากับ 202.10 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 8.77
จงทดสอบสมมติฐานที่สานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมได้กล่าวไว้เป็นจริงหรือไม่ที่ระดับ
นัยสาคัญ 0.05

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 138

วิธีทา กาหนดให้  แทนจานวนแบคทีเรียเฉลี่ยในน้าปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย

ขั้นที่ 1 ตั้งสมมติฐาน
จากโจทย์ต้องการทดสอบสมมติฐานว่า จานวนแบคทีเรียโดยเฉลี่ยในน้าปริมาตร 1 ลูกบาศก์
หน่วย จากทะเลสาบมากกว่าระดับมาตรฐานคือ 200
นั่นคือ  > 200 (จึงใส่ใน H1 ส่วน H0 จะมีเครื่องหมายตรงกันข้าม) ดังนี้

สมมติฐานทางสถิติ
H0 : μ  200 นั้นคือ μ 0 = 200
H1 : μ > 200

ขั้นที่ 2 กาหนดสถิติทดสอบ
ในที่นี้ n = 10 , X = 202.10 , S = 8.77
เนื่องจาก ไม่ทราบค่าแปรปรวนประชากร (  2 ) และขนาดตัวอย่างเล็ก ( n  30 )

X  0
สถิติทดสอบ คือ t 
S/ n

ขั้นที่ 3 คานวณค่าสถิติทดสอบ

202.10  200 2.10 2.10


t = = = = 0.76
8.77 8.77 3.16 2.78
10

ขั้นที่ 4 กาหนดระดับนัยสาคัญ  = 0.05

ขั้นที่ 5 สร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
t 1;n1
จะปฏิเสธ H0 ถ้า t cal  t 1;n1
t 1 0.05 ; 101
t 0.95; 9  1.833
นั่นคือ จะปฏิเสธ H0 ถ้า t cal  1.833

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 139

เนื่องจาก 0.76 น้อยกว่า 1.833 ดังนั้น จึงยอมรับ H0

ขั้นที่ 6 สรุปผลการทดสอบ
ยอมรับ H0 นั่นคือ จานวนแบคทีเรียเฉลี่ยในน้าปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย น้อยกว่าหรื อ
เท่ากับ 200 ซึ่งสานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมได้กล่าวไว้ไม่เป็นจริง ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

ตัวอย่างที่ 6.2 ในการศึกษาผลของยาลดน้ามูกยี่ห้อหนึ่งว่าช่วยเพิ่มจานวนชั่วโมงในการนอนของ


ผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัดใหญ่หรือไม่ ผู้วิจัยได้ทาการสุ่มตัวอย่างผู้ป่วยที่เป็นไข้หวัดใหญ่มา 50 คน โดยให้ยา
ลดน้ามูกกับผู้ป่วย แล้วนับจานวนชั่วโมงในการนอนหลับของผู้ป่วยแต่ละคนทาการบันทึก ข้อมูล แล้ว
น าข้อมูล ไปคานวณค่าเฉลี่ ย พบว่า จานวนชั่ว โมงในการนอนหลับของผู้ ป่วยเท่ากับ 4.62 ชั่ว โมง
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.64 ชั่วโมง
จงทดสอบสมมติฐานว่ายาลดน้ามูลสามารถเพิ่มจานวนชั่วโมงเฉลี่ยในการนอนหลับของผู้ป่วย
โรคไข้หวัดใหญ่ได้มากกว่า 4 ชั่วโมงที่ระดับนัยสาคัญ 0.01

วิธีทา กาหนดให้  แทน จานวนชั่วโมงเฉลี่ยในการนอนหลับของผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่

ขั้นที่ 1 ตั้งสมมติฐาน
จากโจทย์ต้องการทดสอบสมมติฐานว่า จานวนชั่วโมงเฉลี่ยในการนอนหลับของผู้ป่วยโรค
ไข้หวัดใหญ่ได้มากกว่า 4 ชั่วโมง
นั่นคือ  > 4 (จึงใส่ใน H1 ส่วน H0 จะมีเครื่องหมายตรงกันข้าม) ดังนี้
สมมติฐานทางสถิติ
H0 : μ  4 นั้นคือ μ 0 = 4
H1 : μ > 4

