You are on page 1of 34

Acceptance Sampling Plan

ปัญหาการสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ
 แผนการสุ่มตัวอย่าง (Acceptance Sampling Plans)
เป็นวิธีการที่ใช้ในการประกันคุณภาพมาเป็นเวลานาน และเป็นที่ทราบ
กันว่าวิธีนี้เน้นการตรวจสอบและตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ รวมถึง
 ผลิตภัณฑ์ที่เป็นชิ้นส่วนที่นำเข้ามาสู่กระบวนการ (Incoming
Materials or Products)
 ผลิตภัณฑ์ระหว่างกระบวนการ (Work in Process)
 ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป (Out Going Products)
การตัดสินใจกับ Lot
 โดยทั่วไปการตัดสินเกี่ยวกับล๊อตสามารถแบ่งได้เป็น 3 แนวทาง ได้แก่
 1) การยอมรับโดยไม่มีการตรวจสอบ
 2) ตรวจสอบ 100%
 3) การสุ่มตรวจ
ประโยชน์ของการสุ่มตรวจ
 1) เมื่อการตรวจสอบเป็นการตรวจสอบแบบทำลาย (Destructive
Testing)

 2) เมื่อต้นทุนการตรวจสอบ 100% สูงมาก หรือเป็นไปไม่ได้ไม่ว่าจะด้วย


เหตุผลด้านเทคโนโลยี กำลังคน หรือ อื่น ๆ ก็ตาม

 3) เมื่อสัดส่วนของเสียสูง และการตรวจสอบ 100% ไม่ได้รับรองว่าจะดีกว่า


การสุ่มตรวจ ซึ่งอาจเนื่องมาจากวิธีการตรวจสอบ ความชำนาญของพนักงาน หรือ
สาเหตุอื่น ที่อาจทำให้จำนวนของเสียที่ตรวจไม่พบและถูกส่งต่อไป จากการตรวจ
สอบ 100% สูงกว่าการสุ่มตรวจ
ประโยชน์ของการสุ่มตรวจ (ต่อ)
 4) เมื่อประวัติด้านคุณภาพของกระบวนการที่ต้องการตรวจสอบดีมาก
และ/หรือต้องการลดปริมาณการตรวจสอบจาก 100% ลงแต่บ่งชี้
คุณภาพของกระบวนการไม่สูงพอที่จะไม่ทำการตรวจสอบได้

 5) เมื่อมีความเสี่ยงในคุณภาพของผลิตภัณฑ์มีความสำคัญมาก ถึงแม้ว่า
คุณภาพในกระบวนการผลิตอยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจมาก การใช้
แผนการสุ่มตรวจก็ยังคงเป็นเครื่องมือเฝ้ าติดตามคุณภาพของ
กระบวนการที่มีประสิทธิภาพ
ประเภทของแผนการสุ่ม
 การแบ่งตามเกณฑ์ชนิดของคุณลักษณะทางคุณภาพที่ตรวจสอบจะแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภทคือ
 คุณลักษณะทางคุณภาพแบบต่อเนื่อง (Variables)
 คุณลักษณะทางคุณภาพที่เป็นหน่วยนับหรือไม่ต่อเนื่อง (Attributes)
ประเภทของแผนการสุ่ม (ต่อ)
 การแบ่งประเภทตามลักษณะของกระบวนการของการแผนการสุ่ม
ตัวอย่าง สามารถแบ่งได้เป็น
 แผนการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นเดียว (SingleSampling Plan)
 แผนการสุ่มตัวอย่างแบบสองชั้น (Double-Sampling Plan)
 แผนการสุ่มตัวอย่างแบบหลายชั้น (Multiple-Sampling Plan)
 แผนการสุ่มแบบลำดับขั้น (Sequential-Sampling Plan)
รูปแบบของล๊อต (Lot Formation)
 ต้องพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องให้รอบคอบ โดยปัจจัยที่สำคัญได้แก่
 ความสม่ำเสมอของล๊อต (Homogeneous)
 ขนาดของล๊อต (LotSize)
 การขนถ่าย (Handling)
การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)

