You are on page 1of 13

5 การวิเคราะหความแปรปรวนในแผนการทดลองจัตุรัสลาติน

Analysis of Variance in Latin Square Design

Ô บทนํา

แผนการทดลองแบบจัตุรัสลาติน (Latin Square Design) นิยมเรียกสั้นๆวา LSD เปนแผนการทดลองหนึ่ง


ที่นิยมใชในการทํางานทดลองทางสัตว ทั้งนี้เนื่องจากผูทดลองไมสามารถหาหนวยทดลองที่มีความสม่ําเสมอกัน
เพื่อทําการทดลองแบบสุมสมบูรณ (CRD) และแบบสุมภายในบล็อก (RCBD) ได โดยแผนการทดลองแบบจัตุรัส
ลาตินจะใชในกรณีที่สามารถแยกความผันแปรของหนวยทดลองออกไดเปน 2 แหลง ซึ่งนอกเหนือจากความผันแปร
เนื่องจากทรีทเมนต ยกตัวอยางเชน การทดลองเปรียบเทียบสูตรอาหารสัตวครั้งหนึ่ง ผูทดลองอาจไมมีทางเลือก
ที่ตองใชสัตวคละเพศและคละสายพัน ธุเขาทดลอง จากเหตุการณดังกลาวจึงสงผลใหปจจัยเนื่องจากเพศและ
สายพันธุอาจมีผลตอคาสังเกตได ดังนั้นการวิเคราะหแผนการทดลองเชนนี้ ผูทดลองสามารถจัดกลุมสัตวทดลอง
แยกตามปจจัยได 2 แหลง โดยเรียกปจจัยแรกวา “ปจจัยเนื่องจากแถว” (row factor) และเรียกอีกปจจัยหนึ่งวา
“ปจจัยเนื่องจากคอลัมน” (column factor) โดยขอกําหนดในการวางแผนการทดลองแบบจัตุรัสลาตินนั้นพบวา
ใน แตละแถวและในแตละคอลัมนจะตองมี ทรีทเมนตครบทุกทรีทเมนต และเนื่องจากคาสังเกต (observation) ที่ได
สามารถจําแนกเปนกลุมไดดวยอิทธิพลของสามปจจัย (ปจจัยเนื่องจากทรีทเมนต, ปจจัยเนื่องจากแถว และปจจัย
เนื่องจากคอลัมน) ดังนั้นบางครั้งจึงเรียกการวิเคราะหแผนการทดลองนี้วาการวิเคราะหขอมูลแบบ three – way
classification

Ô วัตถุประสงค

1. นักศึกษาเขาใจและสามารถอธิบายลักษณะของแผนการทดลองแบบจัตุรัสลาตินได
2. สามารถวางแผนการทดลองแบบจัตุรัสลาตินและอธิบายองคประกอบตางๆเชน โมเดลทางสถิติ ผังการทดลอง
และตารางวิเคราะหคาความแปรปรวน ได
3. สามารถอธิบายหลักการสุม การวิเคราะห และสรุปผลการทดลองได
Ô ขั้นตอนการวิเคราะห

วิเคราะหปจจัยที่เปนทรีทเมนต
แถว คอลัมน และคาสังเกต
เขียนผังการทดลอง
ตั้งสมมุติฐาน

เขียนโมเดลทางสถิติ

คํานวณ df , SS , MS

สรางตารางวิเคราะหความแปรปรวน

MST MSR
คํานวณ FT = , FR = , F = MSC
MSE MSE C MSE

เปรียบเทียบคา FTกับ Fα (df trt , df err ) , FR กับ Fα (df row , df err )


และ FC กับ Fα (df col , df err )

สรุปผลการทดลอง
Ô ตัวอยางการวิเคราะห

ในการทดสอบเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องรีดนม 4 ชนิด (A, B, C และ D) โดยใชแมโคในระยะการ


ใหนม (lactation number) ตางกัน 4 ระยะการใหนม ระยะการใหนมละ 4 ตัว และใชคนรีดจํานวน 4 คน โดยผูรีดนม
ทุกคนจะไดใชเครื่องรีดนมครบทั้ง 4 ชนิด และไดรับการรีดนมจากแมโคครบทั้ง 4 ตัว ทําการเก็บขอมูลปริมาณน้ํานม
ที่รีดไดเปนกิโลกรัมตอนาทีดังนี้

column
row Man1 Man2 Man3 Man4 Sum
Lac1 A 3.5 B 8.2 C 6.7 D 6.6 25.0
Lac2 D 8.9 A 1.9 B 5.8 C 4.5 21.1
Lac3 C 9.6 D 3.7 A 2.7 B 6.7 22.7
Lac4 B 10.5 C 10.2 D 4.6 A 3.7 29.0
Sum 32.5 24.0 19.8 21.5 97.8
Mean 8.13 6.00 4.95 5.38 6.11

