You are on page 1of 34

ของไหล (Fluid)

สสารที่สามารถไหลได ของเหลว + กาซ

อุทกสถิตศาสตร (Hydrostatics) ศึกษาของไหลขณะหยุดนิ่ง


ความดันของของไหลจะมีทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัสที่พิจารณาเสมอ

อุทกพลศาสตร (Hydrodynamics) ศึกษาของไหลขณะมีการเคลื่อนที่


ในของไหลจะมีความดันในทิศขนานกับผิวสัมผัสที่พิจารณาดวย

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 1


อุทกสถิตศาสตร (Hydrostatics)
พิจารณาสวนของของไหลดังรูป เนื่องจากระบบอยูในสภาวะสมดุล
r r r r
F1 h นั่นคือ F2 = mg + F1
dy
r (P + dP ) A = ρgAdy + PA
mg r
F2 จะได dP = ρgdy
สําหรับของไหลทีมีความหนาแนนเทากันทั้งหมด และที่ผิว ( y = 0) มีความดัน P0
ความดันเกจ
จะไดวา P = P0 + ρgh
(Gauge pressure)
ขอสังเกต ของไหลในภาชนะเดียวกันจะมีความดันเทากัน ถาอยูที่ระดับเดียวกัน
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 2
นักดําน้ํามือใหม ขณะอยูที่ความลึก L หายใจเอาอากาศเขาไปจนเต็มปอด
ตัวอยาง
เมื่อขึ้นสูผิวน้ําปรากฏวาความดันอากาศในปอดสูงกวา
ความดันบรรยากาศ 9.3 kPa จงหาความลึก L
ที่ระดับความลึก L ความดันอากาศภายในปอดมีคาเทากับความดันรอบตัวนักดําน้ํา
Plung = P0 + ρgL
P0 + 9.3 × 103 = P0 + (998)(9.8)L
จะได L = 0.95 m
นักดําน้ําคนนี้ไมตายก็พิการ เนื่องจากความดันในปอดที่สูงกวาความดันภายนอก
ขนาดนี้( 9% ของความดันบรรยากาศ) จะทําใหปอดฉีก
ทําใหอากาศเขาสูกระแสเลือดและเขาสูหัวใจ เปนเหตุใหหัวใจลมเหลวในที่สุด
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 5
บารอมิเตอร (Barometer)
บารอมิเตอรชนิดปรอท ถูกประดิษฐขึ้นโดย Evangelista Torricelli
เพื่อใชวัดความดันบรรยากาศ
พิจารณาที่ระดับของผิวของเหลวในอาง
ภายนอกหลอดแกว
จะได P = P0
ภายในหลอดแกว
จะได P = 0 + ρgh
นั่นคือ P0 = ρgh
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 6
ถาของเหลวที่ใชคือปรอท (Hg) พบวา
h = 760 mm ที่ความดัน 1 บรรยากาศ (1 atm)

ดังนั้น ความดัน 1 atm อาจเรียกอีกอยางวา ความดัน 760 mmHg หรือ 760 torr

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 7


การวัดความดันโลหิต

Systolic : ความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว
Daistolic : ความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัว
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 8
การใหน้ําเกลือ หรือโลหิต

ตองแขวนไวในที่สูงเพื่อใหน้ําเกลือมีความดันสูงพอที่จะเขาไปในรางกาย

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 8


กาลักน้ํา (Siphon)
P0 P P0 อาศัยหลักการที่วา ความดันของ
ของไหลขึ้นกับความลึกของผิว
h ไมขึ้นกับรูปรางของภาชนะ

พิจารณาที่ปลายทอ
ภายในของไหลจะมีความดัน P = P0 + ρgh
ภายนอกของไหลมีความดัน P0
จะเห็นไดวาความดันของของไหลที่ปลายทอมากกวา
ความดันภายนอก ดังนั้น ของไหลจึงสามารถไหลออกมาได
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 8
ขีดจํากัดของกาลักน้ํา : ความสูงของทอที่ความดันที่ผิวของของไหล
จะสามารถดันขึ้นไปได
P ที่ระดับผิวของของเหลว P0 = P + ρgh
h P นอยที่สุดเทาที่จะเปนไปไดคือ 0 (สุญญากาศ)
P0
P0
นั่นคือ hmax =
ρg
1.01× 10 5

