You are on page 1of 49

1

บทที่ 6 มอเตอร์เหนีย
่ วนำ 3 เฟส
6.1 บทนำและโครงสร ้ำง 6.8 สมกำรแรงบิดทั่วไป
6.2 กำรเกิดสนำมแม่เหล็กหมุน 6.9 สมกำรแรงบิดขณะหมุนที่ Slip = s ใดๆ
6.3 หลักกำรทำงำน 6.10 ค่ำแรงบิดทั่วไปสูงสุด
6.4 สลิป 6.11 สมกำรแรงบิดเริม
่ หมุน
6.5 ควำมถีข
่ องกระแสในโรเตอร์ 6.12 ค่ำแรงบิดเริม
่ หมุนสูงสุด
6.6 พำรำมิเตอร์ตำ่ งๆ ของโรเตอร์ขณะ ี
6.13 กำลังงำนและกำลังสูญเสย
หยุดนิง่ และขณะหมุนที่ Slip ใดๆ
6.14 กำรเริม
่ เดินเครือ
่ ง
6.7 วงจรสมมูลต่อเฟส
2

6.1 บทนำและโครงสร้ำง
6.1.1 บทนำ
ี่ ใี ชกั้ น
• มอเตอร์เหนี่ยวนำสำมเฟส (Three phase induction motor) เป็ นมอเตอร์ทม
มำกทีส
่ ด
ุ ตำมโรงงำน เนือ
่ งจำก
้ ำย เพียงต่อเข ้ำกับแหล่งจ่ำยไฟสำมเฟสซงึ่ มีอยูแ
• ใชงำนง่ ่ ล ้วตำมโรงงำนทัว่ ๆ ไป
• มีควำมทนทำนสูง
• รำคำไม่แพง (เพรำะมีกำรผลิตและใชกั้ นมำก)
• บำรุงรักษำง่ำย (เกือบไม่ต ้องดูแลเลย)
ิ ธิภำพค่อนข ้ำงสูง
• ประสท
• มีขนำดเล็กกว่ำแบบเฟสเดียว เมือ
่ เปรียบเทียบทีข
่ นำดพิกด
ั เท่ำกัน
3

• สง่ิ ทีส
่ งั เกตได ้จำก Three phase induction motor คือ

้ จึงไม่ต ้องมีสว่ นทีส


• เป็ น Singly-fed motor ดังนั น ั ผัสกันระหว่ำง Commutator
่ ม
ึ หรอ ดังนัน
และแปรงถ่ำน ทำให ้ไม่เกิดควำมสก ้ จึงทนทำนและบำรุงรักษำง่ำย

• ไม่ม ี Loss ทีแ


่ ปรงถ่ำน เนือ
่ งจำก Voltage drop และ Brush friction

• มีกระแสสลับไหลทัง้ ในสว่ นของ Stator และ Rotor

• Rotor เปรียบเสมือน Secondary side ของหม ้อแปลงและ มีลักษณะเป็ นแบบ


Rotating transformer ทีถ
่ ก
ู ลัดวงจรทำงด ้ำน Secondary

ี คือ กำรควบคุมควำมเร็วทำได ้ยำก เนื่องจำกควำมเร็ วขึน


• ข้อเสย ้ ก ับควำมถีแ
่ ละ
จำนวนขวแม่
ั้ เหล็กเป็นหล ัก
4

6.1.2 โครงสร้ำง

รูปที่ 6.1 มอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟสแบบต่ำงๆ

a) b)

รูปที่ 6.2 มอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟส a) แบบกรงกระรอก b) แบบขดลวดพัน 4
5

รูปที่ 6.3 สว่ นประกอบต่ำงๆ ของมอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟสแบบกรงกระรอก
6

รูปที่ 6.4 สว่ นประกอบต่ำงๆ ของมอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟสแบบขดลวดพัน
7

a)
b)

รูปที่ 6.5 a) สเตเตอร์ b) แผ่นเหล็กทีน


่ ำมำตัดเพือ
่ อัดขึน
้ รูปเป็ นสเตเตอร์และโรเตอร์
8

A A'

B B'

C C'

a)
b) (Y – connected)

A A' A A'

B B'
c) B B'
d)
C C'
C C'

รูปที่ 6.6 a) ขดลวด 3 เฟส b) กำรวำงตัวของขดลวด 3 เฟสในสเตเตอร์

c) กำรต่อขดลวด 3 เฟสแบบ Y d) กำรต่อขดลวดสำมเฟสแบบ D


9

End ring

3 f supply

a)

Stator Winding Squirrel cage rotor

3 f supply
Slip ring

b)
Brushes

Stator Winding Wound rotor winding

(Stator Winding may be Y or D connection.)

