You are on page 1of 79

บทที่ 2

ความถูกต้ องและความผิดพลาดในการวัด
(Accuracy and Error of Measurement)

ชัยยงค์ เสริมผล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เนื้อหา

• บทนา
• ชนิดและลักษณะความผิดพลาด
• นิยามที่เกีย่ วข้ องกับเครื่ องมือวัด
• การรวมค่ าความผิดพลาดการวัด
• การวิเคราะห์ ความผิดพลาดแบบแรนดอมโดยวิธีทางสถิติ
การวัดและความผิดพลาด

• ในการวัด โดยปกติจะมีความแตกต่างระหว่างค่าที่วดั ได้กบั


ค่า จริ ง เสมอ ไม่ ว่าเครื่ อ งวัด ที่ ใ ช้ จะมี ค วามถู ก ต้อ งแม่ น ย า
เพียงไร

• สิ่ งสาคัญ  ในการวัดจะต้องทราบถึงสาเหตุของความ


ผิดพลาด และ ลดสาเหตุน้ันให้ น้อยทีส่ ุ ด
ชนิดและลักษณะความผิดพลาด

แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่

1. ความผิดพลาดจากผูว้ ดั (Human Error or Gross Error)


2. ความผิดพลาดจากระบบ (Systematic Error)
3. ความผิดพลาดแบบแรนดอม (Random Error)
ความผิดพลาดจากผู้วดั (Human Error or Gross Error)

• ความผิดพลาดจากการอ่านค่าผิด (misreading error)


• ความผิดพลาดจากการคานวณ (calculation error)
• ใช้เครื่ องวัดไม่ถูกต้อง / ไม่เหมาะสม
• การปรับเครื่ องไม่ถูกต้อง (Incorrect Adjustment) ปรับ
ระบบไม่ถูกต้อง หรื อ ไม่มีการปรับเทียบก่อน
ความผิดพลาดที่เกิดจากการอ่ านค่ า
ความผิดพลาดจากระบบการวัด (Systematic Error)

• ความผิดพลาดจากการสร้าง (Construction error)


• ความผิดพลาดจากตัวเครื่ อง (Equipment error)
• ความผิดพลาดจากการตั้งค่าศูนย์ (Zero error)
• ความผิดพลาดจากการปรับเทียบ (Calibration error)
• ความผิดพลาดจากการประมาณค่า (Approximation error)
• ความผิดพลาดจากการเสื่ อมสภาพ (Ageing error)
• ความผิดพลาดจากการเสี ยบหรื อการโหลดเครื่ องวัด
การเคาะเบาๆที่หน้าปัดเครื่ องวัด เพื่อลดความ
ผิดพลาดเนื่องจากความฝื ดในเครื่ องมือวัด
ความผิดพลาดแบบแรนดอม (Random Error)

• เรี ยกอีกอย่างว่า ความผิดพลาดตกค้ าง (Residual Error)


• เกิดจากสาเหตุที่อธิบายไม่ได้ ถึงแม้จะพยายามกาจัดความ
ผิดพลาดอื่นๆ เรี ยบร้อยแล้ว
• อาศัยวิธีทางสถิติมาวิเคราะห์ค่าที่อ่านได้
สาเหตุความผิดพลาดของเครื่ องมือวัด

1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic)
2. อุณหภูมิบริ เวณรอบๆ สู งเกินไป
3. ความร้อนในตัวเครื่ องมือวัด
4. เข็มชี้ไม่ช้ ีตรงตาแหน่งศูนย์
5. การเสี ยดสี หรื อ ความฝื ด
สาเหตุความผิดพลาดของเครื่ องมือวัด (ต่ อ)

6. ลักษณะการใช้งานเครื่ องมือวัด เช่น การวาง


7. การเสื่ อมอายุของอุปกรณ์
8. ตัวผูท้ าการวัด การอ่านค่า การใช้งานเครื่ องมือ

9. การเปลี่ยนแปลงความถี่และแรงดันไฟฟ้าขณะทาการวัด
นิยนิามที
ยามทีเ่ กี่เกีย่ ย่ วข้
วข้องกับเครื
เครื่ อ่องมืงมืออวัดวัด

• ความถูกต้อง (Accuracy)
• ความเที่ยงตรง (Precision)
• ความไว (Sensitivity)
• ความผิดพลาด (Error)
ความถูกต้ อง (Accuracy)

• ความใกล้เคียงระหว่างทีวดั ได้ กับ ค่าที่แท้จริ งของปริ มาณ


ไฟฟ้าที่ทาการวัด
• บางครั้งอาจเรี ยกว่า ความแม่นยาของการวัด
ความเที่ยงตรง (Precision)
• ความสามารถในการเกิ ดซ้ า (ค่าเดิ ม) ของการวัดปริ มาณทาง
ไฟฟ้า หลายๆครั้ง

เครื่ องวัดทีม่ ีความเทีย่ งตรงสู ง คือ ???

