You are on page 1of 18

เซต B นับจํานวนสับเซต

A ยูเนียน, อินเตอร์เซกชัน, ผลต่าง B  A ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของเซต B อยู่ใน A หรือเมื่อ B เป็นเซตว่างก็ได้


B  A ถ้าหากพบว่า ....................................................................................
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “เป็นสมาชิกของ” คือ .............
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคําว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” คือ ............. เซตที่มีสมาชิก n ตัว จะมีสับเซตต่างๆ กันทั้งสิ้น ............ แบบ

A B คือเซตของสมาชิกทั้งหมดของ A กับ B เพาเวอร์เซตของ A ใช้สัญลักษณ์ P(A) หมายถึง ...............................................................


A  B คือเซตของสมาชิกที่อยู่ทั้งใน A และ B ดังนั้นถ้าเซต A มีสมาชิก n ตัวแล้ว เซต P(A) .......................................................
A' คือเซตของสมาชิกที่เหลือใน U ซึ่งไม่ได้อยู่ใน A
B  A คือเซตของสมาชิกที่อยู่ใน B แต่ไม่อยู่ใน A (สามารถเขียนได้อีกแบบว่า ...............) 4. ถ้า A  {a, b, c, d, e, f} และ B  {a, b}
แล้ว จํานวนเซต X ซึ่ง B  X  A เท่ากับเท่าใด
1. กําหนด A  {1, 2, 3, {1, 2, 3}} และ B  {1, 2, {1, 2}}
ให้เขียนแจกแจงสมาชิกของเซต A  B , A  B , A  B และ BA

5. ให้ A  {1, a, 2, b, 3, c} และ B  {1, 2}


จํานวนสับเซต S ของ A ซึ่ง S  B   เท่ากับเท่าใด

2. ถ้า A  {1, 2, 3, 4, ...} และ B  {{1, 2}, {3, 4, 5}, 6, 7, 8, ...}


แล้ว (A  B)  (B  A) มีสมาชิกกี่ตัว
6. ถ้า A  {5, 6, 7, ..., 20} และ B  {1, 2, 3, ..., 15} แล้ว
ให้หาจํานวนสมาชิกของเซต { X | X เป็นสับเซตของ A และ X ไม่เป็นสับเซตของ B }

(3.) กําหนดให้ A  {a, {a}, {b}, {b, c}}


ให้เขียนแจกแจงสมาชิกของเซต (A  {b, c})  {b} และ (A  {a, {b}})  {a}
(7.) ให้ A  {0, 1, 2, ..., 20} และ B  { x  A | |x| เป็นจํานวนเต็ม }
จํานวนสมาชิกของเซต { C  B | 0  C และ 1  C } เท่ากับเท่าใด

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 1


C บรรยายถูก-ผิด 10. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. ถ้า A เป็นเซตว่าง เพาเวอร์เซตของ A ก็เป็นเซตว่าง
ข. เราสามารถเขียนแจกแจงสมาชิกเพาเวอร์เซตของ A ได้เสมอ
เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซตเสมอ และ .........................................................เสมอ ค. สามารถสร้างเซต A ที่เพาเวอร์เซตของ A มีสมาชิกจํานวน 25 สมาชิก
ข้อความ {, , }  A มีความหมายว่า .....................................................................
นั่นคือต้องเป็นจริงทั้งสามเงื่อนไขก่อน จึงจะสรุปได้ว่า {, , }  A
ข้อความ {, }  P (A) มีความหมายว่า ........................................... ง. ถ้า A เป็นสับเซตของ B แล้ว เพาเวอร์เซตของ A มีสมาชิกน้อยกว่าเพาเวอร์เซตของ B
ดังนั้นเงื่อนไขที่ต้องพิจารณาได้แก่ ........................................ จึงสรุปได้ว่าข้อความนี้เป็นจริง จ. ถ้าเพาเวอร์เซตของเซต A และ B มีจํานวนสมาชิกเท่ากัน แล้ว A เท่ากับ B
ฉ. ถ้าเพาเวอร์เซตของเซต A และ B มีจํานวนสมาชิกเท่ากัน แล้ว A และ B เทียบเท่ากัน
ตัวอย่าง กําหนดให้ D  {, 1, {2, 3}} ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
1D 1 D 1  P(D)
{1}  D {1}  D {1}  P(D)
D   D   P(D) (11.) ถ้า A  {0, 1} และ B  {0, {1}, {0, 1}} แล้ว ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
{}  D {}  D {}  P(D) ก. A  P(B)
2D {2, 3}  D {2, 3}  P(D) ข. {1}  P(A)  P(B)
{2, 3}  D {{2, 3}}  D {{2, 3}}  P(D) ค. จํานวนสมาชิกของ P(A  B)  2
ง. จํานวนสมาชิกของ P(A  B)  8
8. กําหนดให้ A  {a, b, c} ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. a  A
ข. {b}  A
ค.   A
ง. A  {b, c}
D จํานวนสมาชิกเพาเวอร์เซต
9. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. (A  B)  {A, B}
โดยทั่วไป จํานวนสมาชิกของเซต B  A จะไม่เท่ากับ n(B)  n(A)
ข. ถ้า A  B และ B  C แล้ว A  C
แต่จะต้องคิดจาก n(B  A)  ........................................... คือลบด้วยส่วนที่ซ้ํากันเท่านั้น
ค. ถ้า A  {2, 4, 8} แล้ว {{2, 4}}  P(A)  {A}
ง. P({a})  {{}, {a}} การหาจํานวนสมาชิกของเซต P(A)  A ก็เช่นกัน
ไม่สามารถหาจาก n(P(A))  n(A)  2n  n
แต่จะต้องลบด้วยจํานวนสมาชิกของ A บางตัว เฉพาะที่เหมือนกับสมาชิกของ P(A) เท่านั้น

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 2


ตัวอย่าง กําหนด A  { , 1, 2, {2}, {, 1}, {1, 2, 3} } E ใช้แผนภาพช่วยตอบ
ให้หาจํานวนสมาชิกของเซต P(A)  A
วิธีคิด เนื่องจาก n(A)  6 ดังนั้น n(P(A))  26  64 ยูเนียนของเซต A กับ B ในกรณีต่างๆ
จากนั้นพิจารณาสมาชิกของ A ว่ามีตัวใดบ้างที่อยู่ใน P(A) U U U
 ....................................................................................... A
1 ......................................................................................
2 ...................................................................................... A B A B B
{2} .....................................................................................
..........................
{, 1} .................................................................................
{1, 2, 3} ............................................................................... อินเตอร์เซกชันของเซต A กับ B ในกรณีต่างๆ
พบว่ามีสมาชิกของ A ที่อยูใ่ น P(A) จํานวน ......... ตัว U U U
ดังนั้น n(P(A)  A)  ............................................. ตอบ A
12. ถ้า A  {, 0, 1, {0}, {0, 1}} แล้ว เซต P (A)  A มีสมาชิกกี่ตัว A B A B B
.......................... ..........................
ผลต่าง B  A ในกรณีต่างๆ
U U U
13. ถ้า A  {, 0, 1, {0, 1}} และ B  {, {}, {0, {0, 1}}, {0, {1}}} A
แล้ว เซต P (A)  B มีจํานวนสมาชิกเท่ากับเท่าใด
A B A B B

15. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
(14.) ถ้า A  {, {}, 0, {0}, {1}, {0, 1}}
ก. (A  B)  A  B
แล้ว เซต (P(A)  A)  (A  P(A)) มีจํานวนสมาชิกเท่ากับเท่าใด ข. (A  B)  (B  A)  
ค. A  (A  B)  A  B

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 3


16. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด 17. การขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังอุดรธานี สามารถทําได้สองวิธีคือทางรถไฟและทาง
ก. ถ้า A  B   แล้ว A  B รถบรรทุก ถ้าพบว่าในบรรดาบริษัทที่ขนส่งสินค้าจากกรุงเทพฯ ไปยังอุดรธานี มีบริษัทที่
ข. ถ้า A  B'   แล้ว A  B'  B' ขนส่งทั้งทางรถไฟและรถบรรทุกอยู่ร้อยละ 20 และมีบริษัทที่ขนส่งด้วยรถไฟอยู่ร้อยละ 30
ค. ถ้า A  B  A แล้ว A  B ดังนั้น มีบริษัทที่ขนส่งสินค้าด้วยรถบรรทุกอยู่ร้อยละเท่าใด
ง. ถ้า A  B  B แล้ว [(A  B)  B]'  B  A

