You are on page 1of 12

534466 Principle of Broadband Communication

หลักการสื่อสารแบบบรอดแบนด์
หลกการสอสารแบบบรอดแบนด
บทที่ 9 เทคโนโลยี
โ โ FTTH และ FSO
สอนโดย
FTTH and FSO Technology
อาจารย์ ดร
อาจารย ดร. นรรตน
นรรัตน์ วฒนมงคล
วัฒนมงคล

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555


ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิ
ภาควชาวศวกรรมไฟฟา คณะวศวกรรมศาสตร
ศวกรรมศาสตร์ มหาวิ
มหาวทยาลยบู
ทยาลัยบรพา
รพา
2

1. FTTH: Fiber to the Home ไฟเบอร์ทู เดอะ โฮม (Fiber to The Home) หรือ FTTH นัน้ ความ
จริงชือ่ กลางของมันคือ FTTx คาวา
จรงชอกลางของมนคอ คําว่า x หมายถงสถานททสายใยแกวนนไปถง
หมายถึงสถานทีท่ ส่ี ายใยแก้วนัน้ ไปถึง
ระบบเส้นใยแก้วนําแสงสูบ่ า้ น FFTH (Fiber To The Home) เป็ น หากไปถึงบ้านจะเรียกว่า FTTH (Home) ไปถึงตึกจะเรียกว่า FTTB (Building)
เทคโนโลยี Broadband ความเร็วสูงู ภายในบ้านผ่านเส้นใยแก้วนําแสง โดยเป็ น ไปถึงสํานักงานจะเรียกว่า FTTO (Office) เปนตน
ไปถงสานกงานจะเรยกวา เป็ นต้น FTTH เปนการนาสายใย
เป็ นการนําสายใย
การพัฒนามาจากเทคโนโลยี ADSL ทีใ่ ช้สายทองแดงในการรับส่งข้อมูลมาเป็ น แก้วนําแสงเชือ่ ต่อไปยังบ้านของลูกค้า (ปกติแล้วสายประเภทนี้ มีใช้กนั อยูแ่ ล้ว
เส้นใยแก้วนําแสง ซึง่ จะทําให้สามารถใช้อนิ เตอร์เน็ตความเร็วสูงู เริม่ ต้นที่ 100 ภายในองค์กร หรอ
ภายในองคกร หรือ ระหวางองคกร
ระหว่างองค์กร กบ กับ องคกร
องค์กร ) ซงเปนเทคโนโลยทดทสุ
ซึง่ เป็ นเทคโนโลยีทด่ี ที ส่ี ดดใน
ใน
Mbps ซึง่ ADSL จะมีความเร็วเต็มทีแ่ ค่ 9-10 Mbps เท่านัน้ ปจั จุบนั นี้เทคโนโลยีท่นี ํ าข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่ม ี ขนาดมหาศาลมาถึงบ้าน
ผูผ้ใช้ชบรการดวยเคเบลใยแกวนาแสงทมขนาดเลกและเบา
บริการด้วยเคเบิลใยแก้วนํ าแสงที่มขี นาดเล็กและเบา แตสามารถนาพา
แต่สามารถนํ าพา
ข้อมูล ที่มขี นาดมหาศาล ได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพสูง สามารถ
ประยกต์
ประยุ กตในการใชงานอนเตอรเนตในรู
ในการใช้งานอินเตอร์เน็ตในรปแบบต่ปแบบตางๆทแตกตางจากการใชงาน
างๆทีแ่ ตกต่างจากการใช้งาน
ผ่านอินเตอร์เน็ต ADSL ธรรมดา

3 4
จากรูปแสดงตวอยางของเคเบลเสนใยนาแสงชนดตางๆ
จากรปแสดงตั วอย่างของเคเบิลเส้นใยนํ าแสงชนิดต่างๆ ทีทใชในการเชอมโยง
ใ่ ช้ในการเชื่อมโยง
ไปยังบ้านผูใ้ ช้ปลายทาง เช่น สายอากาศ (aerial) เป็ นสายเคเบิลทีพ่ าดไปกับ 1.1 การพัฒนาจาก ADSL ไปสู่ FTTH
เสาไฟฟ้าชนิดร้อยท่อ (duct
เสาไฟฟาชนดรอยทอ (d t cable)
bl ) เปนสายเคเบลทสอดไปกบทอรอยสายเพอ
เป็ นสายเคเบิลทีส่ อดไปกับท่อร้อยสายเพือ่
้ปองกันอันตรายทีอ่ าจเกิดกับสายเคเบิลและชนิดฝงั ดิน (buried cable) เป็ น ระบบ ADSL (Asynchronous Digital Subscriber Line) เป็ นระบบ
สายเคเบิลทีถ่ กออกแบบให้
สายเคเบลทถู มคี วามแข็งแรงสามารถใช้ฝงั ใต้ดนิ ได้โดยตรง
กออกแบบใหมความแขงแรงสามารถใชฝงใตดนไดโดยตรง การสื่อสารข้อมลที
การสอสารขอมู ลทชวยใหขอมู
่ช่วยให้ขอ้ มลที
ลทมแบนดวดทสู
่มแี บนด์วดิ ท์สงงๆสามารถเดิ
ๆสามารถเดนทางในระบบ
นทางในระบบ
สายส่งทองแดงได้ โดยทัวไปสายโทรศั
่ พท์ทเ่ี ดินไปยังบ้านผูเ้ ช่าหรือทีเ่ รียกว่า
drop wire เปนสายสงทองแดงเสนเลกๆ
เป็ นสายส่งทองแดงเส้นเล็กๆ มีมขดจากดในการสงขอมู
ขดี จํากัดในการส่งข้อมลล สาเหตุ
สาเหตทีท่
เทคโนโลยีน้ี ส ามารถส่ง ข้อ มูลต่ า งๆ ด้ว ยความเร็ว สูง ได้ เพราะเทคโนโลยี
ADSL จะบบอดขอมู
จะบีบอัดข้อมลให้
ลใหมขนาดเลกลงจากเดมแลวจงสง
มขี นาดเล็กลงจากเดิมแล้วจึงส่ง โดยปกต โดยปกติ ADSL
ให้บริการพื้นฐานโดยมีความเร็วในการส่งข้อมูลประมาณ 1-2 Mbps แต่ตวั
ระบบเองมีความสามารถทีจ่ ะส่งข้อมลด้
ระบบเองมความสามารถทจะสงขอมู ลดวยความเรวทสู
วยความเร็วทีส่ งงขึขนเปน
น้ เป็ น