เครื่ องวัดไฟฟ้ าที่ เมื่ อนาไปวัดปริ มาณไฟฟ้ า ค่าเดี ยวกัน


แล้วทาการวัดซ้ าหลายๆ ครั้ ง เครื่ องวัดนั้นจะวัดได้ค่าซ้ าหรื อ
ใกล้เคียงค่าเดิมทุกครั้ง
ค่าจริ ง = 5 V

มีความเทีย่ งตรงสู ง แต่ ไม่ มีความแม่ นยา


ค่าจริ ง = 5 V

มีความแม่ นยาสู ง และ มีความเทีย่ งตรงสู ง


ค่าจริ ง = 5 V

ไม่ มีความเทีย่ งตรง และไม่ มีความแม่ นยา


ค่ าความเที่ยงตรง (Precision)

• ค่าวัดได้ใกล้เคียงกันมากน้อยเพียงใดจากการวัดตัวแปร
เดียวกันซ้ าหลายๆ ครั้ง

xn  x n
Precision = 1 
xn

โดยที่ xn 
 x
(ค่าเฉลี่ย)
n
ตัวอย่ างที่ 1
จากการทดลองวัดค่าแรงดันไฟฟ้าจานวน 10 ค่า ดังตาราง จงหา
ค่าความเที่ยงตรงของการวัดครั้งที่ 4 ตามตารางการทดลอง

ครั้งที่วดั (V) ครั้งที่วดั (V)


1 98 6 103
2 102 7 98
3 101 8 106
4 97 9 107
5 100 10 99
xn 
 x

x1  x2  ...  x10
n 10

98  102  101  97  100  103  98  106  107  99



10

 101.1

xn  x n 97  101.1
จาก Precision = 1  = 1
101.1
xn

 0.959  0.95  96 %
ความไว (Sensitivity)

• ความสามารถในการตอบสนองของเครื่ องวัดไฟฟ้าต่อ
ปริ มาณไฟฟ้าที่ทาการวัด

- เครื่ องวัดที่ใช้กระแสไฟฟ้าจานวนเพียงเล็กน้ อย ทาให้


เข็มชี้บ่ายเบนเต็มสเกล เรี ยกว่า มีความไวสู ง
- เครื่ องวัดที่ใช้กระแสไฟฟ้าจานวนมาก จึงจะทาให้เข็ม
ชี้บ่ายเบนเต็มสเกล เรี ยกว่า มีความไวตา่

ทางานทีส่ ั ญญาณอินพุตน้ อยๆ  ความไวสู ง


ความไว (Sensitivity)

ดังนั้น ความไวจึงเป็ นส่ วนกลับของกระแสไฟฟ้า


1
S
I

เมื่อ
S  ความไวของเครื่ องวัด
I  กระแสไฟฟ้าที่ทาให้เข็มชี้เบี่ยง
เบนเต็มสเกล
ความผิดพลาด (Error)

• การวัดปริ มาณไฟฟ้า ค่าที่วดั ได้อาจจะไม่ตรงกับค่าที่แท้จริ ง

• ผลต่างระหว่างค่าที่วดั ได้กบั ค่าที่แท้จริ ง เรี ยกว่า


“ค่ าความผิดพลาดในการวัด”
ค่ าความผิดพลาดในการวัดปริมาณไฟฟ้า (Absolute Error)

ค่าที่วดั ได้ - ค่าที่แท้จริ ง


XM XT

เปอร์ เซ็นต์ ความผิดพลาด (The percent of error)

XM XT
E 100 100
XT XT
ความถูกต้ องสั มพัทธ์ (The relative accuracy)