18. กําหนดให้ U  {1, 2, 3, 4, 5} และ A, B, C เป็นเซตซึ่ง A  B  C  U


โดยที่ n(A)  n(B)  n(C)  3 และ n(A  B)  n(B  C)  n(A  C)  2
ให้หาจํานวนต่อไปนี้
ก. n(A  B  C)
F โจทย์ปัญหา ใช้สูตรยูเนียน ข. n(A  (B  C))
ค. n(A  (B  C))
สูตรยูเนียน สําหรับ 2 เซต ง. n(A  B)
n(A  B)  ..............................................................
สูตรยูเนียน สําหรับ 3 เซต
n(A  B  C)  n(A)  n(B)  n(C)  n(A  B)  n(A  C)  n(B  C)  n(A  B  C)
(19.) กําหนดให้ A, B, C เป็นเซต โดยที่ A  B  B  C
ถ้า n(A)  25, n(C)  23, n(B  C)  7, n(A  C)  10 และ n(A  B  C)  49

ตัวอย่าง จากการสอบถามนักเรียนห้องหนึ่งซึ่งมีจํานวน 30 คน พบว่ามีนักเรียนชอบเรียน แล้ว n(B) เท่ากับเท่าใด


วิชาคณิตศาสตร์ 12 คน ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 15 คน โดยชอบทั้งสองวิชาอยู่ 5
คน ให้หาว่ามีนักเรียนในห้องนี้ที่ไม่ชอบเรียนเลยทั้งสองวิชาอยู่กี่คน
วิธีคิด ให้ M แทนเซตของนักเรียนที่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์
และ E แทนเซตของนักเรียนที่ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 20. จากการสํารวจผู้ฟังเพลงจํานวน 180 คน พบว่ามีผู้ชอบเพลงไทยสากล 95 คน เพลง
ไทยเดิม 92 คน เพลงลูกทุ่ง 125 คน เพลงไทยสากลและเพลงไทยเดิม 52 คน เพลงไทย
ดังนั้น ข้อมูลที่โจทย์ให้มาได้แก่ n(M)  ....................................................................... สากลและเพลงลูกทุ่ง 43 คน เพลงไทยเดิมและเพลงลูกทุ่ง 57 คน และทั้ง 180 คนจะชอบ
พบว่าตรงตามสูตร จึงสามารถแทนค่าได้เป็น n(M  E)  ............................................ ฟังเพลงอย่างน้อยหนึ่งประเภทในสามประเภทดังกล่าวข้างต้น จํานวนคนที่ชอบฟังเพลงไทย
แสดงว่า มีนักเรียนที่ชอบเรียนคณิตศาสตร์หรือภาษาอังกฤษ (อย่างน้อยหนึ่งวิชา) ........ คน สากลเพียงอย่างเดียวเท่ากับเท่าใด
นักเรียนที่ไม่ชอบเลยทั้งสองวิชาคือนักเรียนคนอื่นๆ ที่เหลือ มีอยู่ ....................... คน ตอบ

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 4


G โจทย์ปัญหา คิดด้วยแผนภาพ 22. จากการสํารวจพฤติกรรมการทานทุเรียน มะม่วง และมังคุด ของคน 100 คนกลุ่มหนึ่ง
พบว่าทุกคนชอบทานผลไม้ทั้งสามชนิดนี้อย่างน้อยหนึ่งอย่าง ถ้ามี 50 คนไม่ชอบทานมังคุด,
30 คนชอบทานมังคุดแต่ไม่ทานทุเรียน, และมี 10 คนชอบทานผลไม้ทั้งสามอย่างนี้ แล้ว
ในกรณีที่ข้อมูลที่โจทย์ให้มาไม่ตรงตามสูตร จะต้องคิดโดยใส่จํานวนสมาชิกส่วนที่ทราบลงใน จํานวนคนที่ชอบทานทุเรียนและมังคุดแต่ไม่ชอบทานมะม่วงเลย เท่ากับเท่าใด
แผนภาพ แล้วหาวิธีลบกันให้ได้ค่าชิ้นส่วนที่ต้องการ
ถ้าข้อมูลที่มีเป็นของหลายชิ้นส่วนที่ซ้อนทับกันมาก ควรเขียนเป็นสมการเพื่อแก้หาค่าออกมา

ตัวอย่าง โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียน 80 คน และมีชมรมกีฬา 3 ชมรม คือฟุตบอล กรีฑา


และว่ายน้ํา นักเรียนทุกคนต้องเป็นสมาชิกอย่างน้อย 1 ชมรม
ถ้ามีนักเรียน 30 คนที่ไม่เป็นสมาชิกชมรมว่ายน้ํา มีนักเรียน 20 คนที่เป็นสมาชิกชมรม 23. ในการสํารวจความนิยมของผู้ที่ไปเที่ยวสวนสัตว์จํานวน 100 คน พบว่ามี 50 คนชอบ
ว่ายน้ําแต่ไม่เป็นสมาชิกชมรมฟุตบอล และมีนักเรียน 18 คนที่เป็นสมาชิกทั้งชมรมฟุตบอล ช้าง, 35 คนชอบลิง, 25 คนชอบหมี, 32 คนชอบช้างอย่างเดียว, 20 คนชอบหมีแต่ไม่ชอบ
และชมรมว่ายน้ําแต่ไม่เป็นสมาชิกชมรมกรีฑา แล้ว จํานวนนักเรียนที่เป็นสมาชิกทั้ง 3 ลิง, 10 คนชอบช้างและลิงแต่ไม่ชอบหมี จงหาจํานวนคนที่ไม่ชอบสัตว์สามชนิดนี้เลย
ชมรมเท่ากับเท่าใด
วิธีคิด จากข้อความ “นักเรียนทุกคนต้องเป็นสมาชิกอย่างน้อย 1 ชมรม”
แสดงว่าจํานวนสมาชิกของทั้งสามเซตนี้รวมกันเท่ากับ 80
เมื่อเขียนแผนภาพ และนําข้อมูลที่ได้จากโจทย์ คือ ฟุตบอล กรีฑา
30, 20, 18 คน เขียนกํากับลงไปดังรูป (24.) ในการสํารวจความนิยมของคนจํานวน 100 คน ที่มีต่อ
นาย ก, ข และ ค โดยทุกคนต้องแสดงความนิยมคนใดคนหนึ่ง ก 20

จะพบว่าหาค่า x ตรงกลางได้โดย x  ........................................ อย่างน้อยหนึ่งคน ปรากฏว่า นาย ก ได้รับคะแนนความนิยม 23
ว่ายน้ํา 22 11
นักเรียนที่เป็นสมาชิกทั้งสามชมรม มีอยู่ .......... คน ตอบ มากกว่านาย ข อยู่ 6 คะแนน และเขียนเป็นแผนภาพได้ดังรูป
9
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด ค
ก. นาย ข ได้คะแนนนิยมน้อยที่สุด U
21. ระหว่างปิดภาคเรียนครั้งหนึ่ง เด็กนักเรียนคนหนึ่งได้ไปพักผ่อนที่ชายทะเลพัทยา ตลอด ข. ผลรวมของคะแนนนิยมของนาย ก นาย ข และนาย ค คือ 199
ช่วงเวลาที่เขาพักผ่อนที่พัทยาเขาสังเกตว่า มีฝนตก 7 วันในช่วงเช้าหรือช่วงเย็น โดยวันใดที่ ค. ผู้ที่ลงคะแนนนิยมให้เฉพาะนาย ก เท่านั้น มีจํานวน 10 คน
ฝนตกในช่วงเช้าแล้วจะไม่ตกในช่วงเย็น ถ้ามีอยู่ 6 วันที่ฝนไม่ตกในช่วงเช้า และมีอยู่ 5 วันที่ ง. ผู้ที่ลงคะแนนนิยมให้ นาย ข มีจํานวน 64 คน
ฝนไม่ตกในช่วงเย็น แล้ว นักเรียนคนนี้ไปพักผ่อนที่ชายทะเลพัทยากี่วัน

