You are on page 1of 16

DISTANCE RELAY

รีเลย์ ระยะทาง
• รีเลย์ระยะทางหรือรีเลย์อิมพีแดนซ์ เป็ นรีเลย์ท่ีได้รบั การพัฒนาขึน้ เพื่อใช้ปอ้ งกันสายส่งกาลังไฟฟ้า รีเลย์ชนิดนี ้
อาศัยหลักการวัดค่าอิมพีแดนซ์ของสายส่งที่ถกู ป้องกันในสภาวะปกติท่ีมีการจ่ายโหลดหรือสภาวะไร้โหลดใดๆ
อิมพีแดนซ์ท่ีรเี ลย์วดั ได้จะมีค่าสูง เนื่องจากเป็ นค่าอิมพีแดนซ์ของสายส่งรวมกับอิมพีแดนซ์ของโหลด ในกรณีท่ีเกิด
ลัดวงจรลงดินโดนตรงหรือผ่านอิมพีแดนซ์ลดั วงจรค่าน้อยๆ จะพบว่าอิมพีแดนซ์ท่ีรเี ลย์ตรวจจับได้จะมีค่าต่ากว่า
มาก ดังนัน้ การตัง้ ค่ารีเลย์ให้ทางานที่ค่าอิมพีแดนซ์ปรับตัง้ ที่เหมาะสมทาให้การป้องกันระบบสายส่งง่ายและมี
ประสิทธิภาพ นอกจากนีค้ ่าอิมพีแดนซ์ท่ีวดั ได้ในขณะเกิดลัดวงจรยังสะท้อนถึงตาแหน่งของการเกิดลัดวงจรใน
สายส่ง
รีเลย์ ป้องกันกระแสเกิน
แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
1) รีเลย์กระแสเกินชนิดจากัดกระแส (Definite-current o/c relay)
2) รีเลย์กระแสเกินชนิดเวลาจากัด (Definite-time o/c relay)
3) รีเลย์กระแสเกินชนิดเวลาผกผัน (Inverse-time o/c relay)
รีเลย์ ป้องกันกระแสเกิน (ต่ อ)
การทางานของรีเลย์ จะพิจารณาจากเส้นโค้งเวลาและกระแสของรีเลย์ โดยที่กระแสต่างกัน รีเลย์กระแสเกินจะทางานด้วยเวลาที่ต่างกันการตัง้ ค่ารีเลย์

การตัง้ ค่าของรีเลย์
1) Pickup setting เป็ นการปรับตัง้ ค่าให้รเี ลย์เริม่ ต้นทางานที่กระแสค่าหนึ่ง รีเลย์จะทางานเมื่อรีเลย์ตรวจพบกระแสที่มีค่าเท่ากันหรือมากกว่า
2) Current tap setting(CTS) เป็ นค่าแท็บของขดลวดด้านอินพุต เมื่อระบุค่ากระแสทางานได้แล้ว ต้องทาการเลือก CTS ให้เหมาะสม
3) Time-delay setting(TDS) เป็ นการตัง้ ค่าการหน่วงเวลาในการทางานของรีเลย์
**การหน่วงเวลาของรีเลย์จะมีการจัดลาดับความสัมพันธ์ของการทางานของรีเลย์ปอ้ งกันกระแสเกิน จะพิจารณาสาหรับรีเลย์ท่ีอยุ่ติดกัน โดยจะเรียกรีเลย์ท่ี
อยู่ใกล้ความผิดพลาดมากกว่าว่า Main ส่วนรีเลย์ท่ีอยู่ถดั ไปเรียกว่า Backup
ความไวในการทางานของรีเลย์
• แบบเวลาผกผันมาตรฐาน (Standard inverse time) จะพบในระบบจาหน่าย และระบบส่งจ่ายทุกระดับแรงดัน ไม่ว่าจะเป็ นรีเลย์หลัก
0.14 𝑥 𝑇𝐷𝑆
หรือรีเลย์สารอง 𝑡 = 𝑃𝑆𝑀0.02 −1

• แบบเวลาผกผันยาวนาน (Long time inverse) มักใช้เพื่อป้องกันตัวต้านทานสาหรับต่อลงดินของสายนิวทรอล หรือใช้สาหรับป้องกันโหลดเกินให้กบั