5 6

ใหญดวยความเรวสู
ใหญ่ ดว้ ยความเร็วสงได้ ง่ ในปจั จบับนนความเรวสู
งได ซึซงในปจจุ ความเร็วสงสดที
งสุดทเดนทางในเสนใยแกวนา
เ่ ดินทางในเส้นใยแก้วนํา
12, 24 และ 40 Mbps ได้ ซึง่ ระบบทีม่ คี วามเร็วสูงขึน้ นี้บางทีอาจเรียกชื่อ แสงจะอยูใ่ นเทอมของ Tbps (เทอราบิตต่อวินาที) ซึง่ สามารถให้บริการสือ่ สาร
ระบบเป็ น HDSL (High bit rate Digital Subscriber Line) หรอ
ระบบเปน หรือ VHDSL ข้อมลพร้
ขอมูลพรอมกนไดหลายรู
อมกันได้หลายรปแบบในเวลาเดี
ปแบบในเวลาเดยวกน ยวกัน
(Very High bit rate Digital Subscriber Line)
แม้ ว่ า ADSL/HDSL/VHDSL จะสามารถสงขอมู
แมวา จะสามารถส่ ง ข้ อ มลได้
ล ไดมากใน
ม ากใน
ช่ ว งเวลาสัน้ ๆ ก็ต าม แต่ เ มื่อ เทีย บกับ อัต ราการเติบ โตของผู้ใ ช้บ ริก าร
อินเตอร์เน็ตประกอบกับความต้องการสือ่ สารในหลายๆ รูรปแบบ
อนเตอรเนตประกอบกบความตองการสอสารในหลายๆ ปแบบ โดยเฉพาะ
ข้อ มูล ที่เ ป็ น สัญ ญาณภาพอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ความเร็ว ที่ร ะบบ xDSL กลับ
ตอบสนองได้ชา้ เกินไป จงจาเปนตองหาทางออกใหมซงในทสุ
ตอบสนองไดชาเกนไป จึงจําเป็ นต้องหาทางออกใหม่ซง่ึ ในทีส่ ดดก็กถงเวลา
ถงึ เวลา
ของการนําเส้นใยนําแสงมาแทนทีร่ ะบบสายส่งทองแดงเพือ่ การเข้าถึงบ้านผู้
เช่า (subscriber) ดวยระบบทเรยกวา
เชา ด้วยระบบทีเ่ รียกว่า FTTH (Fiber
(Fiber-to-the-Home)
to the Home) (บางคน
เรียก FTTP: Fiber-to-the-Premise) ซึง่ เส้นใยแก้วนําแสงนี้มคี ุณสมบัติ
เสมือนท่อนําสัญญาณขนาดใหญ่ทส่ี ามารถส่งข้อมลล
เสมอนทอนาสญญาณขนาดใหญทสามารถสงขอมู รูรปที
ปท่ 3 เปรยบเทยบความเรวในการสอสญญาณระหวาง
เปรียบเทียบความเร็วในการสือ่ สัญญาณระหว่าง ADSL กบ
กับ FTTH
7 เมือ่ ระยะทางเพิม่ ขึน้ 8
2. ความเป็ นมาของ FTTH เมือ่ มีการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ต จึงทําให้ความต้องการการสือ่ สาร
ข้อมูล และปริมาณผู้ใช้ท่ตี ้องการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูงเริม่ มีมากขึน้ เช่น
ระบบเส้น ใยนํ า แสงสู่บ้า น (FTTH) นํ า มาใช้เ พื่อ เชื่อ มโยงสายส่ ง กลุ่มผูใ้ ช้ทเ่ี ป็ นธนาคารต้องการเชื่อมโยงระบบสื่อสารข้อมูลระหว่างสาขาทีอ่ ยู่
สัญญาณด้วยเส้นใยนําแสงไปสูบ่ า้ นผูเ้ ช่าโดยตรง เริม่ ขึน้ ประมาณปี ค.ศ. 1970 ในพื้น ที่ต่ า งๆ ทัวประเทศ
่ เป็ น ต้น ดัง นัน้ ผู้ใ ห้บ ริก ารจึง ได้นํ า ระบบบริก าร
แต่ เ นื่ อ งจากระบบและเส้น ใยนํ า แสง มีร าคาสูง เมื่อ เทีย บกับ ระบบสายส่ ง สือ่ สารร่วมแบบดิจติ อลหรือ ISDN (Integrated Services Digital Network)
ทองแดงโดยเฉพาะการเชื่อมโยงเส้นใยนําแสงสู่บา้ นผูเ้ ช่าโดยตรง ดังนัน้ เพื่อ เข้ามาใช้โดยมีระบบการทํางานสือ่ สารข้อมูลแบบดิจติ อล ทําให้ขอ้ มูลต่างๆ ทีม่ ี
เป็ นการลดต้นทุนในส่วนนี้จงึ มีการพัฒนาระบบ FTTC (Fiber To The Curb) ลัก ษณะพื้น ฐานไม่เ หมือ นกัน สามารถสื่อ สารร่ว มกัน ได้เ นื่ อ งจากข้อ มูล ทุ ก
และ HFC (Hybrid Fiber/Coax) โดยระบบ FTTC และ HFC จะใช้ระบบสายส่ง ประเภทจะถูกทําให้เป็ นดิจติ อล จึงมีสถานะเพียงสองระดับ คือ ศูนย์ “0” และ
สัญญาณแบบผสม คือการนําเส้นใยนําแสงและสายส่งทองแดงมาใช้งานร่วมกัน หนึ่ง “1” เท่านัน้ ดังนัน้ ข้อมูลทุกชนิดจึงถูกระบบมองเห็นเป็ นแบบเดียวกัน
ภายในโครงข่าย การทํางานของระบบ FTTC จะใช้สายส่งเส้นใยนํ าแสง หมด ทําให้สอ่ื สารร่วมกันได้
เชือ่ มโยงระหว่างโครงข่ายและหัวถนนหรือปากทางเข้าหมูบ่ า้ นเท่านัน้

9 10

ระบบเส้นใยนําแสงสูบ่ า้ น หรือ FTTH มีพน้ื ฐานมาจากระบบ ISDN ที่ แต่เนื่องจากระบบ ADSL มีปญั หาในการให้บริการด้านการสือ่ สาร
มีการใช้เส้นใยนําแสงเชือ่ มโยงไปยังบ้านผ้เชา
มการใชเสนใยนาแสงเชอมโยงไปยงบานผู ช่า แต
แต่ ISDN จะเนนระบบสลบสาย
จะเน้นระบบสลับสาย ข้อมลที
ขอมู ลทมขนาดใหญ
ม่ ขี นาดใหญ่ เช่
เชนน ข้ขอมู
อมลภาพนิ
ลภาพนงทมความละเอยดสู
่งทีม่ คี วามละเอียดสงและข้
งและขอมู
อมลภาพ
ลภาพ
หรือสวิตซ์ชงิ่ ประกอบกับการเช่าคูส่ ายเส้นใยนําแสงเพือ่ ขอใช้บริการมีราคาสูง เคลื่อ นไหวจึง ทํ า ให้ เ กิด การแข่ ง ขัน ในการให้ บ ริก ารแบบบรอดแบนด์
ทํ า ให้ ร ะบบ ISDN ไมเปนทนยมของผู
ทาใหระบบ ไม่ เ ป็ น ที่นิ ย มของผ้ ใ ช้ชบรการอนเทอรเนตทเปนผู
บ ริก ารอิน เทอร์ เ น็ ต ที่เ ป็ น ผ้ ใ ชช้ (Broadband) มากยงขนตามมาประกอบกบเทคโนโลยของระบบสอสารดวย
มากยิง่ ขึน้ ตามมาประกอบกับเทคโนโลยีของระบบสือ่ สารด้วย
ปลายทางทัว่ ไป แต่ เ นื่ อ งจากปริม าณการสื่อ สารข้อ มูล ที่เ พิ่ม ขึ้น แต่ ด้ว ย เส้นใยนําแสงมีการพัฒนามากขึน้ จึงทําให้ระบบสือ่ สารเชิงแสงมีราคาถูกลง
ปริม าณข้อ มลที
ปรมาณขอมู ล ทตองการสอสารทมขนาดเพมขนอยางตอเนอง
่ต้อ งการสื่อ สารที่ม ีข นาดเพิ่ม ขึ้น อย่า งต่ อ เนื่ อ ง จงไดมการ
จึง ได้ม ีก าร ดังนัน้ จึงได้มกี ารนําเทคโนโลยี FTTH เขามาใชสาหรบการใหบรการขอมู
ดงนนจงไดมการนาเทคโนโลย เข้ามาใช้สาํ หรับการให้บริการข้อมลที
ลท ่
พัฒนาระบบ ADSL (Asynchronous Digital Subscriber Loop) ขึน้ เพือ่ ให้ผู้ มีความเร็วสูงด้วยระบบเส้นใยนําแสงเข้าสูบ่ า้ น
เช่าสามารถใช้สายส่งทองแดงเดิมได้ ในขณะเดยวกนกสามารถสอสารขอมู
เชาสามารถใชสายสงทองแดงเดมได ในขณะเดียวกันก็สามารถสื่อสารข้อมลล
ความเร็วสูงด้วยการเพิม่ อัตราค่าบริการทีไ่ ม่สงู นัก