ลูกบาศก์
แนวทางการใช้การสุ่มเพื่อการยอมรับ
ขั้นตอนไม่ต่อเนื่อง ขั้นตอนต่อเนื่อง
ลำดับ วัตถุประสงค์
(Attribute Procedure) (Variables Procedure)
เลือกแผนที่เหมาะสมสำหรับเส้นโค้ง เลือกแผนที่เหมาะสมสำหรับเส้นโค้ง
รับรองระดับคุณภาพสำหรับ
1 คุณลักษณะการดำเนินการโดย คุณลักษณะการดำเนินการโดย
ลูกค้า/ผู้ผลิต
เฉพาะ เฉพาะ
รักษาระดับคุณภาพให้อยู่ที่เป้ า ระบบ AQL, MIL STD 414, ANSI/ASQC ระบบ AQL, MIL STD 105E, ANSI/ASQC
2
หมาย Z1.9 Z1.5
3 รับรองระดับคุณภาพขาออก ระบบ AOQL ระบบ AOQL, Dodge-Romig plans
ลดการตรวจสอบด้วยการใช้ขนาด
4 ตัวอย่างที่เล็กลง เมื่อประวัติ Chain Sampling Narrow-Limit gaging
ด้านคุณภาพดี
ลดการตรวจสอบด้วยหลังจากมี
5 Skip-Lot Sampling, Double Sampling Skip-Lot Sampling, Double Sampling
ประวัติด้านคุณภาพดี
รับรองระดับคุณภาพไม่ให้ต่ำกว่า
6 LTPD plan, Dodge-Romig plans LTPD plan, การทดสอบสมมติฐาน
เป้ าหมาย
แผนการสุ่มแบบชั้นเดียว
 สมมติว่าล๊อตขนาด N ถูกส่งเข้ามาเพื่อตรวจสอบคุณภาพ โดยใช้แผนการสุ่มแบบ
ชั้นเดียว ผู้ตรวจสอบจะกำหนดขนาดของตัวอย่างที่จะสุ่มมาตรวจสอบจำนวน n
ชิ้น และจะยอมรับล๊อตทั้งล๊อตเมื่อจำนวนของเสียหรือไม่ได้มาตรฐานคุณภาพไม่
เกิน c (ค่าวิกฤต) ตัวอย่างการสุ่มตรวจสอบของล๊อตขนาด 10,000 ชิ้น ด้วย
แผนการสุ่มที่มีค่า
n = 89
c=2
 หมายถึงการสุ่มตรวจสอบที่จะสุ่มตัวอย่างจากจำนวน 10,000 ชิ้นมาก 89
ชิ้น และถ้าพบจำนวนของเสียหรือไม่ได้มาตรฐานคุณภาพไม่เกิน 2 ชิ้น ก็จะ
ยอมรับ ถ้าพบมากกว่านี้ ล๊อตจะถูกปฏิเสธ
เส้นโค้งคุณลักษณะการดำเนินการ
(The Operating Characteristic Curve, OC
Curve)
1

0.9

0.8
Ѡ
эј җ ш
(Probability of Acceptance,p a)

0.7
ь Ѳь дѥі ѕ Ѡєі Ѥ

0.6

0.5
ѥлѣѯюҝ

0.4
з њѥє ь ҕ

0.3

0.2

0.1

0
0 0.02 0.04 0.06 0.08 0.1 0.12 0.14 0.16

ѝѤ
ч ѝҕ
њь еѠкѯѝѨ
ѕ Ѳь ј җ
Ѡш (Lot Fraction Defective,p)
ความน่าจะเป็นที่เกี่ยวข้องกับแผนการสุ่มตรวจสอบ
 ระดับคุณภาพที่ยอมรับได้ (Acceptable Quality Level,
AQL)
 ความเสี่ยงของผู้ผลิต (Producer’s Risk)
 ความคลาดเคลื่อนของของเสียแต่ละล๊อต (Lot Tolerance
Percent Defective, LTPD)
 ความเสี่ยงของผู้บริโภค (Consumer’s Risk)
การคำนวณความน่าจะเป็นในการยอมรับล๊อต
c n!
Pa  f (d  c)   p d 1  p n d
d 0d!n  d !

