You are on page 1of 140

บทที่ 1 เซต (SET)

เซต เป็ นวิชาคณิ ตศาสตร์ที่วา่ ด้วยเรื่ องของกลุ่มของสิ่ งต่างๆ ที่เราสนใจ กล่าวคือ


ซึ่งนับว่าเป็ นพื้นฐานคณิ ตศาสตร์เพื่อใช้เป็ นพื้นฐานในการศึกษาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องอื่นๆ
ในระดับต่อไปที่สาคัญ
1.1 ความหมายของเซต
เซต เป็ นคาที่ไม่ตอ้ งนิยามความหมาย ( Undefine team ) แต่เราใช้คาว่า เซต
แทนกลุ่มของสิ่ งของ จานวน หรื อสิ่ งมีชีวติ ที่การกล่วงถึง เช่น กลุ่ม กอง หมู่ เหลา โขลง
คณะ พวก ชุด ฯลฯ
เมื่อกล่าวถึงเซต สิ่ งที่คานึงถึงคือ เซตนั้นมีสิ่งใดบ้างที่สอดคล้องกันคากล่าวของ
เซต สิ่ งที่อยูภ่ ายในเซตเรี ยกว่า “สมาชิกเซต” ( Element ) เช่น
1. เซตของจานวนคู่บวกที่นอ้ ยกว่า 10
สมาชิกของเซตคือ 2, 4, 6 และ 8
2. เซตของสระในภาษาอังกฤษ
สมาชิกเซต คือ a, e, i, o, และ u
ในการศึกษาเรื่ องเซต จะใช้สัญลักษณ์ € แทนคาว่า “เป็ นสมาชิกของ” และนิยม
ตั้งชื่อให้กบั คาบอกเซต ซึ่งชื่อเซตที่ต้ งั นิยมใช้ตวั อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่เป็ นชื่อ
ของเซต
เช่น A, B, C, เป็ นต้น
ตัวอย่ าง
เมื่อกล่าวคือ เซตของจานวนคู่บวกที่นอ้ ยกว่า 10 กาหนดให้ชื่อเซตเป็ น เซต A
จะพิจารณาได้วา่
2 A ( อ่านว่า 2 เป็ นสมาชิกของเซต A )
10 A ( อ่านว่า 10 ไม่เป็ นสมาชิกของเซต A )
ตัวอย่ าง 1
1. เซตของจานับที่มากกว่า 5 แต่นอ้ ยกว่า 10
2. เซตของจังหวัดที่ข้ ึนต้นด้วยพยัญชนะ “ข”
3. เซตของพยัญชนะของคาว่า “วิทยาลัย”
วิธีทา 1. เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 5 แต่นอ้ ยกว่า 10
สมาชิกของเซตคือ 6, 7, 8, และ 9
2. เซตของจังหวัดที่ข้ ึนต้นด้วยพยัญชนะ “ข”
สมาชิกเซตคือ ขอนแก่น
3. เซตของพยัญชนะของคาว่า “วิทยาลัย”
สมาชิกของเซตคือ ท, ย, ล และ ว

ข้ อสั งเกต
R แทนเซตของจานวนจริ ง
R+ แทนเซตของจานวนจริ งบวก
R- แทนเซตของจานวนจริ งลบ
Q แทนเซตของจานวนตรรกยะ
Q+ แทนเซตของจานวนตรรกยะบวก
Q- แทนเซตของจานวนตรรกยะลบ
I แทนเซตของจานวนเต็ม
I+ แทนเซตของจานวนเต็มบวก
I- แทนเซตของจานวนเต็มลบ
I0 แทนเซตของจานวนเต็มศูนย์
N แทนเซตของจานวนธรรมชาติหรื อจานวนนับ
1.2 การเขียนเซต
การเขียนเซตใดๆ เมื่อ กาหนดเซตโดยคาบอกเซต เราต้องกาหนดชื่อเซตแล้วจึง
เขียนเซตเช่น กาหนดเซต A เป็ นเซตใดๆ จะเขียนเซต A ดังนี้
A = {(สมาชิกเซต)} อ่านว่าเซต A เป็ นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก...
สาหรับการเขียนสมาชิกเซตนิยมเขียนสมาชิกเซต 2 แบบดังนี้
1) การเขียนสมาชิกเซตแบบแจกแจงสมาชิกเซต
การเขียนสมาชิกเซตวิธีน้ ีจะเขียนแจงสมาชิกเซตในวงเล็บปี กกาโดยใช้
เครื่ องหมายจุลภาคคัน่ ระหว่างสมาชิกทุกสมาชิก เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }
อ่านว่าเซต A เป็ นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 2, 4, 6 และ 8 (จานวน 4 สมาชิก)
1.1) ในกรณี ที่เซตมีจานวนสมาชิกมาก แต่ทราบสมาชิกตัวเริ่ มต้น ตัวสุ ดท้ายและ
สมาชิกเซตเป็ นระเบียบจะใช้สัญลักษณ์ ... แทนสมาชิกที่จะละไว้ในฐานที่เข้าใจ เช่น
เซตของจานวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 100 สมมติให้คือ B จะได้ B = { 1, 2, 3…, 100 }
อ่านว่า เซต B เป็ นซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 1, 2, 3 แต่ต่อไปเรื่ อย ๆ โดยละไว้ในฐานที่
เข้าใจจนถึง 100 (จานวนสมาชิก 100 สมาชิก)
1.2) ในกรณี เซตมีจานวนสมาชิกเซตมากไม่จากัด แต่รู้ตวั เริ่ มต้น เช่น เซตของ
จานวนคู่บวก สมมติให้ คือ C จะได้ C = { 2, 4, 6, 8, … }
อ่านว่าเซต C เป็ นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก 2, 4, 6, 8 และต่อไปเรื่ อยๆ ไม่สิ้นสุ ด
1.3) เซตที่มีจานวนสมาชิกไม่จากัด ไม่ทราบตัวเริ่ มต้นและตัวสุ ดท้าย เช่น เซต
ของจานวนเต็มที่หารด้วย 5 ลงตัว สมมติให้คือ D จะได้
D = { …, -15, -10, -5, 0, 5, 10, 15, … }
อ่านว่าเซต D เป็ นเซตของจานวนเต็มลบที่หารด้วย 5 ลงตัวจนถึง -15, -10, -5, 0, 5, 10,
15 และต่อไปเรื่ อยๆ ไม่สิ้นสุ ด

ตัวอย่ างที่ 2 จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิกเซต


1. เซตของสระในภาษาอังกฤษ
2. เซตของจานวนนับคู่ที่นอ้ ยกว่า 10
3. เซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 5 แต่นอ้ ยกว่า 10
4. เซตของจังหวัดที่ข้ ึนต้นด้วยพยัญชนะ “ข”
5. เซตของพยัญชนะของคาว่า “ วิทยาลัย”
6. เซตของจานวนเต็มบวกที่เป็ นเลขคี่
7. เซตของจานวนเต็มที่หารด้วย 5 ลงตัว

วิธีทา 1. สมมติให้ A คือเซตของสระในภาษาอังกฤษ


จะได้ A = { a, e, i, o, u }
2. สมมุติให้ B คือเซตของจานวนนับคู่ที่นอ้ ยกว่า 10
จะได้ B = { 2, 4, 6, 8, 10 }
3. สมมุติให้ C คือเซตของจานวนเต็มที่มากกว่า 5 แต่นอ้ ยกว่า 10
จะได้ C = { 6, 7, 8, 9 }
4. สมมุติให้ D คือเซตของจังหวัดที่ข้ ึนต้นด้วยพยัญชนะ “ข”
จะได้ D = { ขอนแก่น }
5. สมมุติให้ E เป็ นเซตของพยัญชนะของคาว่า “วิทยาลัย”
จะได้ E = { ท, ย, ล, ว }
6. สมมุติให้ F เป็ นเซตของจานวนเต็มบวกที่เป็ นเลขคี่
จะได้ F = { 1, 3, 5, 7, 9 }
7. สมมุติให้ G เป็ นเซตของจานวนเต็มที่หารด้วย 5 ลงตัว
จะได้ G = { …, -15, -10, -5, 0, 5, 10, 15, … }

2) การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขสมาชิกเซต
การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขสมาชิกนี้จะต้องสมมุติตวั แปรอย่างน้อย 1 ตัวให้
แทนสมาชิกของเซตทุกสมาชิกแล้วใช้สัญลักษณ์เครื่ องหมาย “ / ” แล้วตามด้วยเงื่อนไข
ของสมาชิก เช่น สมมุติให้ A แทนเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกเซต x โดยที่ x เป็ นจานวน
นับคู่ต้ งั แต่ 1-100
หมายเหตุ เมื่อนักเรี ยนมีความเข้าใจเรื่ องระบบจานวนมากขึ้น อาจเขียน A ได้ดงั นี้
A = { x / x = 2y ; y I 1 ≤ y ≤ 50 }
อ่านว่าเซต A เป็ นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิดเซต x โดยที่ x เท่ากับ 2y เมื่อ y เป็ น
จานวนเต็ม และ y มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ1 และน้อยกว่าหรื อเท่ากับ 50
ข้ อสั งเกต
1. เซตที่มีจานวนสมาชิกไม่มากนิยมเขียนสมาชิกเซตแบบแจกแจงสมาชิกเซต
2. เซตที่มีจานวนสมาชิกเซตไม่เป็ นระเบียบ เช่นเซตที่ไม่ใช่ตวั เลขจะไม่นิยม
เขียนแบบแจกแจงสมาชิก โดยจะเขียนสมาชิกแบบบอกเงื่อนไขสมาชิกแทน
3. เงื่อนไขสมาชิกเซตต้องเป็ นข้อความกระชับสั้นสามารถระบุสมาชิกได้
ครบถ้วนไม่ขาดหรื อเกินแม้แต่ตวั เดียว
4. ในกรณี เขียนสมาชิกแบบบอกเงื่อนไขสมาชิกเซตที่เกี่ยวกับจานวนคว รเขียน
ในรู ปแบบสัญลักษณ์โดยไม่ใช้ภาษาไทยช่วยบรรยาย
5. เซตบางเซตไม่สามารถเขียนแบบแจกแจงสมาชิกได้ (เขียนได้ยาก) ควรเขียน
แบบบอกสมาชิกเงื่อนไขสมาชิกจะสะดวกกว่า

ตัวอย่ างที่ 3 จากตัวอย่าง 2 จงเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขสมาชิกเซต


1. A = { x / x คือสระในภาษาอังกฤษ }
2. B = { y / y คือจานวนนับคู่ที่นอ้ ยกว่า 10 }
หรื อ B = { x / x = 2y ; y I+  y < 5 }
3. C = { z / z คือจานวนเต็มที่มากกว่า 5 แต่นอ้ ยกว่า 10 }
หรื อ C = { z / z I  5 < z < 10 }
4. D = { x / x คือจังหวัดที่ข้ ึนต้นด้วยพยัญชนะ “ ข” }
5. E = { x / x คือพยัญชนะของคาว่า “วิทยาลัย” }
6. F = { x / x = 2y - 1 ; y I+}
หรื อF = { x / x เป็ นจานวนเต็มบวกที่เป็ นเลขคี่ }
7. G = { x / x = 5y ; y I }
หรื อ G = { x / x เป็ นจานวนเต็มที่หารด้วย 5 ลงตัว }

ข้อสังเกต สมาชิกเซตที่เป็ นตัวอักษรภาษาอังกฤษจะเขียนด้วยตัวพิมพ์เล็ก เช่น a, b, c, …


1.3 ชนิดของเซต
1.3.1 เซตว่ าง Empty Set หรือ Null Set
บทนิยาม
เซตว่างหมายถึงเซตที่ไม่มีสมาชิกหรื ออาจกล่าวได้วา่ เซตว่างมีสมาชิก 0 สมาชิก
ซึ่งสัญลักษณ์ใช้แทนเซตว่างคือ { } หรื อ เช่น
A = { } หรื อ A = เซต A เป็ นเซตว่าง
B = { x / x I+  x < 1 } จะได้ เซต B เป็ นเซตว่าง
C = { x / x เป็ นจานวนคี่ที่หารด้วย 2 ลงตัว } จะได้ เซต C เป็ นเซตว่าง

1.3.2 เซตจากัด ( Finite Set )


บทนิยาม
เซตจากัดหมายถึงเซตที่สามารถนับจานวนสมาชิกได้ครบถ้วน สามารถบอกได้
ว่ามีจานวนสมาชิกเท่าใด เป็ นจานวนเต็มบวกหรื อศูนย์

ตัวอย่ าง A= { a, e, i, o, u } A เป็ นเซตจากัดมีสมาชิก 5 สมาชิก


B= { 2, 5 } B เป็ นเซตจากัดมีสมาชิก 2 สมาชิก
C= {0} C เป็ นเซตจากัดมีสมาชิก 1 สมาชิก
D= {} D เป็ นเซตจากัดมีสมาชิก 0 สมาชิก

1.3.3 เซตอนันต์ (Infinite Set)


บทนิยาม
เซตอนันต์ หมายถึง เซตที่มีจานวนสมาชิกมากมายนับไม่ถว้ นไม่สามารถบอกได้
ว่ามีจานวนเท่าใด
ตัวอย่ าง A = {1, 2, 3, … }
B = { 3, 5, 7, 9, … }
C = { . . . , -3, -1, 1, 3, 5, . . . }
D = {x/x R  1≤x≤2 }
จะได้ A, B, C, D เป็ นเซตอนันต์
ตัวอย่ าง 4 จงพิจารณาว่าเซตต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นเซตจากัด เซตอนันต์ หรื อเซตว่างและจง
ให้เหตุผล

1.4 เซตเท่ ากัน ( Equal Set )


เมื่อ A และ B เป็ นเซตใดๆ A จะเรี ยกว่าเท่ากับ B ก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองมีจานวน
สมาชิกเท่ากันและเหมือนกันทุกสมาชิก ซึ่งจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A = B หรื อ
อาจกล่าวได้วา่ เซตสองเซตใดๆ จะเท่ากันก็ต่อเมื่อสมาชิกของ A ทุกสมาชิกเป็ นสมาชิก
ของ B และสมาชิกทุกสมาชิกของ B เป็ นสมาชิกของ A
นัน่ คือ A = B ก็ต่อเมื่อ ถ้า x A แล้ว X B และ ถ้า X B แล้ว X
A
ตัวอย่ าง กาหนดให้ A = { 1, 2, 3 }
B = { 2, 1, 3 }
C = { 3, 2, 1 }
จะได้ A = B = C เพราะว่าทั้ง 3 เซตมีจานวนสมาชิก 3 สมาชิกเท่ากันและ
เหมือนกันทั้ง 3 ตัว

ตัวอย่ าง กาหนดให้ D = { 1, 2 }
E = { 1, 3 }
จะได้ D ≠ E ( เซต D ไม่เท่ากับเซต E )

1.5 เซตเสมอเหมือนกัน (Equivalent Set)


เซต 2 เซตใดๆ ที่มีจานวนสมาชิกเท่ากันแต่ไม่เหมือนกันทุก ตัวเรี ยกว่า เซตเสมอ
เหมือน
A เสมอเหมือน B จะเขียนแทนด้วย A ≡ B นั้นคือ เซต 2 เซตที่เท่ากันเสมอ
เหมือนกันแต่เซต 2 เซตที่เสมอเหมือนกันอาจจะเท่ากันหรื อไม่เท่ากันก็ได้
ตัวอย่ าง I- = { x / x I และมีค่าเป็ นลบ }
I+ = { x / x I และมีค่าเป็ นบวก }
F = { 1, 2, 3, 4, … } จะได้ F ≡ I+ / F ≡ I+ ≡ I-

1.6 สั บเซต (Sub Set)