ขั้นที่ 2 กาหนดสถิติทดสอบ
ในที่นี้ n = 50 , X = 4.62 , S = 0.64
เนื่องจาก ไม่ทราบค่าแปรปรวนประชากร (  2 ) และขนาดตัวอย่างใหญ่ ( n  30 )

X  0
สถิติทดสอบ คือ Z = S
n

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 140

ขั้นที่ 3 คานวณค่าสถิติทดสอบ

4.62  4 0.62 0.62


Z = = = = 6.89
0.64 0.64 7.07 0.09
50

ขั้นที่ 4 กาหนดระดับนัยสาคัญ  = 0.01

ขั้นที่ 5 สร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
Z1
จะปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal  Z1
Z10.01
Z 0.99  2.326
นั่นคือ จะปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal  2.326

เนื่องจาก 6.89 มากกว่า 2.326 ดังนั้น จึงปฏิเสธ H0

ขั้นที่ 6 สรุปผลการทดสอบ
ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 นั่นคือ จานวนชั่วโมงเฉลี่ยในการนอนหลับของผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่
มากกว่า 4 ชั่วโมง ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01

ตั วอย่า ง 6.3 นั กวิจั ย ท่านหนึ่ งทาการศึกษาระดับน้าตาลในเลื อดของผู้ที่มีภาวะเสี่ ยงต่อ การเป็น


เบาหวาน ณ ศูนย์แห่งหนึ่ง ซึ่งนักวิจัยได้กล่าวว่า การเจาะน้าตาลหลังอดอาหาร Fasting blood
sugar (FBS) ของผู้ที่ไม่มีภาวะเสี่ ยงต่อการเป็นเบาหวาน จะต้องมีค่า เฉลี่ย ระดับน้าตาลในเลื อด
น้อยกว่า 100 มิล ลิ กรั ม /เดซิลิ ตร จากการศึกษาที่ผ่ านมาทาให้ ทราบถึงค่าความแปรปรวนของ
ประชากร มีค่าเท่ากับ 28 มิลลิกรัม2/เดซิลิตร2 นักวิจัยได้ทาการสุ่มตัวอย่างผู้ที่ไม่มีภาวะเสี่ยงต่อ
การเป็นเบาหวานที่เ ข้ามาตรวจคัดกรอง ณ ศูนย์จานวน 64 คน ทาการตรวจระดับน้าตาลในเลือด
พบว่า มีค่าระดับน้าตาลในเลือดเฉลี่ยเท่ากับ 94 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
จงทดสอบสมมติฐานสิ่งที่นักวิจัยได้กล่าวไว้ว่าเป็นจริงหรือไม่ ที่ระดับนัยสาคัญ 0.10

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 141

วิธีทา กาหนดให้  แทน ค่าเฉลี่ยระดับน้าตาลในเลือดของผู้ที่ไม่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวาน

ขั้นที่ 1 ตั้งสมมติฐาน
จากโจทย์ต้องการทดสอบสมมติฐานว่า ผู้ ที่ ไม่มีภาวะเสี่ ยงต่อการเป็นเบาหวาน จะต้องมี
ค่าเฉลี่ยระดับน้าตาลในเลือดน้อยกว่า 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
นั่นคือ  < 100 (จึงใส่ใน H1 ส่วน H0 จะมีเครื่องหมายตรงกันข้าม) ดังนี้
สมมติฐานทางสถิติ
H0 : μ  100 นั้นคือ μ 0 = 100
H1 : μ < 100

ขั้นที่ 2 กาหนดสถิติทดสอบ
ในที่นี้ 2  28 , n = 64 , X = 94
   5.29

X  0
สถิติทดสอบ คือ Z = 
n

ขั้นที่ 3 คานวณค่าสถิติทดสอบ
94  100 6 6
Z = = = =  9.09
5.29 5.29 8 0.66
64

ขั้นที่ 4 กาหนดระดับนัยสาคัญ  = 0.10

ขั้นที่ 5 สร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
Z1
จะปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal   Z1
Z10.10
Z 0.90  1.282
นั่นคือ จะปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal   1.282