XT XM
A 1
XT

เปอร์ เซ็นต์ ความถูกต้ อง (The percent of accuracy)

a 100 E
ตัวอย่ างที่ 2

ค่าที่แท้จริ งของแรงดันที่คร่ อมตัวต้านทานตัวหนึ่ง คือ 50 V


แต่เมื่อทาการวัดค่าออกมาจริ ง ได้ค่า 49 V จงหา
1. The Absolute Error
2. The Percent of Error
3. The Relative Accuracy
4. The Percent of Accuracy
 ค่ าความผิดพลาดในการวัดปริ มาณไฟฟ้ า (Absolute Error)

XM XT

49 50

1 V

เปอร์ เซ็นต์ ความผิดพลาด (The percent of error)

E 100
XT

1
100 2%
50
 ความถูกต้ องสั มพัทธ์ (The relative accuracy)
XT XM
A 1
XT

50 49
1 0.98
50

 เปอร์ เซ็นต์ ความถูกต้ อง (The percent of accuracy)

a 100 E 100 2

98 %
แสดงค่าความผิดพลาด และ เปอร์เซ็นต์ความผิดพลาด
คลาสหรือชัน้ ของเครื่องมือวัด (Class of Instruments)

คลาสหรือชั้นของเครื่องมือวัด (Class of Instruments)


หมายถึงตัวเลขทีบ่ อกค่าความผิดพลาดสัมพันธ์ซง่ึ เป็ น
เปอร์เซ็นต์ค่าความผิดพลาดของค่าเต็มสเกลหรือย่านวัด
และทุกค่าสเกลการวัดจะมีค่าความผิดพลาดสัมพัทธ์
เท่ากับค่าเต็มเสกลด้วย
คลาสหรือชัน้ ของเครื่องมือวัด (Class of Instruments)

• มาตรฐาน IEC (International Electrotechnical


Commission) ได้แบ่งระดับชั้นของเครื่องมือวัดออกเป็ น
– ระดับชั้น 0.05, 0.1 และ 0.2 เป็ นระดับชั้นทีม่ ีค่าความ
ผิดพลาดตา่ ทีส่ ุด
– ระดับชั้น 0.5 เป็ นระดับชั้นทีม่ ีค่าความผิดพลาดรองลง
จากระดับชั้น 0.2 ถือได้ว่ามีความถูกต้องในการวัดสูง
เหมาะสาหรับใช้ในงานวัดไฟฟ้ าทั่วไป
คลาสหรือชัน้ ของเครื่องมือวัด (Class of Instruments)

– ระดับชั้น 1.0 เป็ นระดับขั้นทีม่ ีความผิดพลาด


รองลงมาจากระดับชั้น 0.5 ถือได้ว่ามีความถูกต้องใน
การวัดปานกลาง เหมาะสาหรับใช้ในงานวัดไฟฟ้ า
ทั่วไป
– ระดับชั้น 1.5, 2.0, 2.5, และ 5.0 เป็ นระดับชั้นทีม่ ี
ความผิดพลาดสูงสุดหรือมีความถูกต้องในการวัดน้อย
ทีส่ ุด
คลาสหรือชัน้ ของเครื่องมือวัด (Class of Instruments)

• ค่ าความผิดพลาดสั มบูรณ์ ของย่ านวัดในแต่ ละระดับชั้น


Class
e(range)   range
100

• ค่ าความผิดพลาดสั มพัทธ์ คือค่ าความผิดพลาดสั มบูรณ์ ของ


ย่ านวัดเปรียบเทียบกับค่ าจริงหรื อค่ าวัดได้ คดิ เป็ นร้ อยละเท่ าไร
ซึ่งขึน้ อยู่กบั ว่ าต้ องการจะเปรียบเทียบกับตัวใด
e(range) e(range)
%Error  100% %Error  100%
Xt Xm
ตัวอย่ างที่ 3
โวลต์ มิ เ ตอร์ เครื่ องหนึ่ ง มี ร ะดั บ ชั้ น 1.5 และมี ห ลายย่ านการวั ด
ประกอบด้ ว ยย่ า น 10 โวลต์ แ ละ 50 โวลต์ เมื่ อ น าโวลต์ มิ เ ตอร์ นี้ วั ด
แรงดันไฟฟ้ าขนาด 10 V โดยใช้ ย่านวัดทุกย่ านวัด จงหาค่ าความผิดพลาดที่
เกิดขึน้ ในแต่ ละย่ านวัด
ก) ทีย่ ่ าน 10 โวลต์
e(range)
e(range) 
Class
 range %Error  100%
Xm
100
1.5 0.15
 10  100%
100 10