บทนิยาม
กาหนด A และ B เป็ นเซตใดๆ A จะเรี ยกเป็ นสับเซตของ B ซึ่งเขียนแทนด้วย
สัญลักษณ์ A B ก็ต่อเมื่อ X A แล้ว X B
ตัวอย่ าง
กาหนดให้ A = { 1, 2, 3 }
B = { x / x I+  x < 5 }
C = { 2, 3, 4 }
D = {x/x I1≤X≤3}
จะได้วา่ A B เพราะว่า 1 A และ 1 B
2 A และ 2 B
3 A และ 3 B
ซึ่งแสดงว่า สมาชิกของ A ทุกตัวเป็ นสมาชิก B
C B เพราะว่า สมาชิกทุกตัวทุกตัวของ C เป็ นสมาชิกของ B
B A เพราะว่า 4 B แต่ 4 A
B C เพราะว่า 1 B แต่ 1 C
A C เพราะว่า 1 A แต่ 1 C
C A เพราะว่า 4 C แต่ 4 A
A B เพราะว่า สมาชิกทุกตัวของ A เป็ นสมาชิกของ D
D A เพราะว่า สมาชิกทุกตัวของ D เป็ นสมาชิกของ A
ข้ อสั งเกต
1. A = B ก็ต่อเมื่อ A B และ B A
2. เซตใดๆ จะเป็ นสับเซตของตัวเองเสมอ
3. เซตว่างเป็ นสับเซตของทุกๆ เซต
4. ถ้า A เป็ นเซตใดๆ ที่มีสมาชิก n ตัว ( n (A) = n ) แล้วจะสามารถหาสับเซตที่เป็ น
สับเซตของ A ได้เท่ากับ 2n เซตแล้วจะเรี ยกเซตที่ประกอบด้านเซตทั้งหมดที่เป็ นสับเซต
ของ A ว่าเซตกาลังของ A ( Power set of A )ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P(A) นัน่ คือ
P(A ) = { x / x A } และ n ( P ( A ) ) = 2n สมาชิก
คาอธิบาย
1. A = B ก็ต่อเมื่อ A B และ B A
นัน่ คือ ถ้า A = B แล้ว A B และ B A
และ ถ้า A B และ B A แล้ว A = B
หรื ออาจกล่าวได้วา่ เซต 2 เซตใดๆ เท่ากันก็ต่อเมื่อเซตทั้งสองเป็ นสับเซตของกันและกัน
เพราะว่า จากบทนิยามของการเท่ากันดังนี้
ถ้า A และ B เป็ นเซตใดๆ A จะเรี ยกว่าเท่ากับ B ก็ต่อเมื่อสมาชิกทุกตัวของ A
เป็ นสมาชิกของ B ( A B ) และสมาชิกทุกตัวของ B เป็ นสมาชิกของ A ( B A )
2. เซตทุกๆ เซตจะเป็ นสับเซตของตัวเอง นัน่ คือ ถ้า A เป็ นเซตใดๆ แล้ว A A
เพราะว่า A = A ดังนั้นจากข้อสังเกต 1 จะได้ A A
3. เซตว่างเป็ นสับเซตของทุกเซต นัน่ คือ ถ้า A เป็ นเซต เป็ นเซตใดๆ
แล้ว A เพราะว่า สมาชิกทุกตัวของ เป็ นสมาชิกของ A ซึ่งเราไม่สามารถแย้ง
เหตุผลนี้ได้ เนื่องจากเราไม่สามารถบอกได้วา่ มีสมาชิกตัวใดที่เป็ นสมาชิกของ แล้ว
ไม่เป็ นสมาชิกของ A
4. ถ้า A เป็ นสมาชิกใดๆ ที่มีสมาชิก n ตัว เซตที่เป็ นสับเซตของ A จะมีแน่ๆ แล้ว
2 เซต คือ กับ A เซตอื่นๆ จะเป็ นสับเซตของ A จะต้องมีสมาชิกน้อยกว่า n ตัว ซึ่งเกิด
จากนาสมาชิกของ A มาสร้างเซตใหม่ ซึ่งจะต้องมีสมาชิกตั้งแต่ 0-n ตัว ตามทฤษฎีการ
เรี ยงสับเปลี่ยน จะสามารถสับเซตของ A ได้ท้ งั หมด 2n เซต ตัวอย่างเช่น
4.1 A= A มีสมาชิก 0 ตัว ดังนั้นเซต A จะมีสับเซต 20 เซต = 1 เซต ซึ่งก็คือเซต
ว่างนัน่ เองเพราะ P(A) = {{}} หรื อ { }
4.2 A = {1} A มีสมาชิก 1 ตัว ดังนั้นสับเซตของเซต A จะมี 21 = 2 เซต คือ
กับ {1} และ P (A) = { , {1} }
4.3 ถ้า A ={1,2} นัน่ คือ A มีสมาชิก 2 ตัว สับเซตของเซต A จะมี 22 = 4 เซต
คือ ,{1},{2},{1,2} และ P(A) = { , {1}, {2}, {1,2} }
4.4 ถ้า A = {1,2,3} นัน่ คือ A มีสมาชิก 3 ตัว ดังนั้น สับเซตทั้งหมดของ A จะมี
23 = 8 เซต คือ , {1}, {2}, {3}, {1,2}, {1,3}, {2,3} และ {1,2,3}
และ P(A) = { , {1}, {2}, {3}, {1,2}, {1,3}, {2,3} ,4 }
เอกภพสั มพันธ์ (Relative Universe set)
บทนิยาม เอกภพสัมพันธ์ หมายถึง กิ่งเขตที่กาหนดของเขตของเขตทั้งหมดที่
กล่าวถึง
เมื่อกาหนดเขตของเอกภพแล้วมีขอ้ ตกลงว่าจะไม่มีสมาชิกของเขตใดๆ ที่อยูน่ อก
เขตเอกภพนั้น
โดยทัว่ ไปจะกาหนดให้ ใช้สัญลักษณ์ U แทน เอกภพสัมพันธ์ และเขตที่
กล่าวถึงทุกๆเขต
จะเป็ นสับเชตของ U

ตัวอย่ าง กาหนดให้ U = { 1, 2, 3, . . . , 10 }
A = {x/x < 5}
B = { x / x เป็ นเลขคู่ }
C = {x/x < 7}

จะได้ A = { 1, 2, 3, 4, }
B = { 2, 4, 6, 8, 10 }
C = { 8, 9, 10 }

ข้ อสั งเกต 1. สมาชิกของ A, B, C จะต้องเป็ นสมาชิกใน U


2. A, B, C จะต้องเป็ นสับเชตของ U

ตัวอย่ าง กาหนดให้ A = { x / -3 < x < 5 }


จงเขียน A แบบแจกแจงสมาชิกเมือ่ กาหนดเอกภพสั มพันธ์ ดังนี้
ก. U = {1, 2, 3, 4………. 12}
ข. U = { x / x I+ }
ค. U = { x / x I }
วิธีทา
ก. สมาชิกของ A ต้ องเป็ นจานวนทีม่ ากกว่ า -3 แต่ตอ้ งน้อยกว่า 5
และต้องเป็ นสมาชิกของ U = { 1, 2, 3, 4, . . . , 12 }
ดังนั้น A = {1, 2, 3, 4,}
ข. สมาชิกของ A ต้ องเป็ นจานวนทีม่ ากกว่ า -3 แต่นอ้ ยกว่า 5 และต้อง
เป็ นสมาชิกของ U= { X / X I+ }
ดังนั้น A = {1, 2, 3, 4,}

ค. สมาชิกของ A ต้ องเป็ นจานวนทีม่ ากกว่ า -3 แต่นอ้ ยกว่า 5 และ


ต้องเป็ นสมาชิกของ U = { x / x I }
ดังนั้น A = { -2, -1, 0, 1, 2, 3, 4 }

แผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ (Venn-Euler Diagram)


นักคณิ ตศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อนายจอห์นเวนน์ ( John Venn ) และนัก
คณิ ตศาสตร์ชาวสวิสเซอร์แลนด์ ชื่อนายเลียวนาร์ดออลเลอร์ ( Leonard Euler )
ได้คิดค้นวิธีการเขียนแผนภาพแทนเซตโดยกาหนดที่จะใช้รูปสี่ เหลี่ยมผืนผ้าแทน
ขอบเขต U และวงกลม หรื อวงรี แทนแทนเซตต่างๆ ที่กล่าวถึง
จะเห็นได้วา่ เชตอื่นๆ ที่กล่าวถึงจะเขียนเป็ นวงกลมอยูภ่ ายในสี่ เหลี่ยม
นั้น เช่น
ถ้ากาหนด U, A, จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้
ถ้ ากาหนด U, A , B จะสามารถเขียนแผนภาพได้ 4 แบบ ดังนี้
1. กรณี A และ B มีสมาชิกบางตัวเหมือนกัน ( Meeting Set) จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้

2. กรณี A และ B ไม่มีสมาชิกเหมือนกันเลยแม้แต่ตวั เดียว ( Disjoint Set )


จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้

3. กรณี ที่ A B หรื อ B A


จะเขียนแผนภาพได้ ดังนี้

U
A B

A B

B U
A
กรณี A B
4. กรณี ที่ A = B (Equal Set)
จะเขียนได้ ดังนี้

U
A

การดาเนินการของเขต หรือการปฏิบัติของเชต (Operation on Set)

การปฏิบตั ิของเชตเป็ นวิธีการสร้างเชตใหม่ โดยการใช้เครื่ องหมายทางเชตกับ


เขตที่กาหนดให้ซ่ ึงเครื่ องหมายของเชตที่เสนอในที่น้ ีมี 4 แบบ คือ
1. ยูเนียน (Union)
บทนิยาม
กาหนดให้ A และ B เป็ นเซตใดๆ ยูเนียนของ A และ B ซึ่งเขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ A U B (อ่านว่า เซตA ยูเนียน เซต B ) ซึ่งหมายถึงเซตที่
ประกอบด้วยสมาชิกของทั้งหมดเชต นัน่ คือ
A U B = { X / X A หรื อ X B }
การแสดงบริ เวณนั้นที่แรเงาของ A U B ในแผนภาพของเวนท์ออยเลอร์ อาจ
แสดงได้ตามกรณี ต่างๆ ดังนี้
1. กรณีเป็ น Meeting Set

A UB
ตัวอย่ าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {3, 4,}
A U B = {1, 2, 3, 4,}
2. กรณีเป็ น Disjoint U

A UB
ตัวอย่ าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {7, 8,}
A U B = {1, 2, 7, 8,}

3. กรณีเป็ น Sub Set U U


A B หรื อ B A

A UB
ตัวอย่ าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {2}
A U B = {1, 2, 3}

4. กรณีทเี่ ป็ น Equal Set

A UB
ตัวอย่ าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {2, 1, 3} A U B = { 1, 2, 3 }
2. อินเตอร์ เซคชั่น (Intersection)
บทนิยาม กาหนด A และ B เป็ นเชตใดๆ อินเตอร์เซคชัน่ ของ A และ B ซึ่งเขียน
แทนสัญลักษณ์ A B (อ่านว่าเชต A อินเตอร์เซกชัน่ เชต B) หมายถึงเขตซึ่ง
ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็ นสมาชิกของ A และเป็ นสมาชิกของ B นั้นคือ
A B = {x/x єA  x єB}
การแสดงพื้นที่แรกของ A B ในรู ป ของ เวนน์ และออยเลอร์ อาจแสดงได้ตามกรณี
ต่างๆ ดังนี้

1. กรณีเป็ น Mating Set


ตัวอย่าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {3, 4,}
A B = {3}

2. กรณีเป็ น Disjoint

ตัวอย่าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}


2 4 B = {4, 5,}
1 3 5 A B = 

3. กรณีเป็ น Sub Set


ตัวอย่าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
A 1 B B = {2}
2 3 A B = {2}
3. คอมพลีเมนต์ (Complement)
บทนิยาม กาหนดให้ A เป็ นเชตใดๆ ในขอบเขตเอกภพสัมพันธ์ U ซึ่งเขียนแทน
ด้วยสัญลักษณ์ A (อ่านว่า คอมพลีเมนต์ของ A) หมายถึง เซตซึ่งประกอบด้วย
สมาชิกซึ่งเป็ นสมาชิกของ U แต่ไม่เป็ นสมาชิกของ A นัน่ คือ
A = {x/x є U  x A}
การแสดงพื้นที่แรเงาของ A แสดงได้ ดังนี้

กาหนด U และ A เมื่อเขียนแผนภาพจะพบว่า เชต A แยกพื้นของ U


U
ออกเป็ น 2 ส่ วนคือ สมาชิกของ Aจะอยูใ่ นวงกลม เชต A สมาชิกที่
A
อยูใ่ น U และไม่อยูใ่ น A จะเรี ยกว่า A
A และจะได้ A U A = U

ตัวอย่าง เช่ น กาหนด U = {1, 2, 3 ….9}


A = { 1, 2, 3 }
จะเขียนแผนภาพ ได้ ดังนี้

4 5 U
A 1 2 9
6 3 8 7

จะได้ A= { 4,5,6,7, 8, 9}


และ A U A= {1, 2, 3 ….9} = U
ผลต่ าง (Difference)
บทนิยาม กาหนด A, B เป็ นเชตใดๆ ในเอกภพสัมพันธ์ U ผลต่างของ A กับ B
ซึ่งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ A - B ( อ่านว่าผลต่างของเซต A กับเซต B หรื อ
A Difference B )
หมายถึงเชตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็ นสมาชิกของ A แต่ไม่ป็นสมาชิกของ B
นัน่ คือ
A-B = {x/xєAx єB}
การแสดงพื้นที่แรเงาของ A-B ในรู ปแผนภาพของเวนน์ และออยเลอร์ สามารถแสดงได้
ดังนี้
1. กรณีที่ A กับ B เป็ น Meeting Set

U= {1, 2, 3, 4,5,6,7, 8,}


1 ตัวอย่าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {3, 4}
2
ดังนั้น A - B = {1, 2}
A-B
B – A = {4}

2. กรณีที่ A กับ B เป็ น Disjoint

U= {1, 2, 3 … 8,}
ตัวอย่าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {7, 8}
ดังนั้น A - B = {1, 2, 3}
B – A = {7, 8}
3. กรณี A กับ B เป็ น Sub Set กัน

U= { 1, 2, 3 … 8,}
ตัวอย่าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {7, 8}
B-A ดังนั้น A - B = {1, 2, 3}
B – A = {7, 8}
4.กรณี A กับ B เท่ ากัน
U= {1, 2, 3 … 8,}
ตัวอย่าง เช่ น กาหนด A = {1, 2, 3,}
B = {1, 2, 3}
ดังนั้น A - B = B – A = 
จะได้ A - B = { }
และ B – A = { }

ตัวอย่ าง
กาหนด U = {1, 2, 3 … 9}
A = { 2, 3, 4,5}
B = {2, 4, 6, 8,}
C = {4, 5, 6, 7,}
จงเขียนแผนภาพของเวนน์และออยเลอร์แสดงเซต U, A, B, C และจงหา

1. A  B 2. A  B
3. A 4. U - A
5. B 6. U - B
7. C 8. U - C
9. (A  B )  C 10. A  ( B  C )
11. A – ( B – C ) 12. ( A – B ) - C
13. A  ( B  C ) 14. A  ( B  C )
15. A  B 16. ( A  B )
17. A  B 18. ( A  B )
19. A – ( B  C ) 20. B - ( A  C )
21. C - ( A  B ) 22. A - ( B  C )
23. B - ( C  A ) 24. C - ( A  B )
วิธีทา
1. A  B = { 2, 3, 4,5,6,7, 8,}
2.   C = { 4 }
3. A = {1,6,7, 8, 9}
4. U – A = {1,6,7, 8, 9}
5. B = {1,3,5, 7, 9}
6. U – B = {1,3,5, 7, 9}
7. C = {1, 2, 3, 8, 9}
8. U – C = {1, 2, 3, 8,9}
9. ( A  ( B  C ) = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 } ( ให้หา A  Bก่อน )
10. ( A  B )  C = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 } ( ให้หา A  Bก่อน )

ข้ อสั งเกต จะเห็นได้วา่ A  ( B  C ) = ( A  B )  C และสามารถสรุ ปได้วา่ จะเท่ากัน


ทุกกรณี ไม่วา่ A, B, C จะเป็ นเซตใดๆ

11. A – ( B – C ) = A - {2, 6, 8} ( ให้หา B – C ก่อน )


= { 3, 4,5}
12. ( A – B ) - C = {3, 5} – C ( ให้หา A – B ก่อน )
= {3}

ข้ อสั งเกต จะเห็นได้วา่ A – ( B – C )  ( A – B ) – C บางกรณี ที่อาจเท่ากันดังนั้น ไม่สามารถสรุ ปได้วา่


A–(B–C) =(A–B)–C

13. A  ( B  C ) = A  {4} ( ให้หา B  C ก่อน )


= {4}

14. ( A  B ) C = {2, 4}  C ( ให้หา A  B ก่อน )


= {4}

ข้ อสั งเกต จะเห็นได้วา่ A  ( B  C ) = ( A  B )  C และสามารถสรุ ปได้วา่ จะเท่ากัน


ทุกกรณี ไม่วา่ A, B, C จะเป็ นเชตใดๆ
15. A  B = {1, 6, 7, 8, 9}  {1, 3 , 5, 7, 9} ( ให้หา A และ Bก่อน )
= {1, 3, 5,6,7, 8, 9}
16. ( A  B )  = ( {2, 4} )  ( ให้หา A  B ก่อน )
= {1, 3,5,6,7, 8, 9}
17. A  B = {1,6,7, 8, 9}  { 1,3,5,7,9 }
= {1, 7, 9}
18. ( A  B ) = ( {2, 3, 4, 5, 6, 8} )  ( ให้หา A  Bก่อน )
= {1, 7, 9}

ข้ อสั งเกต จะเห็นได้วา่ A  B  ( A  B )  และ A  B  ( A  B ) 


แต่ A  B= ( A  B )  และ A  B = ( A  B ) 
ซึ่งจะเป็ นอย่างนี้ทุกกรณี ไม่วา่ A, B จะเป็ นเซตใดๆ

19. A – (   C ) = { 2, 3, 5 } ( ให้หา   C ก่อน )


และข้อควรระวัง A-(   C )  ( A – B )  C

20. B – ( A  C ) = { 2, 6, 8 }
21. C – ( A  B ) = { 5, 6, 7 }
22. A – ( B  C ) = {3} ( ให้หา B  C ก่อน )
และข้อควรระวัง A- ( B  C )  ( A – B )  C
23. B – ( A  C ) = {8}
24. C – ( A  C ) = {7}
สมบัติของเซตทีน่ ่ าสนใจ
1. A  A = A 2. A  A = A
3. A   = A 4. A   = A
5. A  U =A 6. A  U = A
7. A - U = 8. U - A = A
9. A  B =B  A 10. A  B = A
11. ( A  B )  C =A  ( B  C ) 12. ( A  B )  C = A  ( B  C )
13. A  ( B  C ) = (A  B )  ( A  C ) 14. A  ( B  C ) = ( A  B )  ( A  C )
15. A  A = U 16. A  A = 
17. ( U )  = A 18. () = U
19. ( A ) =A 20. A  B = ( A  B ) 
21. A  B = ( A  B )  22. A- B = A  B
23. ถ้า A  B =  และ A - B = A และ B - A = B

การหาจานวนสมาชิกของเซตจากัด
ถ้ากาหนด A เป็ นเซตใดๆ แล้ว n ( A ) ต่อไปนี้ใช้แทนจานวนสมาชิกของ A

ตัวอย่ าง เช่ น
ถ้ากาหนด A = {1, 2, 3} แล้ว n ( A ) =3 สมาชิก
ถ้ากาหนด B = { x / x є٨1 < x < 10 } แล้ว n ( A ) ( B ) = 10

ตัวอย่ าง กาหนดให้ U = { 1, 2, 3.....9 }


A = { 1, 2, 3, 4, 5 }
B = { 2, 4, 6, 8 }
จะได้วา่ n ( U ) = 9 สมาชิก ( A ) = 5 สมาชิก n ( B ) = 4 สมาชิก

เราสามารถสร้างเซตใหม่โดยการนาเซตที่กาหนดให้โดยการปฎิบตั ิการทางเซต และหา


จานวนสมาชิกของเซตได้ ดังนี้
1) A  B = { 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8 } และ n ( A  B ) = 7
2) A  B = { 1, 4, } และ n ( A  B ) = 2

จะเห็นได้วา่ 5<n (A  B)<9


นัน่ คือสมาชิกของ A  B อย่างน้อยต้องมีเท่ากันเซตที่มีสมาชิก และมีสมาชิกมากที่สุด
เท่ากัน สมาชิกของเซตรวมกัน และ O n ( A  B ) 5 นัน่ คือ สมาชิกของ
n ( A  B ) จะมีนอ้ ยสุ ดเท่ากัน O มีมากสุ ดไม่เกิน 5
โดยสมาชิกสามารถสรุ ปจานวนเกี่ยวข้องของจานวนสมาชิกของ A  B และ A  B
ได้ ดังนี้