External
variable
resistor

รูปที่ 6.7 Schematic diagram ของมอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟส
a) แบบกรงกระรอก b) แบบขดลวดพัน
10

6.1.2 โครงสร้ำง (ต่อ)

• ประกอบด ้วย 2 สว่ นหลักๆ คือ สเตเตอร์ และ โรเตอร์

• มีกำรแบ่งชนิดและประเภทตำมลักษณะของโรเตอร์ คือ

• มอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟสแบบกรงกระรอก (Squirrel cage rotor)

• มอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟสแบบขดลวดพัน (Wound rotor)

• Stator – ทำจำก punched laminate sheet steel ซงึ่ มี slots สำหรับพันขดลวด


ไฟฟ้ ำ 3 เฟสลงไป โดยแต่ละขดหรือเฟสวำงทำมุมกัน 120o

่ ป้ อนไฟ 3 เฟสให ้แก่ขดลวดซงึ่ อำจต่อแบบ Y


• เมือ หรือแบบ D ก็ได ้ จะทำให ้เกิด
Revolving magnetic field วิง่ วนรอบอยูร่ ะหว่ำงขดลวดทัง้ สำม โดยควำมเร็วใน
กำรหมุนวนมีคำ่ เท่ำกับ ควำมเร็ว Synchronous speed
11

• ควำมเร็ว Synchronous speed


120 f
Ns  (rpm) (6-1)
P

เมือ
่ f คือ ควำมถีข
่ องแหล่งจ่ำย (Hz)

P คือ จำนวนขัว้ แม่เหล็ก (poles)

• สนำมแม่เหล็กทีไ่ ด ้จะหมุนตัดตัวนำของโรเตอร์ ทำให ้เกิดแรงเคลือ


่ นเหนีย
่ วนำในโรเตอร์
แต่เนื่องจำกโรเตอร์เป็ นวงจรปิ ด ดังนั น
้ จึงเกิดกระแสไหลครบวงจร และ ทำให ้เกิด แรงบิด
หมุนขับโรเตอร์ของมอเตอร์ให ้หมุนไปได ้
12

Squirrel Cage Rotor

• ใชกั้ นแพร่หลำย มีโครงสร ้ำงแข็งแรง ทำจำก Laminate sheet steel มี slots


สำหรับใส่ Conductors ซงึ่ ทำมำจำกซท
ี่ องแดง, อลูมเิ นียม หรือโลหะผสมระหว่ำง
ทองแดงกับอลูมเิ นียมก็ได ้

• แท่งตัวนำจะถูกลัดวงจรโดยวงแหวน (End ring) ทีห


่ ัวและท ้ำยทำให ้โครงสร ้ำงมี
ลักษณะคล ้ำยกรงกระรอก และ End ring ทำให ้ตัวนำของโรเตอร์มล
ี ก
ั ษณะเป็ นแบบ
วงจรปิ ด (Closed loop) ดังนั น ี ว่ นประกอบทีส
้ จึงไม่มส ่ ำมำรถต่อออกไปยังวงจร
ภำยนอกได ้

• เหมำะสำหรับงำนทีต
่ ้องกำร Starting torque ไม่สงู นัก

• มอเตอร์แบบนีเ้ รียกอีกอย่ำงว่ำ Brushless motor


13

Wound Rotor

• มีขดลวด 3 ขดต่อแบบ Y ปลำยทีเ่ หลืออีกสำมปลำยนำไปต่อไว ้กับ Slip ring เพือ่


นำมำต่อแปรงถ่ำนออกไปยังวงจรภำยนอก

่ ่อ จะต่อเข ้ำกับตัวต ้ำนทำน 3 ตัวซงึ่ ต่อแบบ Y และสำมำรถปรับค่ำ


• วงจรภำยนอกทีต
ได ้ ซงึ่ จะชว่ ยในกำรเริม
่ เดินเครือ
่ งเป็ นกำรจำกัดกระแสขณะสตำร์ท และ ตัวต ้ำนทำนนี้
้ บแรงบิดเพือ
ยังมีประโยชน์ในกำรใชปรั ่ ขับโหลดตำมทีต
่ ้องกำรได ้อีก

• ทีข
่ นำดพิกด ิ ธิภำพตำ่ กว่ำ เนือ
ั เท่ำกันกับ Squirrel cage rotor จะมีประสท ่ งจำกทีโ่ ร
เตอร์มค ี ได ้มำกกว่ำ
ี วำมต ้ำนทำนสูงกว่ำ และเกิดกำลังสูญเสย

• เหมำะสำหรับงำนทีต
่ ้องกำร Starting torque สูงๆ

• มอเตอร์แบบนีเ้ รียกอีกอย่ำงว่ำ Wound rotor motor หรือ Slip ring motor ก็ได ้
14

6.2 กำรเกิดสนำมแม่เหล็กหมุน

a)

กำรพิสจ
ู น์อย่ำงง่ำย
1) เขียนต ้นปลำยของขดลวดทัง้ สำมขดวำงทำมุมกัน
120 องศำ
b) c) d)
2) เขียนทิศทำงกระแสทีเ่ วลำ t ใดๆ ดังนี้
I+ ไหลเข ้ำต ้นขดเป็ น  ไหลออกท ้ำยขดเป็ น 
I- ไหลเข ้ำต ้นขดเป็ น ไหลออกท ้ำยขดเป็ น 

3) เขียนเสนแรงสนำมแม่
เหล็กรอบตัวนำย่อยแต่ละอัน
e) f) g
4) เขียนสนำมแม่เหล็กรวมของทัง้ หมด
รูปที่ 6.8 กำรเกิดสนำมแม่เหล็) กหมุน
15

6.3 หล ักกำรทำงำนของมอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส
• ขณะทีข
่ ดลวดของสเตเตอร์รับไฟ 3 เฟสจำกแหล่งจ่ำยทำให ้เกิดสนำมแม่เหล็กหมุนตำมรูปที่ 6.8