 0.15V  1.50%
ข) ทีย่ ่ าน 50 โวลต์
Class e(range)
e(range)   range %Error  100%
100 Xm
1.5 0.75
  50  100%
100 10

 0.75
 7.50%
เลขนัยสาคัญ

การแสดงความเที่ยงตรงของผลการวัดที่ได้ จากการวัด
โดยตรง หรื อผลที่คานวณมาจากผลการวัดจะใช้ คาเรียกว่ า “เลข
นัยสาคัญ” (Significant Figure) ซึ่งประกอบด้ วยตัวเลขที่แสดง
ความแน่ นอนรวมกับตัวเลขทีแ่ สดงความไม่ แน่ นอน โดยทั่วไปเป็ น
ผลของการวัด สมมุตวิ ่ ามีความถูกต้ อง ±1 ของตัวเลขหลักสุ ดท้ าย
ของเลขนัยสาคัญ
การนับเลขนัยสาคัญ
หลักการ ตัวอย่าง จานวนเลขนัยสาคัญ
1 ตัวเลขที่ไม่ มีเลขศูนย์ ตัวเลขทั้งหมดนับเป็ นเลข 5.78 3 ตาแหน่ ง
นัยสาคัญ

2 เลขศูนย์ ที่อยู่หน้ าตัวเลขอื่น ๆ ไม่ นับเป็ นเลข 0.45 2 ตาแหน่ ง


นัยสาคัญ
0.000357 3 ตาแหน่ ง
3 เลขศูนย์ ที่อยู่หลังหรื อระหว่างตัวเลขอื่นที่ไม่ ใช่ เลข 14000.00 7 ตาแหน่ ง
ศูนย์ นับเป็ นเลขนัยสาคัญ
0.1009 4 ตาแหน่ ง
4 สัญกรณ์ ทางวิทยาศาสตร์ ให้ นับเฉพาะส่ วนที่เป็ น 5.83 x 10-6 3 ตาแหน่ ง
ตัวเลข ไม่ นับเลขยกกาลังฐาน 10
5 จานวนที่มีค่าน้ อยมาก ๆ หรื อค่าใหญ่ มาก ๆ นิยม 298000 3 ตาแหน่ ง
เขียนในรูปสัญกรณ์ ทางวิทยาศาสตร์ ก่อน แล้วนับ 2.98 x 105
เลขนัยสาคัญ
การระบุจานวนเลขนัยสาคัญของผลลัพธ์ ทไี่ ด้ จากการ
คานวณ
• ผลลัพธ์ จากการบวกและลบ ต้ องมีจานวนเลขทศนิยมเท่ ากับ
ข้ อมูลทีม่ ีเลขทศนิยมน้ อยทีส่ ุ ด
• ผลลัพธ์ จากการคูณและหาร ต้ องมีจานวนเลขนัยสาคัญเท่ ากับ
ข้ อมูลทีเ่ ลขนัยสาคัญน้ อยทีส่ ุ ด
ตัวอย่ างที่ 4

• 3.035 + 5.2 + 8.09 = 16.325 ==> ตอบ 16.3 (ตอบตามจุด


ทศนิยมน้ อยทีส่ ุ ด)
• 405 + 7.12 + 98.003 = 510.123 ==> ตอบ 510 (ตอบตามจุด
ทศนิยมน้ อยทีส่ ุ ด)
• 62.5 คูณด้ วย 0.073 = 4.562 ==> ตอบ 4.6 (ตอบตามเลข
นัยสาคัญน้ อยทีส่ ุ ด
• 0.024 หารด้ วย 0.006 = 4 ==> ตอบ 4 (ตอบตามเลขนัยสาคัญ
น้ อยทีส่ ุ ด
การรวมค่ าความผิดพลาดการวัด
(Measurement Error Combinations)
1. ค่าความผิดพลาดในผลรวมของปริ มาณ
2. ค่าความผิดพลาดในผลต่างของปริ มาณ
3. ค่าความผิดพลาดในผลคูณของปริ มาณ
4. ค่าความผิดพลาดในผลหารของปริ มาณ
5. ค่าความผิดพลาดในปริ มาณเพิ่มขึ้นตามค่ายกกาลัง
การรวมค่ าความผิดพลาดการวัด
(Measurement Error Combinations)