ถ้า n ( A  B ) = 5 แล้ว n ( A  B ) = 4 นัน่ คือ B  A


ถ้า n ( A  B ) = 6 แล้ว n ( A  B ) =3 นัน่ คือ A และ B มีสมาชิกเหมือนกัน 3 ตัว
ถ้า n ( A  B ) = 7 แล้ว n ( A  B ) =2 นัน่ คือ A และ B มีสมาชิกเหมือนกัน 2 ตัว
ถ้า n ( A  B ) = 8 แล้ว n ( A  B ) =1 นัน่ คือ A และ B มีสมาชิกเหมือนกันตัวเดียว
ถ้า n ( A  B ) = 9 แล้ว n ( A  B ) =0 นัน่ คือ A  B = 

จากการวิเคราะห์ ดังกล่าวจะสรุปได้ ว่า


1. n (A  B ) + n ( A  B ) = 4 = n ( A ) + n ( B )
หรื อ n ( AB ) = n(A)+n(B)-n(A  B)
หรื อ n ( AB ) = n(A)+n(B)-n(A  B)
2. 2. n ( A  B  C ) = n ( A ) + n ( B )+ n ( A + n ( C ) - n ( A  B ) - n
n ( AC ) – ( B C ) + n ( A  B  C )

3. A – B = {1, 2, 3, 5} และ n ( A – B ) = 3
4. B – A = {6, 8} และ n ( A – B ) = 2
5. A = {6, 7, 8, 9} และ n (A) = 4
6. B = {1, 3, 5, 7, 9,} และ n ( B) = 5
7. ( A  B )  = {7, 9) และ และ n ( A  B )  = 2
8. n ( A  B )  {1, 2,3,4,5, 6, 7, 8, 9} และ =3 ( A  B )  = 7

หมายเหตุ การหาจานวนสมาชิกของเซตจากัดถ้าให้แผนภาพของเวนน์ – ออยเลอร์


ปรากฏจะทาให้การหาจานวนสมาชิกได้ง่าย เพราะมองเห็นชัดเป็ นรู ปธรรมมากขึ้น
จากตัวอย่ างที่ 1 สามารถเขียนแผนภาพได้ ดังนี้

U
A
1 3
6 7
5 5 8 B

1.
ดังนั้น A  B = {1, 2,3,4,5, 6, 7, 8}
ซึ่ง n (A  B ) = 7 สมาชิก

ดังนั้น A  B = {2, 4,}


2.
ซึ่ง n (A  B ) = 2 สมาชิก

3.
ดังนั้น A - B = {1, 3,5, }
ซึ่ง n (A - B ) = 3 สมาชิก
4. ดังนั้น B-A= {6, 8}
ซึ่ง n (B+A )= 2 สมาชิก

5. ดังนั้น A = {6, 7, 8,9}


ซึ่ง n (A ) = 4 สมาชิก

6. ดังนั้น B= {1, 3, 5, 7, 9}


ซึ่ง n (B) = 5 สมาชิก

หมายเหตุ
n
co + nc1 +nc2 + …+ncn =2n
เลือก 0 + เลือก 1 + เลือก 2 + ... + เลือก n
เช่น n = 6
6
เลือก 0 ตัว c0 = 1
6
เลือก 1 ตัว c1 = 6
6
เลือก 2 ตัว c2 = 15
6
เลือก 3 ตัว c3 = 20
6
เลือก 4 ตัว c4 = 15
6
เลือก 5 ตัว c5 = 6
6
เลือก 6 ตัว c6 = 1
รวม 64 = 26
7. A U (A U B )’ จะได้ (A U B )  = { 7, 9 }
ซึ่ง N ( A U B )  = 2 สมาชิก

8. A U
จะได้ (A ∩ B )  = { 1, 3, 5, 6, 7, 8, 9 }
ซึ่ง N ( A ∩ B )  = 7 สมาชิก
B

ตัวอย่างที่ 2 นักศึกษาชมรมกีฬาของวิทยาลัยแห่งหนึ่งมี 40 คน จากการสารวจพบว่าเล่น


วอลเล่ยบ์ อลเป็ น 25 คน เล่นฟุตบอลเป็ น 23 คน เล่นเป็ นทั้งสองชนิด 15 คน จงหา
1. นักศึกษาที่เล่นไม่เป็ นทั้งสองชนิด
2. นักศึกษาเล่นวอลเล่ยบ์ อลเป็ นชนิดเดียว
3. นักศึกษาที่เล่นฟุตบอลเป็ นชนิดเดียว
วิธีทา จากโจทย์สามารถสรุ ปและเขียนแผนภาพได้ดงั นี้
n(U) = 40 คน
A U
n(A) = 25 คน
2 1 3 B
n(B) = 23 คน
4^
n ( A ∩ B ) = 15 คน
n(U) = 1+2+3+4 = 40 คน
n(A) =1+2 = 25 คน
n(B) =1+3 = 23 คน
n(A∩B) =1 = 15 คน
ดังนั้นสามารถคานวณสมาชิกของเซตจากัดอื่นได้ดงั นี้
1. นักศึกษาที่เล่นไม่เป็ นทั้ง 2 ชนิด เขียนเป็ นสัญลักษณ์ได้ n ( A U B ) 
ซึ่ง n ( A U B )  = 4 = 7 คน
2. นักศึกษาที่เล่นวอลเล่ยบ์ อลบอลเป็ นชนิดเดียวเขียนเป็ นสัญลักษณ์ได้ n ( A - B )
ซึ่ง n ( A – B ) = 10 คน

ตัวอย่าง 3 กาหนดให้ U, A, B, และ A U B มีสมาชิก 100, 60, 45, และ 80 สมาชิก


ตามลาดับ จงเติมสมาชิกของเซตต่างๆ ให้ครบตามตาราง

เซต A∩B A-B B-A A’ B’ ( A U B )’ (A ∩ B )’


จานวนสมาชิก 1 2 3 4 5 6 7

วิธีทา จากโจทย์สามารถเขียนแผนภาพได้ดงั นี้


A U

2 1 3 B
4^

n(U) = 100 = 1+2+3+4


n(A) = 60 = 1+2
n(B) = 45 = 1+3
n ( A U B ) = 80 = 1+2+3
ดังนั้นสามารถคานวณสมาชิกเซตต่างๆ ดังนี้
n (A ∩ B ) = n ( A ) + n ( B ) – n ( A U B )
= 60 + 45- 80
= 25 ตอบ 1
n(A–B) = n(A)–n(A∩B)
= 60 – 25
= 35 ตอบ 2
n(B–A) = n(B)–n(A∩B)
= 45 – 25
= 10 ตอบ 3
n(A)  = n(U)–n(A)
= 100 – 60
= 40 ตอบ 4
n(B) = n(U)–n(B)
= 100 – 80
= 20 ตอบ 6
n (A ∩ B )’ = n(U) –n(AUB)
= 100 – 25
= 75 ตอบ 7
ใบงานที1่
ตัวอย่ างที่ 1
คาบอกเซต
เซตของจังหวัดในประเทศไทยที่เป็ นเกาะ
คาตอบ สมมุติให้เป็ น A (เซต A) จะสามารถเขียน A แบบแจกแจงสมาชิกได้เป็ น

A=
ตัวอย่ างที่ 2
คาบอกเซต
เซตของพยัญชนะ คาว่า “โรงเรี ยน”
คาตอบ สมมุติให้คือ B จะสามารถเขียน B แบบแจกแจงสมาชิกได้เป็ น

B = {น, ย, ร}
ตัวอย่ างที่ 3
จงเขียนเซตของจานวนนับที่นอ้ ยกว่า 10 แบบแจกแจงสมาชิก
คาตอบ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9}

แบบฝึ กหัด 1
จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก
1. เซตของจังหวัดในประเทศไทยที่เป็ นเกาะ
คาตอบ A =
2. เซตของพยัญชนะ คาว่า “โรงเรี ยน”
คาตอบ B = {น, ย, ร}
3. เซตของจานวนนับที่นอ้ ยกว่า 10
คาตอบ C = {1, 2, 3, … , 9}
4. เซตของพยัญชนะคาว่า “กรรมการ”
คาตอบ D = { }
5. เซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ข้ ึนต้นด้วย “นคร”
คาตอบ E =

1. จงเขียนเซตต่อไปนี้ แบบแจกแจงสมาชิก
1.1.เซตของจังหวัดที่เป็ นเกาะในประเทศไทย
A=
1.2 เซตของพยัญชนะของคาว่า “กรรมการ”
1.3 เซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ข้ ึนต้นว่า “นคร”
1.4 เซตของเดือนที่ลงท้ายว่า “ยน”
1.5 เซตของจานวนเฉพาะที่นอ้ ยกว่า 20
1.6 เซตของจานวนที่หารด้วย 3 แล้วลงตัว ที่อยูร่ ะหว่าง 50 – 100
1.7 เซตของจานวนเต็มที่สอดคล้องกับสมการ
+
1.8 เซตของเลขคู่บวก
1.9 เซตของจานวนเต็มที่หารด้วย 5 ลงตัว
1.10
1.11
1.12

ตัวอย่ างที่ 4 จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบบอกเงื่อนไขสมาชิก


(1)
คาตอบ
(2)
คาตอบ
(3)
คาตอบ
หรื อ
(4)
คาตอบ
หรื อ

แบบฝึ ก 2
จงเขียนต่อไปนี้แบบบอกเงื่อนไขสมาชิก
1.
คาตอบ

จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบบอกเงื่อนไขสมาชิก
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
จงพิจารณาว่าเซตในข้อใดเป็ นเซตจากัด เซตอนันต์หรื อเซตว่าง และในแต่ละเซตมี
จานวนสมาชิกเท่าใด
Ex A = {1, 3, 5, 7} เซตจากัด มีสมาชิก 4 สมาชิก
Ex B = {1, 3, 5, 7, …} เซตอนันต์ มีสมาชิก มากมายไม่จากัด
Ex C = เซตว่าง/เซตจากัด มีสมาชิก 0 สมาชิก

1. D =
2. E เซตของจานวนเต็มลบที่นอ้ ยกว่า -3
3. เซตของจานวนเต็มบวกที่นอ้ ยกว่า 100
4. เซตของจานวนจริ งที่มากกว่า 1 น้อยกว่า 2
5. E = {1, {234, 56}, 789}
6. F =
7. G =
8. H =
9. J = {0}
10. K =
11. L =

4. กาหนดให้ A = {1, {2, 3}, 4, 5} จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้เป็ นจริ งหรื อเท็จ


4.1
4.2
4.3
4.4
4.5
4.6
4.7
4.8
5. จงพิจารณาว่าเซตต่อไปนี้ เซตใดที่เท่ากัน

6. จงหาจานวนสับเซตทั้งหมดและเซตกาลังของเซตต่อไปนี้
Ex

………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….

กาหนดให้
จงพิจารณาว่าเซตใดต่อไปนี้ เซตใดเป็ นเอกภพสัมพันธ์ของ A ได้ และเซตใดเป็ นเอกภพสัมพันธ์
ของ A ไม่ได้

.......ได้..... ก.
....ไม่ได้... ข.
................. ค.
................. ง.
.................จ.
.................ช.

จงเขียนแผนภาพแสดงเซตต่อไปนี้
2 U
1) A B
1 5 4
9 3 7 6 8

2)
3)

4)

5)

จากแผนภาพที่กาหนดให้ จงบอกเซตตามพื้นที่ที่แรเงา
พื้นที่แรเงาคือ B-A พื้นที่แรเงาคือ....................

พื้นที่แรเงาคือ.................... พื้นที่แรเงาคือ....................

พื้นที่แรเงาคือ.................... พื้นที่แรเงาคือ....................

พื้นที่แรเงาคือ.................... พื้นที่แรเงาคือ....................
พื้นที่แรเงาคือ.................... พื้นที่แรเงาคือ....................

พื้นที่แรเงาคือ.................... พื้นที่แรเงาคือ....................

พื้นที่แรเงาคือ .................... พื้นที่แรเงาคือ....................

พื้นที่แรเงาคือ .................... พื้นที่แรเงาคือ....................


พื้นที่แรเงาคือ.................... พื้นที่แรเงาคือ....................

พื้นที่แรเงาคือ.................... พื้นที่แรเงาคือ....................

จากแผนภาพ จงเขียนเซตต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก

A B
5 2 6
3 1 4
7

C
U

1. 9.
2. 10.
3. 11.
4. 12.
5. 13.
6. 14.
7. 15.
8. 16.

กาหนดให้

1. จงเขียนแผนภาพของเวนน์ แสดงความสัมพันธ์ของเซตที่กาหนดให้

2. จงเขียนเซตต่อไปนี้ แบบแจกแจงสมาชิก
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
2.6
2.7
2.8
2.9
2.10
2.11
2.12
2.13
2.14
2.15
จากภาพจงแรเงาพื้นที่การดาเนินการของเซตแทนเซตที่กาหนดให้

A B A B

AU B AU B
AU B AU B

A
B

AUB
A B A B
A
B

A B A B A B

A B A B
A
B
A B A B A B

A B A B
A
B

A–B A–B A–B


A B
A B A B

( A´ B´) ( A´ U´ B´) ( A´ U B ´)

A B

(A B )
บทที่ 2 ตรรกศาสตร์

หลักทางคณิ ตศาสตร์จาเป็ นต้องยึดเหตุและผลเพื่อให้ได้ขอ้ เท็จจริ งและมีลาดับขั้นตอนที่


แน่นอน ซึ่งสิ่ งเหล่านี้ตอ้ งอาศัยความรู ้ทางตรรกศาสตร์เป็ นพื้นฐานในการกาหนดนิยาม
อนิยามและสัจพจน์ เพื่อสร้างเป็ นทฤษฎีบท และให้สอดคล้องกับแนวทางการเรี ยนรู ้
คณิ ตศาสตร์

ในบทนี้จะกล่าวถึงตรรกศาสตร์ที่จะเป็ นแนวทางไปสู่ ความเข้าใจในวิชาคณิ ตศาสตร์

1. ประพจน์
ประพจน์ (propositions or statements) คือประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธที่
เป็ นจริ งหรื อเป็ นเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
ค่ าความจริงของประพจน์ (truth value) หมายถึงประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธ
ที่บอกว่าคานั้นเป็ นจริงหรือเท็จ

ตัวอย่ างเช่ น
- “0 เป็ นจานวนเต็ม” เป็ นประพจน์ เพราะเป็ นประโยคบอกเล่าและมีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
- “ภูเก็ตเป็ นเมืองหลวงของไทย” เป็ นประพจน์ เพราะเป็ นประโยคบอกเล่าและมีค่าความจริ ง
เป็ นเท็จ
- “3 ไม่ใช่จานวนคู”่ เป็ นประพจน์ เพราะเป็ นประโยคปฏิเสธและมีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
- “ปี นี้คุณอายุเท่าไร” ไม่เป็ นประพจน์ เพราะเป็ นประโยคคาถาม
- “ได้โปรดเถิดอย่าทาฉัน” ไม่เป็ นประพจน์ เพราะเป็ นประโยคขอร้อง
- “x 0” ไม่เป็ นประพจน์ เพราะไม่รู้ค่า x ทาให้ทราบค่าความจริ งว่า เป็ นจริ งหรื อเท็จ
2

- “คนจนเป็ นคนเลว” ไม่เป็ นประพจน์ เพราะไม่ทราบค่าความจริ งว่า เป็ นจริ งหรื อเท็จ
ข้ อสังเกต ประโยคที่อยูใ่ นรู ปคาถาม คาสั่ง ห้าม ขอร้อง อุทาน ปรารถนา ที่ไม่ใช่ประโยค
บอกเล่าหรื อปฏิเสธ และประโยคที่มีตวั แปร (ไม่รู้ค่าความจริ ง) ไม่ เป็ นประพจน์

2. การเชื่อมประพจน์
ในชีวติ ประจาวันจะพบว่า การนาประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธ 2 ประโยคมา
เชื่อมกันเพื่อให้ได้ประโยคใหม่ ซึ่งใช้คาว่า “และ” “หรื อ” “ถ้า...แล้ว...” “ก็ต่อเมื่อ” เช่น ฉัน
กินข้าวและเธอกินขนม จะเรี ยนเก่งก็ต่อเมื่ออ่านหนังสื อ ถ้าประหยัดแล้วจะร่ ารวย เป็ นต้น
นอกจากนี้ยงั มีประโยคซึ่ งเปลี่ยนแปลงมาจากประโยคเดิมโดยเติมว่า “ไม่” เพื่อแสดง
ในสิ่ งที่ตรงข้ามกับประโยคเดิม ซึ่งจะกล่าวต่อไปในหัวข้อนี้
ในทางตรรกศาสตร์จะใช้ตวั เชื่อมประพจน์และสัญลักษณ์ดงั นี้
ตัวเชื่อม (connectives) สั ญลักษณ์
1. และ (and) 

2. หรื อ (or) 

3. ถ้า...แล้ว... (if…then…)
4. ก็ต่อเมื่อ (if and only if)

การเชื่อมประพจน์จะใช้ตวั อักษรภาษาอังกฤษ เช่น p, q, r, s แทนประพจน์ เพื่อ


สะดวกในการเชื่อมประพจน์ และจะต้องพิจารณาค่าความจริ งของประพจน์น้ นั เช่น
- ถ้าประพจน์เดียว คือ p จะมีค่าความจริ ง 2 กรณี คือ “จริ งและเท็จ”
“จริ ง” เขียนแทนด้วย T
“เท็จ” เขียนแทนด้วย F
- ถ้ามี 2 ประพจน์ คือ p และ q จะมีค่าความจริ งที่อาจเกิดขึ้นได้ 4 กรณี ดังตาราง
p q
T T
T F
F T
F F

2.1 การเชื่อมประพจน์ ด้วยตัวเชื่อม “และ” (  )

ถ้าให้ p และ q เป็ นประพจน์


P แทน 2 + 4 = 6
q แทน 2 x 4=8
จะได้ประพจน์ใหม่ p  q แทน 2 + 4 = 6 และ 2 x 4 = 8
ตารางแสดงค่าความจริ งของ p  q เป็ นดังนี้

p q p q
T T *
T
T F F
F T F
F F F

ข้ อสังเกต จะเห็นว่าการเชื่อมประพจน์ดว้ ยตัวเชื่อม “และ” จะมีกรณี เดียวคือ p เป็ น


จริ งและ q เป็ นจริ ง ที่ประพจน์ใหม่ p  q เป็ นจริ ง ส่ วนกรณี อื่น p  q เป็ นเท็จทุก
กรณี
ตัวอย่ างที่ 1 กาหนดให้
p แทน แมวเป็ นสัตว์ (T) q แทน สุ นขั เป็ นสัตว์ (T)
r แทน ปลาเป็ นพืช (F) s แทน งูเป็ นพืช (F)
ดังนั้น p  q แทน แมวเป็ นสัตว์และสุ นขั เป็ นสัตว์ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
TT (T)
p  r แทน แมวเป็ นสัตว์และปลาเป็ นพืช มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
TF (F)
r  q แทน ปลาเป็ นพืชและสุ นขั เป็ นสัตว์ มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
p q p q
T T T
T F F FT
F T F