ดังนั้นความน่าจะเป็นที่จะยอมรับล๊อตจึงเท่ากับความน่าจะเป็นที่จะตรวจพบของเสียหรือ
ของบกพร่องไม่เกิน c ชิ้น หรือ ความน่าจะเป็นที่ d  c นั่นเอง

c n!
Pa  f (d  c)   p d 1  p n d
d 0d!n  d !
การคำนวณความน่าจะเป็นในการยอมรับล๊อต (ต่อ)
 เมื่อกำหนดให้ p = 0.01, n = 89 และ c = 2 ทำได้ดังนี้

2 89!
Pa  f (d  2)   (0.01) d 0.9989d
d 0d!89  d !
89! 89! 89!
 (0.01) 0 (0.99) 89  (0.01)1 (0.99) 88  (0.01) 2 (0.99) 87
0!89! 1!88! 2!87!
 0.9397
อิทธิพลของขนาดตัวอย่างสุ่ม (n) ต่อเส้น OC
Curve
เส้นโค้ง OC ที่ขนาดตัวอย่างสุ่มขนาดต่าง ๆ
1.2

1
, pa
ความน่าจะเป็ นในการยอมรับล๊อต

0.8 n = 50, c = 1

0.6 n = 100, c = 2

0.4 n = 150, c = 3

0.2

0
0 0.02 0.04 0.06 0.08 0.1 0.12 0.14 0.16
สัดส่วนของเสียในล๊อต, p
การตรวจสอบเพื่อแก้ไข (Rectifying
Inspection)

ล๊อตที่ถูกปฏิเสธ
(Rejected Lots) สัดส่วนของเสีย
(Fraction defective) = 0

Incoming Lots กิจกรรมการตรวจสอบ Outgoing Lots


สัดส่วนของเสีย = p0 คุณภาพล๊อต สัดส่วนของเสีย = p1<= p0

สัดส่วนของเสีย
ล๊อตที่ยอมรับ (Fraction defective) = p0
(Accepted Lots)
แผนการสุ่มแบบสองชั้น
(Double –Sampling Plan)

ตรวจสอบตัวอย่างสุ่ม n1

d1<= c1 d1> c2
ยอมรับล๊อต ปฏิเสธล๊อต

ตรวจสอบตัวอย่างสุ่ม n2

d1+ d2<= c2 d1+ d2 > c2


ยอมรับล๊อต ปฏิเสธล๊อต
แผนการสุ่มแบบสองชั้น
(Double –Sampling Plan)

ตรวจสอบตัวอย่างสุ่ม
n1=50

d1<= c1=1 d1> c2= 3


ยอมรับล๊อต ปฏิเสธล๊อต

ตรวจสอบตัวอย่างสุ่ม
n2 = 100

d1+ d2<= c2 = 3 d1+ d2 > c2 = 3


ยอมรับล๊อต ปฏิเสธล๊อต
การคำนวณความน่าจะเป็นในการยอมรับล๊อต
1

0.9
ความน่าจะเป็ นในการปฏิ
0.8 เสธล๊อตหลังการสุ่มตรวจ
สอบขั้นที่หนึ่ง
ш, pa

0.7
Ѡ
эј җ
єі Ѥ

0.6
ความน่าจะเป็ นในการ
ѥлѣѯюҝь Ѳь дѥі ѕ Ѡ

0.5 ยอมรับล๊อตหลังการสุ่ม
ตรวจสอบทั้งสองขั้น
0.4 ความน่าจะเป็ นในการ
ยอมรับล๊อตหลังการสุ่ม
з њѥє ь ҕ

0.3 ตรวจสอบขั้นที่หนึ่ง

0.2

0.1

0
0 0.02 0.04 0.06 0.08 0.1 0.12 0.14 0.16
ѝѤ
ч ѝҕ
њь еѠкѯѝѨ
ѕ Ѳь ј җ
Ѡш, p
Pa  PaI  PaII

การคำนวณความน่าจะเป็นในการยอมรับล๊อต (ต่อ)
 ความน่าจะเป็น Pa  PaI  PaII

 ความน่าจะเป็นของการยอมรับล๊อตหลังการสุ่มตรวจสอบขั้นที่หนึ่ง
1 50!
PaI   p d1 (1  p) 50d1
d 0 d1! (50  d1)!
1
การคำนวณความน่าจะเป็นในการยอมรับล๊อต (ต่อ)
 ความน่าจะเป็นในการยอมรับล๊อตหลังการสุ่มตรวจสอบขั้นที่สอง
Pd 1  2, d 2  1  Pd 1  2.Pd 2  1