สําหรับน้ํา ที่ความดันบรรยากาศ hmax = ≈ 10.3 m


(1000)(9.8)
นั่นคือ ไมสามารถทํากาลักน้ําขามสิ่งกีดขวางที่สูงกวา 10.3 เมตร
จากระดับของผิวของน้ําได
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 9
ตัวอยาง ปมสูบน้ํามีกําลัง 10 kW ติดตั้งอยุบนดาดฟาอาคารสูงจากพื้น 15 เมตร
จะสามารถดูดน้ําจากบอบนพื้นขึ้นไปไดหรือไม

(1) ได
(2) ไมได
(3) ไมทราบ

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 10


หลักของอารคีมิดิส (Archimedes’ Principle)
- การลอยของวัตถุบางชนิดในของไหล การมีอยูของ
- เมื่อชั่งน้ําหนักในของไหลไดนอยกวาปกติ แรงลอยตัว (Bouyant force)

แรงลอยตัว เกิดจากการที่ความดันของของไหลขึ้นกับความลึกจากผิวของของไหล

จากรูป จะเห็นไดวาแรงในแนวราบทุกแรงจะหักลางกันหมด
จะได FB = F2 − F1
FB = (P0 + ρg (h + L ))A − (P0 + ρgh ) A

= ρg (L ⋅ A) ปริมาตรของวัตถุ

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 13


FB = ρg (L ⋅ A) ปริมาตร
ของวัตถุ

นั่นคือ FB = m f g

โดย m f คือ มวลของของไหลที่มีปริมาตร


เทากับสวนของวัตถุที่จมในของไหล

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 14


ภูเขาน้ําแข็งที่เราเห็นลอยอยูในทะเล
ตัวอยาง
สวนที่เห็นอยูเหนือน้ําคิดเปนกี่เปอรเซ็นตของทั้งกอน
ถา ice
ρ = 917 kg/m 3
ρ sea = 1024 kg/m 3

ให Vice คือปริมาตรของภูเขาน้ําแข็งทั้งหมด


Vu คือปริมาตรของภูเขาน้ําแข็งที่จมอยูในทะเล
เนื่องจากภูเขาน้ําแข็งลอยนิ่งในน้ําทะเล
FB
นั่นคือ FB = mice g
mice g
ρ seaVu g = ρiceVice g
Vu ρice
=
Vice ρ sea
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 15
ปริมาตรสวนที่พนน้ํา Vice − Vu
=
ปริมาตรทั้งหมด Vice
Vu
= 1−
Vice
ρice
= 1−
ρ sea
= 0.10

จะมีสวนที่ลอยอยูเหนือน้ําทะเลประมาณ 10 %

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 16


บอลลูนฮีเลียมทรงกลมรัศมี 12 m โดยมวลของบอลลูนและอุปกรณ
ตัวอยาง
รวม 196 kg บอลลูนนี้จะสามารถรับมวลเพิ่มไดอีกเทาไร
ถา He
ρ = 0.160 kg/m 3
ρ air = 1.25 kg/m 3

เนื่องจาก บอลลูนลอยนิ่งอยูไดในอากาศ
นั่นคือ FB = mall g
(ρ airVballoon )g = (mballoon + mHe + M )g
จะได M = Vballoon (ρ air − ρ He ) − mballoon
4
= π (12) (1.25 − 0.160) − 196
3

3
= 7694 kg
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 17
โฟม เหล็ก

น้ํา

ตัวอยาง ถาคว่ําเอาดานที่มีเหล็กติดอยูลงไปในน้ําแทน

ขีดบนโฟมจะ ระดับน้ําเมื่อเทียบกับภาชนะจะ
(1) อยูเหนือระดับน้ํา (1) สูงขึ้น
(2) อยูต่ํากวาระดับน้ํา (2) ต่ําลง
(3) อยูที่ระดับน้ํา (3) เทาเดิม
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 18
ตัวอยาง น้ําแข็งลอยอยูในถวยดังรูป เมื่อน้ําแข็งละลายหมด น้ําในแกวจะ