(F)
r  s แทน ปลาเป็ นพืชและงูเป็ นพืช มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
FF (F)

2.2 การเชื่อมประพจน์ ด้วยตัวเชื่อม “หรือ” (  )


ถ้าให้ p และ q เป็ นประพจน์
p แทน สองเป็ นจานวนคู่
q แทน จานวนคู่เป็ นจานวนเต็ม
จะได้ประพจน์ใหม่ p  q แทน สองเป็ นจานวนคู่หรื อจานวนคู่เป็ นจานวนเต็ม
ตารางแสดงค่าความจริ งของ p  q เป็ นดังนี้
F F *
F

มีกรณี เดียวถ้า p เป็ นเท็จ


p  q เป็ นจริ งทุกกรณี

ตัวอย่ างที่ 2 กาหนดให้


p แทน กรุ งเทพเป็ นเมืองหลวง (T) q แทน เชียงใหม่อยูใ่ นภาคเหนือ (T)
r แทน สุ พรรณบุรีอยูใ่ นภาคใต้ (F) s แทน ยะลาเป็ นจังหวัดติดทะเล (F)
ดังนั้น p  q แทน กรุ งเทพเป็ นเมืองหลวงหรื อเชียงใหม่อยูใ่ นภาคเหนือ มีค่าความจริ งเป็ น
จริ ง
T T (T)
p  r แทน กรุ งเทพเป็ นเมืองหลวงหรื อสุ พรรณบุรีอยูใ่ นภาคใต้ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
T F (T)
s  q แทน ยะลาเป็ นจังหวัดติดทะเลหรื อเชียงใหม่อยูใ่ นภาคใต้ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
FT (T)
r  s แทน สุ พรรณบุรีอยูใ่ นภาคใต้หรื อยะลาเป็ นจังหวัดติดทะเล มีค่าความจริ งเป็ น
เท็จ
FF (F)
2.3 การเชื่อมประพจน์ ด้วยตัวเชื่อม “ถ้ า...แล้ว...” (  )

ถ้าให้ p และ q เป็ นประพจน์


p แทน 2 4
q แทน 4 เป็ นจานวนคู่
จะได้ประพจน์ใหม่ p  q แทน ถ้า 2 4 แล้ว 4 เป็ นจานวนคู่
ตารางแสดงค่าความจริ งของ p  q เป็ นดังนี้

p q p q
T T T
T F F
*

F T T
F F T

ข้ อสังเกต จะเห็นว่าการเชื่อมประพจน์ดว้ ยตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...” จะมีกรณี เดียวถ้า p


เป็ นจริ งและ q เป็ นเท็จ ที่ประพจน์ใหม่ p  q เป็ นเท็จ ส่ วนกรณี อื่น p  q เป็ นจริ ง
ทุกกรณี

ตัวอย่ างที่ 3 กาหนดให้


p แทน 2 4 (T) q แทน 4 เป็ นจานวนคู่ (T)
r แทน 4 + 2 = 5 (F) s แทน 4 x 2 = 5 (F)
ดังนั้น p  q แทน ถ้า 2 4 แล้ว 4 เป็ นจานวนคู่ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
TT (T)
p  r แทน ถ้า 2 4 แล้ว 4 + 2 = 5 มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
TF (F)
s  q แทน 4 x 2 = 5 แล้ว 4 เป็ นจานวนคู่ มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
F T (T)
r  s แทน ถ้า 4 + 2 = 5 แล้ว 4 x 2 = 5 มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
F F (T)
2.4 การเชื่อมประพจน์ ด้วยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมือ่ ” ( )
ถ้าให้ p และ q เป็ นประพจน์
p แทน เสื อกินเนื้อ
q แทน วัวกินหญ้า
จะได้ประพจน์ใหม่ p q แทน เสื อกินเนื้อก็ต่อเมื่อวัวกินหญ้า
ตารางแสดงค่าความจริ งของ p  q เป็ นดังนี้

p q p q
T T T
*

T F F
F T F
F F *
T
ข้ อสังเกต จะเห็นว่าการเชื่อมประพจน์ดว้ ยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ” p  q จะเป็ นจริ ง เมื่อ
ประพจน์ท้ งั คู่เป็ นจริ งเหมือนกัน หรื อเป็ นเท็จเหมือนกัน กรณี อื่นประพจน์มีค่าความจริ ง
ต่างกัน เป็ นเท็จ

ตัวอย่ างที่ 4 กาหนดให้


p แทน 5 เป็ นจานวนคี่ (T) q แทน 5 + 2 = 7 (T)
r แทน 4 เป็ นจานวนคี่ (F) s แทน 4 + 2 = 7 (F)
ดังนั้น p  q แทน 5 เป็ นจานวนคี่กต็ ่อเมื่อ 5 + 2 = 7 มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
T T (T)
p  r แทน 5 เป็ นจานวนคี่กต็ ่อเมื่อ 4 เป็ นจานวนคี่ มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
T F (F)
s  q แทน 4 + 2 = 7 ก็ต่อเมื่อ 5 + 2 = 7 มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
F T (F)
r  s แทน 4 เป็ นจานวนคี่กต็ ่อเมื่อ 4 + 2 = 7 มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
F F (T)

2.5 นิเสธของประพจน์
ถ้าให้ p แทน 5 เป็ น
p P จานวนคี่
T F จะได้ประพจน์ใหม่ p
F T (นิเสธของ p) แทน 5 ไม่เป็ น
จานวนคี่
ตารางแสดงค่าความจริ ง p
เป็ นดังนี้

ข้ อสังเกต ถ้าประพจน์ p เป็ นจริ ง จะได้ นิเสธของประพจน์ p เป็ นเท็จ


ถ้าประพจน์ p เป็ นเท็จ จะได้ นิเสธของประพจน์ p เป็ นจริ ง

3. การหาค่ าความจริงของประพจน์
ประพจน์ เชิงประกอบ (compound statement) หมายถึง ประพจน์ที่เกิดจากการเชื่อม
ประพจน์ยอ่ ย ๆ ด้วยตัวเชื่อมต่าง ๆ มากกว่า 1 ตัว
ในการหาค่าความจริ งของประพจน์เชิงประกอบ จะต้องอาศัยหลักจากตารางค่าความ
จริ งของตัวเชื่อมที่ได้ศึกษามาแล้ว โดยกาหนดค่าความจริ งของประพจน์ยอ่ ยแต่ละตัว และ
ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ดาเนินการเชื่อมประพจน์ในวงเล็บก่อน
ขั้นที่ 2 ดาเนินการทานิเสธของประพจน์
ขั้นที่ 3 ดาเนินการทาตัวเชื่อม “และ “หรื อ” (ดาเนินการพร้อมกันได้)
ขั้นที่ 4 ดาเนินการทาตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...”
ขั้นที่ 5 ดาเนินการทาตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ”

ตัวอย่ างที่ 1 กาหนดให้ p, q เป็ นจริ ง และ r, s เป็ นเท็จ จงหาค่าความจริ งของ
ประพจน์
(p  q)  r
วิธีทา แบบที่ 1 (p  q)  r แบบที่ 2 (p  q)  r
T T F (T  T)  F
T F
T F

ดังนั้น (p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ตอบ

ดังอย่ างที่ 2 กาหนดให้ p, q เป็ นจริ ง และ r ,s เป็ นเท็จ จงหาค่าความจริ งของประพจน์
~ ( p  q)  [r  (~s  p)]
วิธีทา แบบที่ 1 ~(p  q)  [r  (~s  p)] แบบที่ 2 ~ ( p  q) 

[r  (~s  p)]
T T F F T ~ (T  T)  [F  (~F  T)]
~T  [F  (T  T)]
T T F  [F  T]
F  F
F T T

T
ดังนั้น ~ ( p  q)  [r  (~s  p)] มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ตอบ

ตัวอย่ างที่ 3 จงพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้เป็ นจริ งหรื อเท็จ


“ภูเก็ตและหาดใหญ่เป็ นจังหวัดก็ต่อเมื่อกรุ งเทพฯ เป็ นเมืองหลวง”
วิธีทา กาหนดให้ p แทน ภูเก็ตเป็ นจังหวัด (T)
q แทน หาดใหญ่เป็ นจังหวัด (F)
r แทน กรุ งเทพ ฯ เป็ นเมืองหลวง (T)
เปลี่ยนประโยคที่กาหนดให้เป็ นสัญญาลักษณ์ จะได้ (p  q)  r
แบบที่ 1 (p  q)  r แบบที่ 2 (p  q)  r
T F T (p  q)  T
F F T

F
F
ดังนั้น ภูเก็ตและหาดใหญ่เป็ นจังหวัดก็ต่อเมื่อกรุ งเทพฯ เป็ นเมืองหลวง มีค่าความ
จริ งเป็ นเท็จ ตอบ
4. การสร้ างตารางค่ าความจริง
การหาค่าความจริ งของประพจน์เชิงประกอบโดยอาศัยตัวเชื่อม เช่น p  q, p  q,
P  q, p  q, เป็ นต้น เมื่อไม่กาหนดค่าของประพจน์ยอ่ ยแต่ละตัวมาให้ จาเป็ นต้องอาศัย
การสร้างตารางค่าความจริ งทุกกรณี ที่เป็ นไปได้ โดยพิจารณาดังนี้
- ถ้ามีประพจน์เดียว จะมีค่าความจริ งที่พิจารณา 2 กรณี
- ถ้ามีประพจน์ยอ่ ย 2 ประพจน์ จะมีค่าความจริ งที่พิจารณา 4 กรณี
- ถ้ามีประพจน์ยอ่ ย 3 ประพจน์ จะมีค่าความจริ งที่พิจารณา 8 กรณี
- ถ้ามีประพจน์ยอ่ ย n ประพจน์ จะมีค่าความจริ งที่พิจารณา n
2 กรณี
หนึ่งประพจน์ สองประพจน์ สามประพจน์
p q r
T
T
F
T T
F
F
T T
F
F T
F
F
4.1 การสร้ างตารางค่ าความจริงเมือ่ มีประพจน์ เดียวคือ p
ตัวอย่ างที่ 1 จงสร้างตารางค่าความจริ งของ p  ~q

~p p p  ~p
F T T
T F T

ค่าความจริ งเกิดขึ้นได้ 2 กรณี คือ


ถ้า p มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง จะทาไห้ p  ~ p มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ จะทาไห้ p  ~ p มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง

4.2 การสร้ างตารางค่ าความจริงเมือ่ มีประพจน์ ย่อย 2 ประพจน์ คือ p,q


ตัวอย่ างที่ 2 จงสร้างตารางค่าความจริ งของ p,q

p q ~q p  ~q
T T F T
T F T T
F T F F
F F T T

ค่าความจริ งเกิดขึ้นได้ 4 กรณี คือ


ถ้า p เป็ นจริ ง q เป็ นจริ ง จะทาให้ p  ~q มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นจริ ง q เป็ นเท็จ จะทาให้ p  ~q มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นเท็จ q เป็ นจริ ง จะทาให้ p  ~q มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
ถ้า p เป็ นเท็จ q เป็ นเท็จ จะทาให้ p  ~q มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
4.3 การสร้ างตารางค่ าความจริงเมือ่ มีประพจน์ ย่อย 3 ประพจน์ คือ p, q, r
ตัวอย่ างที่ 3 จงสร้างตารางค่าความจริ งของ (p  q)  r

P q r pq (p  q)  r
T T T T T
T T F T F
T F T F T
T F F F T
F T T F T
F T F F T
F F T F T
F F F F T

จะมีค่าความจริ งที่เกิดขึ้นได้ 8 กรณี คือ


ถ้า p เป็ นจริ ง q เป็ นจริ ง r เป็ นจริ ง จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นจริ ง q เป็ นจริ ง r เป็ นเท็จ จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
ถ้า p เป็ นจริ ง q เป็ นเท็จ r เป็ นจริ ง จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นจริ ง q เป็ นเท็จ r เป็ นเท็จ จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นเท็จ q เป็ นจริ ง r เป็ นจริ ง จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นเท็จ q เป็ นจริ ง r เป็ นเท็จ จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นเท็จ q เป็ นเท็จ r เป็ นจริ ง จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
ถ้า p เป็ นเท็จ q เป็ นเท็จ r เป็ นเท็จ จะทาให้ ( p  q)  r มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง

หมายเหตุ 1. การสร้างตารางค่าความจริ งใช้หลักวิธีดาเนินการตาม 5 ขั้นตอนที่กล่าว


มาแล้ว
2. ประพจน์เชิงประกอบ ถ้ามีค่าความจริ งเป็ นจริ งทุกกรณี จะเรี ยกว่า
สั จนิรันดร์ (tautology)
4. ประพจน์ เชิงประกอบทีส่ มมูลกัน
ประพจน์เชิงประกอบ 2 ประพจน์ ที่มีค่าความจริ งเหมือนกันกรณี ต่อกรณี จะเรี ยกว่า
ประพจน์เชิงประกอบทั้งสองสมมูลกัน เช่น ~(p  q) กับ ~p  ~q ประพจน์เชิงประกอบทั้ง
สองสมมูลกัน และตรวจสอบความสมมูลได้ดงั นี้

P q (p  q) ~(p  q) ~q ~p  ~q
T T F F F F
T F F F T F
F T F T F F
F F T T T T

แสดงว่า ~(p  q) กับ ~ p  ~q มีค่าความจริ งเหมือนกันทุกกรณี


ดังนั้น ~(p  q) สมมูลกับ ~ p  ~q

ตัวอย่ างที่ 1 จงตรวจสอบว่า p  q สมมูลกับ q  p หรื อไม่

p q pq q  p
T T T T
T F F T
F T T F
F F T T

แสดงว่า p  q กับ q  p มีค่าความจริ งไม่เหมือนกันทุกกรณี


ดังนั้น p  q ไม่ สมมูลกับ q  p
ตัวอย่ างที่ 2 จงตรวจสอบว่า p  q สมมูลกับ ~q  ~p หรื อไม่

p q pq ~p ~q ~q  ~p
T T T F F T
T F F F T F
F T T T F T
F F T T T T

แสดงว่า p  q กับ ~q  ~p มีค่าความจริ งเหมือนกันทุกกรณี


ดังนั้น p  q สมมูลกับ ~q  ~p

ตัวอย่ างที่ 3 จงพิจารณาว่าข้อความทั้งสองสมมูลกันหรื อไม่


“ถ้าสมชายเรี ยนเก่งแล้วสมชายได้เกรด A”
“ถ้าสมชายไม่ได้เกรด A แล้วสมชายเรี ยนไม่เก่ง”
P แทน สมชายเรี ยนเก่ง
q แทนสมชายได้เกรด A
p  q แทนถ้าสมชายเรี ยนเก่งแล้วสมชายได้เกรด A
~q  ~p แทนถ้าสมชายไม่ได้เกรด A แล้วสมชายเรี ยนไม่เก่ง
จากตัวอย่างที่ 2 ได้ตรวจสอบแล้วว่า p  q สมมูลกับ ~ q
ดังนั้น ข้อความทั้งสองจึงสมบูรณ์กนั
6. ประโยคเปิ ด
พิจารณาประโยคต่อไปนี้
1. X > 0 ไม่ทราบว่ามีค่าความจริ งเป็ นจริ งหรื อเท็จ เพราะไม่ทราบว่า X มีค่าเท่าไหร่
2. X > 0 เมื่อ x = 1 มีค่าความจริ งเป็ นจริ งเพราะ X = 1 มีค่ามากกว่า 0
จะเรี ยกประโยคที่หนึ่งว่า ประโยคเปิ ด ส่ วนประโยคที่สอง เรี ยกว่า ประพจน์
ประโยคเปิ ด (open sentence) หมายถึง ประโยคบอกเล่าหรื อประโยคปฏิเสธที่ไม่ทราบค่า
ความเป็ นจริ ง
(มีตวั แปร) แต่เมื่อแทนที่ตวั แปรด้วยค่าที่กาหนดให้แล้วจะทราบค่าความจริ ง และประโยคเปิ ด
นั้นจะเป็ นประพจน์

ตัวอย่ าง เขาเป็ นนักวิทยาศาสตร์ เป็ นประโยคเปิ ด เพราะไม่ทราบว่าเขาเป็ นใคร และ


ไม่สามารถทราบได้วา่ ประโยคนี้มีค่าความจริ งเป็ นจริ งหรื อเท็จ ซึ่ง ”เขา” เป็ นตัวแปร แต่ถา้
แทนเขาด้วย หลุย ปาสเตอร์ ประโยคเปิ ดนี้จะเป็ นประพจน์ และมีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
สัญลักษณ์แทนประโยคเปิ ดที่มี X เป็ นตัวแปร เขียนแทนด้วย P(X)
ตัวอย่ าง P(x) แทน x > 0
P(y) แทน y + 1 = 5
การเขียนประโยคเปิ ดด้วยตัวเชื่อม สามารถทาได้เช่นเดียวกับการเชื่อมประพจน์

7. ประโยคทีม่ ตี ัวบ่ งชี้ปริมาณ


สาหรับ X ทุกตัว และสาหรับ X บางตัว ซึ่งมักจะใช้ในคณิ ตศาสตร์ที่เป็ นตัวบ่ง
ปริ มาณให้ทราบปริ มาณของตัวแปรนั้นๆ
ตัวอย่ าง สาหรับ X ทุกตัว X . X = เมื่อ X เป็ นจานวนเต็ม
สาหรับX บางตัว X . X = 2x เมื่อ X เป็ นจานวนนับ
ตัวบ่งปริ มาณใช้สัญลักษณ์แทนดังนี้
แทนสาหรับ X ทุกตัว หรื ออาจเขียนแทนด้วยวลีอื่น เช่น สาหรับ แต่ละตัว,สาหรับทุกๆ
X เป็ นต้น
แทน สาหรับ X บางตัว หรื ออาจเขียนแทนด้วยวลีอื่น เช่น สาหรับ X อย่างน้อยหนึ่งตัว,
มี X, จะมี X เป็ นต้น
ตัวอย่ าง จงเขียนข้อความต่อไปนี้ให้เป็ นประโยคสัญลักษณ์
เมื่อกาหนดให้ P(X) แทน X เป็ นจานวนเต็ม
Q(X) แทน X เป็ นจานวนบวก
R(X) แทน X เป็ นจานวนเต็มลบ
Y(X) แทน X เป็ นจานวนเต็มศูนย์
1.จานวนเต็มบวกทุกจานวนเป็ นจานวนเต็ม
2.จานวนเต็มบางจานวนเป็ นจานวนเต็มศูนย์
3.จานวนเต็มบางจานวนไม่เป็ นจานวนเต็มบวก
4.จานวนเต็มทุกจานวนต้องเป็ นจานวนเต็มบวกหรื อจานวนเต็มลบ