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 5


ข้อสอบ O-NET และ PAT (2552-2553) 4. (O-NET’53) ในการสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษากลุ่มหนึ่ง พบว่ามีผู้สอบผ่านวิชา
ต่างๆ ดังนี้ คณิตศาสตร์ 36 คน สังคมศึกษา 50 คน ภาษาไทย 44 คน
1. (O-NET’52) ให้ A เป็นเซตจํากัด และ B เป็นเซตอนันต์ คณิตศาสตร์และสังคมศึกษา 15 คน ภาษาไทยและสังคมศึกษา 12 คน
ข้อความใดต่อไปนี้เป็นเท็จ คณิตศาสตร์และภาษาไทย 7 คน ทั้งสามวิชา 5 คน
1. มีเซตจํากัดที่เป็นสับเซตของ A 2. มีเซตจํากัดที่เป็นสับเซตของ B จํานวนผู้สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชามีกี่คน (อัตนัย)
3. มีเซตอนันต์ที่เป็นสับเซตของ A 4. มีเซตอนันต์ที่เป็นสับเซตของ B

2. (O-NET’52) ในการสํารวจความชอบในการดื่มชาเขียวและกาแฟของกลุ่มตัวอย่าง 32 คน
พบว่า ผู้ชอบดื่มชาเขียวมี 18 คน ผู้ชอบดื่มกาแฟมี 16 คน
ผู้ไม่ชอบดื่มชาเขียวและไม่ชอบดื่มกาแฟมี 8 คน จํานวนคนที่ชอบดื่มชาเขียวอย่างเดียว 5. (มี.ค.52) กําหนดให้ A  { x | x เป็นจํานวนคู่บวก และ x < 100 }

เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ และ B  { x | x  A และ 3 หาร x ลงตัว }


1. 6 คน 2. 8 คน 3. 10 คน 4. 12 คน จํานวนสมาชิกของเซต P(B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 216 2. 217 3. 218 4. 219

3. (O-NET’53) ให้ A  {1, 2, 3, ...} และ B  {{1, 2}, {3, 4, 5}, 6, 7, 8, ...} 6. (มี.ค.52) กําหนดให้ A  {, 1, {1}}

ข้อใดเป็นเท็จ ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. A  B มีสมาชิก 5 ตัว 1.   A 2. {}  A

2. จํานวนสมาชิกของเพาเวอร์เซตของ B  A เท่ากับ 4 3. {1, {1}}  A 4. {{1}, {1, {1}}}  A

3. จํานวนสมาชิกของ (A  B)  (B  A) เป็นจํานวนคู่
4. A  B คือเซตของจํานวนนับที่มีคา่ มากกว่า 5
7. (ก.ค.52) กําหนดให้ A  {1, 2, {1, 2}, {1, 2, 3}} ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. {1, 2}  A 2. {1, 2, 3}  A
3. {1, 2}  A 4. {1, 2, 3}  A

เฉลย 1. 3 2. 2 3. 3 4. 101 5. 1 6. 2 7. 4
คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 6
8. (ก.ค.52) ในการสํารวจความเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายจํานวน 880 คน 11. (มี.ค.53) ให้ A  {1, {1}} และ P(A) เป็นเพาเวอร์เซตของเซต A
เพื่อสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาต่อ ปรากฏผลดังนี้ ข้อใดต่อไปนี้ผิด
มีผู้ต้องการศึกษาต่อ 725 คน มีผู้ต้องการทํางาน 160 คน 1. จํานวนสมาชิกของ P(A)  A เท่ากับ 3
มีผู้ต้องการศึกษาต่อหรือทํางาน 813 คน 2. จํานวนสมาชิกของ P(P(A)) เท่ากับ 16
ผู้ที่ต้องการศึกษาต่อและทํางานด้วย มีจํานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 3. {{1}}  P(A)  A
1. 67 คน 2. 72 คน 3. 85 คน 4. 90 คน 4. {, A}  P(A)

12. (มี.ค.53) กําหนดให้ A, B และ C เป็นเซตใดๆ


ถ้า n(A  B  C)  91 , n(A  B'  C')  11 , n((B  A)  (B  C))  15 ,
n(A  B  C)  20 , n((A  B)  (A  C)  (B  C))  47 และ n(C)  59
9. (ต.ค.52) กําหนดให้ A  {0, 1, 2, {0, 1, 2}} และ P(A) แทนเซตกําลังของ A แล้ว n(A'  B'  C) เท่ากับเท่าใด (อัตนัย)
ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. A  P(A)  {0, 1, 2}
ข. n(A  P(A))  n(P(A)  A)

10. (ต.ค.52) กําหนดเซตและจํานวนสมาชิกของเซตตามตารางต่อไปนี้ 13. (มี.ค.53) พิจารณารูปต่อไปนี้


เซต A B C A B BC AC (A  B)  C แนวตั้ง
จํานวนสมาชิก 15 17 22 23 29 32 28 ให้เติมจํานวนเต็มบวก 1, 2, 3, ..., 11
จํานวนสมาชิกในเซต A BC เท่ากับเท่าใด (อัตนัย) ลงในช่องรูปสี่เหลี่ยม ช่องละ 1 จํานวน
โดยให้ผลบวกของจํานวนในแนวตั้งเท่ากับ 43
และผลบวกของจํานวนในแนวนอนเท่ากับ 28
จํานวน x ในช่องรูปสี่เหลี่ยมมุม เท่ากับเท่าใด
x แนวนอน
(อัตนัย)

เฉลย 8. 2 9. ก.ผิด ข.ถูก 10. 33 11. 4 12. 18 13. 5


คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 7
5. จํานวนเลขสามหลักซึ่งหารด้วย 5 ลงตัว และตัวเลขหลักสิบแตกต่างจากตัวเลขหลักร้อย
ความน่าจะเป็น มีทั้งหมดกี่จํานวน

A กฎการคูณ กฎการบวก (6.) การเขียนจํานวนคู่ที่มีสามหลัก จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่หลักร้อยและหลัก


หน่วยเป็นตัวเลขที่แตกต่างกัน และมีค่าไม่น้อยกว่า 200 มีจํานวนวิธีเท่ากับเท่าใด
การทํางาน k ขั้นตอน โดยที่แต่ละขั้นตอนมีทางให้เลือกทําได้ ni แบบ
จะมีจํานวนวิธีเลือกทํางานจนเสร็จสิ้นทุกขั้นตอน เท่ากับ ......................................... วิธี
7. ในการเลือกจํานวนเต็มซึ่งหารด้วย 3 ลงตัว หนึ่งจํานวน ให้มีค่าอยู่ระหว่าง 10 ถึง 200
ถ้าจําเป็นต้องแยกคิดหลายกรณี ให้นําผลที่ได้ในแต่ละกรณีมา..........กัน ความน่าจะเป็นที่จํานวนที่เลือกมานี้จะหารด้วย 7 ลงตัว เท่ากับเท่าใด
ความน่าจะเป็นจะมีค่าอยู่ในช่วงตั้งแต่ ................ เท่านั้น (หรือช่วง ...............%)
สามารถคํานวณค่าได้จาก “จํานวนผลลัพธ์ที่สนใจ (ตรงตามเงื่อนไข)”
หารด้วย “จํานวนผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้ (ไม่มีเงื่อนไข)” 8. ในการเลือกจุดแบบสุ่มภายในวงกลมรัศมี 1 นิ้ว ความน่าจะเป็นที่จุดนี้อยู่ภายในรูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 นิ้ว ซึ่งอยู่ภายในวงกลม มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. นาย ก, ข และ ค จะขึ้นลิฟต์ซึ่งมีทั้งหมด 3 ตัว
จํานวนวิธีเลือกลิฟต์โดยที่นาย ก และ ข ขึ้นพร้อมกัน แต่นาย ค ขึ้นคนเดียว เท่ากับเท่าใด 9. โยนเหรียญ 4 อันพร้อมๆ กันหนึ่งครั้ง ความน่าจะเป็นที่เหรียญจะขึ้นหัวและก้อยอย่างละ
สองอันสลับกัน เท่ากับเท่าใด
2. ในที่ทํางานแห่งหนึ่งมีตําแหน่งต่างๆ ว่างอยู่ 3 ตําแหน่ง และมีผู้สมัครงาน 7 คน
ผู้จัดการจะสามารถเลือกผู้สมัครเข้าทํางานให้เต็มทั้งสามตําแหน่งได้กี่วิธี 10. ถุงใบหนึ่งมีลูกแก้วขนาดเดียวกันอยู่ 10 ลูก เป็นสีแดง 3 ลูก สีขาว 5 ลูก สีดํา 2 ลูก
สุ่มหยิบลูกแก้วจากถุงสองครั้งๆ ละลูกโดยไม่ใส่คืน ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกที่สองเป็นสี
แดงเท่ากับเท่าใด
3. ในคณะกรรมการนักเรียนจํานวน 10 คน จะมีวิธีเลือกประธาน รองประธาน และ
เลขานุการ ได้กี่วิธี ถ้ากรรมการคนหนึ่งไม่สมัครที่จะเป็นประธาน
11. กล่องใบหนึ่งมีหลอดไฟอยู่ 10 หลอด เป็นหลอดดี 8 หลอด และหลอดเสีย 2 หลอด
สุ่มหยิบหลอดไฟขึ้นมาครั้งละ 1 หลอด 3 ครั้ง โดยที่ในการหยิบแต่ละครั้งให้ใส่คืนหลอดไฟ
4. บ้านพักและสถานที่ทํางานของดํารงตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ําเจ้าพระยา ดํารงโดยสารเรือยนต์ไป ลงไปในกล่องก่อนที่จะหยิบครั้งต่อไป แล้ว ความน่าจะเป็นที่จะได้หลอดเสีย 2 ครั้ง มีค่า
ทํางานตอนเช้าและกลับที่พักตอนเย็น ถ้าเรือยนต์มีสามขนาด คือขนาดใหญ่ 3 ลํา ขนาด เท่ากับเท่าใด
กลาง 5 ลํา และขนาดเล็ก 2 ลํา จํานวนวิธีทั้งหมดที่ดาํ รงโดยสารเรือยนต์ไปทํางานและกลับ
บ้านพักด้วยเรือขนาดเดียวกัน แต่ไม่ใช่เรือลําเดียวกันเท่ากับเท่าใด