11 12
3. องค์ป์ ระกอบทีี่ทาํ ใให้้เกิดการพัฒ
ั นา FTTH ขับเลเซอร์ไดโอดจะมีค่ามากขึ้น เมื่ออุ ณหภูมขิ องตัวมันเพิม่ ขึ้นตามสภาพ
แวดล้อม จะส่
แวดลอม จะสงผลใหความเขมของแสงทปลอยออกมามคาลดลง
งผลให้ความเข้มของแสงทีป่ ล่อยออกมามีคา่ ลดลง
3.1 แหล่งกําเนิ ดแสงเลเซอร์ โดยทัวไปการแก้
่ ปญั หานี้ทําได้โดยการเพิม่ ส่วนของวงจรตรวจวัด
แหลงกํ
่ ําเนดแสงชนดสารกงตวนํ
ิ ิ ่ึ ั ํ าทมกใชในระบบสอสารเชงแสงม
่ ี ั ใ ้ใ ่ื ิ ี2 ความเข้ม แสงขาออกและเพิ่ม ส่ ว นของวงจรป้ อนกลับ เพื่อ ทํ า ให้ว งจรขับ
ความเขมแสงขาออกและเพมสวนของวงจรปอนกลบเพอทาใหวงจรขบ
ประเภท คือ แอลอีดี (LED: Light Emitting Diode) และเลเซอร์ไดโอด (LD: สัญญาณชดเชยค่ากระแสตามอุณหภูมทิ เ่ี ปลีย่ นไป ทําให้เลเซอร์ไดโอดขับค่า
L
Laser Di
Diode)
d ) ในระบบสอสารขอมู
ใ ่ื ้ ลทมความเรวสู
่ี ี ็ งจําํ เปนตองใชเลเซอรไดโอด
ป็ ้ ใ ้ ไ์ โ ความเข้มแสงตามต้องการออกมา นอกจากน
ความเขมแสงตามตองการออกมา นอกจากนี้ ยงอาจตองเพมอุ
ยังอาจต้องเพิม่ อปกรณ์
ปกรณระบาย
ระบาย
ทัง้ นี้เพื่อลดปญั หาของการเกิดดิสเพอร์ชนั ่ (Dispersion) ซึ่งเป็ นปรากฏการณ์ท่ี ความร้อน (Cooler) เพื่อป้องกันไม่ให้เลเซอร์ไดโอดร้อนเกินไป ซึง่ จะทําให้
ํใ ้ ั
ทาใหสญญาณพลสแสงเกดการกระจายเชงเวลาตามระยะทางท
ั ์ ิ ิ ่ี ในทางปฏบต
ใ ป ิ ั ิ วงจรขับเลเซอร์ไดโอดจะมีความซับซ้อนและย่งยากขน
วงจรขบเลเซอรไดโอดจะมความซบซอนและยุ ยากขึน้
หากจําเป็ นต้องติดตัง้ เลเซอร์ไดโอดทีภ่ ายนอกอาคารหรือทีโ่ ล่งแจ้งซึง่ มีอุณหภูม ิ
เปลยนแปลงคอนขางมาก
ป ่ี ป ่ ้ จะทาใหการทางานของเลเซอรไดโอดมประสทธภาพ
ํใ ้ ํ ซ ไ์ โ ปี ิ ิ
ลดลง โดยเฉพาะค่ากระแสเทรชโฮลด์ (Threshold current) หรือกระแสตํ่าสุดทีใ่ ช้

13 14

3.2 ตัวแยกและส่ ง ผ่านสัญญาณตามความยาวคลื่ น (Splitter 3.3 เครือข่ายเชิ งแสงแบบพาสซีฟ หรือ PON (Passive Optical
and WDM coupler) Network)
โครงสร้างของระบบเครือข่าย FTTH จําเป็ นต้องมีอุปกรณ์แยกแสง เครือ ข่า ยเส้น ใยนํ า แสงที่บ รรจุ ข้อ มูล ได้ม ากทํา ให้ส ามารถสื่อ สาร
(splitter) เพอแยกสญญาณไปยงบานผู
เพือ่ แยกสัญญาณไปยังบ้านผ้ใชช้ อุอปกรณ์
ปกรณแยกแสงทนยมใชกน
แยกแสงทีน่ ิยมใช้กนั ได้ ไดแก
แก่ ข้อมููลสําหรับผูู้ใช้จํานวนมากผ่านเส้นใยนํ าแสงเพียงเส้นเดียวได้ในเส้นทาง
คับเปลอร์เส้นใยแก้ว (fiber coupler) ชนิด FBT (Fused Biconical Coupler) หลักของการสือ่ ข้อมูลจากนัน้ จึงค่อยใช้ตวั แยกแสงทําการแยกข้อมูลไปยังบ้าน
ซึง่ มีคณสมบั
ซงมคุ ณสมบตในการแบงแยกสญญาณขาเขาไปสู
ตใิ นการแบ่งแยกสัญญาณขาเข้าไปส่ขาออกในเส้
าออกในเสนทางตางๆ
นทางต่างๆ โดย ผููใ้ ช้อกี ทีหนึ่งการทีโ่ ครงสร้างของระบบเป็ นเช่นนี้จะทําให้ระบบมีราคาถููกลง
มีสดั ส่วนความเข้มแสงแต่ละแนวทางเป็ นไปตามทีอ่ อกแบบ อีกทัง้ คับเปลอร์ เพราะเส้นใยนําแสงสามารถใช้เป็ นเส้นทางร่วมของการสือ่ ข้อมูลได้ประกอบกับ
เส้นใยแก้วชนิด FBT ยงสามารถออกแบบใหการทางานขนอยู
เสนใยแกวชนด ยังสามารถออกแบบให้การทํางานขึน้ อย่กบบคาความยาว
ั ค่าความยาว ตัว แยกแสงเป็ น อุุ ป กรณ์ ป ระเภทพาสซีฟ (passive) (หมายถึง อุุ ป กรณ์ ท่ี
คลืน่ ได้อกี ด้วย (WDM coupler) ปจั จุบนั ได้มกี ารพัฒนาตัวแยกแสงโดยใช้ท่อ สามารถทํางานได้โดยไม่ตอ้ งป้อนพลังงานจากภายนอกให้กบั ตัวอุปกรณ์) ซึง่
นําแสงแบบระนาบทีใ่ ช้ซลิ กิ อนเป็ นวัสดหลั
ุ ก (s(silicon
co planar
p a a waveguide)
a egu de) การ ลัก ษณะเครือ ข่า ยเช่ น นี้ เ รีย กว่า เครือ ข่า ยเชิง แสงแบบพาสซีฟ หรือ PON
ทีร่ ะบบ FTTH เริม่ เป็ นทีน่ ิยมมากขึน้ ทําให้ราคาของอุปกรณ์ถูกลงอย่างมาก (Passive Optical Network) ทําให้คา่ ใช้จา่ ยในเครือข่าย FTTH มีราคาไม่แพง
((เพราะสามารถผลิตเป็ นจํานวนมากได้) อีกทัง้ คณภาพของอปกรณ์
ุ ุ กด็ ขี น้ึ ด้วย เมือ่ เทียบกับปริมาณข้อมูลู ทีใ่ ห้บริการ
15 16
ระบบ FTTH สามารถทํางานร่วมกับเทคโนโลยี โ โ มลั ติเพล็กซ์เชิง 3 4 การสอสารขอมู
3.4 การสื่อสารข้อมลด้
ลดวยระบบเอทเอม
วยระบบเอทีเอ็ม (ATM transport)
t t)
แสง หรือ WDM (Wavelength Division Multiplexing) ซึง่ เป็ นเทคนิคที่ แม้วา่ FTTH จะมีขอ้ ดีในเรือ่ งของความน่าเชือ่ ถือและความเร็วในการ
สามารถสื่อสารข้อมูลต่างชนิดกันด้วยแสงทีม่ คี วามยาวคลื่นแสงแตกต่าง สือ่ ข้อมูลแต่การทีจ่ ะต้องให้บริการเครือข่ายทีม่ ผี ใู้ ช้มากมายและหลากหลายทํา
กันไปในเส้นใยนําแสงเส้นเดียวกันได้ จะทําให้ปริมาณข้อมูลหรือความเร็ว ให้ม ขี ้อมููลหลากหลายชนิ ด เดินทางอยูู่ในระบบและป ญั หาสํา คัญก็ค ือ จะทํา