120 𝑥 𝑇𝐷𝑆
มอเตอร์หรือเครื่องกาเนิดไฟฟ้า 𝑡 = 𝑃𝑆𝑀 −1

• แบบเวลาผกผันยาวนานมาก (Very inverse time) การใช้รเี ลย์กระแสเกินแบบเวลาผกผันมาตรฐานจะมีผลกระทบต่อการป้องกันในกรณีท่ีเกิดการ


ลัดวงจรใกล้ๆกับแหล่งจ่าย จะทาให้เวลาในการจากัดความผิดพร่องโดยเฉลี่ยช้ากว่าเวลาการจากัดความผิดพร่อง ณ ตาแหน่งอื่นๆ การนารีเลย์กระแส
1.35 𝑥 𝑇𝐷𝑆
เกินแบบเวลาผกผันยาวนานมากมาใช้แก้ปัญหานี ้ 𝑡 = 𝑃𝑆𝑀 −1
ความไวในการทางานของรีเลย์ (ต่ อ)
• แบบเวลาผกผันยาวนานที่สดุ (Extremely inverse time) เหมาะสาหรับนามาใช้จดั ลาดับความสัมพันธ์การทางานของลีเรย์
80 𝑥 𝑇𝐷𝑆
หรือป้องกันวงจรที่มีกระแสขณะเปิ ดวงจร 𝑡= 𝑃𝑆𝑀2 −1
รีเลย์ ทใี่ ช้ ป้องกันระบบไฟฟ้ า
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1) รีเลย์หลัก(Primary Relay) โดยปกติการป้องกันจะแบ่งเขตป้องกันไว้เฉพาะเมื่อเกิดฟอลต์ขนึ ้ ภายในเขตป้องกัน รีเลย์หลักจะสั่งให้
CBทุกตัวในเขตป้องกันเปิ ดวงจร(Trip) ส่วนเขตป้องกันของรีเลย์หลักจะจัดแบ่งให้คาบเกี่ยวกัน(Overlap) เพื่อป้องกันไม่ให้มีจดุ บอดขึน้ ใน
ระบบป้องกัน รีเลย์หลักจะสั่งให้CBทางานน้อยที่สดุ โดยจะสั่งให้เปิ ดวงจรเฉพาะที่เกิดฟอลต์ขนึ ้ เท่านัน้
2) รีเลย์สารอง(Backup Relay) จะใช้ปอ้ งกันแทนรีเลย์หลัก กรณีท่ีรเี ลย์หลักไม่ทางาน เวลาการทางานของรีเลย์สารองจะช้ากว่ารีเลย์
หลัก การสั่งเปิ ดวงจรเบรกเกอร์ดว้ ยรีเลย์สารองอาจทาให้สว่ นที่ไม่เกี่ยวข้องกับจุดที่เกิดฟอลต์ถกู สั่งให้เปิ ดวงจรเบรกเกอร์ไปด้วย
**รีเลย์สารองจะทาหน้าที่เป็ นรีเลย์หลักในกรณีท่มี ีการซ่อมแซมรีเลย์หลัก
การปรับตั้งและการประสานสั มพันธ์ รีเลย์
𝑉𝑟𝑒𝑙𝑎𝑦 𝑉𝑙𝑖𝑛𝑒 Τ𝑉𝑇𝑅 𝐶𝑇𝑅
สูตรการคานวน 𝑍𝑟𝑒𝑙𝑎𝑦 = = = 𝑍𝑙𝑖𝑛𝑒 𝑥
𝐼𝑟𝑒𝑙𝑎𝑦 𝐼𝑙𝑖𝑛𝑒 Τ𝐶𝑇𝑅 𝑉𝑇𝑅
ตัวอย่ างการคานวน
• โจทย์กาหนด CTR ที่ R มีค่า 600:5 250:5 150:5 ตามลาดับ
• VTR ใช้ 69kV:120V
600Τ5
@𝑅1 CTR/VTR = 0.2087 >>
69000Τ120

250Τ5
@𝑅2 CTR/VTR = 0.0870 >>
69000Τ120

150Τ5
@𝑅3 CTR/VTR = 0.0522 >>
69000Τ120
• @ 𝑅1 : zone1
ผลของแหล่ งจ่ ายหลายแหล่ งต่ อกับรีเลยีระยะทาง
• จะได้ค่าKที่เกิดการลัดวงจรต่างๆ เมื่อกาหนดให้R1 เป็ นจุดอ้างอิง
ตัวอย่ างการคานวน
พิจารณาจารรี เลย์ R1

You might also like