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 8


12. กล่องใบหนึ่งมีบัตรอยู่ 5 ใบ หมายเลข 1, 2, 3, 4, 5 หยิบบัตร 2 ใบ โดยหยิบทีละใบ 15. ชาย 3 คน และหญิง 3 คน เข้าคิวในแถวเดียวกันเพื่อซื้อตั๋วภาพยนตร์
แบบไม่ใส่กลับคืน ให้ x เป็นหมายเลขบัตรใบแรกที่หยิบได้ และ y เป็นหมายเลขบัตรใบที่ ความน่าจะเป็นที่หญิงทั้ง 3 คน จะยืนเรียงติดกันทั้งหมดในแถวมีค่าเท่ากับเท่าใด
สองที่หยิบได้ ดังนั้นความน่าจะเป็นที่จะได้ x  y และ 4  xy  12 เท่ากับเท่าใด

16. จัดคน 8 คน ซึ่งมีสมชาย สมคิด และสมศรีรวมอยู่ด้วย เข้านั่งเรียงกันเป็นแถวตรง โดย


ที่สมศรีนั่งกลางติดกับสมชายและสมคิดเสมอ จํานวนวิธีการจัดที่นั่งดังกล่าวมีค่าเท่ากับเท่าใด

B วิธีเรียงสับเปลี่ยน แบบเส้นตรง
จํานวน “วิธีเรียงสับเปลี่ยน (P)” สิ่งของต่างๆ กัน n สิ่ง เท่ากับ ............ วิธี (17.) ในการยืนเรียงเป็นแถวตรงของนักเรียนชาย 6 คน และนักเรียนหญิง 4 คน
n!
ถ้าความน่าจะเป็นที่ไม่มีนักเรียนหญิงสองคนใดยืนติดกันเลย เท่ากับ a
หากมีของ n สิ่ง แต่นํามาเรียงสับเปลี่ยนเพียง r สิ่ง จะมีจํานวนวิธีทั้งหมด แบบ และความน่าจะเป็นที่นักเรียนหญิงทั้งหมดต้องยืนติดกัน เท่ากับ b แล้ว a  b เท่ากับเท่าใด
(n  r)!
ใช้สัญลักษณ์เป็น Pn,r หรือ nPr

หากมีของ n สิ่ง ซึ่งในจํานวนนี้มีสิ่งของเหมือนกันเป็นชุดๆ k1 สิ่ง, k2 สิ่ง, ฯลฯ


จะเรียงสับเปลี่ยนได้ทั้งหมด ..................... แบบ
18. กล่องใบหนึ่งบรรจุขนมชั้น 24 ชิ้น แต่ละชิ้นมี 4 ชั้นๆ ละสี ซึ่งมีสีเขียว ขาว แดง
เหลือง และการเรียงลําดับสีของแต่ละชิ้นทั้ง 24 ชิ้นแตกต่างกันหมด ถ้าหยิบขนม 1 ชิ้นจาก
13. ถ้าต้องการเขียนจํานวนที่มี 7 หลัก โดยใช้ตัวเลขโดด 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และให้มีเลข กล่องนี้โดยสุ่ม แล้วความน่าจะเป็นที่ชิ้นที่หยิบได้มีสองชั้นบนไม่ใช่สีแดงและไม่ใช่สีเหลือง
โดด 3, 4, 5 อยู่ติดกันตรงกลางระหว่างเลขโดดคู่และเลขโดดคี่ โดยแต่ละจํานวนไม่มีเลขซ้ํา เท่ากับเท่าใด
แล้วจะเขียนได้ทั้งหมดเป็นจํานวนเท่ากับเท่าใด

14. ในการเรียงสับเปลี่ยนตัวเลขทั้ง 7 ตัวในเซต {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} จํานวนวิธีที่เรียงได้เลข C วิธีเรียงสับเปลี่ยน แบบวงกลม


7 หลัก ซึ่งผลบวกของเลขโดดในหลักหน่วยและหลักสิบมีค่าน้อยกว่า 7 เท่ากับเท่าใด
จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของต่างๆ กัน n สิ่ง เป็นรูปวงกลม
ให้คิดว่าสิ่งแรกอยู่ที่ตําแหน่งใดก็ได้ จากนั้นจัดสิ่งที่เหลือสลับที่ในแนวตรงได้ ................ วิธี
หากการจัดวงกลมนี้สามารถพลิกมองได้สองด้าน จํานวนวิธีจะลดลงเหลือ ................. วิธี

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 9


19. ในการประชุมครั้งหนึ่ง มีผู้แทนจาก 3 ประเทศเข้าร่วมประชุม โดยมีผู้แทนประเทศละ D วิธีจดั หมู่
3 คน จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดให้ผู้แทนแต่ละประเทศต้องนั่งติดกันในการประชุมโต๊ะกลม
เท่ากับเท่าใด
“วิธีจัดหมู่ (C)” เป็นวิธีในการเลือกหยิบสิ่งของจํานวนหนึ่งออกมาจากกอง
ต่างจากการเรียงสับเปลี่ยน (P) ตรงที่ ...........................................................

20. ถ้าจัดนักเรียน 6 คน ซึ่งมีเมตตาและปรานีรวมอยู่ด้วยให้เรียงแถวเป็น 2 แบบ แบบที่ จํานวนวิธีจัดหมู่สิ่งของต่างๆ กัน n สิ่ง โดยเลือกออกมาเพียง r สิ่ง จะมี ...................... วิธี
หนึ่งนักเรียนทั้งหมดยืนเป็นแถวตรงโดยที่เมตตาและปรานียืนติดกัน และแบบที่สองนักเรียน ใช้สัญลักษณ์เป็น Cn,r หรือ n Cr หรือ
.................
ทั้งหมดยืนเป็นวงกลมโดยที่เมตตาและปรานียืนตรงกันข้าม แล้วจํานวนวิธีของการจัดแต่ละ
แบบต่างกันอยู่เท่าใด 24. บนเส้นรอบวงของวงกลมวงหนึ่งมีจุด 7 จุด คือ A, B, C, ..., G
ก. สร้างรูปเหลี่ยมบรรจุในวงกลมโดยอาศัยจุดเหล่านั้นเป็นจุดยอดมุม ได้กี่รูป