• สนำมแม่เหล็กหมุนทีเ่ กิดขึน
้ จะตัดกับตัวนำของโรเตอร์ ทำให ้เกิดแรงเคลือ
่ นเหนี่ยวนำในโรเตอร์

• แรงเคลือ
่ นเหนีย
่ วนำทีไ่ ด ้ก่อให ้เกิดกระแสภำยในวงจรปิ ดของโรเตอร์

• กระแสทีไ่ หลภำยในตัวนำของโรเตอร์จะทำให ้เกิดแรงและแรงบิดบนตัวนำเป็ นไปตำมสมกำร

F  i  (l  B ) (N) (6-2)

T  r F (N-m) (6-3)

• แรงบิดทีไ่ ด ้ทำหน ้ำทีข


่ บ
ั โรเตอร์ให ้หมุนต่อไป
16

6.4 สลิป (Slip)


•ควำมเร็ ว สัมพั ทธ์หรือส่วนต่ำงระหว่ำงควำมเร็ วของสนำมแม่เหล็ ก หมุน (Ns) กับควำมเร็ วของโร
เตอร์ (Nr) เรียกว่ำ Slip speed (ควำมเร็วเลือ
่ น)
Slip speed  N s  N r (6-4)

• อัตรำสว่ นระหว่ำงควำมเร็วเลือ
่ นต่อ Synchronous speed เรียกว่ำ Slip (s)

Ns  Nr 
s 
Ns 
 (6-5)
Ns  Nr
%s   100%
Ns 
• ดังนัน
้ ควำมเร็วของโรเตอร์ (Nr) คำนวณได ้จำก Ns และ Slip ดังนี้

N r  (1  s) N s (6-6)

• ถ ้ำโรเตอร์ไม่หมุน, หยุดนิง่ , (ถูกกระทำ) locked rotor test ค่ำ s = 1


• ถ ้ำโรเตอร์หมุนที่ Synchronous speed (Ns) ได ้ s = 0
• Slip มีคำ่ เป็ นได ้ทัง้ บวก (Motor mode), ลบ (Generator mode) และ มำกกว่ำ 1 (braking mode)
17

6.5 ควำมถีข
่ องกระแสในโรเตอร์
• f คือ ควำมถีข
่ องกระแสไฟฟ้ ำในโรเตอร์ขณะหยุดนิง่ หรือ ควำมถีข
่ องกระแสไฟฟ้ ำ
บนสเตเตอร์ (ควำมถีข
่ องแหล่งจ่ำย)
• fr คือควำมถีข
่ องกระแสไฟฟ้ ำในโรเตอร์ท ี่ slip ใดๆ เรียกว่ำ Slip frequency

120 f r
Ns  Nr  (6-7)
P
และจำก
120 f
Ns 
P
ดังนัน

Ns  Nr f (6-8)
 r s
Ns f

หรือ
f r  sf (6-9)
18

ต ัวอย่ำงที่ 6.1

Induction machine สำมเฟสแบบขดลวดพัน มี 6 ขัว้ ถูกกระตุ ้นโดยแหล่งจ่ำยไฟซงึ่ มี


ควำมถี่ 60 Hz จงคำนวณหำค่ำควำมถีข
่ องกระแสในโรเตอร์ ภำยใต ้สถำนกำรณ์ดงั ต่อไปนี้

ก) โรเตอร์หยุดนิง่ (standstill)

ข) โรเตอร์หมุนทีค
่ วำมเร็ว 500 rpm ในทิศเดียวกันกับสนำมแม่เหล็กหมุน

ค) โรเตอร์หมุนทีค
่ วำมเร็ว 500 rpm ในทิศสวนทำงกับสนำมแม่เหล็กหมุน

ง) โรเตอร์หมุนทีค
่ วำมเร็ว 2000 rpm ในทิศเดียวกับสนำมแม่เหล็กหมุน
19

6.6 พำรำมิเตอร์ตำ่ งๆ ของโรเตอร์ขณะหยุดนิง่


และขณะหมุนที่ slip = s ใดๆ
• Induction motor เปรียบเสมือน Rotating transformer ดังนัน ้
้ จึงใชวงจรสมมู ่ เดียวกับของ
ลเชน
หม ้อแปลงได ้ แต่ทำงด ้ำนทุตย
ิ ภูมจ
ิ ะถูกลัดวงจร

กำหนด

• Subscript 2 ใชกั้ บพำรำมิเตอร์ของโรเตอร์ขณะหยุดนิง่

• Subscript r ใชกั้ บพำรำมิเตอร์ของโรเตอร์หมุนที่ slip = s ใดๆ

• Subscript 1 หรือ s ใชกั้ บพำรำมิเตอร์บนสเตเตอร์

• ค่ำพำรำมิเตอร์ทท ึ ษำเป็ นค่ำต่อเฟสทัง้ หมด


ี่ ำกำรศก
20

ตำรำงที่ 1 กำรกำหนดค่ำพำรำมิเตอร์ตำ่ งๆ บนโรเตอร์

ขณะหยุดนิง่ ขณะหมุนด้วยslip = s
f2 = f fr=sf2
E2 Er=sE2
X2=2f2L2=2fL2 Xr=2frL2=2sf2L2
=s(2f2L2)=sX2
R2 Rr=R2 (Rไม่แปรตำมควำมถี)่