หมายเหตุ : Lac1,Lac2,Lac3 และ Lac4 แทนระยะการใหนมครั้งที่ 1, 2, 3 และ 4


Man1,Man2,Man3 และ Man4 แทนคนรีดคนที่ 1, 2, 3 และ 4

จากงานทดลองผูทดลองตองการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องรีดนมทั้ง 4 ชนิดวามีผลตอปริมาณ
น้ํานมที่รีดไดแตกตางกันหรือไม ขั้นตอนการวิเคราะหมีดังนี้

1. วิเคราะหปจจัยที่เปนทรีทเมนต แถว คอลัมน และคาสังเกต


ทรีทเมนต : เครื่องรีดนม 4 ชนิด
แถว : ระยะการใหนม 4 ระยะ (lactation)
คอลัมน : คนรีด 4 คน
จํานวนหนวยทดลอง : 16 หนวยทดลอง
คาสังเกต : ปริมาณน้ํานมที่รีดไดเปนกิโลกรัมตอนาที
ผังการทดลอง :
Man1 Man2 Man3 Man4

Lac1 A B C D

Lac2 D A B C

Lac3 C D A B
A
Lac4 B C D
2. ตั้งสมมุติฐานของงานทดลอง (Hypothesis setting)
H O : μ A = μ B = μC = μ D
HA : มีคาเฉลี่ยอยางนอย 1 คูที่แตกตางกัน
เมื่อ μ A , μ B , μ C , μ D เปนคาเฉลี่ยของปริมาณน้ํานมที่รีดไดเปนกิโลกรัมตอนาทีเมื่อโคไดรับ ทรีทเมนต A,
B, C และ D ตามลําดับ

3. เขียนโมเดลทางสถิติ (Statistical model)


Yijk = μ + τ i + α j + β k + ε ijk
เมื่อ
Yijk = คาสังเกตที่ไดจากทรีทเมนตที่ i เมื่อ i = 1,2,…,4 แถวที่ j เมื่อ j = 1,2,…,4 คอลัมนที่ k เมื่อ k = 1, 2,
…, 4
μ = คาเฉลี่ยรวม (overall mean)
τi = อิทธิพลเนื่องจากทรีทเมนตที่ i เมื่อ i = 1, 2, …, 4, (เครื่องรีดนม 4 ชนิด)
αj = อิทธิพลเนื่องจากแถวที่ j เมื่อ j = 1, 2, …, 4 (ระยะการใหนม 4 ระยะ)
βk = อิทธิพลเนื่องจากคอลัมนที่ k เมื่อ k = 1, 2, …, 4 (คนรีดนม 4 คน)
ε ijk = ความคลาดเคลื่อนของงานทดลอง

4. วิเคราะหคาความแปรปรวน (Analysis of Variance)


1) คํานวณ degree of freedom (df)
กําหนด t = จํานวนทรีทเมนต, r = จํานวนแถว, c = จํานวนคอลัมน, n = จํานวนหนวยทดลองทั้งหมด
df tot = n −1 = c*r −1 = 15
df row = r −1 = 4 −1 =3
df col = c −1 = 4 −1 =3
df trt = t −1 = 4 −1 =3
df err = df tot − df row − df col − df trt = (t − 1)(t − 2) = 6

2) คํานวณคา Correction factor (C.F.)


C.F. = y..2 /(r * c)
= (ผลรวมของขอมูลทั้งหมด)2/(จํานวนหนวยทดลอง)
= (97.8)2 / (4)(4)
= 9,564/16
= 597.80
3) คํานวณ Sum Square (Note: SSTotal = Total SS, SSR = Row SS, SSC = Column SS,
SST = Treatment SS, SSE = Error SS)
SSTotal = ∑ y ij2 − CF
= (ผลรวมของแตละคาสังเกตยกกําลังสอง) - CF
= (3.5 2 + 8.9 2 + 9.6 2 ,...,3.7 2 ) − CF
= 711.82 – 597.80
= 114.02
y i2.
SST = ∑ t
− CF

= (ผลรวมของแตละทรีทเมนตกําลังสอง/จํานวนทรีทเมนต) - CF
⎛ 11.8 2 31.2 2 31.0 2 23.8 2 ⎞
= ⎜⎜ + + + ⎟⎟ − CF
⎝ 4 4 4 4 ⎠
= 660.03 – 597.80
= 62.23
y.2j
SSR = ∑ t
− CF