เนื่องจาก -9.09 น้อยกว่า -1.282 ดังนั้น จึงปฏิเสธ H0


สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 142

ขั้นที่ 6 สรุปผลการทดสอบ
ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 นั่นคือ ค่าเฉลี่ยระดับน้าตาลในเลือดของผู้ที่ ไม่มีภาวะเสี่ยงต่อการ
เป็นเบาหวาน น้อยกว่า 100 มิลลิกรัม/เดซิลิตร ที่ระดับนัยสาคัญ 0.10

6.5 การทดสอบสมมติฐานของผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ยประชากร 2 กลุ่ม (1   2 )


6.5.1 การตั้งสมมติฐาน
ในการทดสอบสมมุติฐาน ได้สุ่มตัวอย่างขนาด n1 และ n2 ที่เป็นอิสระต่อกันจากประชากรที่มี
การแจกแจงแบบปกติ 2 ชุด ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  1 และ  2 ความแปรปรวน  12 และ  22 ตามลาดับ
ให้ X1 และ X2 เป็นค่าเฉลี่ยของตัวอย่างแต่ละชุด
สามารถกาหนดรูปแบบการตั้งสมมติฐานดังนี้
H 0 : 1   2  d 0 หรือ H0 : 1   2  d 0 หรือ H0 : 1   2  d 0
H 1 : 1   2  d 0 H 1 : 1   2  d 0 H 1 : 1   2  d 0

โดยที่ d0 เป็นค่าคงที่อาจจะมีค่าเป็นบวก หรือ ลบ หรือเป็นศูนย์ ก็ได้

6.5.2 กาหนดสถิติที่ใช้ทดสอบ
1) กรณีที่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม (12 และ 22 )
(X1  X2 )  d0
สถิติทดสอบที่ใช้คือ Z 
12 22

n1 n2

2) กรณีที่ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่มและขนาดตัวอย่าง
ใหญ่ ( n1  30 และ n2  30 )
(X1  X2 )  d0
สถิติทดสอบที่ใช้คือ Z 
S12 S22

n1 n2

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 143

3) กรณีที่ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่มและขนาดตัวอย่าง
เล็ก ( n1  30 และ n2  30 )และความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่มเท่ากัน (  12   22 )
(X1  X2 )  d0
สถิติทดสอบที่ใช้คือ t  โดยมีองศาอิสระ n1  n2  2
1 1
Sp 
n1 n2

(n1  1)S12  (n2  1)S22


โดยที่ Sp 
n1  n2  2

เมื่อ S12 คือ ค่าความแปรปรวนของตัวอย่างกลุ่มทีห่ นึ่ง


S22 คือ ค่าความแปรปรวนของตัวอย่างกลุ่มที่สอง
Sp2 คือ ค่าความแปรปรวนร่วม (pooled variance)

4) กรณีที่ไม่ทราบความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม และขนาดตัวอย่าง


เล็ก ( n1  30 และ n2  30 ) และความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่มไม่เท่ากัน( 12  22 )

(X  X )  d0
สถิติทดสอบที่ใช้คือ t  1 2
โดยมีองศาอิสระ 
S S22
2
 1
n1 n2
2
 S12 S22 
n n 
เมื่อ    1 2
 S1 / n1    S22 / n2 
2 2 2

n1  1 n2  1

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 144

6.5.3 การสร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
ตาราง Z
สมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า Zcal  Z 1  

H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า Zcal   Z 1  


H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า Z cal  Z  หรือ Z cal   Z 
1 1
2 2

ตาราง t (กรณีค่าความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่มมีค่าเท่ากัน)
สมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า t cal  t 1   ; n1  n2 2

H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า tcal   t 1   ; n1  n2 2


H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า t cal  t  หรือ
1 ; n1  n2 2
2
t cal   t 
1 ; n1  n2 2
2