Z2  R2
2  X 22  Zr  R2
2  (sX 2 ) 2 

R2 Rr R
cos 2  cos r   2
Z2 Zr Zr

E2 Er sE2
I2  Ir  
Z2 Zr Zr
21

ต ัวอย่ำงที่ 6.2
มอเตอร์เหนีย
่ วนำ 3 เฟส 4 ขัว้ แบบขดลวดพัน 380 V 50 Hz ขดลวดทีส ่ แบบ D และ
่ เตเตอร์ตอ
ขดลวดทีโ่ รเตอร์ตอ
่ แบบ Y ถ ้ำจำนวนรอบของขดลวดทีโ่ รเตอร์เป็ น 40% ของจำนวนรอบขดลวดที่
่ เข ้ำตัวต ้ำนทำนภำยนอกแบบปรับค่ำได ้ซงึ่ ต่อแบบ Y
สเตเตอร์ และ Slip ring ที่ โรเตอร์ตอ

ี ำ่ คตท. = 1 W/f ค่ำรีแอกแทนซ ์ = 4 W/f และ คตท.


ก) ขณะโรเตอร์หยุดนิง่ โรเตอร์มค
ภำยนอกทีต
่ ่อเข ้ำกับสลิปริง ถูกลัดวงจร จงคำนวณหำค่ำต่ำงๆ ดังต่อไปนี้ แรงดัน ต่อเฟส กระแส
เฟส ค่ำตัวประกอบกำลังของโรเตอร์ และ แรงดันระหว่ำงสลิปริง

ข) เมือ
่ โรเตอร์หมุนทีค
่ วำมเร็วเท่ำก ับ 1,425 rpm และ คตท. ภำยนอกทีต
่ อ
่ เข ้ำกับสลิปริงมี
ค่ำเท่ำกับ 3 W/f จงคำนวณหำค่ำต่ำงๆ ดังต่อไปนี้ สลิบ ควำมถีข
่ องกระแสในโรเตอร์ แรงดั นต่อ
เฟส กระแสเฟส และ ค่ำตัวประกอบกำลัง ของโรเตอร์

วิธท
ี ำ
22
23


ข้อสงเกต ต ัวอย่ำงที่ 6.2
มอเตอร์เหนีย
่ วนำ 3 เฟส 4 ขัว้ แบบขดลวดพันขนำด 380 VLL 50 Hz เมือ
่ ต่อแบบที่
่ 1) แบบ D และ 2) แบบ Y และขดลวดทีโ่ รเตอร์ตอ
สเตเตอร์ตอ ่ แบบ Y ถ ้ำจำนวนรอบ
ของขดลวดทีโ่ รเตอร์เป็ น 40% ของจำนวนรอบขดลวดทีส
่ เตเตอร์ และ Slip ring ทีโ่ ร
่ เข ้ำตัวต ้ำนทำนภำยนอกแบบปรับค่ำได ้ซงึ่ ต่อแบบ Y จงหำค่ำ V1 และ E2 ของ
เตอร์ตอ
วงจรสมมูลแบบต่อเฟส Case Y Case D
VLL 380
Vf Y    220 V/ f  V1/f Vf D  VLL  380 V/ f  V1 / f
วิธีทำ 3 3
 E2 / f  0.4  380  152 V / f
 E2 / f  0.4  220  88 V / f
24

6.7 วงจรสมมูลต่อเฟส Is Rs Xs I's Ir X2

IO
Is Rs Xs I's R2 Xr = sX2
Ir Ic Im
Vs Rc Xm Es E2 R2/s
IO Hypothetical
resistance
Ic Im Calculate by using stand still
parameters (R2, X2, E2) and
together with dynamic resistance
Vs Rc Xm Es Er = sE2
Ns : Nr

STATOR ROTOR

Ns : sNr b)
Is Rs Xs I's R2 X2
STATOR ROTOR
Ir
IO Static

a) Ic Im
resistance

Vs Rc Xm Es E2 R2(1-s)/s
หมำยเหตุ R2  Stand still resistance or Static resistance Calculate by using stand still
Dynamic
resistance

parameters (R2, X2, E2) and


R2 together with dynamic resistance
 Hypothetical resistance
s Ns : Nr

R2 (1  s )
 Dynamic resistance STATOR ROTOR

s
c)

รูปที่ 6.9 วงจรสมมูลต่อเฟสของมอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟส
25

6.8 สมกำรแรงบิดทว่ ั ไป
• สมกำรแรงบิดของ DC motor คือ T = KfIa
เมือ
่ f ์ นสเตเตอร์เนือ
เป็ นฟลักซบ ่ งจำกสนำมแม่เหล็กของขดลวดสนำม
Ia คือ กระแสในสว่ นของโรเตอร์ทท
ี่ ำให ้เกิดแรงบิดขับโหลด
ทำนองเดียวกัน สำหรับมอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส
สมกำรแรงบิดทั่วไปคำนวณได ้จำก T  fstator I rotor (6-10)

• พิจำรณำ Irotor เนื่องจำกเป็ นปริมำณกระแสสลับดังนั น


้ จำเป็ นต ้องนำค่ ำตัว
ประกอบกำลังมำพิจำรณำด ้วย ดังนี้
I rotor (ที่ slip  s ใดๆ)  I r cos θr (6-11)