วิธีทา 1.
2. x[P(X)^Y(X)]
3. x[P(X)^~Q(X)]
4. x[P(X) (Q(X)vR(X) )]
พิจารณาประโยคเปิ ด P(X) = > 4 เมื่อเพิ่มตัวบ่ง

ปริ มาณ

จะได้ดงั นี้
หมายถึง ทุกๆตัวของ X เมื่อ >4
หมายถึง บางตัวของ X เมื่อ >4
และเมื่อแทนค่าตัวแปร X ใน P(X) ด้วยค่าที่กาหนดทุกค่าจะได้เป็ น 4 กรณี ดังนี้
1. มีค่าความจริง ก็ต่อเมื่อ แทนค่าตัวแปร X ใน P(X) ทุกๆ ค่าที่กาหนด จะได้
ประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นจริงทั้งหมด
ตัวอย่ าง เมื่อกาหนดให้ X = 3, 4, 5
P(3) = > 4 (T)
P(3) = > 4 (T)
P(4) = > 4 (T)
ความจริ งเป็ นจริ งทั้งหมด ซึ้งทาให้ x[P(x)] มีค่าความจริ งเป็ นจริง

2. x[P(x)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทนค่าตัวแปร x ใน P(x) ทุกๆ ค่าที่


กาหนด จะได้ประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นเท็จอย่ างน้ อย 1 ประพจน์

ตัวอย่ าง เมื่อกาหนดให้ X = 2, 3, 4
P(2) = > 4 (F)
P(3) = > 4 (T)
P(4) = > 4 (T)
แสดงว่า เมื่อแทนค่าตัวแปร X = 2, 3, 4 ในประโยคเปิ ด [ > 4 ] จะมีตวั แปร
x=2 ตัวเดียวที่แทนค่าในประโยคเปิ ด [ > 4 ] จะได้ประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ซึ่ง
ทาให้ x[P(x)] มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ

3. มีต่าความจริ งเป็ นจริ ง ก็ต่อเมื่อแทนค่าตัวแปร X ใน P(X) ทุกๆ


ค่าที่กาหนด จะได้ประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นจริงอย่ างน้ อย 1 ประพจน์

ตัวอย่ าง เมื่อกาหนดให้ X = 1, 2, 3
(F)
(F)
(T)
แสดงว่า เมื่อแทนค่าตัวแปร X = 1, 2, 3 ในประโยคเปิ ด จะมีตวั
แปร X = 3
ตัวเดียวที่แทนค่าในประโยคเปิ ด จะได้ประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง ซึ่งทา
ให้ มีค่าความจริ งเป็ นจริง
4. มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ ก็ต่อเมื่อแทนค่าตัวแปร X ใน P(X)
ทุกๆ ค่าที่กาหนด จะได้ประพจน์ที่มีค่าความจริ งเป็ นเท็จทั้งหมด
ตัวอย่ าง เมื่อกาหนดให้ X = 0, 1, 2
(F)
(F)
(F)
แสดงว่า เมื่อแทนค่าตัวแปร X = 0, 1, 2 ในประโยคเปิ ด จะทา
ให้ประพจน์ทุกประพจน์มีค่าความจริ งเป็ นเท็จทั้งหมด ซึ่งทาให้ มีค่าความจริ ง
เป็ นเท็จ
ตัวอย่ าง จงหาค่าความจริ งของประโยคเปิ ดที่มีตวั บ่งปริ มาณต่อไปนี้
1. สาหรับ X บางตัวที่นอ้ ยกว่า 5 เมื่อ X = 6, 7, 8 X เป็ นจานวนนับ
2. จานวนเต็มทุกจานวนมากกว่า 0
3. สาหรับ X บางตัว X < 5
4. สาหรับ X ทุกตัว X + X = 2x เมื่อ ก็ต่อเมื่อ < 5 เมื่อ X = 3, 4
5. ถ้ามี X บางตัว ซึ่ง < 5 แล้วจะมี X ทุกตัวซึ่ง X < 5 เมื่อ X = 3, 4

วิธีทา 1. เมื่อ X =
เมื่อแทน X =6, 7, 8 จะได้ประพจน์ทุกตัวมีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
แสดงว่า มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
2.
เมื่อแทนX = 1, 2, 3, ... จะได้ประพจน์ทุกตัวมีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
แสดงว่า
3.
เมื่อแทน X = 0 จะได้ประพจน์มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
แสดงว่า มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
4. เมื่อ X = 3, 4
แทนค่า X = 3 จะได้ [3 < 5 9 < 5] เป็ นเท็จ
T F (F)
แทนค่า X = 4 จะได้ [4 < 5 16 < 5] เป็ นเท็จ
T F (F)
ดังนั้น แทนค่า X = 3, 4 จะได้ประพจน์เชิงประกอบที่มีค่าความจริ งเป็ น
เท็จ
แสดงว่า มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
5. เมื่อ X = 3, 4
แทนค่า X = 3, 4 ใน P(X) = < 5 จะได้ประพจน์ทุกตัวมีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
แสดงว่า มีค่าความจริ งเป็ นเท็จ
แทนค่า X = 3, 4 ใน P(X) = < 5 จะได้ประพจน์ทุกตัวมีค่าความ จริ งเป็ นจริ ง
แสดงว่า มีค่าความจริ งเป็ นจริ ง
จะมีค่าความจริ ง

9.การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผลเป็ นการอ้างข้อความที่เป็ นเหตุ อาจจะมีหลายๆ เหตุ ซึ่งกาหนดให้ P เป็ น
ข้อความของเหตุ เช่น ข้อความ , ,..., เป็ นเหตุ แล้วสรุ ปว่าข้อความ A ซึ่งเป็ น
ผสมเหตุสมผลกันหรื อไม่ โดยเชื่อมเหตุแต่ละตัวด้วยตัวเชื่อม “และ” (^) ส่ วนเหตุกบั ผลเชื่อม
ด้วยตัวเชื่อม
“ถ้า...แล้ว...”
ดังนั้น [ถ้าเป็ นสัจนิรันดร์ถือว่าการอ้างเหตุผลสมเหตุสมผล
ถ้าไม่เป็ นสัจนิรันดร์ถือว่าการอ้างเหตุผลไม่สมเหตุสมผล
การอ้างเหตุผลจะอยูใ่ นรู ปของตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...” คือ เหตุ — > ผล การอ้าง
เหตุผลจะสมเหตุสมผลหรื อไม่สมเหตุสมผลก็ได้ มีเพียงกรณี เดียวที่เหตุเป็ นจริ งและผลเป็ นเท็จ
จะทาให้การอ้างเหตุผลไม่สมเหตุสมผล

9.ขั้นตอนในการดาเนินการตรวจสอบการอ้างเหตุผล
1. เหตุต่อเหตุเชื่อมด้วย "และ" (^)

2. เหตุต่อผลเชื่อมด้วย "ถ้า...และ..." คือเหตุ —> ผล

3. ตรวจสอบโดยสร้างตารางค่าความจริ งว่าเป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่ ถ้าเป็ นสัจนิ


รันดร์ถือว่าสมเหตุสสมผล และถ้าไม่ป็นสัจนิรันดร์ถือว่าไม่สมเหตุสมผล

ตัวอย่ างที1่ จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรื อไม่


เหตุ 1 p ^ q
2 q

ผล p
วีธีทา ขั้นที่ 1 เหตุต่อเหตุเชื่อมด้วย “และ” ( ^ )
(p^q)^q
ขั้นที่ 2 เหตุต่อผลเชื่อมด้วย " ถ้า...แล้ว..."
[( p ^ q ) ^ q ] p
ขั้นที่ 3 ตรวจสอบว่าเป็ นสัจนิรันดร์หรื อไม่

p q p^q (p^q)^q [(p^q)^q] —>p


T T T T T
T F F F T
F T F F T
F F F F T

จะเห็นว่า[( p ^ q ) ^ q] —> p เป็ นสัจนิรันดร์


ดังนั้น สรุ ปได้วา่ [( p ^ q ) ^ q] —> p เป็ นการอ้างเหตุผลที่สมเหตุสมผล

ตัวอย่ างที่ 2 จงพิจารณาว่าข้อความการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรื อไม่


เหตุ 1 ถ้าสมศรี ดื่มนมแล้วสมศรี แข็งแรง
2 สมศรี แข็งแรง
ผล สมศรี ดื่มนม
วิธีทา กา หนดให้ p แทน สมศรี ดื่มนม
q แทน สมศรี แข็งแรง
จะได้ เหตุ 1. p —> q
2. q
ผล p
จากเหตุและผล จะได้ [( p —> q ) ^ q ] —> p

p q p q (p q)^q [(p —>q)^q] —


>p
T T T T T
T F F F T
F T T T F
F F F F T
จะเห็นว่า [ ( p —> q ) ^ q ] —> p ไม่เป็ นสัจนิรันดร์
ดังนั้น ข้อความการอ้างเหตุผลดังกล่าวไม่สมเหตุสมผล
การอ้างเหตุผลสามารถใช้ได้กบั ประโยคเปิ ด โดยแทนค่า X ในประโยคเปิ ด จะได้
ประพจน์เชิงประกอบ แล้วตรวจสอบเช่นเดียวกับประพจน์ทวั่ ๆ ไป
เช่น ประโยคเปิ ด { [ p ( x ) —> q ( x ) ] ^ q ( x ) } —> p ( x ) เมื่อแทนค่า X จะได้
ประพจน์เชิงประกอบ [ ( p —> q ) ^ q ] —> p แล้วจึงตรวจสอบการอ้างเหตุผล

ตัวอย่ างที3่ จงพิจารณาว่าข้อความการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรื อไม่


เหตุ 1. เขากินข้าว
2. เขาเจริ ญเติบโต
ผล เขาเจริ ญเติบโต
วิธีทา กาหนดให้ p(x) แทน เขากินข้าว
q(x) แทน เขาเจริ ญเติบโต
เหตุ 1. p(x)
2. q(x)
ผล q(x)
จะได้ประโยคเปิ ด [p(x) ^ q(x)] —> q(x)
แทนค่า X จะได้ประพจน์ (p ^ q) —> q
ตรวจสอบประพจน์แล้วพบว่าเป็ นสัจนิรันดร์ สรุ ปได้วา่ ประโยคเปิ ดดังกล่าวสมเหตุสมผลกัน
บทที่ 3 ความน่ าจะเป็ น

ในชีวติ ประจาวันของเราจะใช้คาว่า “โอกาส” อยูเ่ สมอ เช่น


โอกาสที่ฝนจะตกมี 80% บาสเกตบอลทีม A มีโอกาสที่จะชนะทีม B สู งมาก โอกาสที่จะ
ไปเที่ยวชายทะเลน้อยมาก เพราะกาลังมีพายุ เป็ นต้น
คาว่า โอกาส มีความหมายเช่นเดียวกับคาว่า ความน่าจะเป็ น เป็ นการคาดการณ์ล่วงหน้า
ว่าสิ่ งต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นมีมากน้อยเพียงใด
ในอดีตที่ผ่ านมา มนุษย์รู้จกั ทานายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้โดยอาศัยวิง่ ที่เกิดขึ้นซ้ า ๆ เป็ น
ตัวกาหนด เช่น ฝนตก น้ าป่ า ภูเขาไประเบิด ฯลฯ ในปัจจุบนั มนุษย์นาความน่าจะเป็ นหรื อ
โอกาสมาใช้ในการทานายสิ่ งต่าง ๆ เช่น การแข่งขัน การพนัน เศรษฐกิจของบ้านเมือง การ
ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ โดยใช้ตวั เลขเป็ นตัววัดหรื อพยากรณ์วา่ สิ่ งต่าง ๆ นั้น มีโอกาส
เกิดขึ้นมากหรื อน้อยอย่างไร

4.1 การทดลองสุ่ มและแซมเปิ ลสเปซ (Random Experiment and Sample Space)


การทดลองสุ่ ม หมายถึง การทดลองซึ่งทราบว่าจะมีผลลัพธ์อะไรบ้าง แต่ไม่สามารถบอก
ผลลัพธ์ได้ถูกต้องแน่นอนว่าจะเป็ นอะไรในการทดลองแต่ละครั้ง เช่น
 โยนเหรี ยญ 1 อัน 1 ครั้ง * ในการโยนเหรี ยญรู ้ผลลัพธ์วา่ ต้องออกหัวหรื อก้อย แต่ถา้
กาลังจะโยนเหรี ยญจะไม่สามารถบอกได้วา่ จะได้หวั แน่นอน หรื อได้กอ้ ยแน่นอน เป็ นการ
ทดลองสุ่ ม
 กล่องทึบใ บหนึ่งมีลูกแก้วสี แดง 1 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก สี เหลือง 1 ลูก หยิบมา 1 ลูก รู ้
ผลลัพธ์วา่ ต้องได้สีแดง หรื อสี ฟ้า หรื อสี เหลือง แต่กาลังจะหยิบไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่า
ต้องได้สีแดง หรื อได้สีเหลือง หรื อได้สีฟ้า เป็ นการทดลองสุ่ ม
 การออกรางวัลเขท้าย 2 ตัว รู ้ผลลัพธ์วา่ จะออกเลขอะไรบ้าง แต่ในงวดนี้ไม่สามารถ
บอกได้แน่นอนว่าเป็ นเลขอะไร เป็ นการทดลองสุ่ ม
 กล่องทึบใบหนึ่งมีลูกแก้วสี แดง 10 ลูก หยิบมา 1 ลูก สามารถบอกได้วา่ ได้สีแดง
แน่นอน ไม่ใช่การทดลองสุ่ ม
 การแข่งขันฟุตบอลระหว่างวิทยาลัย 2 แห่ง ซึ่งมีความสามารถเท่าเทียมกัน รู ้ ผลลัพธ์
ว่าต้องมีผแู ้ ก้และผูช้ นะ แต่ไม่สามารถบอกได้ล่วงหน้าได้วา่ ใครแพ้ใครชนะ เป็ นการทดลองสุ่ ม

แซมเปิ ลสเปซ หมายถึง ผลลัพธ์ท้ งั หมดที่เกิดขึ้นของผลการทดลองสุ่ มจะใช้ S แทนแซม


เปิ ลสเปซ

ตัวอย่ าง การเขียนผลลัพธ์ท้ งั หมดของการทดลองสุ่ ม


1) โยนเหรี ยญ 1 อัน 1 ครั้ง
S = {H, T} มีผลลัพธ์เกิดขึ้น 2 กรณี คือ เหรี ยญออกหัวใช้ H แทน กับเหรี ยญ
ออกก้อยใช้ T แทน
2) โยนเหรี ยญ 2 อัน 1 ครั้ง
S = {HH, HT, TH, TT} มีสมาชิก 4 สมาชิก
3) โยนเหรี ยญ 3 อัน 1 ครั้ง
S = {HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT} มีสมาชิก 8 สมาชิก
4) ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 2 คน
S = {ชช, ชญ, ญช, ญญ} มีสมาชิก 4 สมาชิก
5) โยนลูกเต๋ า 1 ลูก 1 ครั้ง
S = {1, 2, 3, 4, 5, 6} มีสมาชิก 6 สมาชิก
6) โยนลูกเต๋ า 2 ลูก 1 ครั้ง
S = { (1,1), (1,2), (1,3), (1,4), (1,5), (1,6), (2,1), (2,2), (2,3), (2,4), (2,5), (2,6),
(3,1), (3,2), (3,3), (3,4), (3,5), (3,6), (4,1), (4,2), (4,3), (4,4), (4,5), (4,6),
(5,1), (5,2), (5,3), (5,4), (5,5), (5,6), (6,1), (6,2), (6,3), (6,4), (6,5),(6,6)}
มีสมาชิก 36 สมาชิก
7) กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสี แดง 1 ลูก สี ขาว 1 ลูก สี ฟ้า 1 ลูก
7.1 หยิบมา 2 ลูก พร้อมกัน
S = 3 C 2 = 3! = 3 วิธี
1! 2 !
S = {ดข, ดฟ, ขฟ} มี 3 สมาชิก
7.2 หยิบมา 2 ลูก โดยหยิบทีละลูก
S = 3 C1 . 2 C1 = 6 วิธี
S = {ดข, ดฟ, ขด, ขฟ, ฟด, ฟข} มี 6 สมาชิก
7.3 หยิบมา 2 ลูก โดยหยิบทีละลูกเมื่อดูสีแล้วใส่ คืน
S = 3 C1 . 3 C1 = 9 วิธี
S = {ดด, ดข, ดฟ, ขด, ขข, ขฟ, ฟด, ฟข, ฟฟ} มี 9 สมาชิก

8) หยิบไผ่ 1 ใบ จากไพ่ 1 สารับ ซึ่งมี 52 ใบ


S = {A โพดา, 2 โพดา, 3 โพดา, … , 10 โพดา, J โพดา, Q โพดา, K โพดา,
A โพแดง, 2 โพแดง, 3 โพแดง, … , 10 โพแดง, J โพแดง, Q โพแดง,
K โพแดง, A ข้าวหลามตัด, 2 ข้าวหลามตัด, 3 ข้าวหลามตัด, … ,
10 ข้าวหลามตัด, J ข้าวหลามตัด, Q ข้าวหลามตัด, K ข้าวหลามตัด,
A ดอกจิก, 2 ดอกจิก, 3 ดอกจิก, … , 10 ดอกจิก, J ดอกจิก, Q ดอกจิก,
K ดอกจิก} มีสมาชิก 52 สมาชิก
9) ในการลงทุนทาการค้า ผลการลงทุนมีกาไร ขาดทุน เท่าทุน ถ้าทาการค้า 2 ปี
S = {กก, กข, กท, ขก, ขข, ขท, ทก, ทข, ทท}, n(S) = 9
10) เลือกภาพ 3 ภาพ จากภาพทั้งหมด 5 ภาพ คือภาพ A, B, C, D, E
N(S) = 5 C 3 = 5 ! = 5 . 4 = 10 วิธี
2 ! 3! 2
S = {ABC, ABD, ABE, ACD, ACE, ADE, BCD, BCD, BCE, BDE, CDE},
n(S) = 10

4.2 เหตุการณ์ (Event)