21. ลูกแก้ว 7 ลูก ซึ่งมีสีต่างกันหมด โดยมีสีแดง สีขาว สีน้ําเงิน และสีอื่นๆ


วางเรียงกันเป็นวงกลม ให้หาจํานวนวิธีที่ ข. สร้างรูปสามเหลี่ยมที่มี A เป็นจุดยอด ได้กี่รูป
ก. ลูกแก้วสีน้ําเงินเรียงอยู่ติดกับสีขาว และติดกับสีแดงด้วย

ข. ลูกแก้วสีแดงและสีขาวอยู่เรียงติดกัน แต่ลูกแก้วสีแดงไม่ติดกับสีน้ําเงิน 25. ตู้ใบหนึ่งมีเสื้อสีแดงแบบต่างๆ กัน 6 ตัว และเสื้อสีขาวแบบต่างๆ กัน 4 ตัว


ถ้าสุ่มหยิบเสื้อจากตู้ใบนี้ 5 ตัว จํานวนวิธีที่หยิบได้เสื้อสีแดงมากกว่าเสื้อสีขาว เท่ากับเท่าใด

22. สามีภรรยา 5 คู่ นั่งรอบโต๊ะกลมโดยการสุ่ม


ความน่าจะเป็นที่สามีคนหนึ่งจะได้นั่งติดภรรยาของเขา เท่ากับเท่าใด
26. ข้อสอบชุดหนึ่งมี 2 ตอน ตอนละ 4 ข้อ มีคําสั่งให้ผู้สอบทําข้อสอบตอนที่หนึ่งอย่างน้อย
1 ข้อ และทําข้อสอบตอนที่สอง 2 ข้อ จํานวนวิธีที่ผู้สอบจะเลือกข้อที่ทําเท่ากับเท่าใด
(23.) จัดคน 8 คนซึ่งมีสมศักดิ์ สมชาย และสมหญิงรวมอยู่ด้วย เข้านั่งรอบโต๊ะกลมซึ่งมี
8 ที่นั่ง ความน่าจะเป็นที่สมชายจะได้นั่งติดกับสมหญิง แต่ไม่ติดกับสมศักดิ์ เท่ากับเท่าใด

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 10


27. ต้องการเลือกสมาชิก 4 คน จากสมาชิกทัง้ หมด 12 คน เพื่อเป็นตัวแทนเข้าร่วมประชุม E วิธีจดั หมู่ โดยกฎการแบ่งกลุ่ม
โดยที่สมาชิกทั้ง 12 คนนี้ มีสามีภรรยาคู่หนึ่ง ซึ่งถ้าคนใดคนหนึ่งได้เป็นตัวแทน อีกคนหนึ่ง
ต้องได้เป็นด้วย ดังนั้นจํานวนวิธีเลือกตัวแทนเท่ากับเท่าใด
ในการแบ่งของ n ชิ้นที่แตกต่างกัน ออกเป็นกลุ่มย่อยๆ กลุ่มละ r1, r2 , r3 , ..., rk ชิ้น
โดยไม่มีกลุ่มใดที่มีจํานวนชิ้นเท่ากันเลย จะแบ่งกลุ่มได้ ................................. วิธี

ถ้ามีบางกลุ่มจํานวนชิ้นเท่ากัน และการสลับที่กันระหว่างกลุ่มเหล่านี้ไม่ถือว่าแตกต่าง
28. ในการแข่งขันฟุตบอล คณะกรรมการจัดการแข่งขันจัดให้มีการแข่งขันแบบพบกันหมด จํานวนวิธีจะต้องลดลง โดยนําจํานวนมาหารเช่นเดียวกับการสับเปลี่ยนของที่ซ้ํา
ปรากฏว่าจะต้องจัดให้มีการแข่งขันทั้งหมด 36 คู่ การแข่งขันนี้มีทีมเข้าร่วมแข่งขันจํานวน
เท่ากับเท่าใด
32. ครู 3 คน พานักเรียน 6 คนไปเข้าค่ายวิชาการ ซึ่งต้องพักในบ้านหลังหนึ่งที่มีห้องนอน
3 ห้อง ห้องเล็กอยู่ได้ 2 คน ห้องกลางอยู่ได้ 3 คน และห้องใหญ่อยู่ได้ 4 คน
29. กล่องใบหนึ่งมีบัตร 10 ใบ แต่ละใบมีหมายเลข 0, 1, 2, …, 9 บัตรละหนึ่งหมายเลข ถ้าต้องการให้ครู 3 คนพักในห้องเดียวกัน จะมีวิธีการแบ่งคนเข้าพักได้ทั้งหมดกี่วิธี
ถ้าหยิบบัตรจากกล่องพร้อมกัน 3 ใบ ความน่าจะเป็นที่จะได้บัตรหมายเลขคู่ทุกใบ และมี
แต้มรวมกันมากกว่า 10 มีค่าเท่ากับเท่าใด

33. จะจัดพนักงาน 6 คน ให้เป็น 3 กลุ่มเพื่อทํางาน 3 งานซึง่ แตกต่างกัน


โดยจัดกลุ่มละกี่คนก็ได้ จํานวนวิธีที่จะสามารถจัดได้เท่ากับเท่าใด
(30.) กล่องใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ แต่ละใบมีตัวเลขกํากับไว้ มีสลาก 5 ใบที่ตัวเลขกํากับ
เป็นจํานวนลบ และอีก 5 ใบมีตัวเลขกํากับเป็นจํานวนบวก ถ้าสุ่มหยิบสลากจากกล่องนี้มา 4
ใบ ความน่าจะเป็นที่ผลคูณของตัวเลขที่กํากับสลากทั้งสี่ใบเป็นจํานวนลบ มีค่าเท่ากับเท่าใด

34. มีคนงานหญิง 6 คน และคนงานชาย 8 คน ซึ่งมีนายดํารวมอยู่ด้วย


ถ้าจะเลือกคนงาน 4 คน ไปทํางานที่ต่างกัน 4 ประเภท โดยให้เป็นหญิง 2 คน เป็นชาย 2
คน และให้มีนายดําอยู่ใน 4 คนนี้ด้วย จํานวนวิธีการเลือกคนงานดังกล่าวเท่ากับเท่าใด
31. คนกลุ่มหนึ่งเป็นชาย 6 คน และหญิง 4 คน ในกลุ่มนี้มีผู้ถนัดซ้าย 7 คน ซึ่งเป็นชาย
5 คน ถ้าสุ่มเลือกคนจากกลุ่มนี้มา 3 คน ความน่าจะเป็นที่ได้ชายที่ถนัดซ้ายมากกว่าหญิงที่
ถนัดซ้ายเท่ากับเท่าใด

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 11


35. เรือนรับรองหลังหนึ่งมี 3 ห้องนอน ห้องหนึ่งอยู่ได้ 3 คน ส่วนอีก 2 ห้อง อยู่ได้ห้องละ
เมื่อมีเงื่อนไขว่า “หรือ” สามารถคํานวณได้ 2 ลักษณะ
2 คน ถ้ามีแขก 7 คน เป็นหญิง 3 คน ชาย 4 คน จะเดินทางมาพักโดยไม่แจ้งเพศให้ทราบ
ล่วงหน้า ความน่าจะเป็นที่เจ้าภาพจะจัดให้หญิง 3 คน ได้พักอยู่ห้องเดียวกันเท่ากับเท่าใด (1) อาศัยหลักการยูเนียนของเซต
“เกิด A หรือ B” คิดจาก “เกิด A” บวกด้วย “เกิด B” และลบออกด้วย “เกิดทั้ง A และ B”
P (A  B)  ..........................................................
(2) ใช้เทคนิคลบออก
“เกิด A หรือ B” คิดจาก “วิธีทั้งหมด” ลบด้วยสิ่งที่ตรงกันข้ามคือ “ไม่เกิดทั้ง A และ B”
(36.) ในการจัดคน 6 คน ซึ่งมีนาย ก และนาย ข รวมอยู่ด้วย เข้าพักในห้อง 3 ห้อง โดย P (A  B)  ............................................
ที่ห้องที่หนึ่งพักได้ 3 คน ห้องที่สองพักได้ 2 คน และห้องที่สามพักได้ 1 คน ความน่าจะเป็น
ที่นาย ก และนาย ข จะได้พักห้องเดียวกันเท่ากับเท่าใด 39. จํานวนเต็มคี่ ซึ่งอยู่ระหว่าง 100 และ 999 และมีหลักหน่วยหรือหลักร้อยเป็นจํานวน
เฉพาะ มีจํานวนทั้งหมดเท่ากับเท่าใด