• สว่ นในกรณี ของ f นั น ้ แปรตำมค่ำแรงดัน E2 ซงึ่ E2 และ E1 หรือ Es เป็ นสัดสว่ นต่อกัน
ตำม Effective turn ratio ของจำนวนขดลวดทีส ่ เตเตอร์กบ
ั จำนวนขดลวดทีโ่ รเตอร์
ดังนัน้ จึงแทน f ด ้วยค่ำแรงดัน E2 ทำให ้สมกำร (6-10) สำมำรถเขียนได ้ใหม่เป็ น

่ วนำ T  K1fI r cos r 


สมกำรแรงบิดทว่ ั ไปของมอเตอร์เหนีย (Nm) (6-12)

 K 2 E2 I r cos r 
26

6.9 สมกำรแรงบิดขณะหมุนที่ Slip = s ใดๆ


จำกสมกำรที่ (6-12) ได ้
Er sE2
Ir   (6-13)
Zr R22  sX 2 
2

R2
cos r  (6-14)
R22  sX 2 
2

K1fsE2 R2 K 2 sE22 R2
T Slip s   2
 R  sX  
2 2
2
R2 sX 2 2
 (6-15)
 2 2

27

6.10 ค่ำแรงบิดทว่ ั ไปสูงสุด (Maximum torque, Tmax)

ทัง้ นีเ้ นือ


่ งจำกเมือ
่ มอเตอร์ขบ
ั โหลดทีค
่ วำมเร็วทีแ
่ ตกต่ำงกัน (หรือที่ slip = s ใดๆ) จะให ้
แรงบิดไม่เท่ำกัน ดังนั น
้ เมือ
่ ต ้องกำรทรำบค่ำแรงบิดสูงสุดจะเกิดขึน
้ เมือ
่ มอเตอร์ขบ
ั โหลด
ทีค
่ วำมเร็ วเท่ำกับเท่ำไร ดังนั น
้ จึงต ้องทำกำรหำอนุพันธ์ของสมกำรแรงบิดทั่ วไป (6-15)
เทียบกับค่ำ slip ได ้ผลดังนี้

 0  Tmax  R2  sX 2 
dT
(6-16)
ds
R
s max  2 (6-17)
X2
แทนค่ำ (6-17) ใน (6-15) ได ้
K 2 E22
Tmax  (6-18)
2X2
28


ข้อสงเกตสมกำรที ่ (6-17) และ (6-18)

• เมือ ี ำ่ ควำมต ้ำนทำนและค่ำรีแอกแทนซเ์ ท่ำกับ R2 และ X2 มอเตอร์จะขับ


่ มอเตอร์มค
โหลดและให ้แรงบิดสูงสุดเมือ ่ วำมเร็วซงึ่ มีคำ่ slip =
่ มอเตอร์หมุนทีค S max ตำม
สมกำรที่ (6-17)

• ค่ำ (ขนำดของ) แรงบิดสูงสุดไม่ขน


ึ้ กับค่ำ R2 แต่อย่ำงใด (ดูรป
ู ที่ 6.13)

• ในกรณี ท ี่เ รำสำมำรถควบคุม ค่ำ R2 ได ้ เช ่น ในกรณี ข องมอเตอร์เ หนี่ ย วน ำแบบ


ขดลวดพั น เรำสำมำรถควบคุม ให ้มอเตอร์ ออกแรงบิดขับโหลดมำกสุด ทีค
่ วำมเร็ ว
ต่ำงๆ ตำมทีเ่ รำต ้องกำรได ้โดยกำรปรับค่ำ R2 ซงึ่ จะสง่ ผลต่อค่ำ S max ด ้วย นั่น
คือทำให ้ค่ำ Slip หรือตำแหน่งควำมเร็วทีก
่ อ
่ ให ้เกิดแรงบิดสูงสุดเปลีย
่ นไปตำมค่ำ R2
ทีเ่ รำทำกำรควบคุม
ื่ เรียกว่ำ Breakdown
• ค่ำ Tmax ทีไ่ ด้ตำมสมกำรที่ (6-18) มีชอ torque หรือ Pullout
torque
29

6.11 สมกำรแรงบิดเริม
่ หมุน (Starting torque, Tst)
• ขณะเริม
่ หมุนเทียบได ้กับเหตุกำรณ์เดียวกันกับกรณีหยุดนิง่ ดังนั น
้ จำกตำรำงที่ 1 และ
วงจรสมมูลตำมรูปที่ 6.9 ได ้

E2 E2
Ir  I2   (6-19)
Z2 R X 2
2
2
2

R2
cos r  cos 2  (6-20)
R X2
2
2
2

K1fE2 R2 K 2 E22 R2 (6-21)


Tst   2
 R22  X 22 
2
R2  X 22 
30

6.12 ค่ำแรงบิดเริม
่ หมุนสูงสุด (Maximum starting
torque, Tst,max)
• เนื่องจำกกำรปรับค่ำแรงบิดเริม
่ หมุนเรำสำมำรถควบคุมได ้โดยกำรเปลีย
่ นแปลงค่ ำ R2
(ในกรณีของ wound rotor) โดยกำรปรับค่ำควำมต ้ำนทำนทีน
่ ำต่อแบบ Y และต่อผ่ำนสลิ
ปริงเข ้ำกับขดลวดทีโ่ รเตอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำแบบขดลวดพัน ดังนั น
้ ค่ำแรงบิดสูงสุด
จึงหำได ้จำกกำรหำอนุพันธุข
์ องสมกำรที่ (6-21) เทียบกับค่ำ R2 ดังนี้