• เมื่อวัดค่าปริ มาณตั้งแต่ 2 ค่า จะทาให้เกิ ดค่าความผิดพลาด


เนื่องมาจากผลรวมของค่าความผิดพลาดจากการวัด
• ผลของค่าความผิดพลาดจะมากกว่าการวัดค่าของปริ มาณ
เพียงค่าเดียว
1. ค่ าความผิดพลาดในผลรวมของปริมาณ
(Errors in Sum of Quantities)

E  V1  V2
V1  V1 R1

E
 V1  V1   V2  V2 

V2  V2 R2
E  V1  V2    V1  V2 
2. ค่ าความผิดพลาดในผลต่ างของปริมาณ
(Errors in Difference of Quantities)

V1  V1 R1 R2 V2  V2

E  V1  V2

 V1  V1   V2  V2 

E  V1  V2    V1  V2 


ตัวอย่ างที่ 5
จงหาเปอร์ เซ็นต์ค่าผิดพลาดสู งสุ ด ของการรวม และ ลบ
แรงดันไฟฟ้า 2 ค่า

กาหนดให้ V1  100 V  1 %

V2  80 V  5 %

แปลงเป็ นค่า Absolute Error


V1  100 V  1 V

V2  80 V  4 V
 ค่ าความผิดพลาดใน ผลรวม ของปริ มาณ

E  V1  V2    V1  V2 

 100  80   1  4 

 180 V  5 V

 180 V  2.8 %
 ค่ าความผิดพลาดใน ผลต่ าง ของปริ มาณ

E  V1  V2    V1  V2 

 100  80   1  4 

 20 V  5 V

 20 V  25 %
3. ค่ าความผิดพลาดในผลคูณของปริมาณ
(Errors in Product of Quantities)

I  I
กาลังไฟฟ้า
P  EI
E  E R1   E  E  I  I 

 EI  EI  I E  EI

เทอม EI มีค่าน้อยมาก  ตัดทิ้ง


จะได้ P  EI   E I  I E 

% Error in P
E I  I E
% Error in P  100%
EI

 E I I E 
    100%
 EI EI 

 I E 
   100%
 I E 

% Error in P = (% Error in I ) + (% Error in E )


4. ค่ าความผิดพลาดในผลหารของปริมาณ
(Errors in Quotient of Quantities)

• ทานองเดียวกับผลคูณ จะได้

E
% Error in = (% Error in E )+(% Error in I )
I
5. ค่ าความผิดพลาดในปริมาณเพิม่ ขึน้ ตามค่ ายกกาลัง
(Errors in Quantity Raised to Power)

• ปริ มาณ A เพิม่ ขึ้นตามค่ายกกาลัง B จะได้เปอร์เซ็นต์ค่า


ผิดพลาดของ AB มีค่าเท่ากับ

% Error in A B = B(% Error in A)

Ex. กระแส I มีเปอร์เซ็นต์ความผิดพลาด 3%

เปอร์เซ็นต์ความผิดพลาดของ I2 เท่ากับ 2  3%   6%


การวิเคราะห์ ความผิดพลาดแบบแรนดอมโดยวิธีทางสถิติ
(Random Error Analysis by Statistic)

• ในงานที่ตอ้ งการความถูกต้องสู งๆ จะทาการวัดหลายๆครั้ง


และพิจารณาการกระจายของค่าที่อ่านได้
• การวัดแบบนี้ เมื่อผ่านกรรมวิธีทางสถิติแล้วจะทาให้ค่าการ
วัดมีความถูกต้องสู งกว่าการวัดครั้งเดียว
การวิเคราะห์ ความผิดพลาดแบบแรนดอมโดยวิธีทางสถิติ
(Random Error Analysis by Statistic)

1. ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต
2. ค่ าเบี่ยงเบนจากค่ าเฉลีย่
3. ค่ าเบี่ยงเบนเฉลีย่
4. ค่ าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
5. ความแปรปรวน
การวิเคราะห์ ความผิดพลาดแบบแรนดอมโดยวิธีทางสถิติ
(Random Error Analysis by Statistic)