ตาราง t (กรณีค่าความแปรปรวนของประชากรทั้งสองกลุ่มมีค่าไม่เท่ากัน)
สมมติฐาน เขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า tcal  t 1   ; 

H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า t cal   t 1   ; 

H1 : 1  2  d0 ปฏิเสธ H0 ถ้า t cal  t  หรือ


1 ;
2
t cal   t 
1 ;
2

---------------------------------------------------------------------

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 145

แบบฝึกหัดบทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน

การทดสอบสมมติฐานที่เกี่ยวกับค่าเฉลี่ย 1 ประชากร
1. นักวิจัยท่านหนึ่งสังเกตผู้ป่วยที่มารับบริการด้วยอาการที่สงสัยว่าเป็นไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ 2019
โดยได้ทาการตรวจเลือดผู้ป่วยทุกคน ซึ่งจากการสังเกตผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษานักวิจัยคาดการณ์
ว่าผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ 2019 ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ยมากกว่า 30 ปี และจากข้อมูลในอดีตทราบ
ว่าค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร มีค่าเท่ากับ 10.4 ปี นักวิจัยได้ทาการรวบรวมข้อมูลอายุผู้ป่วย
ที่เข้ามารักษา โดยทาการสุ่มผู้ป่วยมาจานวน 64 คน ซึง่ คานวณอายุเฉลี่ยของผู้ป่วยพบว่ามีอายุเฉลี่ย
เท่ากับ 33 ปี
จงทดสอบสิ่งที่นักวิจัยได้คาดการณ์ไว้เป็นจริงหรือไม่ ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01

วิธีทา กาหนดให้ µ เป็น ………..……………………………………………………………………………….………..…


1. สมมติฐานทางสถิติ คือ H0 : ………………………………………………..…………………
H1 : …………………………………………….……………………

2. สถิติทดสอบ คือ ……………………………..…………………….……………………………………………………….


………………………………………………………..………………………………………………………………………………….
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
3. คานวณสถิติทดสอบ
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 146

4. ระดับนัยสาคัญ α = ……………………
5. สร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
6. สรุปผลการทดสอบ
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 147

2. กลุ่ ม อย. ได้ ท าการตรวจสอบปริ ม าณน้ าหนั ก สุ ท ธิ ข องอาหารเสริ ม ช่ ว ยลดไขมั น และคลอ


เลสเตอรอลบรรจุซองยี่ห้อหนึ่ง ซึ่งพิมพ์ข้อความบนฉลากว่า “น้าหนักสุทธิ 25 กรัม” จากการได้รับ
ร้องเรียนจากผู้บริโภคว่าการโฆษณาดังกล่าวไม่เป็นจริง จึงทาการสุ่มตัวอย่างอาหารเสริมดังกล่าวมา
จานวน 10 ซอง บันทึกข้อมูลได้ดังนี้ 24.8 25.0 25.2 25.0 24.5 23.0 25.1 24.6 25.5 24.9
กรัมตามลาดับ นาข้อมูลที่ได้มาคานวณน้าหนักสุทธิเฉลี่ยได้เท่ากับ 24.76 กรัม ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 2.82 กรัม
จงทดสอบสมมติฐานว่า อาหารเสริมยี่ห้อนี้มีน้าหนักสุทธิเฉลี่ยไม่เท่ากับ 25 กรัม ที่ระดับ
นัยสาคัญ 0.05

วิธีทา กาหนดให้ µ เป็น ………..……………………………………………………………………………….………..…


1. สมมติฐานทางสถิติ คือ H0 : ………………………………………………..…………………
H1 : …………………………………………….……………………

2. สถิติทดสอบ คือ ……………………………..…………………….……………………………………………………….


………………………………………………………..………………………………………………………………………………….
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
3. คานวณสถิติทดสอบ
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐาน 148

4. ระดับนัยสาคัญ α = ……………………
5. สร้างเขตปฏิเสธสมมติฐาน H0
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
6. สรุปผลการทดสอบ
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
………………………………………………………..……………………………………………………………………………………

---------------------------------------------------------------

สาขาวิชาสถิติประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

You might also like