= (ผลรวมของแตละแถวยกกําลังสอง/จํานวนทรีทเมนต) - CF
⎛ 25.0 2 21.12 22.7 2 29.0 2 ⎞
= ⎜⎜ + + + ⎟⎟ − CF
⎝ 4 4 4 4 ⎠
= 606.63 – 597.80
= 8.82
y.2k
SSC = ∑ t
− CF

= (ผลรวมของแตละคอลัมนยกกําลังสอง/จํานวนทรีทเมนต) - CF
⎛ 32.5 2 24.0 2 19.8 2 21.5 2 ⎞
= ⎜⎜ + + + ⎟⎟ − CF
⎝ 4 4 4 4 ⎠
= 621.64 – 597.80
= 23.83
SSE = SSTotal - SST - SSR - SSC
= 114.02 – 62.23 – 8.82 – 23.83
= 19.17
4) คํานวณ Mean Square (MS) (Note: MSR = Row MS, MSC = Column MS, MST = Treatment MS,
MSE = Error MS)
MST = SST / df trt
= 62.23 / 3
= 20.74
MSR = SSR / df row
= 8.82 / 3
= 2.94
MSC = SSC / df cow
= 23.83 / 3
= 7.94
MSE = SSE / df err
= 19.17 / 6
= 3.20

5) คํานวณ F – value
FT = MST / MSE (อิทธิพลเนื่องจากทรีทเมนต)
= 20.74 / 3.20
= 6.48
FR = MSR / MSE (อิทธิพลเนื่องจากแถว)
= 2.94 / 3.20
= 0.92
FC = MSC / MSE (อิทธิพลเนื่องจากคอลัมน)
= 7.94 / 3.20
= 2.48

5. นําคาที่คํานวณไดทั้งหมดใสในตารางวิเคราะหคาความแปรปรวน (ANOVA)
SOV Df SS MS F
Treatment df trt SST MST FT =MST / MSE
Row df row SSR MSR FR =MSR / MSE
Column df col SSC MSC FC =MSC / MSE
Error df err SSE MSE
Total df total SSTotal
SOV Df SS MS F
Treatment 3 62.23 20.74 6.48*
Row 3 8.82 2.94 0.92NS
Column 3 23.83 7.94 2.48NS
Error 6 19.17 3.20
Total 15 114.02

6. เปดตาราง Fα (df trt , df err ) , Fα (df r , df err ) , Fα (df c , df err ) และกําหนดเขตยอมรับ Ho สําหรับทดสอบ
อิทธิพลเนื่องจากทรีทเมนต แถว และคอลัมนตามลําดับ
ทดสอบอิทธิพลเนื่องจากทรีทเมนต
เขตยอมรับ Ho เขตยอมรับ Ho
F0.05 (3,6) = 4.76 95% ความเชื่อมั่น 99%ความเชื่อมั่น
F0.01(3,6) = 9.78
4.76 9.78
ทดสอบอิทธิพลเนื่องจากแถว
เขตยอมรับ Ho เขตยอมรับ Ho
F0.05 (3,6) = 4.76 95% ความเชื่อมั่น 99%ความเชื่อมั่น
F0.01(3,6) = 9.78
4.76 9.78
ทดสอบอิทธิพลเนื่องจากคอลัมน
เขตยอมรับ Ho เขตยอมรับ Ho
F0.05 (3,6) = 4.76 95% ความเชื่อมั่น 99%ความเชื่อมั่น
F0.01(3,6) = 9.78
4.76 9.78
7. สรุปผลการทดลอง
เนื่องจากคา FT ที่คํานวณได (6.48) มีคามากกวา F0.05 (3,6) = 4.76 แสดงวาทรีทเมนตหรือเครื่องรีดนมทั้ง
4 ชนิ ด มี อิ ท ธิ พ ลต อ ปริ ม าณน้ํ า นมที่ รี ด ได ข องโคนมแตกต า งกั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ (significant
difference) ซึ่งใชสัญลักษณ * ที่คา F ในตาราง ANOVA หรือที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

เนื่องจากคา FR ที่คํานวณได (0.92) มีคานอยกวา F0.05 (3,6) = 4.76 แสดงวาแถวหรือระยะการใหนมทั้ง


4 ระยะไมมีอิทธิพลตอปริมาณน้ํานมที่รีดไดหรือไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (non significant difference)
ซึ่งใชสัญลักษณ NS ที่คา F ในตาราง ANOVA หรือที่ระดับความเชื่อมั่น 95%