 0  Tst ,max  R2  X 2 


dTst
(6-22)
dR2
K1fE2 K1fE2 K 2 E22 K 2 E22
Tst ,max     (6-23)
2 R2 2X2 2 R2 2X2
31

รูปที่ 6.10 กรำฟคุณลักษณะสมบัตข


ิ องมอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส
32

a) b)

รูปที่ 6.11 กรำฟคุณลักษณะสมบัตข


ิ อง Induction machine เมือ
่ ทำงำนที่ mode ต่ำงๆ
33

รูปที่ 6.12 กรำฟคุณลักษณะสมบัตข


ิ องมอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส
เมือ
่ พิจำรณำแรงบิด และ กำลังเหนีย
่ วนำทีเ่ กิดขึน
้ (Pconv)
34

ิ พิจำรณำผลของ
• จำกรูปที่ 6.13 ให ้นิสต
กำรปรับค่ำควำมต ้ำนทำนในขดลวดพัน
ของโรเตอร์แบบ wound ทีม
่ ต
ี อ
่ ค่ำ

• Tmax

• Tst (Starting torque)

• ตำแหน่งทีเ่ กิด Tmax (หรือ


ตำแหน่งของค่ำ S max )

รูปที่ 6.13 กรำฟคุณลักษณะสมบัตข ิ องมอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟส
เมือ
่ ทำกำรปรับค่ำควำมต ้ำนทำนในขดลวดของโรเตอร์
(ในกรณีของมอเตอร์แบบขดลวดพัน)
35

ิ เรือ
อย่ำลืมบอกนิสต ่ ง

 d1  m1
กะ
d2  m2

รูปที่ 6.14 ผลของกำรปรับค่ำควำมต ้ำนทำนในขดลวดของโรเตอร์


36


6.13 กำล ังงำนและกำล ังสูญเสย

a)

b) Power flow diagram

รูปที่ 6.15 กำรไหลของกำลังงำนในมอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟส
37

รูปที่ 6.16 กำรไหลของกำลังงำนในมอเตอร์เหนีย


่ วนำสำมเฟส
38

Is Rs Xs I's R2 X2
Ir
IO (SCL) (RCL)

Ic Im
Vs Rc Xm Es E2 R2(1-s)/s
(Core loss) (Pconv)

Ns : Nr

STATOR ROTOR

ั พันธ์กบ
รูปที่ 6.17 วงจรสมมูลและควำมสม ั กำลังงำนในสว่ นต่ำงๆ
39


6.13.1 ชนิดของกำล ังงำนและกำล ังสูญเสย
1) กำล ังเข้ำของมอเตอร์ (Pin) คือกำลังไฟฟ้ ำสำมเฟสทีค
่ ำนวณได ้จำกแรงดัน กระแส และ ตัวประกอบ
กำลังทำงด ้ำนสเตเตอร์

2) ี ในสเตเตอร์ (PSL) ประกอบด ้วย


กำล ังสูญเสย

2.1) Stator Copper Losses (PSCL) มีคำ่ แปรตำมกระแสกำลังสองของทำงด ้ำนสเตเตอร์

2.2) Core losses (Pcore) ได ้แก่ Hysteresis loss และ Eddy current loss มีคำ่ แปรตำมแรงดันกำลัง
สองของทำงด ้ำนสเตเตอร์ (แต่ในบทนีก
้ ำหนดให ้มีคำ่ คงทีท
่ ก
ุ ย่ำนโหลด)

3) Air Gap power (PAG) คือ

• กำลังงำนทีข ่ งอำกำศ หรือ


่ ้ำมหรือถ่ำยเทจำกสเตเตอร์ไปยังโรเตอร์โดยผ่ำนชอ

• กำลังออกของสเตเตอร์ (Pout-stator)

• กำลังเข ้ำของโรเตอร์ (Pin-rotor)


40

4) Rotor Copper Loss (PRCL) คือ กำลังสูญเสย ี ำ่ เป็ น s % ของ PAG


ี ในขดลวดของโรเตอร์มค

5) Conversion power (Pconv) หรือ Develop power (Pdel) คือ

• กำลังออกของโรเตอร์ (Pout-rotor) หรือ

• ี ทำงไฟฟ้ ำและเปลีย
กำลังทีเ่ หลือจำกกำรสูญเสย ่ นรูปเป็ นกำลังงำนกล หรือ

• กำลังงงำนไฟฟ้ ำสุทธิสด
ุ ท ้ำย หรือ

• กำลังงำนกลสุทธิเริม
่ ต ้น

• ผลคูณของ ind, e, del กับ ควำมเร็วของมอเตอร์ (wm, wr)