37. นักเรียนอนุบาลห้องหนึ่งมี 10 คน เป็นหญิง 5 คน ชาย 5 คน ครูประจําชั้นคิดจะจัด


เกมให้เล่นร่วมกัน โดยให้นักเรียนเข้านั่งรอบโต๊ะกลม 6 คน และให้เด็กหญิงนั่งสลับกับ 40. จากอาจารย์ 4 คน นักเรียนชาย 5 คน นักเรียนหญิง 2 คน ต้องการเลือกตัวแทน 4
เด็กชาย ครูจะมีวิธีการจัดนักเรียนให้เข้านั่งได้ต่างๆ กันกี่วิธี คน โดยให้มีอาจารย์ 1 คน และนักเรียนหญิงอย่างน้อย 1 คน จํานวนวิธีเลือกเท่ากับเท่าใด

38. ถ้า S คือเซตของล็อตเตอรี่รัฐบาล ซึ่งมีเลข 6 หลัก และมีเลข 0 อยู่ 4 ตัว 41. ในการเลือกจํานวนเต็มหนึ่งจํานวน จากจํานวนเต็มตั้งแต่ 10 ถึง 59
แล้ว จํานวนสมาชิกของ S เท่ากับเท่าใด ความน่าจะเป็นที่เลขจํานวนนั้นหารด้วย 7 ลงตัวหรือเป็นเลขคี่ เท่ากับเท่าใด

F เงื่อนไข “ต้องมี / อย่างน้อย / หรือ” 42. ในการออกรางวัลเลขท้ายสองตัวของลอตเตอรี่รัฐบาล ความน่าจะเป็นที่รางวัลเลขท้าย


สองตัวมีหลักสิบที่เป็นเลขที่มากกว่าหรือเท่ากับ 7 หรือหลักหน่วยเป็นเลขที่น้อยกว่าหรือ
เท่ากับ 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
บางครั้งถ้าจํานวนกรณีมีมาก เช่นเมื่อมีเงื่อนไขว่า “ต้องมี” “อย่างน้อย” “อย่างมาก”
ให้นําจํานวนวิธีทั้งหมดที่เกิดขึ้นได้ ลบด้วยจํานวนวิธีที่ไม่ต้องการ (คือไม่ตรงตามเงื่อนไข)
ส่วนการคํานวณความน่าจะเป็น ให้ความน่าจะเป็นของวิธีทั้งหมดเท่ากับ 1
P (A')  1  P (A) P (A)  1  P (A')

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 12


43. ในการประกวดร้องเพลงรอบสุดท้าย มีผู้เข้ารอบ 3 คน ผู้เข้ารอบแต่ละคนต้องร้องเพลง G สมบัติของความน่าจะเป็น
เพียงหนึ่งเพลง โดยเลือกจากเพลงทั้งหมด 5 เพลงที่กองประกวดจัดไว้ให้ ความน่าจะเป็นที่
จะมีผู้เข้ารอบอย่างน้อย 2 คนเลือกร้องเพลงเดียวกัน เท่ากับเท่าใด
“การทดลองสุ่ม” คือการกระทําที่เราไม่สามารถบอกได้ว่าครั้งถัดไปจะเกิดผลลัพธ์อะไร
แต่สามารถบอกได้ว่า ..................................................................
เซตของ “ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด” เรียกว่า ปริภูมิตัวอย่าง หรือแซมเปิลสเปซ (S)
44. ในการสุ่มหยิบเลข 3 หลัก ที่มากกว่าหรือเท่ากับ 100 มาหนึ่งจํานวน ความน่าจะเป็นที่ ส่วนเซตของ “ผลลัพธ์ที่เราสนใจ” เรียกว่า ................................ จะเป็นสับเซตของ S เสมอ
เลขจํานวนนั้นมีเลข 8 อย่างน้อย 1 หลัก และไม่มีเลข 9 ในหลักใดๆ เท่ากับเท่าใด
การคํานวณความน่าจะเป็นโดย “จํานวนผลลัพธ์ที่สนใจ” หารด้วย “จํานวนผลลัพธ์ทั้งหมด”
หรือ P (A)  n(A) นั้น ใช้ได้เฉพาะการทดลองสุ่มซึ่ง.......................................................
n(S)
45. ในการเลือกประธาน รองประธาน และเหรัญญิก จากนักเรียนชาย 6 คนและนักเรียน
หญิง 4 คน ซึ่งมีนายกําธรรวมอยู่ด้วย ความน่าจะเป็นที่การเลือกครั้งนี้นายกําธรได้เป็น 49. ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ใดๆ ในแซมเปิลสเปซ
ประธาน และมีนักเรียนหญิงได้รับเลือกอย่างน้อยหนึ่งคนเท่ากับเท่าใด ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. P(A  B)  P(A  B)  P(A)  P(B)
ข. P(A)  P(A  B)  P(A  B')
46. ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง ความน่าจะเป็นที่ผลบวกของแต้มบนหน้า
ลูกเต๋าทั้งสองลูกจะเป็นเลขที่หารด้วย 4 ไม่ลงตัว มีค่าเท่ากับเท่าใด 50. ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ ซึ่ง P(A'  B)  P(A  B')  P(A  B)  0.15
แล้ว P(A  B)' มีค่าเท่าใด

(47.) ในจํานวนเด็ก 12 คน มีเด็กถนัดซ้าย 4 คน ถ้าเลือกเด็ก 5 คนโดยการสุ่มจากเด็ก


เหล่านี้ แล้ว ความน่าจะเป็นที่จะมีเด็กถนัดซ้ายอยู่ในกลุ่มที่เลือกเท่ากับเท่าใด 51. ให้ S แทนปริภูมิตัวอย่าง และ A, B และ C เป็นเหตุการณ์
โดยที่ A  B  C  S และ A  B  A  C  B  C  
ถ้า P(A  B)  0.7 และ P(B  C)  0.5 แล้ว P(A'  C') มีค่าเท่าใด
(48.) กล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีดํา 4 ลูก และสีแดง 6 ลูก ถ้าสุ่มหยิบลูกบอลจากกล่องใบนี้
มา 3 ลูก ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกบอลสีละอย่างน้อยหนึ่งลูก เท่ากับเท่าใด

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 13


52. อาคารหลังหนึ่งมีลิฟต์ 2 เครื่อง ความน่าจะเป็นที่ลิฟต์เครื่องแรกและเครื่องที่สอง รออยู่ 54. ถ้าเขียนทุกพจน์ของการกระจาย (a  b)10 เมื่อ a และ b เป็นจํานวนจริง ซึ่ง a  b
ที่ชั้นล่างเป็น 0.20 และ 0.30 ตามลําดับ และความน่าจะเป็นที่จะมีลิฟต์ทั้งสองเครื่องรออยู่ ลงบนสลาก สลากละหนึ่งพจน์ ใส่สลากทั้งหมดนี้ลงในกล่องแล้วหยิบสลากออกมา 1 ใบโดย
พร้อมกันที่ชั้นล่างเป็น 0.06 ความน่าจะเป็นที่จะมีลิฟต์รออยู่ชั้นล่างเพียงเครื่องเดียวเท่ากับ การสุ่ม ความน่าจะเป็นที่จะได้สลากที่มีพจน์ซึ่งมีสัมประสิทธิ์ทวินามเป็น 252 เท่ากับเท่าใด
เท่าใด

55. ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. ผลบวกของสัมประสิทธิ์ของการกระจาย (a  b)7 มีค่าเท่ากับ 256
(53.) จากผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์และเคมีของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง พบว่า 1/3 ของ
นักเรียนทั้งหมดสอบผ่านคณิตศาสตร์ และ 8/15 ของนักเรียนทั้งหมดสอบผ่านเคมี
ถ้าความน่าจะเป็นของนักเรียนคนหนึ่งในกลุ่มนี้ที่จะสอบผ่านอย่างมากหนึ่งวิชาเป็น 4/5  25 
ข. พจน์ที่ 13 ของการกระจาย (2x  3y)25 มีค่าเท่ากับ 12
  (2x) (3y)
13
แล้ว ความน่าจะเป็นที่เขาจะสอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชาเท่ากับเท่าใด  12 