ในการสื อ่ สารข้อมูลเพิม่ ขึน้ึ อย่างมากตามตัวคูณของจํานวนความยาวคลืน่ อย่ า งไรที่จ ะทํ า ให้ข้อ มู ล ที่แ ตกต่ า งกัน สามารถสื่อ สารร่ ว มกัน ได้ใ นระบบ
แสงทีใ่ ช้ เช่น เครือข่าย FTTH ที่ใช้แสงเพียงความยาวคลื่นเดียว เดียวกัน ซึง่ ทางออกของปญั หานี้กค็ อื การนํ าระบบสื่อสัญญาณแบบ ATM
ใ บริการทีค่ี วามเร็ว 100 Mbps หากทําการปรับปรุงทีภ่ี าคส่งให้
ให้ ใ มคี วาม (Asynchronous Transfer Mode) เข้ามาใช้บนเครือข่ายของ FTTH
ยาวคลื่นแสงสําหรับสื่อสารได้พร้อมกันจํานวน 4 ความยาวคลื่น ดังนัน้ โปรโตคอลของ ATM เป็ นโปรโตคอลทีม่ คี วามยืดหยุุ่นสูงู ในระบบ
ระบบเดิมจะมีคี วามเร็ว็ เพิม่ ขึน้ึ เป็็ น 4 เท่า หรือื 400 Mbps ทันั ทีี จากจุดนี้ี ATM ข้อมูลต่างๆไม่ว่าจะเป็ นเสียง ภาพ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออื่นๆทีม่ ี
แสดงให้เห็นว่าระบบเครือข่ายของ FTTH สามารถพัฒนาให้เป็ นแบบ ลักษณะแตกต่างกัน จะถูกู ทําให้เป็ นข้อมูลู ดิจติ อลเหมือนกัน จากนัน้ ข้อมูลู นี้จะ
PON-WDM ไ โ้ ดยแทบไม่
ได้ ไ ต้องปรับั ปรุงแก้้ไขการเดินสายสัญ ั ญาณ ถูกจัดกลุ่มเรียกว่าเซลล์ (cell) ก่อนถูกส่งออกไปยังปลายทางในลักษณะของ
ภายนอกอาคารเลย การสือ่ สารสัญญาณแบบแพ็กเกต (packet switching) ซึง่ จะช่วยให้ระบบ
สามารถสือ่ สารข้อมูลทีม่ รี ปู แบบหลากหลายได้ในเครือข่ายเดียวกัน
17 18

3. 5. การบีบอัดข้อมูลภาพ (Video Compression) เทคโนโลยีการบีบอัดสัญญาณภาพในปจั จุบนั ได้พฒ ั นาไปมาก เช่น


การบีบ อัด ภาพตามมาตรฐานของเทคนิ ค MPEG ซึ่ง มีห ลายระดับ ตัง้ แต่
ใในบรรดาขอมู้ ลชนดตางๆทใชสอสารกนขอมู
ช ิ ่ ใ่ี ช้ ่ื ั ้ ลภาพจดวาเปนขอมู
ั ่ ป็ ้ ลท่ี MPEG -1, MPEG-2,…, MPEG-5,… ทําให้สญ ั ญาณภาพทีถ่ กู บีบอัดมีขนาด
มีขนาดใหญ่แถบความกว้างความถีห่ รือแบนด์วดิ ท์ (bandwidth) ของสัญญาณ เล็ก ลง ในขณะเดีย วกัน คุ ณ ภาพของสัญ ญาณที่ไ ด้ก็เ พิ่ม ขึ้น ในกรณี ข อง
่ื ไ ี ่ ป
ภาพเคลอนไหวมคาประมาณ 6 MHz
MH และเมอผานกระบวนแปลงสญญาณให
่ื ่ ป ั ใ ้ มาตรฐาน MPEG-2 สามารถบีบอัดสัญญาณภาพลงมาได้เหลือเพียง 1.5-6
เป็ นข้อมูลดิจติ อลตามปรกติจะต้องใช้อตั ราเร็วในการสือ่ สารข้อมูลถึง 96 Mbps Mbps โดยทีค่ ุณภาพของภาพเคลื่อนไหวตามเวลาจริง (real time) อยู่ใน
ซึ่ง จ ห็น ว่ า การสื่อ สารข้อ ม ล ภาพเคลอนไหวผานเครอขายทเปนสายไฟ
ซงจะเหนวาการสอสารขอมู ภาพ ค ่ือ นไหวผ่ า น ครือ ข่า ที่ ป็ น สา ไฟ เกณฑ์ ท่ีดี ยิ่ง ไปกว่ า นั น้ ในระบบของสัญ ญาณภาพความละเอีย ดสู ง หรือ
ทองแดงไม่สามารถทําได้ แต่ต่อมาได้มกี ารพัฒนาเทคนิคการบีบอัดภาพให้ม ี (HDTV – High Definition Television) ซึง่ มีขนาดของข้อมูลดิจติ อลอยูท่ ่ี 1
ขนาดเล็กลงทําให้สามารถสือ่ สารผ่านสายส่งทีม่ แี บนด์วดิ ท์แคบได้ แต่
ขนาดเลกลงทาใหสามารถสอสารผานสายสงทมแบนดวดทแคบได แตจะพบวา
จ พบว่า Gbps สามารถใช้เทคโนโลยี MPEG บีบอัดลงได้เหลือเพียง 20 Mbps เท่านัน้
รายละเอียดหลายอย่างขาดหายไป ภาพทีไ่ ด้จะมีการมีหน่ วงเวลา หรืออาจมี
ลักษณะการเคลือ่ นไหวแบบไม่ต่อเนื่องจริงๆ (จุ
ลกษณะการเคลอนไหวแบบไมตอเนองจรงๆ (จดนี
ดนสงเกตไดชดหากปรบขยาย
้สงั เกตได้ชดั หากปรับขยาย
จอภาพให้ใหญ่ขน้ึ )

