You are on page 1of 4

การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางตัวแปร 2 ตัวที่เปนอิสระตอกัน

ดวยคา Independent – Sample T – Test


*********************
เปน การทดสอบสมมติฐ านของกลุ มตัว อยา ง 2 กลุม ที่เ ปนอิส ระจากกัน ซึ่งเปน การทดสอบความ
แตกตางของคาเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง 2 กลุมที่เปนอิสระจากกัน
คําวา “กลุมตัวอยาง 2 กลุมที่เปนอิสระจากกัน หมายถึง กลุมตัวอยางทั้งสองจะตองไมเกี่ยวของหรือ
สัมพันธกัน กลุมใครกลุมมัน เชน แยกตามเพศชาย – เพศหญิง คนในเมืองกับคนนอกเมือง กลุมทดลองกับกลุม
ควบคุม เปนตน”

1) ขอตกลงเบื้องตน :
1. กลุ มตั ว อย า งจะตอ งมี 2 กลุม กลุ มทั้ ง สองจะต อ งเป น อิ ส ระจากกั น และได ม าโดยการสุม จาก
ประชากรที่มีคา ตัวแปรที่จะนํามาทดสอบมีการแจกแจงเปนโคงปกติ
2. คา ตัว แปรตามที่ จ ะนํ า มาทดสอบ ต องเปน ข อมู ล ตอ เนื่อ งหรื อ มีก ารวั ด ที่อ ยูในระดั บ อัน ตรภาค
(Interval Scale) หรือ อัตราสวน (Ratio Scale)

2) ขั้นตอนในการทดสอบสมมติฐาน โดยใชโปรแกรม SPSS


ขั้นที่ 1 การตั้งสมมุติฐาน
ตัวอยาง : ตองการจะทราบวาระหวางเกษตรกรที่เขารวมการฝกอบรม (กลุมทดลอง) และเกษตรกรที่ไม
เขารวมการฝกอบรม (กลุมควบคุม) จะใหมีความรูในเรื่องการเพิ่มผลผลิตขาวแตกตางกันหรือไม
สมมติฐานทางสถิติ :
H0 : Experiment = Control เกษตรกรที่เขารวมการฝกอบรมและเกษตรกรที่ไมเขารวมการ
ฝกอบรมมีความรูในเรื่องการเพิ่มผลผลิตขาวไมแตกตางกัน
H1 :  Experiment ≠  Control เกษตรกรที่เขารวมการฝกอบรมและเกษตรกรที่ไมเขารวมการ
ฝกอบรมมีความรูในเรื่องการเพิ่มผลผลิตขาวแตกตางกัน
ขั้นที่ 2 การกําหนดคาอัลฟา (คาความเชื่อมั่น) โดยปกติคาที่ใชจะมี 2 คา คือ .01 กับ .05
ขั้นที่ 3 เริ่มใชโปรแกรม SPSS เพื่อคํานวณ
3.1 เปดโปรแกรม SPSS และเปดไฟล “TEST.sav” ที่บันทึกไว
3.2 คลิกเมนู Analyze เลือกคําสั่ง Compare Means เลือก Independent – Sample
T Test
3.3 (ที่หนาตาง Independent – Sample T Test)
3.3.1 คลิกเลือกตัวแปรความรู (Factor 1) จากชองซาย เพื่อนําตัวแปรนี้ไปใสในชอง
Test Variable [s] ดานขวามือ
3.3.2 คลิกเลือกตัวแปร Group (กลุม) จากชองซาย เพื่อนําตัวแปรนี้ไปใสในชอง
Grouping Variable ดานขวามือ
3.3.2.1 กด Define Groups เพื่อกําหนดหมายเลขตามกลุมที่ไดกําหนดไว
โดย  ในวงกลมคําวา “Use specified values” และเติม
หมายเลข ดังนี้
Group 1: (ใหใสหมายเลข 1) หมายถึง เกษตรกรที่เขารวมการฝกฯ
Group 2: (ใหใสหมายเลข 2) หมายถึง เกษตรกรที่ไมเขารวมการฝกฯ
เมื่อกําหนดหมายเลขเรียบรอย ใหกด Continueเพื่อกลับมายังหนา
Grouping Variable (สังเกตวาในชองจะปรากฏ กลุม [1 2] ขึ้น)
3.3.3 กดเลือก Options ….. จะเปนการใหกําหนดคาอัลฟา ดังนี้
3.3.3.1 ชอง Confidence interval: ใหเติมหมายเลข
95 (หมายถึง กําหนดคาความเชื่อมั่นที่ 95%) หรือ
99 (หมายถึง กําหนดคาความเชื่อมั่นที่ 99%) (ตามโจทยกําหนด)
3.3.3.2 ทําเครื่องหมาย  ในวงกลมคําวา “Exclude cases analysis”
และกด Continue
3.4 (ที่หนาตาง Independent – Sample T Test) ใหกด “OK” ซึ่งจะปรากฏตาราง ดังนี้