1 7 7
ค. สัมประสิทธิ์ของเทอม x5 ในการกระจาย (x  ) มีค่าเท่ากับ
2x 2

H การแจกแจงทวินาม 1 15
56. ในการกระจาย (x3  ) พจน์ที่ไม่มี x ปรากฏอยู่คือพจน์ที่เท่าใด และมีค่าเท่าใด
x2
การกระจาย (a  b)n สามารถหาสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์ได้จากสามเหลี่ยมของปาสคาล
หรืออาศัย “ทฤษฎีบททวินาม” ที่กล่าวว่า เมื่อ a และ b เป็นจํานวนจริง, n เป็นจํานวนนับ
จะได้ (a  b)n   0n  anb0   n1  an  1b1   2n  an 2b2  ...   nn  a0bn
       
10
 4 1 
n nr r (57.) ถ้า a และ b เป็นสัมประสิทธิ์ของ x 2 และ x4 ของการกระจาย x  2 
นิยมเรียกพจน์ที่ r 1 เป็นพจน์ทั่วไป ซึ่งจะมีค่าเท่ากับ r  a b  2x 
 
a
n ตามลําดับ แล้ว เท่ากับเท่าใด
และเรียก r  ใดๆ ว่า “สัมประสิทธิ์ทวินาม” b
 
(ซึ่งอาจไม่ใช่ค่าสัมประสิทธิ์จริงๆ ของพจน์นั้น ถ้าหากค่าของ a หรือ b มีสัมประสิทธิ์อยู่อีก)
 n   n  n   n n
ค่าของ  0    1    2   ...   n   2 เสมอ
       

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 14


ข้อสอบ O-NET และ PAT (2552-2553) 5. (O-NET’52) ในการหยิบบัตรสามใบ โดยหยิบทีละใบจากบัตรสี่ใบ ซึ่งมีหมายเลข 0, 1, 2
และ 3 กํากับ ความน่าจะเป็นที่จะได้ผลรวมของตัวเลขบนบัตรสองใบแรก น้อยกว่าตัวเลขบน
1. (O-NET’52) ในการคัดเลือกคณะกรรมการหมู่บ้านซึ่งประกอบด้วย ประธานฝ่ายชาย 1 บัตรใบที่สาม เท่ากับข้อใด
คน ประธานฝ่ายหญิง 1 คน กรรมการฝ่ายชาย 1 คน และกรรมการฝ่ายหญิง 1 คน จาก 1. 41 2. 43 3. 21 4. 23
ผู้สมัครชาย 4 คน และหญิง 8 คน มีวิธีการเลือกคณะกรรมการได้กี่วิธี
1. 168 วิธี 2. 324 วิธี 3. 672 วิธี 4. 1,344 วิธี

6. (O-NET’52) โรงเรียนแห่งหนึ่งมีรถโรงเรียน 3 คัน นักเรียน 9 คนกําลังเดินไปขึ้นรถ


2. (O-NET’52) มาลีต้องการเดินทางจากเมือง A ไปยังเมือง C โดยต้องเดินทางผ่านไปยัง โรงเรียนโดยสุ่ม ความน่าจะเป็นที่ไม่มีนักเรียนคนใดขึ้นรถคันแรก เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
เมือง B ก่อน จากเมือง A ไปเมือง B มาลีสามารถเลือกเดินทางโดยรถยนต์ รถไฟ หรือ 1. (31)9 2. (23)9 3. (91)3 4. (92)3
เครื่องบินได้ แต่จากเมือง B ไปเมือง C สามารถเดินทางไปทางเรือ รถยนต์ รถไฟ หรือ
เครื่องบิน ข้อใดต่อไปนี้คือจํานวนวิธีในการเดินทางจากเมือง A ไปยังเมือง C ที่จะต้อง
เดินทางโดยรถไฟเป็นจํานวน 1 ครั้ง
1. 5 2. 6 3. 8 4. 9 7. (O-NET’53) จํานวนวิธีในการจัดให้หญิง 3 คน และชาย 3 คน นั่งเรียงกันเป็นแถว
โดยให้สามีภรรยาคู่หนึ่งนั่งติดกันเสมอ มีทั้งหมดกี่วิธี (อัตนัย)

3. (O-NET’52) ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
ก. การทดลองสุ่มเป็นการทดลองที่ทราบว่าผลลัพธ์อาจเป็นอะไรได้บ้าง
ข. แต่ละผลลัพธ์ของการทดลองสุ่มมีโอกาสเกิดขึ้นเท่าๆ กัน 8. (O-NET’53) ตู้นิรภัยมีระบบล็อกที่เป็นรหัส ประกอบด้วยตัวเลขโดด 0 ถึง 9
จํานวน 3 หลัก จํานวนรหัสทั้งหมดที่มีบางหลักซ้ํากันคือเท่าใด (อัตนัย)

4. (O-NET’52) โรงแรมแห่งหนึ่งมีห้องว่างชั้นที่หนึ่ง 15 ห้อง ชั้นที่สอง 10 ห้อง


ชั้นที่สาม 25 ห้อง ถ้าครูสมใจต้องการเข้าพักในโรงแรมแห่งนี้โดยวิธีสุ่ม แล้ว
ความน่าจะเป็นที่ครูสมใจจะได้เข้าพักห้องชั้นทีส่ องของโรงแรม เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 9. (O-NET’53) ในการวัดส่วนสูงนักเรียนแต่ละคนในชั้น พบว่านักเรียนที่สูงที่สุดสูง 177
1. 101 2. 51 3
3. 10 4. 21 เซนติเมตร และนักเรียนที่เตี้ยที่สุดสูง 145 เซนติเมตร พิจารณาเซตของส่วนสูงต่อไปนี้
S  { H | H เป็นส่วนสูงในหน่วยเซนติเมตรของนักเรียนในชั้น }
T  { H | 145 < H < 177 }
เซตใดถือเป็นปริภูมิตัวอย่าง (แซมเปิลสเปซ) สําหรับการทดลองสุ่มนี้
เฉลย 1. 3 2. 1 3. ก.ถูก ข.ผิด 4. 2 5. 1 6. 2 7. 240 8. 280 9. 3 1. S และ T 2. S เท่านั้น 3. T เท่านั้น 4. ไม่ใช่ทั้ง S และ T
คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 15
10. (O-NET’53) ในการเลือกคณะกรรมการชุดหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยประธาน 14. (มี.ค.52) ข้าวสารบรรจุถุงแล้วกองหนึ่งประกอบด้วย ข้าวหอมมะลิ 4 ถุง
รองประธาน และเลขานุการ อย่างละ 1 คน จากหญิง 6 คนและชาย 4 คน ข้าวเสาไห้ 3 ถุง ข้าวขาวตาแห้ง 2 ถุง และข้าวบัสมาตี 1 ถุง สุ่มหยิบข้าวจากกองนี้
ความน่าจะเป็นที่คณะกรรมการชุดนี้ จะมีประธานและรองประธานเป็นหญิง เท่ากับข้อใด มา 4 ถุง ความน่าจะเป็นที่จะได้ข้าวครบทุกชนิด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 181 2. 121 3. 91 4. 31 1. 4 2. 3 3. 2 4. 1
35 35 5 4

11. (O-NET’53) กล่องใบหนึ่งบรรจุสลากหลายเลข 1–10 หมายเลขละ 1 ใบ 15. (มี.ค.52) กิตติและสมาน กับเพื่อนๆ รวม 7 คน ไปเที่ยวต่างจังหวัดด้วยกัน ในการ
ถ้าสุ่มหยิบสลากจํานวนสองใบ โดยหยิบทีละใบแบบไม่ใส่คืน ค้างแรมมีบ้านพัก 3 หลัง หลังแรกพักได้ 3 คน ส่วนหลังที่สองและหลังที่สามพักได้หลังละ
ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้สลากหมายเลขต่ํากว่า 5 เพียงหนึ่งใบเท่านั้น เท่ากับข้อใด 2 คน ซึ่งแต่ละหลังมีความแตกต่างกัน พวกเขาจึงตกลงที่จะจับสลากว่าใครจะได้พักที่บ้าน
1. 92 8
2. 15 3. 352 4. 15611
หลังใด ความน่าจะเป็นที่กิตติและสมานจะได้พักบ้านหลังเดียวกันในหลังที่หนึ่งหรือหลังที่สาม
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 2. 5 3. 8 4. 10
21 21 21 21