ิ ธิภำพของโรเตอร์
6) ประสท

PAG  PRCL P N
 rotor   conv  (1  s)%  r % (6-24)
PAG PAG Ns
41

7) ี ทำงกล (Pmech , PF+W) ประกอบด ้วย กำลังสูญเสย


กำล ังสูญเสย ี เนือ
่ งจำก ควำม
ฝื ด และ ลมต ้ำน (ประมำณให ้มีคำ่ คงทีท
่ ก
ุ ย่ำนโหลด)

8) ี ทีไ่ ม่สำมำรถรวมลงในกำลังสูญเสย
Stray load loss คือกำลังสูญเสย ี ในกลุม
่ ใดๆ
้ ำหนดให ้มีคำ่ เท่ำกับ 1% ของ Pout)
(สำหรับบทนีก

9) ั ได ้จำกแรงบิดขับโหลด (m) และ


กำล ังออกของมอเตอร์ (Pout) คือ กำลังกลทีว่ ด
ควำมเร็วทีเ่ พลำ (wm)

ิ ธิภำพของมอเตอร์เหนีย
10) ประสท ่ วนำสำมเฟส
หมำยเหตุ
Pout 
 motor  100%   2N s 
Pin  ่ ws  
เมือ  (rad / sec)
  60 
Pout
 100% (6-31)  2N m 
Pout  Losses  และ w m    (rad / sec)
 60 
Pin  Losses 
 100% 
Pin  โดยที่ N มีหน่วยเป็ น rpm
42

6.14 กำรเริม
่ เดินเครือ
่ ง
6.14.1 แบบขดลวดพ ัน โดยกำรใชตั้ วต ้ำนทำนภำยนอกต่อเข ้ำไป เพือ่ จำกัด
กระแสในขณะสตำร์ท ผลของตัว ต ้ำนทำนยั ง ช ่ว ยเพิม
่ แรงบิด เริม
่ หมุน ได ้อีก ด ้วย (รูป ที่
6.13)
3 f supply
Slip ring

Brushes

Stator Winding Wound rotor winding

(Stator Winding may be Y or D connection.)

รูปที่ 6.18 External


variable
resistor

หมำยเหตุ กำรกลับทำงหมุนของมอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส สำมำรถทำได ้โดยกำรสลับสำยคูใ่ ดคูห
่ นึง่ ทีป
่ ้ อนไฟ
ให ้แก่ ส เตเตอร์ ทิศ ทำงกำรหมุ น ของมอเตอร์เ หนี่ ย วน ำสำมเฟสก็ จ ะกลั บ เป็ นตรงกั น ข ้ำม (หรื อ กำรสลั บ
sequence ทีป
่ ้ อนให ้แก่สเตเตอร์นั่นเอง)
43

6.14.2 แบบกรงกระรอก

ก) Direct-on-line (DOL) สำหรับมอเตอร์ทม


ี่ ข
ี นำดไม่ใหญ่มำกนัก (ไม่เกิน 2 kW)

ข) Reduced voltage starter

• Auto transformer starting เป็ นหม ้อแปลงแบบมี Tap เพือ


่ ค่อยๆ ปรับเพิม

แรงดันในขณะเริม
่ เดินเครือ
่ งไปเป็ นขัน
้ ๆ
44

• Y-D starting เป็ นกำรสตำร์ทมอเตอร์แบบ Y (star) และ run มอเตอร์แบบ DELTA


(Start Y-Run D) กำรเริม
่ เดินเครือ
่ งแบบ Y จะมีคำ่ กระแสขณะเริม
่ เดินเครือ
่ งเป็ น 1 ใน
3 ของกำรเริม
่ เดินเครือ
่ งแบบ D A B C

พิสจ
ู น์ IL VL

V p VL / 3 Y

I LY  I p   ( A) D

Z Z Ip Vp
V  V 
I LD  3I p  3  p   3  L  ( A)
Z  Z  Y
D รูปที่ 6.19 Y-D
Starting circuit
D Z Y
 VL / 3 
 
 Z  1
 
I LY
 IL
I LD V  3 A
3 L  IL
Z  A

Z
Ip Vp Ip VL = Vp
VL Z Z

Z
B B
Z Z
C
C
45

ต ัวอย่ำงที่ 6.3
มอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส 6 ขัว้ 50 Hz ให ้กำลังออก 3.3 kW ขณะขับโหลดทีค
่ วำมเร็ว
ี ทำงกลเท่ำกับ 165 W และกำลังสูญเสย
950 rpm เกิดกำลังสูญเสย ี ทีส
่ เตเตอร์เท่ำกับ
250 W จงคำนวณหำ

ก) แรงบิดทีม
่ อเตอร์สร ้ำงขึน

ข) แรงบิดขับโหลด

ี ในโรเตอร์
ค) กำลังสูญเสย

ง) กำลังงำนทีเ่ ข ้ำสเตเตอร์
46

ต ัวอย่ำงที่ 6.4
มอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส 380 V 50 Hz 8 ขัว้ ขณะโรเตอร์ไม่หมุนวัดแรงดันทีข
่ วั ้ สลิปริงได ้ 346.5
ี ำ่ ควำมต ้ำนทำน 0.5 W มีแรงบิดสูงสุดทีค
V โรเตอร์มค ่ วำมเร็ว 450 rpm