19 20
ส่สวนปลายของเสนใยนาแสงทอยู
วนปลายของเส้นใยนํ าแสงทีอ่ ย่ภายในบานของผู
ายในบ้านของผ้ใชช้ จะเชอมตอกบอุ
จะเชื่อมต่อกับอปกรณ์
ปกรณ
4. โครงสร้
โ ้างพืืน้ ฐานของระบบ FTTH ONU (Optical Network Unit) หรือ ONT (Optical Network Termination) ทํา
โโครงสรางพนฐานของระบบ
้ ้ื FTTH จะมชุชี มสายทเปนสานกงานกลาง
่ี ป็ ํ ั หน้าทีก่ ระจายสัญญาณทัง้ ในรปแบบของสั
หนาทกระจายสญญาณทงในรู ญญาณแสงและไฟฟ้าไปยังอปกรณ์
ปแบบของสญญาณแสงและไฟฟาไปยงอุ ปกรณ
(Central Office: CO หรือ HDT: Host Digital Terminal หรือ Head End: HD) ใช้งานภายในบ้าน เช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ โทรสารหรือเครื่องคอมพิวเตอร์
ํ ้ ่ี ั ่ี ั ั
ทาหนาทจดการเกยวกบสญญาณการใหบรการไปยงผู ใ ้ ิ ไป ั ใ้ ชทอยู
ช้ ่ี ่ในเขตควบคุม เป็ น ต้น ทัทงนจานวนอุ
เปนตน ง้ นี้ จํ า นวนอปกรณ์
ป กรณใชงานในบานของผู
ใ ช้ง านในบ้า นของผ้ใ ชอาจมไดมากกวาหนง
ช้อ าจมีไ ด้ม ากกว่ า หนึ่ ง
ของ CO รวมทัง้ เชือ่ มโยงข้อมูลเข้ากับระบบโครงข่ายสือ่ สารเพือ่ รับส่งข้อมูลไป อุปกรณ์ขน้ึ อยูก่ บั กับปริมาณข้อมูล (ความเร็ว) ความต้องการใช้บริการ และ
งั ส่วนต่าง ตามความตองการของผู
ยงสวนตางๆ ตามความต้องการของผ้ใชช้ รูรปแบบการให้
ปแบบการใหบรการของผู
บริการของผ้ใหบรการ
ห้บริการ (Operator)
ภายในชุมสายจะประกอบด้วยอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทาํ หน้าทีส่ าํ หรับ
การปร มวลสัญญาณ เช่
การประมวลสญญาณ เชนน ตัตดตอหรอสลบสาย
ดต่อหรือสลับสาย (switching)
( it hi ) จดหาเสนทางการ
จัดหาเส้นทางการ
เดินทางของข้อมูล (routing) และอืน่ ๆ ตามทีจ่ าํ เป็ นสําหรับช่วงเส้นทางระหว่าง
ชุชมสายกั
มสายกบบานผู
บบ้านผ้ใช้ชบรการเปนงานขายสายตอนนอกประกอบดวยเสนใยนาแสง
บริการเป็ นงานข่ายสายตอนนอกประกอบด้วยเส้นใยนําแสง
เชื่อมโยงไปยังกลุ่มบ้านผูใ้ ช้ในลักษณะของการกระจาย (distribution) ไปยัง
ชุชมชนเข้
มชนเขาสูาส่บานผู
า้ นผ้ใช้ชตามลาดบ
ตามลําดับ
21
โครงสร้างพืน้ ฐานของระบบ FTTH 22

จากรูปทแสดงถงระบบทมความเรวขอมู
จากรปที แ่ สดงถึงระบบทีม่ คี วามเร็วข้อมลขาลง
ลขาลง (downstream) เปลยนแปลงได
เปลีย่ นแปลงได้
ระหว่าง 100 Mbps ถึง 1 Gbps ในขณะทีค่ วามเร็วข้อมูลขาขึน้ (upstream) มี
ค่าไม่เกิน 100 Mbps นอกจากนระบบ
คาไมเกน นอกจากนี้ระบบ FTTH ยงสามารถกาหนดใหความยาว
ยังสามารถกําหนดให้ความยาว
คลื่นแสงทีเ่ ป็ นคลื่นพาห์ (carrier) ระหว่างการส่งข้อมูลขาลง (downstream)
และขาขึน้ (upstream) มคาแตกตางกน
และขาขน มีคา่ แตกต่างกัน หรอใชความยาวคลนเดยวกนกได
หรือใช้ความยาวคลืน่ เดียวกันก็ได้

รูรปตั
ปตวอยางแสดงจุ
วอย่างแสดงจดต่
ดตอและแยกสายของเคเบลเสนใยนาแสง
อและแยกสายของเคเบิลเส้นใยนําแสง (ภาพบน)และ
23
อุปกรณ์ ONU ภายในอาคาร (ภาพล่าง) 24
5. ข้อดีของระบบ FTTH 1. ระบบมีความเร็วสูง (High Capacity)
เส้นใยนํ าแสงสามารถสื่อสารข้อมูลขนาดใหญ่มากๆได้ เนื่องจากมี
ปจั จัยสําคัญทีท่ าํ ให้ FTTH เป็ นระบบทีน่ ่าสนใจสําหรับผูเ้ ช่า (subscriber) คุณสมบัตเิ สมือนเป็ นท่อส่งสัญญาณทีม่ ขี นาดใหญ่มากระบบ FTTH ถูก
หรือื ผูใ้ ช้้ (user) โดยเฉพาะผู
โ ใ้ ช้บ้ ริกิ ารอินิ เตอร์เ์ น็็ตมีอี ยู่ 3 ประการ
ป คือื ความ ออกแบบให้มคี วามเร็วปรกติประมาณ 155 Mbps ซึง่ ถือว่ามีความเร็วมากกว่า
สามารถในการสือ่ สารข้อมูลด้วยความเร็วสูง (high capacity) ระบบมีความ ระบบ ADSL (ทีค่ วามเร็วปรกติ 1.5 Mbps) ร่วมร้อยเท่าเลยทีเดียว
น่่ าเชื่อื ถือื (system reliability) และระบบจ่่ายพลงงานไฟฟาในระบบ ั ไฟฟ้ ใ FTTH ความเร็วในการสือ่ สารข้อมูลของ FTTH ทีใ่ ห้บริการในบ้านเรา อาจ
(Power distribution) เริม่ ต้นความเร็วตํ่ากว่า 155 Mbps ซึง่ ยังตํ่ากว่ามาตรฐานพืน้ ฐานของมัน
แสดงให้เห็นว่าระบบ FTTH สามารถรองรับการใช้งานการสื่อสารข้อมูล
ความเร็วสูงมากในอนาคตได้อย่างไม่ต้องสงสัย หาดต้องการความเร็วมากก็
ต้องเสียค่าบริการเพิม่ ขึน้ สามารถเลือกความเร็วได้มากถึง 622 Mbps