50! 1
100!
 (0.05) 2 .(0.95) 48   (0.05) d 2 (0.95)100 d 2
d 2 !(100  d 2 )!
2!48! d 2 0
 (0.261)(0.037)
 0.009
และ
Pd1  3, d 2  0  Pd1  3.Pd 2  0
50! 100!
 (0.05) 3 .(0.95) 47  (0.05) 0 (0.95)100
3!47! 0!(100)!
 (0.220)(0.0059)
 0.001
มาตรฐานทางการทหาร
(Military Standard) 105E (ANSI/ASQC Z1.4, ISO 2859)
 มาตรฐานการสุ่มตรวจสอบเพื่อการยอมรับสำหรับข้อมูลแบบไม่ต่อ
เนื่องที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันได้แก่มาตรฐานทางการทหาร ซึ่ง
ได้ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง หรือที่รู้จักกันในชื่อ MIL S
TD 105 โดยมาตรฐานชุดแรกได้ถูกพัฒนาขึ้นคือ MIL STD 105A ในปี
ค.ศ. 1950 หลังจากนั้นได้มีการพัฒนาต่อมาอีกสี่ชุด ชุดปัจจุบันที่ใช้อยู่
คือ MIL STD 105E ซึ่งเริ่มใช้งานเมื่อปี ค.ศ. 1989
มาตรฐานทางการทหาร
(Military Standard) 105E (ANSI/ASQC Z1.4, ISO 2859)
 MIL STD 105E เป็นมาตรฐานที่กำหนดดัชนีหรือพารามิเตอร์ของแผนการสุ่มเพื่อ
การยอมรับจะกำหนดโดยพิจารณาช่วงของระดับคุณภาพที่ยอมรับได้
(Acceptable Quality Level, AQL) โดยถ้ามาตรฐานใช้กับแผนการตรวจสอบที่
ขึ้นอยู่กับสัดส่วนของเสีย (Percent Defective) ในล๊อต จะใช้ AQL ช่วงตั้งแต่ 0.1
0% ถึง 10% ถ้าใช้กับแผนการสุ่มที่ขึ้นอยู่กับจำนวนสุดบกพร่อง (Defects per Un
it) จะเพิ่มช่วง AQL ขึ้นอีก 10 ค่า ซึ่งจะครอบคลุมถึง จำนวนจุดบกพร่อง 1000
จุดต่อชิ้น ซึ่งช่วงของ AQL ที่ใช้ในมาตรฐานจะเพิ่มประมาณ 1.585 เท่าของช่วง
ก่อนหน้า
มาตรฐานทางการทหาร
(Military Standard) 105E (ANSI/ASQC Z1.4, ISO 2859)
 เงื่อนไขการตรวจสอบ
 การตรวจสอบแบบ Normal ไปเป็ น Tightened ทำเมื่อล๊อตที่ตรวจสอบ
ตามเงื่อนไขปกติถูกปฏิเสธ 2 จาก 5 ล๊อตที่ต่อเนื่องกัน
 การตรวจสอบแบบ Tightened ไปเป็ น Normal ทำเมื่อล๊อตที่ตรวจสอบ

ตามเงื่อนไขแบบเข้มงวดได้รับการยอมรับ 5 ล๊อตต่อเนื่องกัน
 การตรวจสอบแบบ Normal ไปเป็ น Reduced ทำเมื่อเงื่อนไขทั้งสี่ต่อไปนี้

ได้รับการตอบสนอง
การเปลี่ยนเงื่อนไขการตรวจสอบ
เริ่มต้น

เงื่อนไขแบบ “AND”
1) กระบวนการผลิต Steady
2) 10 ล๊อตต่อเนื่องได้รับการ 2 ล๊อตจาก 5
ยอมรับ ล๊อตต่อเนื่องถูกปฏิเสธ
3) ผู้มีอำนาจหน้าที่รับรอง

Reduced Normal Tightened


เงื่อนไขแบบ “OR”
1) ล๊อตถูกปฏิเสธ
2) กระบวนการผลิตผิดปกติ
3) ผลการตรวจสอบไม่เป็นไปตาม 5 ล๊อตต่อเนื่อง
ทั้งเงื่อนไขการยอมรับและการ ได้รับการยอมรับ
ปฏิเสธล๊อต
4)เงื่อนไขการประกันอื่น ๆ
ระงับกระบวนการสุ่ม
ตรวจสอบเพื่อการยอมรับ
มาตรฐานทางการทหาร
(Military Standard) 105E (ANSI/ASQC Z1.4, ISO 2859)
 ระดับการตรวจสอบ
 General Inspection Levels ซึ่งมี 3 ระดับได้แก่ Level I,
II และ III