(1) ลนออกมาจากถวย
(2) ลดระดับลงต่ํากวาขอบถวย
(3) คงอยูที่ระดับเดิม

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 20


ตัวอยาง จากรูปในขวดรูปชมพูบรรจุน้ําสมสายชู ในลูกโปงบรรจุผงฟู
เมื่อเทผงฟูจากลูกโปงลงไปในน้ําสมสายชูจะทําใหเกิดกาซ
คารบอนไดออกไซด(ความหนาแนนสูงกวาอากาศ) ทําใหลูกโปงพอง
ตาชั่งไฟฟาจะแสดงน้ําหนัก
อยางไร
(1) เพิ่มขึ้น
(2) ลดลง
(3) เทาเดิม

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 21


การออกกําลังกายในน้ํา

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 22


การลอยของวัตถุที่มคี วามหนาแนนมากกวาของไหล

วัตถุที่ลอยในของไหลได ของไหลที่ถกู แทนที่


จะมีน้ําหนักเทากับวัตถุ

วัตถุที่มีความหนาแนนมากกวาของไหล
จะตองแทนที่ปริมาตรของของไหลมากกวา
ปริมาตรของวัตถุ จึงจะลอยได

จะทําเชนนั้นไดอยางไร

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 22


ตัวอยาง เรื อ ลํ า หนึ ่ ง ทํ า จากเหล็ กมี ม วล 5000 kg มี ป ริ ม าตร 25 m3

โดย ρ water = 1000 kg/m 3

เรือลํานี้บรรทุกสินคาไดมากที่สุดเทาไร โดยไมจม

เมื่อวัตถุลอยน้ํา FB = mg
mf g = (M ship + mgoods )g
จะได mgoods = m f − M ship

= (25 ×1000) − 5000

= 20000 kg

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 23


อุทกพลศาสตรศาสตร (Hydrodynamics)
ศึกษาของไหลซึ่งเคลื่อนที่
การไหลของของไหลอุดมคติ ประกอบดวยลักษณะดังนี้

1. การไหลในสถานะคงตัว (Steady flow) หรือ การไหลแบบชัน้ (Laminar flow)


หมายถึง ความเร็วของของไหลที่ตําแหนงใด ๆ มีคาคงที่ไมขึ้นกับเวลา
2. การไหลที่อัดไมได (Incompressible flow)
หมายถึง ความหนาแนนของของไหลมีคาเทากันทุกที่ Viscous flow
3. การไหลที่ไมมคี วามหนืด (Nonviscous flow)
หมายถึง ไมมีความหนืดในการไหล Rotational flow
4. การไหลที่ไมมีการหมุนวน (Irrotational flow)
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 24
สายกระแส (Steamline) : เสนทางการเคลื่อนที่ของสวนตาง ๆ ในของไหล
โดยความเร็วของของไหลจะอยูในแนวเสนสัมผัสกับสายกระแส
การไหลของของไหลมักเขียนแสดงดวยกลุมเสนสายกระแส

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 25


พิจารณาการไหลของของไหลดังรูป

เนื่องจากเปนการไหลที่ไมมีการอัด
นั่นคือ ปริมาตร(มวล) ของของไหล
ที่ผาน A1 และ A2 ตอหนวยเวลาจะเทากัน

A1Δx1 A2 Δx2
=
Δt Δt

จะได สมการความตอเนื่อง
A1v1 = A2v2
(Equation of continuity)
อัตราการไหลของปริมาตรของไหล
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 26
น้ําที่ไหลออกจากกอกน้ํา หรือรางน้ํา
ลงมาจากที่สูงจะมีลําที่แคบลงเรื่อย ๆ
A1v1 = A2v2

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 27


หัวใจปมเลือดจากหัวใจผานเสนเลือดเอออตาร ซึ่งมีพื้นที่หนาตัด
ตัวอยาง
3 cm2 ดวยอัตราเร็ว 30 cm/s ไปยังเสนเลือดฝอยทั่วรางกาย
ถาเสนเลือดฝอยมีพื้นที่หนาตัด 3x10-7 cm2 และเลือดไหลผาน
เสนเลือดฝอยดวยอัตราเร็ว 0.05 cm/s
มีเสนเลือดฝอยทั่วรางกายทั้งหมดกี่เสน
อัตราการไหลของเลือด อัตราการไหลของเลือด
ออกจากหัวใจ ในเสนเลือดฝอยทุกเสนรวมกัน

นั่นคือ Ao vo = NAc vc

จะได N = Ao vo ⎛ 3 × 30 ⎞ 9 เสน
= ⎜ ⎟ = 6 × 10
⎝ 3 × 10 × 0.05 ⎠
-7
Ac vc
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 28
สมการของแบรนูลลี