เหตุการณ์ หมายถึง สับเซตของแซมเปิ ลสเปซ หรื อสิ่ งที่เราสนใจในผลการทดลองสุ่ ม
แทนด้วย E

ตัวอย่ าง การเขียนแซมเปิ ลสเปซและเหตุการณ์ที่เราสนใจในผลการทดลองสุ่ ม


1) ในการโยนลูกเต๋ า 1 ลูก 1 ครั้ง
S = {1, 2, 3, 4, 5, 6}, n(S) = 6
E1 = สนใจได้แต้มมากกว่า 4 = {5, 6}, n( E1 ) = 2
E2 = สนใจได้แต้มเป็ นจานวนเฉพาะ = {2, 3, 5}, n( E 2 ) = 3
2) ในการโยนลูกเต๋ า 2 ลูก 1 ครั้ง
S = {11, 12, 13, 14, 15, 16, 21, 22, 23, 24, 25, 26, 31, 32, 33, 34,
35, 36, 41, 42, 43, 44, 45, 46, 51, 52, 53, 54, 55, 56, 61, 62, 63,
64, 65, 66},

n(S) = 36
E1 = สนใจได้ผลรวมของแต้มมากกว่า 8
E1 = {36, 45, 46, 54, 55, 56, 63, 64, 65, 66}
n( E1 ) = 10
E2 = สนใจได้ผลรวมของแต้มหารด้วย 3 ลงตัว
= {12, 15, 21, 24, 33, 36, 42, 45, 51, 54, 63, 66}
n( E 2 ) = 12
E3 = สนใจได้แต้มเป็ นเลขคี่ท้ งั 2 ลูก
= {11, 13, 15, 31, 33, 35, 51, 53, 55}
n( E 3 ) = 9
3) ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 3 ลูก
N(S) = 2x2x2 = 8
S = {ชชช, ชชญ, ชญช, ชญญ, ญชช, ญชญ, ญญช, ญญญ}
E = สนใจได้ลูกชายมากกว่า 1 คน
E = {ชชช, ชชญ, ชญช, ญชช}, n(E) = 4
4) กล่องทึบใบหนึ่งมีลูกแก้วสี แดง 4 ลูก สี ฟ้า 3 ลูก สี เหลือง 2 ลูก สุ่ มหยิบ 3 ลูก
พร้อมกัน
N(S) = 9C = 9! = 9. 8 .7 = 84
3 6 ! 3! 3.2.1
E1 = สนใจได้สีละ 1 ลูก
n( E1 ) = 4 C . 3 C . 2 C = 24
1 1 1
E2 = สนใจได้สีเดียวกัน
n( E 2 ) = 4 C + 3C = 4 + 1 = 5
3 3
E3 = สนใจได้สีแดง 2 ลูกเสมอ
n( E 3 ) = 4 C . 5 C = 6 . 5 = 30
2 1
E4 = สนใจได้สีดา 1 ลูก
E4 = 
n( E 4 ) = 0

5) จากตัวเลขโดด 0, 2, 1, 3, 4, 5, 6 นามาจัดเป็ นเลข 3 หลัก โดยใช้เลขไม่ซ้ ากัน


N(S) = 5x5x4 = 100
E1 = สนใจได้เลข 3 หลักเป็ นเลขคี่
n( E1 ) = 4x4x3 = 48
E2 = สนใจได้เลข 3 หลักที่หารด้วย 5 ลงตัว
n( E 2 ) = (5 x 4 x 1) + (4 x 4 x 1) = 20 + 16 = 36
6) นักเรี ยนชาย 6 คน หญิง 4 คน สุ่ มเลือกมา 2 คน เพื่อเป็ นตัวแทนในการตอบ
ปัญหาทางวิชาการ (นักเรี ยนทุกคนมีความสามารถเท่ากัน)
N(S) = 10 C = 10 ! = 10 . 9 = 45
2 8! 2! 2
E1 = สนใจได้นกั เรี ยนชาย 1 คน หญิง 1 คน
n( E1 ) = 6 C . 4 C = 24
1 1
E2 = สนใจได้นกั เรี ยนหญิงทั้ง 2 คน
n( E 2 ) = 4C
2 = 6

4.2.1 ยูเนียนของเหตุการณ์ (Union of events)


ให้ S เป็ นแซมเปิ ลสเปซในการทดลองสุ่ ม E1 และ E 2 คือ เหตุการณ์สองเหตุการณ์ โดย
ที่ E1  S และ E 2  S ยูเนียนของเหตุการณ์ E1 และ E 2 เขียนแทนด้วย E1  E 2
เป็ นเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกของ E1 หรื อของ E 2 หรื อของทั้งสองเหตุการณ์

ตัวอย่ าง 1) ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 4 คน
S = {ชชชช, ชชชญ, ชชญช, ชชญญ, ชญชช, ชญชญ, ชญญช,
ชญญญ, ญชชช, ญชชญ, ญชญช, ญชญญ, ญญชช, ญญชญ,
ญญญช, ญญญญ}
เหตุการณ์ที่สนใจได้ลูกสาวคนแรกหรื อคนสุ ดท้าย
E1 = สนใจได้ลูกสาวคนแรก
E1 = {ญชชช, ญชชญ, ญชญช, ญชญญ, ญญชช, ญญชญ, ญญญช,
ญญญญ}
E2 = สนใจได้ลูกสาวคนสุ ดท้าย
E2 = {ชชชญ, ชชญญ, ชญชญ, ชญญญ, ญชชญ, ญชญญ, ญญชญ,
ญญญญ}
 ( E1  E 2 ) = {ญชชช, ญชชญ, ญชญช, ญชญญ, ญญชช, ญญชญ,
ญญชช, ญญญญ, ชชชญ, ชชญญ, ชญชญ, ชญญญ},
n( E1  E 2 ) = 12
2) โยนลูกเต๋ า 2 ลูก 1 ครั้ง ผลลัพธ์ที่ตอ้ งการคือผลรวมของแต้มของลูกเต๋ าทั้งสอง
ลูก
S = {2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12}
เหตุการณ์ที่สนใจผลรวมของแต้มเป็ นเลขจานวนเฉพาะ หรื อน้อยกว่า 6
E1 = สนใจผลรวมของแต้มเป็ นจานวนเฉพาะ
E1 = {2, 3, 5, 7, 11}
E2 = สนใจได้ผลรวมของแต้มน้อยกว่า 6
E2 = {2, 3, 4, 5}
 ( E1  E 2 ) = {2, 3, 4, 5, 7, 11}, n( E1  E 2 ) = 6

4.2.2 อินเตอร์ เซ็กชั่นของเหตุการณ์ (Intersection of events)


ให้ S เป็ นแซมเปิ ลสเปซในการทดลองสุ่ ม E1 และ E 2 คือ เหตุการณ์สองเหตุการณ์ โดย
ที่ E1  S และ E 2  S อินเตอร์เซ็กชัน่ ของเหตุการณ์ E1 และ E 2 เขียนแทนด้วย E1
 E 2 เป็ นเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกของ E1 หรื อของ E 2 หรื อของทั้งสองเหตุการณ์
ตัวอย่ าง 1) มีตวั อักษร A, B, C, D นามาเรี ยงคราวละ 3 ตัว
S = {ABC, ABD, ACB, ACD, ADB, ADC, BAC, BAD, BCA,
BCD, BDA, BDC, CAB, CAD, CBA, CBD, CDA, CDB,
DAB, DAC, DBA, DBC, DCA, DCB}
สนใจเหตุการณ์ที่ A และ C ถูกเลือกมา
E1 = สนใจ A ถูกเลือกมา
E1 = {ABC, ABD, ACB, ACD, ADB, ADC, BAC, BAD, BCA,
CAB, CAD, CBA, CDA, DAB, DAC, DBA, DCA, BDA}
E2 = สนใจ C ถูกเลือกมา
E2 = {ABC, ACB, ACD, ADC, BAC, BCA, BCD, BDC, CAB,
CAD, CBA, CBD, CDA, CDB, DAC, DBC, DCA, DCB}
 ( E1  E 2 ) = {ABC, ACB, ACD, ADC, BAC, BCA, CAB, CAD, CBA,
CDA, DAC, DCA}
2) โยนลูกเต๋ า 1 ลูก 2 ครั้ง
S = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
ในได้แต้มมากกว่า 3 และเป็ นเลขคู่
E1 = สนใจได้แต้มมากว่า 3 = {4, 5, 6}
E2 = สนใจได้แต้มเป็ นเลขคู่ = {2, 4, 6}
 ( E1  E 2 ) = {4, 6}

4.2.3 คอมพลีเมนต์ ของเหตุการณ์ (Complement of events)


ให้ S เป็ นแซมเปิ ลสเปซในการทดลองสุ่ ม E เป็ นเหตุการณ์ณ์ใด ๆ คอมพลีเมนต์ของ
เหตุการณ์ E’ คือ เหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยูใ่ น S แต่ไม่อยูใ่ นเหตุการณ์ E
ตัวอย่ าง 1) กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสี แดง สี ขาว สี ฟ้า สี เหลือง อย่างละ 1 ลูก หยิบมา 2 ลูก
โดยหยิบทีละลูก แล้วไม่ใส่ คืน
S = {ดข, ดฟ, ดล, ขด, ขฟ, ขล, ฟด, ฟข, ฟล, ลด, ลข, ลฟ}
E = สนใจได้สีขาวเสมอ
= {ดข, ขด, ขฟ, ขล, ฟข, ลข}
E’ = {ดฟ, ดข, ฟด, ฟข, ขด, ขฟ}

2) มีบตั รแข็ง 10 ใบ เป็ นหมายเลข 1, 2, 3, ..., 10 หยิบมา 1 ใบ


S = {1, 2, 3, …, 10}
E = สนใจได้บตั รที่หมายเลขเป็ นจานวนเฉพาะ
= {2, 3, 5, 7}
E’ = {1, 4, 6, 8, 9, 10}

ข้ อสั งเกต
1. E และ E’ เป็ นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่ วมกัน เพราะ E  E’ = 
2. E  E’ = S

4.2.4 ผลต่ างของเหตุการณ์ (Difference of events)


ให้ S เป็ นแซมเปิ ลสเปซในการทดลองสุ่ ม E1 และ E 2 เป็ นเหตุการณ์สองเหตุการณ์
ผลต่างของเหตุการณ์ E1 และเหตุการณ์ E 2 แทนด้วย E1 - E 2 คือ เหตุการณ์ที่ประกอบด้วย
สมาชิกในเหตุการณ์ E1 แต่ไม่เป็ นสมาชิกในเหตุการณ์ E 2

ตัวอย่ าง 1) โยนเหรี ยญ 3 อัน 1 ครั้ง


S = {HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT}
E1 = สนใจเหรี ยญออกหัวมากกว่า 1 ครั้ง
= {HHH, HHT, HTH, THH}
E2 = สนใจเหรี ยญออกก้อยอย่างน้อย 1 ครั้ง
= {HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT}
E1 - E 2 = {HHH}
E 2 - E1 = {HTT, THT, TTH, TTT}
2) โยนลูกเต๋ า 1 ลูก และเหรี ยญ 1 เหรี ยญ
S = {(1, H)} (2, H), (3, H), (4, H), (5, H), (6, H), (1, T)} (2, T),
(3, T), (4, T), (5, T), (6, T)}
E1 = สนใจได้เหรี ยญออกหัว
= {(1, H), (2, H), (3, H), (4, H), (5, H), (6, H)}
E2 = สนใจได้ลูกเต๋ าออกแต้มคู่
= {(2, H), (4, H), (6, H), (2, T), (4, T), (6, H)}
E1 - E 2 = {(1, H), (3, H), (5, H)}
E 2 - E1 = {(2, T), (4, T), (6, T)}
ข้ อสั งเกต
1. ( E1 - E 2 ) และ ( E 2 - E1 ) เป็ นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่ วมกัน
เพราะ ( E1 - E 2 )  ( E 2 - E1 ) = 

4.3 ความน่ าจะเป็ นของเหตุการณ์ (Probability of an event)


ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ หมายถึง อัตราส่ วนระหว่างจานวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่
เราสนใจกับจานวนสมาชิกของแซมเปิ ลสปซของการทดลองสุ่ ม ซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่า ๆ กัน
S คือ แซมเปิ ลสเปซของการทดลองสุ่ ม
n(S) คือ จานวนสมาชิกของแซมเปิ ลสเปซ
E คือ เหตุการณ์ที่สนใจ
n(E) คือ จานวนสมาชิกของเหตุการณ์
P(E) คือ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ E
จานวนสมาชิกของเหตุกา รณ์ ทสี่ นใจ
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ =
จานวนสมาชิกของแซมเปิ ลสเปซ

P(E) = n(E)
n(S)

ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์เป็ นตัวเลขที่บ่งบอกให้เราทราบว่าเหตุการณ์น้ นั ๆ มี


โอกาสเกิดขึ้นมากน้อยเพียงไร เช่น
P(E) = 1 แสดงว่าเหตุการณ์ E มีโอกาสเกิดขึนเพียง 1 ใน 3
3

P(E) = 1 แสดงว่าเหตุการณ์ E มีโอกาสเกิดหรื อไม่เกิดเท่า ๆ กัน
2
P(E) = 4 แสดงว่าเหตุการณ์ E มีโอกาสเกิดมาก 4 ใน 5
5
P(E) = 0 แสดงว่าเหตุการณ์ E ไม่มีโอกาสเกิดขึ้นเลย
P(E) = 1 แสดงว่าเหตุการณ์ E มีโอกาสเกิดขึ้น 100%
ตัวอย่ างที่ 1 โยนเหรี ยญ 3 อัน 1 ครั้ง จงหาความค่าความน่าจะเป็ นที่เหรี ยญออกหัว 1 ครั้ง
วิธีทา โยนเหรี ยญ 3 อัน 1 ครั้ง
S = {HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT}
n(S) = 8
E = เหรี ยญออกหัว 1 ครั้ง
n(E) = {HTT, THT, TTH}
n(E) = 3
P(E) = 3 ตอบ
8

ตัวอย่ างที่ 2 มีนกั เรี ยน 6 คน ต้องการเลือกมา 3 คน เพื่อเป็ นตัวแทน ถ้าแดงเป็ นเด็กอยูใ่ นกลุ่มนี้
จงหาความน่าจะเป็ นที่แดงถูกเลือกมาเสมอ
วิธีทา นักเรี ยน 6 คน สุ่ มเลือกมา 3 คน
n(S) = 6 C 3 = 6 ! = 6 . 5 . 4 = 20
3! 3! 3.2.1
E = สนใจแดงถูกเลือกมาเสมอ
n(E) = 1 . 5 C 2 = 10
P(E) = 10 = 1 ตอบ
20 2

ตัวอย่ างที่ 3 เลือกจานวน 1 จานวน ที่อยูร่ ะหว่าง 400 กับ 500 จงหาความน่าจะเป็ นที่จานวน
ที่เลือกมา หารด้วย 11 ลงตัว
วิธีทา จานวนที่อยูร่ ะหว่าง 400 กับ 500
S = {401, 402, 403, ..., 499}
n(S) = 99
E = สนใจจานวนที่หารด้วย 11 ลงตัว
= {407, 418, 429, 440, 451, 462, 473, 484, 495}
n(E) = 9
P( E1 ) = 9 = 1 ตอบ
99 11

ตัวอย่ างที่ 4 โยนลูกเต๋ า 2 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่


1) ได้ผลรวมของแต้มหารด้วย 4 ลงตัว
2) ได้ผลรวมของแต้มเป็ นจานวนเฉพาะ
3) ได้ผลรวมของแต้มมากกว่า 9
4) ได้หน้าของลูกเต๋ าทั้ง 2 ลูกเป็ นเลขคี่
วิธีทา โยนลูกเต๋ า 2 ลูก 1 ครั้ง
S = {11, 12, 13, 14, 15, 16, 21, 22, 23, 24, 25, 26, 31, 32, 33, 34, 35, 36,
41, 42, 43, 44, 45, 46, 51, 52, 53, 54, 55, 56, 61, 62, 63, 64, 65, 66}
n(S) = 36
1) ได้ผลรวมของแต้มหารด้วย 5 ลงตัว
E = {14, 23, 32, 41, 46, 55, 64}
n(E) = 7
P(E) = 7
36

2) ได้ผลรวมของแต้มเป็ นจานวนเฉพาะ
E = {11, 12, 14, 16, 21, 23, 25, 32, 34, 41, 43, 52, 56, 61, 65}
n(E) = 15
P(E) = 15 = 5
36 12
3) ได้ผลรวมของแต้มมากกว่า 9
E = {46, 55, 56, 64, 65, 66}
n(E) = 6
P(E) = 6 = 1
36 6

4) ได้หน้าของลูกเต๋ าทั้ง 2 เป็ นเลขคี่


E = {11, 15, 31, 33, 35, 51, 53, 55}
n(E) = 9
P(E) = 9 = 1 ตอบ
36 4

ตัวอย่ างที่ 5 มีหลอดไฟ 15 หลอด เป็ นหลอดเสี ย 4 หลอด วางปนกันอยู่ สุ่ มหยิบมา 4 หลอด
พร้อมกัน จงหาความน่าจะเป็ นที่
1) ได้หลอดเสี ย 2 หลอดเสมอ
2) ได้หลอดดีอย่างน้อย 3 หลอด
3) ได้หลอดดี 1 หลอด

วิธีทา มีหลอดไฟ 15 หลอด เป็ นหลอดเสี ย 4 หลอด เป็ นหลอดดี 11 หลอด


หยิบมา 4 หลอดพร้อมกัน
 n(S) = 15 C 4 = 15 ! = 15 . 14 . 13 . 12 = 1,365
11 ! 4 ! 4 .3.2.1

1) ได้หลอดเสี ย 2 หลอดเสมอ
n(E) = 4 C 2 . 11 C 2 = 330
P(E) = 330 = 22
1,365 91

2) ได้หลอดดีอย่างน้อย 3 หลอด
n(E) = 11 C 3 . 4 C1 . 11 C 4 = 660 + 330 = 990
P(E) = 990 = 66
1,365 91

3) ได้หลอดดี 1 หลอด
n(E) = 11 C1 . 4 C 3 = 11 . 4 = 44
P(E) = 44 ตอบ
1,365

สมบัติบางประการของความน่ าจะเป็ น
1. 0  P(E)  1
2. P(E) = 0 เมื่อ E = 
3. P(E) = 1 เมื่อ E = S
4. ถ้า E1 และ E 2 เป็ นเหตุการณ์ใด ๆ ในแซมเปิ ลสเปซ S แล้ว
P( E1  E 2 ) = P( E1 ) + P( E 2 ) - P( E1  E 2 )