 Special Inspection Level ซึ่งมี 4 ระดับได้แก่ S -1, S -


2, S -3 และ S –4
รหัสขนาดล๊อต (MIL STD 105E, ตาราง 1)
ระดับการตรวจสอบพิเศษ ระดับการตรวจสอบทั่วไป
ขนาดของล๊อต (Special Inspection Levels) (General Inspection Levels)
(Lot Size)
S-1 S-2 S-3 S-4 I II III
2-8 A A A A A A B
9-15 A A A A A B C
16-25 A A B B B C C
26-50 A B B C C D E
51-90 B B C C C E F
91-150 B B C D D F G
151-280 B C D E E G H
281-500 B C D E F H J
501-1200 C C E F G J K
1201-3200 C D E G H K L
3201-10000 C D F G J L M
10001-35000 C D F H K M N
35001-150000 D E G J L N P
150001-500000 D E G J M P Q
500001-มากกว่า D E H K N Q R
ตารางหลัก ตามเงื่อนไขการสุ่มแบบปกติ (Normal Inspection) - แผนการสุ่มแบบชั้น
เดียว (Single Plan) (MIL STD 105E, Table II-A)
ตารางหลัก ตามเงื่อนไขการสุ่มแบบเข้มงวด (Tightened Inspection) -
แผนการสุ่มแบบชั้นเดียว (Single Plan) (MIL STD 105E, Table II-B)
ตารางหลัก ตามเงื่อนไขการสุ่มแบบเข้มงวด (Reduced Inspection) -
แผนการสุ่มแบบชั้นเดียว (Single Plan) (MIL STD 105E, Table II-C)
ข้อควรทราบเกี่ยวกับมาตรฐาน MIL STD 105E
 มาตรฐาน MIL STD 105E เป็นมาตรฐานที่เน้นที่ระดับคุณภาพที่
ยอมรับได้ (AQL- oriented Standard)
 ขนาดของตัวอย่างสุ่มจากที่ได้จากการใช้มาตรฐานนี้สร้างแผนการ
สุ่มเพื่อการยอมรับจะมีค่าเป็นช่วง จาก 2, 3, 5, 8, 13, 20, 32, 50, 8
0, 125, 200, 315, 500, 800, 1250 และ 2000 ซึ่งจะเห็นว่าขนาด
ของตัวอย่างสุ่มจะไม่สามารถเลือกได้ตามความต้องการของผู้
ออกแบบแผนการสุ่ม
 ขนาดของตัวอย่างสุ่มจาก MIL STD 105E จะสัมพันธ์กับขนาดของ
ล๊อต
ข้อควรทราบเกี่ยวกับมาตรฐาน MIL STD 105E
 กฎการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข (Switching Rules) การตรวจสอบยังคงมี
การถกเถียงกันถึงความถูกต้องในทางปฏิบัติอยู่
 มาตรฐาน MIL STD 105E ได้ถูกยกเลิกโดยทางการทหารของ
สหรัฐอเมริกาแล้วโดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานขึ้นแทน แต่มีการ
แนะนำให้ใช้มาตรฐานพลเรือน ANSI/ASQC Z1.4 - 1993 แทน (อ้างอิ
งจาก http://www.qram.com/obsole.htm#HANDBOOKS) อย่างไร
ก็ตามการยกเลิกนี้มิได้หมายความว่า มาตรฐานนี้จะไม่มีประสิทธิภาพ
ในการประยุกต์ใช้งานต่อไป เพียงแต่การอ้างอิงอาจจะไม่ได้รับการ
ยอมรับเมื่อมีการติดต่อกับโดยบริษัทจากแถบดังกล่าว
มาตรฐานอื่น ๆ
 นอกจาก MIL STD 105E แล้วยังมีระบบมาตรฐานที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย
พลเรือนนอกเหนือจากทางการทหาร ได้แก่ มาตรฐาน ANSI/ASQC Z
1.4 ซึ่งจะมีความคล้ายคลึงกับ MIL STD 105E มาก และยังถูก
ดัดแปลงไปเป็น ISO 2859 โดย International Organization for
Standardization หรือ ISO ด้วย

You might also like