ขณะขับโหลดหมุนทีค
่ วำมเร็ว 720 rpm ดึงกระแสจำกแหล่งจ่ำย 20 A ทีต
่ ัวประกอบกำลัง
ี เนื่ อ งจำกควำมฝื ดและลมต ้ำนเป็ น 2% ของก ำลัง งำนที่ขับ โหลด
80% ตำมหลั ง มีก ำลั ง สูญ เส ย
จงคำนวณหำ

ี ในขดลวดของโรเตอร์
ก) กำลังสูญเสย

ข) กำลังออกและแรงบิดขับโหลดของมอเตอร์

ิ ธิภำพของมอเตอร์
ค) ประสท

ง) แรงบิดเหนีย
่ วนำทีโ่ รเตอร์ เมือ
่ มอเตอร์หมุนทีค
่ วำมเร็วเท่ำกับ 600 rpm
47

ต ัวอย่ำงที่ 6.5
มอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส 380 V 50 Hz 4 ขัว้ 10 Hp ต่อแบบ Y มีคำ่ พำรำมิเตอร์ตอ
่ เฟส
ทำงด ้ำนสเตเตอร์และโรเตอร์ขณะหยุดนิง่ ดังนี้
R1 = 0.25 W, X1 = 0.5 W, RC = 1,100 W และ XM = 12.5 W
R2 = 0.50 W, X2 = 0.75 W

ี ทำงกลมีคำ่ เท่ำกับ 250 W ขณะทีม


ถ ้ำกำลังสูญเสย ่ อเตอร์ขบ
ั โหลดเต็มที่ ทีค
่ วำมเร็วสลิป
เท่ำกับ 4% มีกระแสไหลเข ้ำมอเตอร์ทต ี่ วั ประกอบกำลัง 0.8 ตำมหลัง จงคำนวณค่ำต่ำงๆ
ดังต่อไปนี้
ี ทีแ
ก) กำลังสูญเสย ่ กนเหล็ก
ิ ธิภำพ
ข) กระแสทีไ่ หลเข ้ำมอเตอร์, กำลังเข ้ำมอเตอร์, ประสท
ค) Electromagnetic torque, Breakdown torque, Starting torque
ถ้ำเพิม
่ ค่ำ R2 อีก 10% จงคำนวณหำค่ำ
ง) ควำมเร็วทีท
่ ำให ้เกิดแรงบิดสูงสุด
จ) Breakdown torque, Starting torque
48

ต ัวอย่ำงที่ 6.6
มอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟส 380 V 50 Hz 20Hp แบบขดลวดพัน ทำงด ้ำนสเตเตอร์ ต่อ
แบบ Y ขณะทีข
่ บ
ั โหลดเต็มที่ กำลังออกทีพ
่ ก
ิ ด
ั มีควำมเร็วเท่ำกับ 1,440 rpm มีคำ่ กำลัง
ี เนื่องจำกควำมฝื ดและลมต ้ำนเท่ำกับ 930.8 W และ Slip ทีท
สูญเสย ่ ำให ้มอเตอร์ เกิด
แรงบิดสูงสุดมีคำ่ เท่ำกับ 40% จงคำนวณค่ำ

ี รวมทีส
ก) กำลังสูญเสย ้
่ เตเตอร์ของมอเตอร์ ถ ้ำขณะทีใ่ ชงำนที
พ ่ ก
ิ ัดดังกล่ำว มอเตอร์ม ี
ิ ธิภำพเท่ำกับ 82.8888% (4 คะแนน)
ประสท

ข) ค่ำแรงบิดเริม
่ หมุนของมอเตอร์ (3 คะแนน)

ค) ค่ำแรงบิดสูงสุดของมอเตอร์ (3 คะแนน)

ี Stray load loss = 1%Pout และ 1 Hp = 746 W


กำหนด กำลังสูญเสย
49

ต ัวอย่ำง 6.7
มอเตอร์เหนีย
่ วนำสำมเฟสแบบขดลวดพัน 380 V 50 Hz 4 ขัว้ 25 Hp ต่อแบบ Y เมือ
่ ทำกำร
วิเครำะห์คำ่ พำรำมิเตอร์ตอ
่ เฟสทำงด ้ำนสเตเตอร์และโรเตอร์ขณะหยุดนิง่ พบว่ำมีคำ่
R1 = 0.20 W, X1 = 0.50 W, RC = 450 W, XM = 20.0 W
R2 = 0.50 W, X2 = 0.75 W
ี ทำงกลมีคำ่ คงที่ เท่ำกับ 560 W
ถ ้ำกำลังสูญเสย
ก) ขณะทีม
่ อเตอร์ขบ
ั โหลดเต็มที่ ทีค
่ วำมเร็วสลิปเท่ำกับ 5% มีกระแสไหลเข ้ำมอเตอร์ท ี่ P.F. 0.8
ตำมหลัง จงคำนวณค่ำกระแสไหลทีเ่ ข ้ำมอเตอร์
ถ้ำปร ับค่ำ Rext ทีต
่ อ
่ เข้ำก ับขดลวดพ ันของโรเตอร์ เพิม ้ อีก 0.05 W ต่อเฟส จงคำนวณค่ำ
่ ขึน
ข) ควำมเร็วทีท
่ ำให ้เกิดแรงบิดสูงสุดค่ำใหม่และแรงบิดสูงสุดค่ำใหม่
ค) ค่ำแรงบิดเริม
่ หมุนค่ำใหม่

You might also like