25 26

ยิง่ ไปกว่านัน้ ระบบ FTTH ยังมีความยืดหยุน่ สูง หากมีการปรับปรุง 2. ระบบมีีความน่่ าเชืื่อถืือ (system Reliability)
ระบบ PON ((Passive Optical p Network)) ให้มสี มรรถนะสูงู ขึน้ หรือหากมีการ
เนองจากเสนใยนาแสงของระบบ
่ื ้ ใ ํ FTTH วสดุั มกเปนแกว
ั ป็ ้ ซงทนทาน
ซึ่
นําระบบ DWDM (Dense Wavelength Division Multiplex) ซึง่ เป็ นระบบการ
ต่อการเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมสูงไม่เป็ นสนิม ในการใช้งานจริงวัสดุท่ี
มัลติเพล็กส์เชิงแสงทีใ่ ช้ความยาวคลืน่ แสงเป็ นคลืน่ พาห์ ((carrier)) มากกว่าหนึ่ง
เปนเปลอกหุ
ป็ ป ื ้ ม เสนใยในลกษณะของสายเคเบลอาจสกกรอนไปกอนตว
้ ใ ใ ั ิ ึ ่ ไป ่ ั
ความยาวคลืน่ ก็สามารถเพิม่ ความเร็วของ FTTH ได้สงู ถึง 2.488 Gbps เลย
เส้นใยนํ าแสงเอง อย่างไรก็ตาม เคเบิลเส้นใยนํ าแสงมักมีอายุการใช้งานอย่าง
ทีเดียว
น้อ 50 ปขนไป
นอย ปี ขน้ึ ไป ซึซงถอวานานพอทผู
ง่ ถือว่านานพอทีผ่ ใ้ ชเกดความมนใจในการนาสญญาณของ
ช้ กิ ความมันใจในการนํ
่ าสัญญาณของ
เมื่อเปรียบเทียบความเร็วในการสือ่ สารข้อมูล กับราคาการให้บริการ
ระบบ FTTH
ซึง่ อาจสูงู กว่าระบบ xDSL ไม่มาก จะพบว่าค่าใช้จา่ ยต่อหน่วยข้อมูลู จะถูกู กว่า
วสดุ ่ใช้ทําเส้นใยแก้วมีความเป็ นฉนวนไฟฟ้าโดยธรรมชาติ ทาให
วัสดทีทใชทาเสนใยแกวมความเปนฉนวนไฟฟาโดยธรรมชาต ทําให้
ระบบทีใ่ ช้ไฟฟ้าเป็ นสือ่ สัญญาณมาก
ปราศจากปญั หาเกีย่ วกับการเหนี่ยวนําสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ซึง่ ส่งผลให้ขอ้ มูล
สือ่ สารไม่มสี ญ
สอสารไมมสญญาณรบกวน
ั ญาณรบกวน สญญาณสอสารในระบบ
สัญญาณสือ่ สารในระบบ FTTH จงเปนสญญาณท
จึงเป็ นสัญญาณที่
สะอาดและเชือ่ ถือได้สงู

27 28
ระบบ FTTH ใช้ ใ เส้นใใยนําแสงเป็ นสายส่งสัญญาณส่งไไปยังบ้านของ 3. ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้
ไ าในระบบ
ใ FTTH (Power distribution)
ผูใ้ ช้ผา่ นอุปกรณ์ทเ่ี รียกว่า ONU (optical network unit) ซึง่ จะติดตัง้ อยูภ่ ายใน
บ้านของผู้เช่า ONU นี้ ทําหน้ า ที่กระจายสัญญาณซึ่ึง ส่วนใหญ่ ใ เป็ นสัญญาณ ใในระบบโทรศพททใชสายทองแดงแบบเดม
โ ั ์ ใ่ี ช้ ิ (POT:
(POT Plain Pl i Old

ไฟฟาไปยังอุปกรณ์ ปลายทางที่อยู่ในบ้าน เช่น คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ หรือ Telephone) ้
มีขอ้ ดีตรงทีร่ ะบบยังคงใช้งานได้เมื่อไฟฟาดับ เนื่องจาก
โ พท์์ เป็ นต้น เนื่ องจากสายส่งสัญญาณที่ต่อเข้ากับ ONU เป็ นเส้นใยนํ
โทรศั ใ า ้
ั ไฟฟ ่ี ํ ใ ้
พลงงานไฟฟาททาใหระบบทางานมาจากชุ ํ ชมสายโทรศพท
โ ศั ์ ไมเกยวของกบ
ไ ่ ่ี ้ ั
แสงทําให้ไม่มสี ่วนของตัวนํ าเชื่อมต่อเหมือนโทรศัพท์ ทําให้ช่วยลดแรงไฟ ้
ไฟฟาทีใ่ ช้อยู่ภายในบ้าน แต่ในระบบ FTTH อุปกรณ์ ONU (optical
กระชาก (electrical surge) ทีอ่ี าจเกิดจากฟ้าผ่า และการเหนี่ียวนําไฟฟ ไ ้า N t k UUnit)
Network it) เปนอุ
ป็ นอปกรณ์ ทต่ี อ้ งใช้พ งั งานไฟฟ้า พือ่ ทําให้ตวั มันทํางาน
ปกรณทตองใชพลงงานไฟฟาเพอทาใหตวมนทางาน
ได้ ประกอบกับเส้นใยนํ าแสงไม่สามารถนํ าหลังงานไฟฟ้าได้เหมือนระบบ
สายโทรศพททองแดง งต้องมีแหล่งพลังงานไฟฟ้าเฉพา และ
สายโทรศัพท์ทองแดง จึจงตองมแหลงพลงงานไฟฟาเฉพาะ แล ONU ควรม ควรมี
แบตเตอรีส่ าํ รอง เพื่อทําให้ตวั มันสามารถทํางานทํางานได้แม้ไฟจะดับ ทํา
ให้ระบบต้องมีคา่ ใช้จา่ ยในการติดตัง้ หรือ IFC (installed
ใหระบบตองมคาใชจายในการตดตงหรอ (i t ll d first
fi t costs)t ) และ
ค่าใช้จา่ ยตลอดการใช้งาน (life-cycle costs : LCC) เพิม่ ขึน้

29 30

ข้อเสียหรือปัญหาของ FTTH 6. Free Space Optical (FSO)


ถ้า้ จุดใดจุ
ใ ดหนึ่ึงของผูใ้ ช้้ FTTH มีปี ญหา ั จะทําํ ให้ใ ท้ งโครงข่
ั ้ โ า่ ย FTTH Free Space Optical (FSO) or Optical Wireless เป็ นเทคโนโลยี
นัน้ ใช้ไ ม่ไ ด้เ ลย ป ญ ั หานี้ เ กิด ขึ้น ไม่บ่ อ ยนัก แต่ ก็ต้อ งระวัง โดยเฉพาะบาง ั ่ าด้วยกัน ซึง่ ใน
ทีใ่ ช้แสงเลเซอร์เป็ นสือ่ กลางในการเชือ่ มโยงอุปกรณ์สองฝงเข้

โรงพยาบาลที ใ่ี ช้อ้ นิ เตอร์เ์ นต็ FTTH ในการช่
ใ ่วยรกษาคนปวย
ั ป่ หรือื ธุรกิจิ หรือื ทีน่ ้ีมกี ารคิดค้นเทคโนโลยีน้ีมาเป็ นเวลานานแล้ว ตัง้ แต่ปี 1970 เป็ นการ
ระบบทีต่ อ้ งการความแน่นอนสูงมากๆ พัฒนาเพื่อใช้ในการตืดต่อสื่อสารกันภายในกองทัพองค์การนาซ่า ซึ่งเป็ น
ช่วงทีเ่ กิดการพัฒนาคิดค้นอย่างรวดเร็ว และประกอบกับความต้องการใช้
ความถีส่ ญ ั ญาณทีม่ ากขึน้ แต่ Fiber-optic ไม่สามารถรองรับความต้องการ
ในการใช้งานได้อย่างเพียงพอ จึงมีการพัฒนา FSO ขึน้ และหลังจากนัน้ มี
การนํ าไปใช้อย่างแพร่หลายในการเชื่อมโยงระบบโทรศัพท์ของสองอาคาร
เข้าหากัน