12. (O-NET’53) มีเหรียญสามอัน เหรียญแรกด้านหนึ่งสีขาว อีกด้านหนึ่งสีแดง เหรียญที่


สองด้านหนึ่งสีแดง อีกด้านหนึ่งสีฟ้า เหรียญที่สามด้านหนึ่งสีฟ้า อีกด้านหนึ่งสีขาว เมื่อโยน
เหรียญทั้งสามพร้อมกัน ความน่าจะเป็นที่เหรียญจะขึ้นหน้าต่างสีกันทั้งหมดเป็นดังข้อใด
1. 21 2. 41 3. 81 4. 161
16. (มี.ค.52) กําหนดให้ n เป็นจํานวนนับ ในการสุ่มหยิบเลข n จํานวนพร้อมๆ กัน
จากเซต {1, 2, ..., 2n} ถ้าความน่าจะเป็นที่จะได้เลขคู่ทั้งหมดเท่ากับ 1 แล้ว
20
ความน่าจะเป็นที่จะได้เลขคู่เพียง 1 จํานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
13. (มี.ค.52) คุณลุง คุณป้า ลูกชาย และลูกสาว มาเยี่ยมครอบครัวเราซึ่งมี 4 คนคือ 1. 1 2. 3 3. 9 4. 11
20 20 20 20
คุณพ่อ คุณแม่ ตัวฉัน และน้องชาย ในการจัดที่นั่งรอบโต๊ะอาหารกลมที่มี 8 ที่นั่ง โดยให้
คุณลุงนั่งติดกับคุณพ่อ คุณป้านั่งติดกับคุณแม่ ลูกชายของคุณลุงนั่งติดกับน้องชายของฉัน
และลูกสาวของคุณลุงนั่งติดกับฉัน จะมีจํานวนวิธีจัดได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 96 วิธี 2. 192 วิธี 3. 288 วิธี 4. 384 วิธี

เฉลย 10. 4 11. 2 12. 2 13. 1 14. 1 15. 1 16. 3

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 16


17. (ก.ค.52) ต้องการสร้างจํานวนคู่บวก 4 หลัก จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 7, 8 21. (ก.ค.52) กําหนดให้ A  {(0, n) | n  1, 2, ..., 10 } และ B  {(1, n) | n  1, 2, ..., 10 }
โดยแต่ละจํานวนที่สร้างขึ้นไม่มีเลขโดดในหลักใดที่ซ้ํากันเลย จะมีจํานวนวิธีที่สร้างได้ ในการเลือกจุดสองจุดที่แตกต่างกันจากเซต A และอีกหนึ่งจุดจากเซต B เพื่อเป็นจุดยอด
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ของรูปสามเหลี่ยมบนระนาบ ความน่าจะเป็นที่จะได้รูปสามเหลี่ยมที่มีพื้นที่ 1 ตารางหน่วย
1. 180 2. 156 3. 144 4. 136 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 9 3. 10 4. 11
45 45 45 45

18. (ก.ค.52) จํานวนเต็มที่มีค่าตั้งแต่ 100 ถึง 999 ที่หารด้วย 2 ลงตัว


แต่หารด้วย 3 ไม่ลงตัว มีจํานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 250 2. 283 3. 300 4. 303
22. (ต.ค.52) ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกแก้วสีแดง 5 ลูก สีเขียว 4 ลูก และสีเหลือง 3 ลูก
ถ้าหยิบลูกแก้วจากถุงทีละลูก 3 ครั้งโดยไม่ใส่คืน แล้ว ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกแก้ว
ลูกที่หนึ่ง สอง และสาม เป็นสีแดง สีเขียว และสีเหลือง ตามลําดับ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 1 3. 3 4. 3
19. (ก.ค.52) ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกกวาดรสสตรอเบอรี่ 5 ลูก รสช็อคโกแลต 4 ลูก 21 22 22 25

รสกาแฟและรสมินท์อย่างละ 2 ลูก หากสุ่มหยิบลูกกวาดจากถุงใบนี้มา 3 ลูก


ความน่าจะเป็นที่จะหยิบได้ลูกกวาดต่างรสกันทั้งหมด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 57 2. 58 3. 59 4. 60
143 143 143 143

23. (ต.ค.52) กล่องใบหนึ่งบรรจุหลอดไฟ 12 หลอด เป็นหลอดชํารุด 3 หลอด


ถ้าหยิบหลอดไฟจากกล่องมา 4 หลอด แล้ว ความน่าจะเป็นที่จะได้หลอดชํารุดไม่เกิน
1 หลอด เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
20. (ก.ค.52) ในลิ้นชักมีถุงเท้าสีขาว 4 คู่ สีดํา 3 คู่ และสีน้ําเงิน 2 คู่ แต่ไม่ได้จัดเรียงไว้ 1. 1 2. 1 3. 14 4. 14
เป็นคู่ๆ ถ้าสุ่มหยิบถุงเท้ามา 2 ข้าง ความน่าจะเป็นที่ได้ถุงเท้าสีเดียวกันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 3 4 99 55

1. 1 2. 2 3. 43 4. 49
2 3 153 153

เฉลย 17. 2 18. 3 19. 2 20. 4 21. 1 22. 2 23. (42/55)

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 17


24. (ต.ค.52) ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูกหนึ่งครั้ง ความน่าจะเป็นที่จะได้แต้มรวมเป็น 7 28. (มี.ค.53) กําหนดให้ S เป็นแซมเปิลสเปซ และ A, B เป็นเหตุการณ์ใดๆ ใน S
โดยที่มีลูกเต๋าลูกหนึ่งขึ้นแต้มไม่น้อยกว่า 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ข้อความต่อไปนี้ถูกหรือผิด
1. 1 2. 1 3. 1 4. 1 ก. P(A)  P(A  B)  P(A  B')
3 4 6 12 ข. ถ้า P(A)  0.5 , P(B)  0.6 และ P(A  B')  0.7 แล้ว P(A  B)  0.4

25. (ต.ค.52) มีสิ่งของซึ่งแตกต่างกันอยู่ 8 ชิน้ ต้องแบ่งให้คน 2 คน


คนหนึ่งได้ 6 ชิน้ และอีกคนหนึ่งได้ 2 ชิ้น จะมีจํานวนวิธีแบ่งกี่วิธี (อัตนัย) 29. (มี.ค.53) กําหนดให้ A  {0, 1, 2, 3, 4}
จํานวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยกว่า 300 โดยสร้างมาจากตัวเลขในเซต A
และตัวเลขแต่ละหลักไม่ซ้ํากัน มีทั้งหมดกี่จํานวน (อัตนัย)

26. (ต.ค.52) ในการแข่งขันฟุตบอลฤดูกาลหนึ่ง มีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 7 ทีม จัดแข่ง


แบบพบกันหมด (แต่ละทีมต้องลงแข่งกับทีมอื่นทุกทีม) จะต้องจัดการแข่งขันกี่นัด (อัตนัย)

30. (มี.ค.53) คณะกรรมการชุดหนึ่งมี 7 คน ประกอบด้วยประธาน รองประธาน


เลขานุการ และกรรมการอีก 4 คน จํานวนวิธจี ัดกลุ่มคน 7 คนนี้นั่งประชุมรอบโต๊ะกลม
โดยให้ประธานและรองประธานนั่งติดกันเสมอ แต่เลขานุการไม่นั่งติดกับรองประธาน
27. (มี.ค.53) กล่องใบหนึ่งบรรจุเสื้อยืด 13 สีๆ ละ 4 ตัว โดยที่เสื้อยืดในแต่ละสีมีขนาด เท่ากับเท่าใด (อัตนัย)
S, M, L และ XL ตามลําดับ สุ่มหยิบเสื้อจากกล่องมา 3 ตัวพร้อมๆ กัน ความน่าจะเป็น
ที่จะได้เสื้อยืดมีสีเหมือนกัน 2 ตัว เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 72 2. 72 3. 3 4. 3
425 5525 221 22100

เฉลย 24. 3 25. 56 26. 21 27. 1 28. ก.ถูก ข.ผิด 29. 44 30. 192

คณิต มงคลพิทักษสุข (พี่นวย) kanuay.com 08/08/53 หนา 18

You might also like