6. ความน่ าจะเป็ นของความผิดพลาด


7. การแจกแจงปกติของความผิดพลาด

8. ค่ าความผิดพลาดที่น่าจะเป็ น
1. ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต (Arithmetic Mean : x )
• ค่าตัวแทน หรื อ ตัวกลางที่อ่านได้จากการวัด
• หาได้จากการนาค่าที่อ่านได้จากการวัดทุกค่ามารวมกันแล้ว
หารด้วยจานวนครั้งของการวัด
ค่าจากการอ่าน
x
 x

x1  x2  ...  xn
n n

จานวนครั้งที่วดั
2. ความเบี่ยงเบนจากค่ าเฉลีย่ (Deviation form the Mean : d )
• ค่าที่อ่านได้จากการวัดในแต่ละครั้งห่างออกไปจากค่าเฉลี่ย
เลขคณิ ต
• มีค่าเป็ น บวก หรื อ ลบ ก็ได้
di  xi  x

เมื่อ di คือ ค่าความเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ย (i = 1,2,…n)


xi คือ ค่าวัดได้จากการอ่าน (i = 1,2,…n)
x คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
3. ความเบี่ยงเบนเฉลีย่ (Average Deviation : D )

• ตัวชี้บอกถึงความเที่ยงตรงของเครื่ องมือวัด
• เครื่ องวัดที่มีความเที่ยงตรงสู ง  ค่าเบี่ยงเบนเฉลี่ยต่า
• หาได้จากผลรวมของค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value) ของค่า
ความเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยหารด้วยจานวนครั้งของการวัด

D
 d

d1  d 2  ...  d n
n n
ตัวอย่ างที่ 6
ในการทดลองวัดค่ากระแสไฟฟ้า 6 ครั้ง มีค่าดังนี้
12.8 mA, 12.2 mA, 12.5 mA, 13.1 mA, 12.9 mA และ 12.4 mA

จงคานวณหา
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
2) ค่าความเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ย
3) ค่าความเบี่ยงเบนเฉลี่ย
ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต

x1  x2  ...  xn
x
n

12.8  12.2  12.5  13.1  12.9  12.4



6

 12.65 mA.
ค่ าความเบี่ยงเบนจากค่ าเฉลีย่

จาก di  xi  x

d1  12.8  12.65  0.15 mA.

d2  12.2  12.65  0.45 mA.

d3  12.5  12.65  0.15 mA.

d4  13.1  12.65  0.45 mA.

d5  12.9  12.65  0.25 mA.

d6  12.4  12.65  0.25 mA.


ค่ าความเบี่ยงเบนเฉลีย่

จาก D
 d

d1  d 2  ...  d n
n n

0.15  0.45  0.15  0.45  0.25  0.25


D
6

0.15  0.45  0.15  0.45  0.25  0.25



6

 0.283 mA.
4. ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : SD,  )

•ใช้วเิ คราะห์ค่าความผิดพลาดแบบแรนดอม
• เป็ นการวัดความกระจายหรื อความแตกต่างของข้อมูล

• ถ้าค่า SD,  ต่า  ค่าวัดได้ไม่แตกต่างกันมาก

ถ้าค่า SD,  ศูนย์  ผลการวัดเท่ากันทุกครั้ง

การวัดมีความเที่ยงตรงสู ง
การคานวณหา ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (  )

• หาได้จากรากที่สองของผลรวมทั้งหมดของค่ายกกาลังสองของ
ค่าความเบี่ยงเบนจากค่าเฉลี่ยหารด้วยจานวนครั้งของการวัด

SD   
d12  d 22  ...  d n2

 i
d 2

n n

ทางปฏิบตั ิ SD   
d12  d 22  ...  d n2

 i
d 2

n 1 n 1
5. ความแปรปรวน (Variance :  ) 2

• ใช้วดั การกระจายของข้อมูล (ค่าที่อ่านได้จากการวัด)


• ข้อมูลที่กระจายมาก (แตกต่างกันมาก) ส่ งผลให้ความ
แปรปรวนมีค่ามากตามไปด้วย
• ข้อมูลเท่ากันหมดทุกตัว  ความแปรปรวน = 0

 d  2 2

 
2 i

 n  1 
6. ความน่ าจะเป็ นของความผิดพลาด(Probability of Errors)
• การศึกษาหาค่าความผิดพลาดของการวัดซ้ าๆ ในตัวแปรเดิม
พบว่า ได้ผลการแจกแจงเป็ น “รู ปโค้ งปกติ (Normal Curve)”