พิสูจน์ ให้ n( E1 ) แทนสมาชิกของเหตุการณ์ E1


n( E 2 ) แทนสมาชิกของเหตุการณ์ E 2
n( E1  E 2 ) แทนสมาชิกของเหตุการณ์ ( E1  E 2 )
n( E1  E 2 ) แทนสมาชิกของเหตุการณ์ ( E1  E 2 )
n(S) แทนสมาชิกของแซมเปิ ลสเปซ S
จากความรู ้เรื่ องเซต
n( E1  E 2 ) = n( E1 ) + n( E 2 ) + n( E1  E 2 )
n(E1  E 2 ) n(E1 ) n(E 2 ) n(E1  E 2 )
  
n(S) n(S) n(S) n(S)

P( E1  E 2 ) = P ( E1 ) + P( E 2 ) - P( E1  E 2 )
5. ถ้า E1 และ E 2 เป็ นเหตุการณ์ใด ๆ ในแซมเปิ ลสปซ S และ E1 กับ E 2 ไม่มีสมาชิก
ร่ วมกัน หรื อ E1  E 2 = 
 P( E1  E 2 ) = P( E1 ) + P( E 2 )
 ( E1  E 2 ) = 
 ( E1  E 2 ) = 0
พิสูจน์ P( E1  E 2 ) = P ( E1 ) + P( E 2 ) - P( E1  E 2 )
= P ( E1 ) + P( E 2 ) - 0
P( E1  E 2 ) = P ( E1 ) + P( E 2 )

6. ถ้า E1 , E 2 และ E 3 เป็ นเหตุการณ์ใด ๆ ในแซมเปิ ลสเปซ S แล้ว P( E1  E 2  E 3 )


= P ( E1 ) + P( E 2 ) + P ( E 3 ) - P( E1  E 2 ) - P( E 2  E 3 ) - P( E1  E 3 ) + P( E1 
E2  E3)
พิสูจน์ P( E1  E 2  E 3 ) = P (( E1 )  E 2 )  E 3 )
= P( E1  E 2 ) + P ( E 3 ) - P(( E1  E 2 )  E 3 )
= P( E1  E 2 ) + P ( E 3 ) - P(( E1  E 3 )  E 3 ) 
( E 2  E 3 ))
= P( E1 ) + P( E 2 ) - P( E1  E 2 ) + P( E 3 ) -
[P( E1  E 3 ) + P( E 2  E 3 ) - P( E1  E 2 ) 
( E 2  E 3 ))]
= P( E1 ) + P( E 2 ) + P( E 3 ) - P( E1  E 2 ) -
P( E1  E 3 ) - P( E 2  E 3 ) + P( E1  E 2  E 3 )
7. ถ้า E1 , E 2 เป็ นเหตุการณ์ใด ๆ ในแซมเปิ ลสเปซ S แล้ว
P( E1 - E 2 ) = P( E1 ) - P( E1  E 2 )
 E1 = ( E1 - E 2 )  ( E1  E 2 )
P( E1 ) = P( E1 - E 2 ) + P( E1  E 2 ) -
P(( E1 - E 2 )  ( E1  E 2 ))
แต่ ( E1 - E 2 )  ( E1  E 2 ) = 
 P( E1 ) = P( E1 - E 2 ) + P( E1  E 2 ) - 0
P( E1 ) = P( E1 - E 2 ) + P( E1  E 2 )
P( E1 - E 2 ) = P( E1 ) - P( E1  E 2 )

8. ถ้า E คือ เหตุการณ์ใด ๆ ในแซมเปิ ลสเปซ S


 P(E’) = 1 - P(E)

 E  E’ = S
E  E’ = 
P(S) = P(E) + p(E’)
แต่ P(S) = 1
1 = P(E) + P(E’)
 P(E’) = 1 - P(E)

ตัวอย่ างที่ 6 กาหนดให้ A และ B เป็ นเหตุการณ์ใดๆ และ P(A  B) = 4 , P(A  B) =


5
1 , P(A) = 1 จงหา
10 2

1) P(B)
2) P(A’  B’)
3) P(A - B)
วิธีทา 1) P(B)
 P(A  B) = P(A) + P(B) - P(A  B)

4 = 1 + P(B) - 1
5 2 10
 P(B) = 4 - 1 + 1 = 2
5 2 10 5

2) P(A’  B’)
 P(A’) = 1 - P(A) = 1 - 1 = 1
2 2

P(B’) = 1 - P(B) = 1 - 2 = 3
5 5

P(A’  B’) = P(A’  B’) = 1 - 4 = 1


5 5

 P(A’  B’) = P(A’) + P(B’) - P(A’  B’)

3) P(A - B)
 P(A - B) = P(A) - P(A  B)

= 1 - 1 = 2 ตอบ
2 10 5

ตัวอย่ างที่ 7 จากการสอบถามนักเรี ยน 60 คน พบว่า มี 32 คน ชอบเล่นฟุตบอลมี 5 คน ชอบ


เล่นฟุตบอลและวอลเล่ยบ์ อล มี 17 คน ไม่ชอบเล่นกีฬา 2 ประเภทนี้ สุ่ มนักเรี ยนมา 1 คน จงหา
ความน่าจะเป็ นที่นกั เรี ยนคนนี้
1) ชอบเล่นฟุตบอลหรื อวอลเล่ยบ์ อล
2) ชอบเล่นวอลเล่ยบ์ อล
3) ชอบเล่นวอลเล่ยอ์ ย่างเดียว
วิธีทา ให้ S แทนนักเรี ยนทั้งหมด
n(S) = 60
A แทนนักเรี ยนที่ชอบเล่นฟุตบอล, n(A) = 32
B แทนนักเรี ยนที่ชอบเล่นวอลเล่ยบ์ อล
A  B แทนนักเรี ยนที่ชอบเล่นฟุตบอลและวอลเล่ยบ์ อล,
n(A  B) = 5, n(A  B)’ = 17

1) ความน่าจะเป็ นของนักเรี ยนที่ชอบเล่นฟุตบอลหรื อวอลเล่ยบ์ อล


 P(A  B)’ = 17
60

 P(A  B) = 1 - 17 = 43
60 60

2) ความน่าจะเป็ นของนักเรี ยนที่ชอบเล่นวอลเล่ยบ์ อล


 P(A  B) = P(A) + P(B) - P(A  B)

43 = 32 + P(B) - 5
60 60 60

P(B) = 43 - 32 + 5 = 16 = 4
60 60 60 60 15

3) ความน่าจะเป็ นของนักเรี ยนที่ชอบเล่นวอลเล่ยบ์ อลอย่างเดียว


P(B - A) = P(B) - P(A  B)

= 4 - 5 = 11 ตอบ
15 60 60

ตัวอย่ างที่ 8 โรงเรี ยนแห่งหนึ่งต้องการตั้งชมรมภาษาต่างประเทศเพื่อเสริ มความรู ้ จึงสารวจ


ความต้องการของนักเรี ยน จานวน 150 คน โดยที่ทุกคนอาจชอบมากกว่า 1 วิชาก็ได้ พบว่า
มีนกั เรี ยน 71 คน ชอบภาษาฝรั่งเศส
มีนกั เรี ยน 80 คน ชอบภาษาอังกฤษ
มีนกั เรี ยน 64 คน ชอบภาษาจีน
มีนกั เรี ยน 36น ชอบภาษาฝรั่งเศสและจีน
มีนกั เรี ยน 34น ชอบภาษาฝรั่งเศสและอังกฤษ
มีนกั เรี ยน 23 คน ชอบภาษาจีนและอังกฤษ
มีนกั เรี ยน 15 คน ชอบทั้ง 3 วิชา
สุ่ มนักเรี ยนมา 1 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่นกั เรี ยนคนนั้นชอบวิชา
1) ฝรั่งเศสหรื ออังกฤษหรื อจีน
2) อังกฤษและจีนแต่ไม่ชอบฝรั่งเศส
3) จีนเพียงวิชาเดียว
4) ชอบภาษาอื่นยกเว้น ฝรั่งเศสหรื ออังกฤษหรื อจีน

วิธีทา n(S) = 150


A = นักเรี ยนที่ชอบภาษาฝรั่งเศส, n(A) = 71, P(A) = 71
180
B = นักเรี ยนที่ชอบภาษาอังกฤษ, n(B) = 80, P(B) = 80
150
C = นักเรี ยนที่ชอบภาษาจีน, n(C) = 64, P(C) = 64
150

n(A  B) = 34, n(B  C) = 23, n(A  C) = 36, n(A  B  C) = 15


และแสดงได้ดงั แผนภาพ
1) ความน่าจะเป็ นที่เด็กที่สุ่มมา 1 คน ชอบฝรั่งเศส
หรื ออังกฤษหรื อจีน
P(A  B  C) = P(A) + P(B) + P(C) - P(A  B) -
P(B  C) - P(A  C) +
P(A  B  C)

= 71 + 80 + 64 - 34 - 23
150 150 150 150 150
- 36 + 15
150 150
= 137
150

2) ความน่าจะเป็ นที่เด็กที่สุ่มมาชอบภาษาอังกฤษและจีนแต่ไม่ชอบฝรั่งเศส
 P(B  A  A’) = P(B  C) - P(A  B  C)
= 23 - 15 = 8
150 150 150

3) ความน่าจะเป็ นที่เด็กที่สุ่มมาชอบภาษาจีนเพียงวิชาเดียว
P(C’  A’  B’) = P(C) - P(C  B) – P(A  C) + P(A  B  C)
= 64 - 23 - 36 + 15 = 20
150 150 150 150 150

4) ชอบภาษาอื่นยกเว้นฝรั่งเศสหรื ออังกฤษหรื อจีน


P(A  B  C)’ = 1 - P(A  B  C)
= 1 - 137 = 13 ตอบ
150 150
4.4 ความน่ าจะเป็ นของเหตุการณ์ แบบมีเงื่อนไข (Conditional Probability)
ในการทดลองสุ่ มใด ๆ บางครั้งเราต้องการหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งเกิด
หลังจากเกิดเหตุการณ์หนึ่งแล้ว เรี ยกความน่าจะเป็ นในลักษณะเช่นนี้วา่ “ความน่าจะเป็ นแบบมี
เงื่อนไข”
กาหนดให้ A และ B เป็ นเหตุการณ์ใด ๆ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ A ที่เกิดขึ้นเมื่อ
เหตุการณ์ B เกิดขึ้นก่อน เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ P(A I B) อ่านว่า “ความน่าจะเป็ นของ
เหตุการณ์ A เมื่อเหตุการณ์ B เกิดขึ้นก่อน” หรื อ “ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ A เมื่อกาหนด
เหตุการณ์ B” โจทย์ปัญหาในลักษณะเช่นนี้ ได้แก่

1) โยนลูกเต๋ า 1 ลูก 1 ครั้ง ถ้าทราบว่าลูกเต๋ าขึ้นเลขคี่ จงหาค่าความน่าจะเป็ นที่ลูกเต๋ าได้


แต้มมากกว่า 2
2) กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสี แดง 3 ลูก สี ขาว 4 ลูก สุ่ มหยิบมา 2 ลูก โดยหยิบทีละลูกและ
ไม่ใส่ คืน ถ้าหยิบครั้งแรกได้สีขาว จงหาความน่าจะเป็ นที่ครั้งที่สองยังคงได้สีขาว
3) ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 3 คน ถ้าทราบว่าบุตรคนแรกเป็ นชาย จงหาความน่าจะเป็ นที่
บุตรคนสุ ดท้ายเป็ นชายด้วย
4) โยนเหรี ยญ 1 อัน 2 ครั้ง ถ้าครั้งแรกขึ้นหัว จงหาความน่าจะเป็ นที่ครั้งที่ 2 ขึ้นก้อย

กาหนดให้ A และ B เป็ นเหตุการณ์ใด ๆ ในแซมเปิ ลสเปซ S ความน่าจะเป็ นของ


เหตุการณ์ A เมื่อกาหนดเหตุการณ์ B เขียนแทนด้วย P(A I B) และนิยามได้ ดังนี้
P(A I B) = P(A B) หรื อ P(A I B) = n(A  B)
P(B) n(B)

ตัวอย่ างที่ 9 โยนลูกเต๋ า 1 ลูก 1 ครั้ง จงหาความน่าจะเป็ นที่ลูกเต๋ าขึ้นแต้มมากว่า 2


ถ้าทราบแล้วว่าลูกเต๋ าขึ้นแต้มคี่
วิธีทา S = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
A = ลูกเต๋ าขึ้นแต้มมากกว่า 2 = {3, 4, 5, 6}
B = ลูกเต๋ าขั้นแต้มคี่ = {1, 3, 5}
AB = {3, 5}
P(A I B) = P(A B)
P(B)
2
= 6
3
= 2 x 6 = 2 ตอบ
6 3 3
6
ตัวอย่ างที่ 10 ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 3 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่ครอบครัวนี้มีบุตรชาย
2 คน
หลังจากทราบแล้วว่า บุตรคนแรกเป็ นชาย
วิธีทา S = {ชชช, ชชญ, ชญช, ชญญ, ญชช, ญชญ, ญญช, ญญญ}
A = ได้บุตรชายคนแรกเป็ นชาย = {ชชช, ชชญ, ชญช, ชญญ}
B = ได้บุตรชาย 2 คน = {ชชญ, ชญช, ญชช}
AB = {ชชญ, ชญช}
P(A  B) = 2 , P(A) = 4
8 8
2
 P(A I B) = P(A B) = 8 = 2 x 8 = 1 ตอบ
P(A) 4 8 4 2
8

ตัวอย่ างที่ 11 ไพ่สารับหนึ่งมี 52 ใบ หยิบมา 2 ใบ โดยหยิบทีละใบแล้วไม่ใส่ คืน


จงหาความน่าจะเป็ นที่จะหยิบไพ่ใบที่ 2 เป็ นสี ดา เมื่อทราบแล้วว่า
ใบแรกก็เป็ นสี ดา (ได้สีดาทั้ง 2 ใบ)
วิธีทา A คือ เหตุการณ์ที่ได้ไพ่ใบแรกเป็ นสี ดา (โพดา, ดอกจิก)
n(A) = 26 C1 = 26
 P(A) = 26
52
B คือ เหตุการณ์ที่ได้ไพ่ใบที่ 2 เป็ นสี ดา หลังจากทราบแล้วว่าใบแรกเป็ นสี ดา
n (B I A) = 25 C1 = 25
 P(B I A) = 25
51
A  B คือ เหตุการณ์ที่ได้ไพ่ท้ งั 2 ใบ เป็ นสี ดา
P(B I A) = P(A B)
P(A)
 P(A  B) = P(A) . P(B I A) = 25 . 25 = 25 ตอบ
52 51 102

4.5 เหตุการณ์ ทเี่ ป็ นอิสระต่ อกัน (Independent events)


เหตุการณ์สองเหตุการณ์ใดที่เป็ นอิสระต่อกัน หมายถึง เมื่อเกิดเหตุการณ์หนึ่งขึ้นแล้ว จะ
ไม่มีผลกระทบกับอีกเหตุการณ์หนึ่ง เช่น โยนลูกเต๋ า 1 ลูก 2 ครั้ง ซึ่งในการโยนครั้งแรกจะได้
แต้มขึ้นหน้าอะไรก็ตาม จะไม่มีผลกระทบต่อการโยนครั้งที่สองซึ่งสามารถเกิดได้ทุกหน้า
เช่นกัน

ให้ A และ B คือ เหตุการณ์สองเหตุการณ์ใด ๆ


เหตุการณ์ A และเหตุการณ์ B เป็ นอิสระต่อกันก็ต่อเมื่อ
P(A  B) = P(A) . P(B)

ตัวอย่ างที่ 12 โยนลูกเต๋ า 1 ลูก 2 ครั้ง


ให้ A เป็ นเหตุการณ์ที่ครั้งแรกได้แต้มคู่
B เป็ นเหตุการณ์ที่ครั้งที่ 2 ได้แต้ม 3
จงแสดงว่าเหตุการณ์ A และเหตุการณ์ B เป็ นอิสระต่อกัน

วิธีทา A = เหตุการณ์ที่ครั้งแรกได้แต้มคู่
= {21, 22, 23, 24, 25, 26, 41, 42, 43, 44, 45, 46, 61, 62, 63, 64,
65, 66}
B = เหตุการณ์ที่ครั้งที่ 2 ได้แต้ม 3
= {13, 23, 33, 43, 53, 63}
(A  B) = {23, 43, 63}
 P(A) = 18 = 1
36 2
P(B) = 6 = 1
36 6
P(A  B) = 3 = 1
36 12
 P(A) . P(B) = 1 . 1 = 1
2 6 12
ดังนั้น P(A  B) = P(A) . P(B)
นัน่ คือ เหตุการณ์ A และเหตุการณ์ B เป็ นอิสระต่อกัน

ตัวอย่ างที่ 13 กล่องใบที่ 1 มีลูกแก้วสี แดง 4 ลูก สี ขาว 5 ลูก กล่องใบที่ 2 มีลูกแก้วสี แดง 3 ลูก
สี ขาว 4 ลูก สุ่ มหยิบมา 2 ลูก กล่องละ 1 ลูก จงหาความน่าจะเป็ นที่
1) ได้ลูกแก้วสี แดงทั้ง 2 ลูก
2) ได้ลูกแก้วสี ขาวทั้ง 2 ลูก
3) ได้สีแดงกล่องที่ 1 และสี ขาวกล่องที่ 2
4) ได้สีแดง 1 ลูก และสี ขาว 1 ลูก

วิธีทา ให้ A = เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี แดงกล่องที่ 1, P(A) = 4


9
A’ = เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี ขาวกล่องที่ 1, P(A’) = 5
9
B = เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี แดงกล่องที่ 2, P(B) = 3
7
B’ = เหตุการณ์ที่ได้ลูกแก้วสี ขาวกล่องที่ 2, P(B’) = 4
7

1) ความน่าจะเป็ นที่ได้ลูกแก้วสี แดงทั้ง 2 ลูก


 P(A  B) = P(A) . P(B) = 4 . 3 = 4
3 7 21
2) ความน่าจะเป็ นที่ได้ลูกแก้วสี ขาวทั้ง 2 ลูก
 P(A’  B’) = P(A’) . P(B’) = 5 . 4 = 20
9 7 63
3) ความน่าจะเป็ นที่จะได้สีแดงกล่องที่ 1 และสี ขาวกล่องที่ 2
 P(A  B’) = P(A) . P(B’) = 4 . 4 = 16
9 7 63
4) ความน่าจะเป็ นที่ได้สีแดง 1 ลูก และสี ขาว 1 ลูก
 P(A  B’) + P(A’  B) = P(A) . P(B’) + P(A’) . P(B)
= 4 . 4 + 5 . 3 = 16 + 16 = 31
9 7 9 7 63 63 63