Daniel Bernoulli (1700)


พิจารณาการไหลของของไหลอุดมคติดังรูป
ผลที่เกิดขึ้นอาจพิจารณาไดวา
เปนการทําใหมวลที่ y1 อัตราเร็ว v1
ไปอยูที่ y2 อัตราเร็ว v2
จากกฏการอนุรักษพลังงาน
ΔEk + ΔE p = ΔW
m (v 22 − v12 ) + mg ( y 2 − y1 ) = P1 A1Δ x1 − P2 A2 Δ x 2
1
2
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 29
ρ V (v22 − v12 ) + ρ Vg ( y 2 − y1 ) = (P1 − P2 )V
1
2
1 2 1 2
ρ v2 + ρ gy 2 + P2 = ρ v1 + ρ gy1 + P1
2 2

1 2 สมการของแบรนูลลี
ρ v + ρ gy + P = constant
2 (Bernoulli’s equation)

ขณะของไหลเคลื่อนที่ในแนวราบ
ขอสังเกต
ถาของไหลมีอัตราเร็วเพิ่มสูงขึ้น ของไหลจะมีความดันลดลง
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 30
ตัวอยางปรากฏการณที่อธิบายไดดวยสมการของแบรนูลลี

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 31


ถังน้ําทรงกระบอกไมมีฝาปดใบหนึ่งสูง H พื้นที่หนาตัด A ถาเจาะ
ตัวอยาง
ถังใหเปนรูเล็ก ๆ พืน้ ที่หนาตัด a โดยอยูต่ํากวาผิวของของเหลว h
1. น้ําจะพุงออกจากรูดวยอัตราเร็วเทาใด
จากสมการแบรนูลลี P0 + 1 ρ v 2 + ρ g (H − h ) = P0 + 1 ρ v02 + ρ gh
2 2
จะได (
1 2 2
2
v − v0 ) = gh
จากสมการความตอเนื่อง av = Av0 h
⎛ a⎞ H
จะได v0 = v⎜ ⎟ ≈ 0 เมื่อ A >> a
⎝ A⎠
นั่นคือ v = 2 gh
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 32
2. น้ําจะพุงไปตกทีพ่ ื้นหางจากถังเทาไร
การเคลื่อนที่ของน้ําที่พุงออกมาเปนการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล
ในแนวดิ่ง S y = u y t + gt 2 1
2
1 2
จะได H −h = gt 2
t = (H − h )
2 g
ในแนวราบ S x = u xt
2 h
จะได R = 2 gh ⋅ (H − h ) H
g

= 2 h( H − h ) R
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 33
3. จงหาอัตราการไหลของน้ําออกจากถัง

อัตราการไหล = a ⋅ v = a 2 gh (m / s )
3

ถังน้ําทรงกระบอกไมมีฝาปดใบดังรูป ใสน้ํา(ของไหลอุดมคติ)ไวเต็ม
ตัวอยาง
น้ําไหลออกจากที่ใดจะมีอัตราเร็วสูงกวา

(1) hole
(2) pipe
(3) เทากัน

อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 34


หลอดไพทอท (Pitot tube)

c
b
a v
จากสมการแบรนูลลี
1 2 1 2
Pa + ρ v a = Pb + ρ vb
2 2
จะได 1 2
Pa + ρ v = Pb + 0
นั่นคือ 2
2
v = (Pb − Pa ) สําหรับวัดอัตราเร็วของอากาศผานเครื่องบิน
ρ
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 35
แรงยกปกเครื่องบิน
ปกเครื่องบินจะมีลักษณะโคงที่ดานบนเล็กนอย
ทําใหอากาศที่ผานดานบนปกมีอัตราเร็วสูงกวา
ดานลาง ซึ่งทําใหความดันดานบนปกต่ํากวาใตปก
เกิดเปนแรงยกขึ้นนั่นเอง
จากสมการของแบรนูลลี
1 2 1 2
Pupper + ρ vupper = Plower + ρ vlower
2 2

ρ (vupper )
1
Plower − Pupper = 2
− vlower
2

นั่นคือ Flift = (P
lower − Pupper )Awing =
1
2
2
(
ρ vupper − vlower
2
Awing)
อาจารย ดร. เจษฎา สุขพิทกั ษ ภาควิชาฟสกิ ส คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ของไหล 36

You might also like