กลุม N Mean Std. Deviation Std. Error Mean


ความรู เกษตรกรที่เขารวมฯ 9 3.2222 1.78730 .59577
เกษตรกรที่ไมเขารวมฯ 16 3.6250 1.08781 .27195
ผลการทดสอบคา
ความแปรปรวนของกลุม
คา P ที่ใชในการ
ทดสอบสมมติฐาน
Levene's Test t-test for Equality of Means
for Equality of
Variances
95% Confidence Interval of the
  Difference
Sig. Mean Std. Error
F Sig. t df (2-tailed) Difference Difference Lower Upper
ความรู Equal variances assumed 5.702 .026 -.704 23 .488 -.40278 .57174 -1.58551 .77995
Equal variances not assumed -.615 11.417 .551 -.40278 .65490 -1.83781 1.03226

การพิจารณาผลการทดสอบสมมติฐานดวย T – Test ที่เปน Independent – Sample T Test จะพิจารณาคา P จาก Sig. (2-tailed) ในชอง  ซึ่งมี 2 ตัว
คือ ตัวบนที่เปน Equal variances assumed และตัวลางที่เปน Equal variances not assumed จึงตองมีหลักการพิจารณาวาจะเลือกใชคา P จากตัวใดไดดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 : ใหพิจารณาดูวาคาความแปรปรวนของกลุมในชอง  วา Sig. หรือไม (Sig. หมายถึง มีคานอยกวาหรือเทากับคาอัลฟา .05 ที่ผูวิจัยไดกําหนดไว)

ขั้นตอนที่ 2 : ในกรณี คาความแปรปรวนของกลุมในชอง  Sig. แสดงวา Equal variances not assumed ให เลือกใชคา P Sig. (2-tailed) จากตัวลาง

ขั้นตอนที่ 3 : ในกรณี คาความแปรปรวนของกลุมในชอง  ไม Sig. แสดงวา Equal variances assumed ให เลือกใชคา P Sig. (2-tailed) จากตัวบน

หมายเหตุ : Equal variances assumed หมายถึง ความแปรปรวนของกลุมเทากัน


Equal variances not assumed หมายถึง ความแปรปรวนของกลุมไมเทากัน
ขั้นตอนที่ 4 การสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
สมมติฐานทางสถิติ :
H0 : Experiment = Control เกษตรกรที่เขารวมการฝกอบรมและเกษตรกรที่ไมเขารวมการฝกอบรม
มีความรูในเรื่องการเพิ่มผลผลิตขาวไมแตกตางกัน
H1 : Experiment ≠ Control เกษตรกรที่เขารวมการฝกอบรมและเกษตรกรที่ไมเขารวมการฝกอบรม
มีความรูในเรื่องการเพิ่มผลผลิตขาวแตกตางกัน
P (ความนาจะเปน) = .551, คาอัลฟา (ระดับนัยสําคัญ) = .05 ดังนั้น
คา P มากกวาคาอัลฟา (ระดับนัยสําคัญ) (เทากับไม Sig.) จึงยอมรับ H0 ปฏิเสธ H1
จึงสรุปไดวา เกษตรกรที่เขารวมการฝกอบรมและเกษตรกรที่ไมเขารวมการฝกอบรมมีความรูในเรื่อง
การเพิ่มผลผลิตขาวไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ขั้นตอนที่ 5 การสรางตารางสรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
ตารางแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐานของการเปรียบเทียบความ
แตกตางของความรูในเรื่องการเพิ่มผลผลิตขาว จําแนกตามการเขารวมการฝกอบรมฯ

ประเด็นการเปรียบเทียบ เกษตรกรที่เขารวมฯ เกษตรกรที่ไมเขารวมฯ


t P
X S.D. X S.D.
ความรูในเรื่องการเพิ่มผลผลิตขาว 3.2222 1.78730 3.6250 1.08781 -.615 .551

You might also like