31 32
เทคโนโลยี FSO ได้รบั การพัฒนาต่อมาเรือ่ ย ๆ จนภายหลังเริม่ มีผเู้ ห็น
ประโยชน์ และนํ ามาใช้เ ชื่อมโยงข้อมูลทางด้านคอมพิว เตอร์เ ป็ นหลัก โดย ตารางการเปรียบเทียบ FSO กับเทคโนโลยีการเข้าถึงอืน่ ๆ
ความเร็วเริม่ ต้นของการรับ-ส่งข้อมูลนัน้ อยูท่ ่ี 10 Mbps จากนัน้ มีการพัฒนา
เพิม่ ขึ้นเป็ น 52 Mbps และพัฒนาความเร็วเพิม่ อีกจนกระทังได้ ่ ความเร็วถึง Features FSO DSL Fiber
2.5 Gbps ในปจั จุบนั และจะมีการออกเวอร์ชนใหม่ ั ่ ซง่ึ จะมีความเร็วสูงถึง 10 Spectrum license required No No No
Gbps ซึง่ เทียบเท่ากับมาตรฐานการส่งข้อมูลความเร็วสูงอย่าง DWDM (ข้อมูล Capacity constrained No Yes No
จากห้องทดลองรายงานว่าสามารถส่งข้อมูลสูงสุด 160 Gbps) ทัง้ นี้เทคโนโลยี Provisioning time Immediate Complex Complex
FSO สามารถส่งข้อมูลผ่านโปรโตคอลใด ๆ ก็ได้ New edge equipment and No Yes No
training required
Protocol independence Yes No Yes
Initial investment for few Low High High
subscribers
b ib
Reliability Medium High High
T l /fl ibilit
Topology/flexibility PP, PM
PP PM, Mesh
M h PP PP PM
PP, PM, Mesh
M h
33 34

7 คุคณลั
7. ณลกษณะของระบบ
กษณะของระบบ FSO
o โทโปโลยีของเครือข่าย ระบบสือ่ สัญญาณของ FSO เป็ นการเชื่อมโยง
o FSO เป็ นเทคโนโลยีแบบ line-of-sight คุณสมบัตนิ ้ีจะช่วยลดโอกาสของ แบบจุดต่่อจุดในลั ใ กั ษณะ full duplex การเชือ่ื มโยงแบบจุ
โ ดต่่อจุดนี้ีสามารถถูก
นํ ามาใช้สําหรับสร้างโทโปโลยีของเครือข่ายในรูปแบบใดๆ ก็ได้ เช่น แบบ
การเกิดสัญญ
ญญาณแทรกสอดรบกวนกันและทําให้การติดตัง้ ง่ายขึ้น การเลือก
Ring Mesh และ Star ส่ว่ นฟงก์ ฟ ั ช์ นั ่ ของการ routing และการ multiplexing จะ
สถานที่ตดิ ตัง้ จะต้องแน่ ใจว่าไม่มอี ะไรมากีดขวางการเชื่อมโยงของสัญญาณ
ได้รบั จากอุปกรณ์ประเภท router/switch และ add & drop multiplexer (ADM)
ระยะการแยกห่างของลิงค์จะถูกู กําหนดโดยมุมุ การกระจายออกของลําแสง
ทีน่ี ําเข้า้ มาใช้
ใ ต้ ่างหาก ระบบเชือ่ื มโยง
โ FSO เหมาะทีจ่ี ะนํํามาใช้ ใ ช้ ่วยเสริมิ การ
o FSO เป็ นระบบที่ไม่ต้องขออนุญาตใช้ความถี่ ถึงแม้วา่ แสงจะเป็ นคลื่น ใช้งานให้กบั ระบบเครือข่ายทีม่ อี ยูแ่ ล้วเนื่องจากง่ายต่อการติดตัง้ ลงทุนตํ่า และ
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า แตกไมอยู
สนามแมเหลกไฟฟา แต่กไ็ ม่อย่ภายใตกฏขอบงคบของ
ายใต้กฏข้อบังคับของ FCC เพราะวา
เพราะว่า FCC ไ ่ต้องจ่่ายค่่าธรรมเนีียมในการขออนุ
ไม่ ใ ญาต รวมทังั ้ เหมาะทีจ่ี ะนํํ ามาติดิ ตังั ้ ใช้
ใ ้
จะไม่วางกฎข้อบังคับสําหรับคลืน่ ความถีท่ ม่ี ากกว่า 300 GHz ( หรือความยาว งานเป็ นระบบเชือ่ มโยงสํารองหรือเป็ นระบบเชือ่ มโยงใช้งานชัวคราวก็ ่ ได้
คลื่นน้อยกว่า 10,000 nm) เนองจากระบบ
คลนนอยกวา เนื่องจากระบบ FSO ทงหมด
ทัง้ หมด จะมความถเกน
จะมีความถีเ่ กิน
มากกว่า 300 GHz จึงไม่มคี วามจําเป็ นสําหรับการขออนุญาตใช้ความถี่

35 36
o Beam divergence เนื่องจากระบบเชื่อมโยง FSO เป็ นแบบ point-to- 8. หลักการทํางานของ FSO
point ดังนัน้ จึงสามารถถูกจัดให้เป็ นโทโปโลยีแบบต่างๆ ได้ เช่น Ring Star
Mesh และอื่นๆ ตามปกติระบบ FSO จะมีมมุ ลูเ่ ข้าอยูใ่ นช่วง 3-6 เรเดียน ทํา หลักการทํางานของ FSO จะใช้การแปลงสัญญาณจากไฟฟ้าไปเป็ น
ให้สามารถเอาชนะปญั หาการแกว่งเอียงของตัวอาคารและปญั หาความร้อนจาก แสง โดยการรับสัญญาณสามารถรับสัญญาณทีเ่ ป็ นไฟฟ้า เช่น สัญญาณจาก
สิง่ แวดล้อมได้ ลักษณะของลําแสงลูเ่ ข้าจะเป็ นรูปทรงกรวยทีม่ เี ส้นผ่าศูนย์กลาง LAN หรือรับสัญญาณจากไฟเบอร์ออปติก การใช้งานหลักจึงเป็ นงานด้าน
3.6 เมตร ทีร่ ะยะทาง 600 เมตร ข้อมูลโดยข้อมูลที่รบั -ส่งผ่านลําแสงเลเซอร์นัน้ จะไม่มกี ารเข้ารหัสหรือแปลง
ข้อมูลแต่อย่างใด ดังนัน้ จึงรับประกันความถูกต้องของข้อมูลได้รอ้ ยเปอร์เซ็นต์
และทีส่ าํ คัญไม่ตอ้ งกังวลว่าจะมีผแู้ อบดักสัญญาณข้อมูลระหว่างทาง เนื่องจาก
เป็ นเรื่องทีย่ ากมากเพราะอุปกรณ์สว่ นใหญ่ทต่ี ดิ ตัง้ อยู่บนอาคารสูง และหากมี
ผูใ้ ดเอาสิง่ ของไปกีดขวางระหว่างลําแสง ลิงค์กจ็ ะดาวน์ ทนั ที และนอกจากนี้
การนําไปพัฒนาต่อจะสามารถทําได้อย่างง่ายดาย เนื่องจากไม่ตอ้ งมีการ

37 38

ปรับแต่งค่าพารามิเตอร์แต่อย่างใด เพียงติดตัง้ อุปกรณ์แล้วทํา LOS คือหัน 9. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระบบเชื่อมโยง FSO


ั ่ ตรงกัน (เนื่องจากแสงทํางานในลักษณะเป็ นเส้นตรง)
อุปกรณ์ สองฝงให้
เพียงเท่านี้ระบบก็พร้อมทํางานทันที และทํางานได้อย่างต่อเนื่องโดยอาศัย ระบบ FSO แตกต่างจากระบบสือ่ สัญญาณทาง fiber ตรงทีต่ วั กลางที่
เพียงไฟเลีย้ งเท่านัน้ ใช้สาํ หรับการส่งสัญญาณ ถ้าเป็ น FSO จะต้องส่งผ่านอากาศเปิ ดภายนอก ทํา
ให้อ าจได้ร ับ ผลกระทบจากสภาพแวดล้อ มและสภาพภู ม ิศ าสตร์ท่ีเ กิด ขึ้น
ภายนอกได้ ดังนัน้ เครือข่ายต้องถูกออกแบบให้สามารถต้านทานต่อสิง่ รบกวน
ทีเ่ กิดขึน้ เหล่านี้ และเนื่องจากระบบ FSO เป็ นเทคโนโลยีแบบ line-of-sight
ดังนัน้ การเชื่อมโยงจะต้องถูกออกแบบไม่ให้มอี ะไรมากีดขวางหรือขัดจังหวะ
บีมของลําแสง