เรี ยกอีกอย่างว่า รู ปโค้งของเก๊าสส์ (Gaussian Curve)


คุณสมบัตทิ วั่ ไปของรู ปโค้ งปกติ
1. การแจกแจงเป็ นรู ปสมมาตร (Symmetry)
2. ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และฐานนิยม จะทับกันเป็ นจุดเดียวที่ส่วน
โค้งสุ ด
3. ความสู งของรู ปโค้ง เมื่อเอาความถี่จุดนั้นหารด้วยจานวนทั้งหมด
จะได้เท่ากับ 0.3989
4. ปลายโค้งทั้งสองด้านจะเข้าใกล้ฐานแต่ไม่ถึงฐาน (Asymptotic)
5. จุดเปลี่ยนรู ปโค้งอยูท่ ี่ 1 พื้นที่ภายใต้การแจกแจง 1
ประมาณ 68.26 %
7. การแจกแจงปกติของความผิดพลาด
(Normal Distribution of Errors)
• แจกแจงความถี่ของค่าที่วดั ได้จากการอ่าน
แรงดันไฟฟ้ า (V) จานวนครั้งที่อ่าน
99.7 1
99.8 4
99.9 12
100.0 19
100.1 10
100.2 3
100.3 1
50
แทนด้วยกราฟ Histogram
 รู ปแบบความผิ ด พลาดของเก๊ า ส์จะเป็ นพื้ น ฐานของการ
วิเคราะห์หาค่าผิดพลาดแบบแรนดอม มีสาระสรุ ปได้ดงั นี้

1. ค่ า อ่ า นได้จ ากการวัด รวมทั้ง ผลกระทบต่ า งๆ เรี ย กว่ าค่ า


ผิดพลาดแบบแรนดอม
2. ค่าผิดพลาดแบบแรนดอมจะมีท้ งั ค่าบวก และ ลบ

3. ค่าความน่ าจะเป็ นของค่าผิดพลาดแบบแรนดอมค่าบวกและ


ค่าลบจะเท่ากัน
8. ค่ าความผิดพลาดทีน่ ่ าจะเป็ น (Probable Errors)
 ค่ าความน่ าจะเป็ นของรู ปโค้ งการกระจายความผิดพลาด
(Possibility of Error Distribution Curve) สรุปได้ ดงั นี้

1. ค่าความผิดพลาดต่าๆ มีค่าน่าจะเป็ นมากกว่าค่าความ


ผิดพลาดสู งๆ
2. ค่าความผิดพลาดสู งๆ จะไม่มีความเป็ นไปได้ที่จะเกิดขึ้น
3. ความน่าจะเป็ นของค่าความผิดพลาดทั้งค่าบวกและค่าลบ
จะมีค่าเท่ากันแบบสมมาตร ดังนั้นเมื่อรวมกันแล้วจะมีค่า
เท่ากับศูนย์
ค่าความผิดพลาดแบบแรนดอมที่น่าจะเป็ นของค่าที่อ่านได้จากการ
วัดจะมีค่าไม่เกินค่า  r และให้นิยาม r ดังนี้
Probable Error (r ) =  0.6745

 Fraction of tota area included


0.6745 0.5000
1.0 0.6828
2.0 0.6546
3.0 0.9972
ตัวอย่ างที่ 7
จากการวัดค่าความต้านทาน 10 ครั้ง อ่านค่าได้ดงั นี้
ครั้งที่ ค่ าที่อ่าน ครั้งที่ ค่ าที่อ่าน
(โอห์ ม) (โอห์ ม)
1 101.2 6 101.3
2 101.7 7 101.2
3 101.3 8 101.4
4 101.0 9 101.3
5 101.5 10 101.1
จงคานวณหา :

1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
2) ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานของการอ่าน
3) ค่าความผิดพลาดที่น่าจะเป็ น
di  xi  x
จากตารางที่คานวณมา จะได้

 ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต
x 1,013.0
x   101.0 
n 10

 ค่ าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

d2 
0.36
  0.2 
n 1 10  1
 ค่ าความผิดพลาดที่น่าจะเป็ น

r  0.6745    0.6745  0.2

 0.1349 
References

1. มหาวิทยาลัยนเรศวร
2. ประยูร เชี่ยววัฒนา “เครื่ องวัดและการวัดทางไฟฟ้า สมาคมส่ งเสริ มเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุ่น)

You might also like