เนื่องจากคา FC ที่คํานวณได (2.48) มีคานอยกวา F0.05 (3,6) = 4.76 แสดงวาคอลัมนหรือคนรีดนมทั้ง


4 คนไมมีอิทธิพลตอปริมาณน้ํานมที่รีดไดหรือไมมีความแตกตางกันทางสถิติ (non significant difference) ซึ่ง
ใชสัญลักษณ NS ที่คา F ในตาราง ANOVA หรือที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
8. หากตองการคํานวณคาสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of Variation; %CV) สามารถทําไดดังนี้
MSE
%CV = × 100
Mean
3.20
= × 100
6.11
= 29.27 %
Ô ปฏิบัติการ

การทดลองที่ 1
ในการศึกษาการเจริญเติบโตของกุงกรามกรามจากวิธีการ 3 แบบ ไดแกแบบ A, B, และ C โดยผูทดลองใช
บอกุงทั้งหมด 3 บอ โดยแตละบอจะถูกสุมกุงขึ้นมา 100 ตัวเพื่อทดสอบการเจริญเติบโตทั้ง 3 วิธี โดยใชผูเก็บขอมูล
จํานวน 3 คน โดยผูเก็บขอมูลทุกคนจะไดใชวิธีการครบทั้ง 3 ชนิด และครบทั้ง 3 บอ ไดขอมูลการเจริญเติบโตเฉลี่ย
ของกุงเปนกรัมดังตอไปนี้

บอ
1 2 3 Sum
Man1 A 160.5 B 150.0 C 220.5 .............

Man2 C 150.5 A 180.5 B 150.5 .............

Man3 B 100.0 C 200.0 A 230.0 .............

Sum ............. ............. ............. .............

Mean ............. ............. ............. .............

1. วิเคราะหปจจัยที่เปนทรีทเมนต แถว คอลัมน และคาสังเกต


ทรีทเมนต :
แถว :
คอลัมน :
จํานวนหนวยทดลอง :
คาสังเกต :
ผังการทดลอง :

2. ตั้งสมมุติฐานของงานทดลอง (Hypothesis setting)


HO :
HA :
3. เขียนโมเดลทางสถิติ (Statistical model)

4. วิเคราะหคาความแปรปรวน (Analysis of Variance)


1) คํานวณ degree of freedom (df)

2) คํานวณคา Correction factor (C.F.)


C.F. =

3) คํานวณ Sum Square (Note: SSTotal = Total SS, SSR = Row SS,SSC = Column SS, SST =
Treatment SS, SSE = Error SS)
SSTotal =

SST =
SSR =

SSC =

SSE =

4) คํานวณ Mean Square (MS) (Note: MST = Treatment MS, MSR = Row MS, MSC = Column MS,
MSE = Error MS)
MST =

MSR =

MSC =

MSE =
5) คํานวณ F – value
FT =

FR =

FC =

5. นําคาที่คํานวณไดทั้งหมดใสในตารางวิเคราะหคาความแปรปรวน (ANOVA)

SOV Df SS MS F
Treatment …………. …………. …………. ………….
Row …………. …………. …………. ………….
Column …………. …………. …………. ………….
Error …………. …………. ………….
Total …………. ………….

6. เปดตาราง Fα (df trt , df err ) , Fα (df r , df err ) , Fα (df c , df err ) และกําหนดเขตยอมรับ Ho สําหรับทดสอบ
อิทธิพลเนื่องจากทรีทเมนต แถว และคอลัมนตามลําดับ
ทดสอบอิทธิพลเนื่องจากทรีทเมนต
เขตยอมรับ Ho เขตยอมรับ Ho
F0.05 (..... , .....) = ......... 95% ความเชื่อมั่น 99%ความเชื่อมั่น
F0.01(......, .....) = .........
.......... ...........

ทดสอบอิทธิพลเนื่องจากแถว
เขตยอมรับ Ho เขตยอมรับ Ho
F0.05 (..... , .....) = ......... 95% ความเชื่อมั่น 99%ความเชื่อมั่น
F0.01(......, .....) = .........
.......... ...........

ทดสอบอิทธิพลเนื่องจากคอลัมน
เขตยอมรับ Ho เขตยอมรับ Ho
F0.05 (..... , .....) = ......... 95% ความเชื่อมั่น 99%ความเชื่อมั่น
F0.01(......, .....) = .........
.......... ...........
7. สรุปผลการทดลอง

8. คํานวณคาสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of Variation; %CV) จากงานทดลอง


%CV =

You might also like