หลักการทํางานของ FSO 39 40
ตารางการลดทอนสญญาณจากสภาพภู
ั มอากาศ

o หมอก (fog) ละอองนํ้าหรือหยดนํ้าทีเ่ กิดในอากาศ ถ้ามีขนาดใกล้เคียงกับ
Weather Conditions Attenuation
ความยาวคลื่นของแสง กจะมผลกระทบตอการลดทอนของสญญาณสู
ความยาวคลนของแสง ก็จะมีผลกระทบต่อการลดทอนของสัญญาณสงมาก งมาก
หมอก (fog) จะเป็ นละอองนํ้าหรือไอนํ้าทีม่ ขี นาดเล็กมากและใกล้เคียงกับความ Clear 5 to 15 dB/km
ยาวคลื่นแสงมากกว่าหยดเม็ดนํ้ าฝนหรือเกร็ดหิมะ ทาใหมผลกระทบตอการ
ยาวคลนแสงมากกวาหยดเมดนาฝนหรอเกรดหมะ ทําให้มผี ลกระทบต่อการ Rain 20 to 50 dB/km
ลดทอนสัญญาณมากกว่าอย่างมาก การลดทอนเป็ นผลทีเ่ กิดจากการรวมกัน Snow 50 to 150 dB/km
ของการดดกลื
ของการดู ดกลนแสง
นแสง (absorption) การกระจดกระจายของแสง
การกระจัดกระจายของแสง (scattering) Fog 50 to 300 dB/km
และการสะท้อนของแสง (reflection) วันใดทีม่ หี มอกลงจัด อาจทําให้คา่ ลดทอน
สูสงถึ
งถงง 300-500
300 500 dB ตอกโลเมตร
ต่อกิโลเมตร o การดู
การดดกลื
ดกลนแสง
นแสง (absorption)
( b ti ) การดูการดดกลื
ดกลนเกดจากโมเลกุ
นเกิดจากโมเลกลของนํ
ลของนาทลอย
้ าทีล่ อย
อยู่ในอากาศ ทําให้ลดความหนาแน่ นของกําลังแสงให้น้อยลงและมีผลต่อการ
ลดค่าความน่าเชื่อถือ (Availability)
ลดคาความนาเชอถอ (A il bilit ) ของระบบ การดู
การดดกลื
ดกลนจะเกดขนมากกบ
นจะเกิดขึน้ มากกับ
บางความยาวคลืน่ การใช้กาํ ลังส่งทีเ่ หมาะสมกับสภาพบรรยากาศ รวมทัง้ การ
ใช้สเปซไดเวอร์ซติ จ้ี ะช่วยในการรักษาระดับของค่าความน่าเชือ่ ถือเอาไว้ได้
ใชสเปซไดเวอรซตจะชวยในการรกษาระดบของคาความนาเชอถอเอาไวได
41 42

o การเคลื่อนไหวของตั ไ วอาคาร การเคลื่อนไหวของตั


ไ วอาคารสามารถ
o การกระจัดกระจายของแสง (scattering) การกระจัดกระจายของแสง
ทีจ่ ะไปรบกวนการปรับตัง้ ทิศทางระหว่างเครื่องส่งและเครื่องรับได้ การใช้
เกิดจากการทีค่ วามยาวคลื่นแสงชนปะทะกับสิง่ กีดขวาง ขนาดของสงกดขวาง
เกดจากการทความยาวคลนแสงชนปะทะกบสงกดขวาง ขนาดของสิง่ กีดขวาง
ลําแสงลูเ่ ข้า (Divergent beam) และระบบติดตาม (Tracking) จะสามารถ
จะเป็ นตัวกําหนดชนิดของการกระจัดกระจายของแสงทีเ่ กิดขึน้ ถ้า สิง่ กีดขวาง
ช่วยรักษาการเชือ่ มโยงสัญญาณนี้เอาไว้ได้
มีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่น จะเรยกวา
มขนาดเลกกวาความยาวคลน จะเรียกว่า Rayleigh scattering ถามขนาด
ถ้ามีขนาด
ใกล้เคียงกัน ก็จะเรียกว่า Mie scattering แต่ถา้ หากสิง่ กีดขวางมีขนาดใหญ่ o ความปัน่ ป่ วนของการหักเห (Refractive turbulence) สภาพอากาศ
ั ่ ว่ นหรือเปลีย่ นแปลงอย่างไม่แน่นอน มีผลต่อการเปลีย่ นแปลง
ทีม่ คี วามปนป
มากกว่าความยาวคลืน่ มาก จะเรยกวา
มากกวาความยาวคลนมาก จะเรียกว่า non
non-selective
selective scattering การกระจด
การกระจัด
กระจายของแสงจะไม่ ใ ช่ เ ป็ น การดูด กลืน พลัง งานของแสง แต่ จ ะกระจาย ดัชนีหกั เหของอากาศ ทําให้บมี ลําแสงเกิดการผิดปกติไป ผลกระทบทีเ่ กิด
พลังงานของแสงไปในหลายทิศทาง มผลทาใหลดความเขมของแสงใหนอยลง
พลงงานของแสงไปในหลายทศทาง มีผลทําให้ลดความเข้มของแสงให้น้อยลง กับบีมลําแสงมีอยู่ 3 แบบ คือ 1) beam wander เป็ นการขยับเคลือ่ นของ
สําหรับการส่งในระยะทางไกล บีมเฉออกจากแนวเส้นสายตา 2) beam spreading เป็ นการแผ่ขยายกว้าง
ขึน้ ของบีม และ 3) การกระเพื่อมของความเข้มแสงของบีม (Intensity
fluctuation) มีผลทําให้แอมปลิจดู ของสัญญาณทีไ่ ด้รบั เกิดการกระเพื่อม
ด้วยเช่นเดียวกัน

43 44
10. ประโยชน์ ของเทคโนโลยี FSO
o ระบบมการออกแบบมาใหมความปลอดภยกบดวงตาอยางสมบู
ี ใ ้ ี ป ั ั ่ รณแบบ์
แม้กระทังมี ่ การมองผ่านกระจกโดยตรง เนื่องจากการใช้ความยาวของแสง
เลเซอรท
ซ ์ ่ี 1550 nm ซงเปนชวงทใกลเคยงกบอนฟาเรต
ซึ่ ป็ ช่ ใ่ี ้ ี ั ิ ฟ กระจกและเลนสตา ์
สามารถซึมซับได้และโฟกัสของแสงจะหักเหไม่เข้าเรติน่า
o สามารถป้องกันั การแทรกแซงความถีข่ี องคลืน่ื ไมโครเวฟ ไ โ หรือื สภาพอากาศ
ทีม่ คี วามชืน้ สูงได้ดี
o ไม่
ไ ต้อ งมีีก ารใช้ ใ ้โ ปรแกรมปองกั ้ ัน หรืือ รััก ษาความปลอดภััย ของข้้อ มูล
เนื่องจากระบบ FSO เป็ นการใช้แสงเลเซอร์ในการส่งผ่านข้อมูล ถ้ามีสงิ่ กีด
ขวางหรือื มีคี วามถีอ่ี น่ื แทรกแซงการส่งข้อ้ มูลจะไม่ ไ สามารถส่งไได้้ จึงึ เป็็ นการ
ป้องกันข้อมูลไปในตัว
o สามารถรับั ส่งข้อ้ มูลไได้ไ้ กลในระยะไกล
ใ ไ และสามารถติดิ ตังั ้ ได้
ไ ง้ า่ ย
45

You might also like