ตัวอย่ างที่ 14 จากการสารวจครอบครัวที่มีบุตร 3 คน สุ่ มมา 1 ครอบครัว จงหาความน่าจะเป็ นที่


1) ได้ลูกสาวทั้ง 3 คน
2) ได้ลูกสาวคนแรก ลูกชายคนที่ 2 คนสุ ดท้ายชายหรื อหญิงก็ได้
3) ได้ลูกสาวคนเดียว
วิธีทา ให้ A เป็ นเหตุการณ์ที่ได้ลูกสาวคนแรก, A’ เป็ นเหตุการณ์ที่ได้ลูกชายคนแรก
B เป็ นเหตุการณ์ที่ได้ลูกสาวคนที่ 2, B’ เป็ นเหตุการณ์ที่ได้ลูกชายคนที่ 2
C เป็ นเหตุการณ์ที่ได้ลูกสาวคนที่ 3, C’ เป็ นเหตุการณ์ที่ได้ลูกชายคนที่ 3

1) ความน่าจะเป็ นที่ได้ลูกสาวทั้ง 3 คน
 P(A  B  C) = 1 . 1 . 1 = 1
2 2 2 8
2) ความน่าจะเป็ นที่ได้ลูกสาวคนที่ 2
P(A  B  C) + P(A  B  C’) + P(A’  B  C) + P(A’  B  C’)
= 1 . 1 .1 + 1 . 1 .1 + 1 . 1 .1 + 1 . 1 .1
2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
= 1 + 1 + 1 + 1 = 4 = 1
8 8 8 8 8 2
3) ความน่าจะเป็ นที่ได้ลูกสาวคนเดียว
P(A  B’  C’) + P(A’  B  C’) + P(A’  B’  C)
= 1 + 1 + 1 = 3 ตอบ
8 8 8 8

บทที่ 4 พืน้ ทีใ่ ต้ เส้ นโค้ งปกติ


ในการศึกษาข้อมูลทางสถิติวา่ ด้วยการนาเสนอข้อมูลโดยใช้กราฟแสดงการแจกแจง
ความถี่ของข้อมูล อันได้แก่ ฮีสโตแกรม (Histogram) รู ปหลายเหลี่ยมของความถี่ (
Feqieney Polygon ) และเส้นโค้งของความถี่ (F) ซึ่งแต่ล่ะวิธีเป็ นการแสดงให้เห็นการกระจาย
ของข้อมูลชัดเจนขึ้นและลักษณะของกราฟจะแสดงให้เห็นจานวนข้อมูลที่อยูภ่ ายใต้เส้นกราฟอยู่
เหนือแกนนอนทาให้ผสู ้ นใจศึกษาทราบค่าของข้อมูล
สาหรับเส้นโค้งแสดงความถี่ของข้อมูลอาจมีลกั ษณะต่างๆ แตกต่างกันตามการแจกแจง
หาข้อมูลโดยอาจแบ่งออกเป็ นลักษณะใหญ่ 3 ลักษณะดังนี้
1. เส้นโค้งปกติ หรื อเส้นโค้งระฆังควา่ (Normal curve) เป็ นเส้นโค้งที่ได้จากข้อมูลที่มี
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ( u หรื อ x ) ค่ามัธยฐาน ( Median ) เพราะค่าฐานนิยม ( Mode ) มี
ค่าเท่ากันเพราะอยูท่ ี่จุดเดียวกัน ณ จุดที่มีค่าความถี่สูงสุ ด คือจุดสิ้ งสุ ดของเส้นโค้ง
ฉากมาตั้งฉากกับแกนนอนตามรู ป ก.

(µ)
Median
Mode
2. เส้นโค้งเบ้ทางบวก (positively skewed curve) เป็ นเส้นโค้งของข้อมูลที่มี > mediam
> mode ( บางทีเรี ยกว่าเส้นโค้งลาดทางบวก ) แสดงเส้นโค้งดังรู ป ข.

3. เส้นโค้งเบ้ทางซ้าย (Negatively skewed curve) เป็ นเส้นโค้งของข้อมูลที่มี


mode > mediam > x (บางทีเรี ยกว่าเส้นโค้งลาดทางลบ) แสดงเส้นโค้งได้ดงั รู ป
ค.
1. เส้ นโค้ งปกติ ( Normal curve )
ในการศึกษาดังข้อมูลต่างๆที่เราสนใจ เช่น คะแนนสอบ ส่ วนสู ง น้ าหนัก รายได้ของ
ครอบครัว อายุการใช้งานของเครื่ องใช้ไฟฟ้ า, เครื่ องจักร ฯลฯ โดยทัว่ ไปเขาจะสันนิษฐานว่าการ
แจกแจงของสิ่ งเหล่านี้ในธรรมชาติจะมีการแจกแจงของกราฟเป็ นเส้นโค้งปกติ นัน่ คือ มี
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน และฐานนิยมเท่ากัน โดยมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ( µ ) และส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ( ) ของข้อมูลแต่ล่ะจุด แสดงได้ตามตัวอย่างเป็ นรู ปภาพดังนี้
กรณีที่ 1 ข้อมูล 2 ชุดใดๆที่มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตไม่เท่ากัน (µ1≠µ2) แต่มีค่าส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากัน ( 1 = 2) จะสามารถแสดงสัญลักษณ์ของกราฟเส้นโค้งได้ดงั นี้

จากภาพจะเห็นได้วา่ กราฟทั้ง 2 เส้นจะมีขนาดความสู ง ความกว้างของเส้นกราฟขนาด


เดียวกันแต่ตาแหน่งของจุดสู งสุ ดของกราฟจะอยูค่ นล่ะตาแหน่งกัน ซึ่งตามรู ป µ2 อยูท่ างขวา
ของ µ1 แสดงว่า µ1<µ2
กรณีที่ 2 ข้อมูลสองชุดใดๆ ที่มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากัน ( µ1 = µ2 ) แต่ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานไม่เท่ากัน ( 1 ≠ 2 ) จะสามารถแสดงสัญลักษณ์ของกราฟเส้นโค้งได้ดงั นี้
µ1
µ2
จากภาพจะเห็นได้วา่ เส้นกราฟ 2 เส้นจะมีจุดสู งสุ ดของกราฟอยู่ ณ จุดเดียวกันแสดง
ดังนี้ µ1 = µ2 แต่เส้นกราฟ µ1 มีส่วนเบี่ยงเบน ๑1 จะผอม สู ง ฐานแคบ ส่ วนเส้นกราฟ µ2 มีส่วน
เบี่ยงเบน ๑2 จะต่าแต่ฐานกว้าง แสดงให้เห็นว่า 1 ≠ 2 และ 1< 2
กรณีที่ 3 ข้อมูล 2 ชุดใดๆ ที่มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตไม่เท่ากับ ( µ1 ≠ µ2 ) และส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานก็ไม่เท่ากับ ( 1 ≠ 2 ) จะสามารถเขียนกราฟแสดงลักษณะของโค้งได้ดงั นี้

µ1 µ2

จากรู ป แสดงให้เห็นว่าเส้นกราฟทั้ง 2 เส้นกอยูค่ นละตาแหน่งกัน และมีความสู งต่าไม่


เท่ากัน ความกว้างของบานกราฟก็ไม่เท่ากัน สรุ ปได้วา่ µ1 ≠ µ2 โดย µ1 < µ2 และ 1 ≠ 2
สมบัติทสี่ าคัญของเส้ นโค้ งปกติมดี ังนี้
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐานและฐานนิยมจะมีค่าเท่ากันและอยู่ ณ จุดที่ลากเส้นตรงจาก
สู งสุ ดของโค้งไปตั้งฉากกับแกนนอน
2. ลักษณะของเส้นโค้งเป็ นรู ปสมการโดยมีเส้นตรงที่ลากจากจุดสู งสุ ดของโค้งไปตั้งฉาก
กับแกนนอน เป็ นแกนสมมาตร
3. ปลายทั้งสองด้านของกราฟเส้นโค้งจะค่อยๆ ลาดเข้าสู่ แกนนอนแต่ไม่สัมผัสแกนนอน
ซึ่งตามทฤษฏีแล้วปลายโค้งทั้งสองจะพบแกนนอนที่จุด α และ –α
4. พื้นที่หรื อความน่าจะเป็ นภายใต้เส้นโค้งทั้งหมดมีค่าเท่ากับ 1 หรื อ 100% โดยแบ่งอยู่
ทางซ้าย 0.5% หรื อ 50% และทางขวา 0.5% หรื อ 50% และจะแบ่งเป็ นสัดส่ วน
โดยประมาณได้ดงั นี้
1. อยูร่ ะหว่าง µ ± ประมาณ 68.3%
2. อยูร่ ะหว่าง µ ± 2 ประมาณ 95.4%
3. อยูร่ ะหว่าง µ ± 3 ประมาณ 99.7%

ดังแสดงพื้นที่ดงั รู ป

จากรู ปจะเห็นได้วา่ พื้นที่ในส่ วนที่บอกอาณาเขต µ + 3๙ และ µ - 3๙ จะน้อยมาก


( ประมาณ 0.3% ) ซึ่งทางปฏิบตั ิจะตัด

2. การหาพืน้ ทีภ่ ายใต้ เส้ นโค้ งปกติ


ในการหาพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติระหว่างค่า x ใดๆ 2 ค่า สามารถคานวณได้จากการ ใช้
ความรู ้จากวิชาแคลคูลสั เกี่ยวกับเรื่ องอินทิเกรด หาพื้นที่จาก x1 ถึง x2 ในสมการของเส้นโค้ง
ปกติซ่ ึงสมการของเส้นโค้งปกติมีรูปสมการทัว่ ไปดังนี้

y = f(x) = *e - ; -α< x < α


เมื่อ
y หรื อ f ( x ) คือความสู งของเส้นโค้งปกติ ณ จุด x ใดๆ
x คือค่าของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติ -α< x < α
µ คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของประชากร
คือค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร
มีค่าประมาณ 22/7 หรื อประมาณ 3.14
e มีค่าประมาณ 2.718
พื้นที่ภายใต้เส้นโค้งจาก x1 ถึง x2 ซึ่งคือพื้นที่แรงเงาดังรู ป

ซึ่งพื้นที่จาก x1 ถึง x2 สามารถคานวณได้จาก


*e- dx
จะเห็นได้วา่ เมื่อทราบค่า x1, x2, และ จะสามารถคานวณหาค่าพื้นที่ใต้โค้งได้ แต่
ทั้งนี้ตอ้ งมีความรู ้เกี่ยวกับการอินทิเกรดด้วย ซึ่งค่อนข้างจะยุง่ ยากและเสี ยเวลา โดยเฉพาะกับผูท้ ี่
ไม่มีความรู ้หรื อไม่ชอบคณิ ตศาสตร์ จึงมีผคู ้ ิดค้นตารางสาเร็จรู ปในการคานวณหาค่าหาค่าพื้นที่
ภายใต้เส้นโค้งปกติข้ ึน เพื่อใช้ห าพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติไว้อย่างง่ายๆ โดยไม่ตอ้ งใช้ความรู ้
คณิ ตศาสตร์ช้ นั สู งมาใช้
จากพื้นฐานที่วา่ พื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติมีค่าเท่ากับ 1 หรื อ 100% ดังนั้นพื้นที่ภายใต้เส้นโค้ง
ปกติอยูร่ ะหว่า x1เพราะ x2 ใดๆ คือค่าความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ที่สุ่มได้ ข้อมูล ที่มีค่าอยู่
ระหว่างค่า x1 คือ x2 นั้น นัน่ คือพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งจาก
x1 ถึง x2 = P ( x1 < x < x2 )

2.1 การหาพืน้ ทีภ่ ายใต้ เส้ นโค้ งปกติโดยใช้ ตารางสาเร็จรู ป กรณี ขอ้ มูลที่กาหนดให้มีการ
แจกแจงปกติแบบมาตรฐาน ข้อมูลที่มีการแจกแจงเส้นโค้งปกติโดยมีค่าเฉลี่ย (µ) เท่ากับ 0 11-2
มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) เท่ากับ 1 เราจะเรี ยกเส้นโค้งปกติน้ ีวา่ เป็ นเส้นโค้งปกติมาตรฐาน
( Standard normal cuser ) และเรี ยกการแจกแจงของข้อมูลว่าการแจกแจงปกติมาตรฐาน () ซึงจะ
มีนกั สถิติและนักคณิ ตศาสตร์สร้างตารางสาเร็จรู ป z ใช้สาหรับหาพื้นที่ใต้โค้ง สามารถหาพื้นที่
จาก z = 0 ( ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ) ดัง z = 3.90 ( ค่าของข้อมูลที่เป็ นบวก ) แต่เนื่องจากเส้นโค้ง
ปกติเป็ นรู ปสมมาตรดังนั้น การหาค่าของพื้นที่ในส่ วนของข้อมูลที่มีค่าเป็ นลบ สามารถหาได้
โดยใช้ตารางด้านบวกแทน เช่น พื้นที่จาก z = 0 ถึง z = 1 จะเท่ากับ 0.3413 ซึ่งจะเท่ากับ
พื้นที่จาก z = -1 ถึง z = 0 ซึ่งแสดงได้รูป
จากการเปิ ดตารางจะได้เท่ากับ 0.3413
ดังนั้นพื้นที่จาก Z = -1 ถึง Z = 0 จะได้
พื้นที่เท่ากับ 0.3413
0.3413 Z = 0 ถึง Z = 1

Z = -1 Z = 0 Z = 1
ตัวอย่างที่ 1 จงหาพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานแสดงความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ตาม
เงื่อนไขต่อไปนี้
1.1 พื้นที่ระหว่าง z = 0 ถึง z = 1.25
1.2 พื้นที่ระหว่าง -1.5 ≤ z ≤ 0
1.3 พื้นที่ระหว่าง -0.72 ≤ z ≤ 2.50
1.4 พื้นที่ระหว่าง 1.00 ≤ z ≤ 2.00
1.5 พื้นที่ระหว่าง -2.12 ≤ z ≤ -0.70
1.6 พื้นที่ระหว่าง z ≥ 1.37
1.7 พื้นที่ระหว่าง z ≤ -0.45
1.8 พื้นที่ระหว่าง z ≥ -1.52
1.9 พื้นที่ระหว่าง z ≤ 2.48
1.10 พื้นที่ระหว่าง z ≥ 1.00 และ z ≤ -2.00

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่า z เมื่อกาหนดพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานตามเงื่อนไขต่อไปนี้


2.1 พื้นที่ระหว่าง z = 0 ถึง z1 เท่ากับ 0.2995
2.2 พื้นที่ระหว่าง z = -1.05 ถึง z1 เท่ากับ 0.8506
2.3 พื้นที่ระหว่าง z = 1.23 ถึง z1 เท่ากับ 0.1066
2.4 พื้นที่ที่มากกว่า z1 เท่ากับ 0.1685
2.5 พื้นที่ที่นอ้ ยกว่า z1 เท่ากับ 0.0129
2.6 จากรู ปพื้นที่แรงเงาทั้งหมด เท่ากับ 0.0261

พท. = 2A พท. = A

Z1 Z2

วิธีทา 1.1
พื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานระหว่าง z = 0 ถึง z = 1.25 คือพื้นที่ที่แรงเงาดังรู ป

จากตารางพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานจะได้ = 0.3944
นัน่ คือ พื้นที่ภายใต้เส้นโค้งระหว่าง 0 ≤ Z ≤ 1.25 = 0.3944 หรื อ ความน่าจะเป็ นของ
เหตุการณ์ที่สุ่มหยับข้อมูลมา 1 ตัว แล้วจะได้ขอ้ มูลที่อยูร่ ะหว่าง Z = 0 ถึง Z = 1.25
คือ 0.3994 ดังนั้นพื้นที่ใต้โค้งระหว่าง
0 ≤ Z ≤ 1.25 = P ( 0 ≤ Z ≤ 1.25 ) = 0.3944 หรื อ 39.44%

วิธีทา 1.2
1.50 Z = 0
พื้นที่แรงเงา คือพื้นที่ระหว่าง Z = -1.50 ถึง Z = 0 จากตารางหาพื้นที่ใต้โค้งสาเร็จรู ปจะได้
พื้นที่ใต้โค้ง
-1.50 ≤ Z ≤ 0 = P ( -1.50 ≤ Z ≤ 0 ) = P (0 ≤ Z ≤ 1.50 )
= 0.4332 = 43.32%
ดังนั้นพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งระหว่าง -1.50 ≤ Z ≤ 0 = P ( -1.50 ≤ Z ≤ 0 )
= 0.4332 หรื อ 43.32%
วิธีทา 1.3
พื้นที่ระหว่าง -0.72 ≤ z ≤ 2.50

-0.72 Z = 0 2.50

พื้นที่ -0.72 ≤ z ≤ 2.50 = P ( -0.72 ≤ z ≤ 2.50 )


= P ( -0.72 ≤ z ≤ 2.50 ) + P ( 0 ≤ z ≤ 2.50 )
= 0.2642 + 0.4938
= 0.7580
ดังนั้นพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานระหว่าง -0.72 ≤ z ≤ 2.50 มีค่าเท่ากับ 0.7580 หรื อ 75.80%
หรื อ P ( -0.72 ≤ z ≤ 2.50 ) = 0.7580 หรื อ 75.80%
วิธีทา 1.4 พื้นที่ระหว่าง 1.00 ≤ z ≤ 2.00

Z = 0 1.00 2.00
พื้นที่ 1.00 ≤ z ≤ 2.00 = P (1.00 ≤ z ≤ 2.00 )
= P ( 0 ≤ z ≤ 2.00 ) + P ( 0 ≤ z ≤ 1.00 )
= 0.4772 + 0.3413
= 0.1359
ดังนั้นพื้นที่ 1.00 ≤ z ≤ 2.00 = P (1.00 ≤ z ≤ 2.00 ) = 0.1359 หรื อ 13.59%

วิธีทา 1.5 พื้นที่ระหว่าง -2.12 ≤ Z ≤ -0.70

-2.12 -0.70

พื้นที่ -2.12 ≤ Z ≤ -0.70 = P ( -2.12 ≤ Z ≤ -0.70 )


= P ( -2.12 ≤ Z ≤ 0 ) - P ( 0.70 ≤ Z ≤ 0 )
= 0.4830 – 0.2580
= 0.2250
ดังนั้นพื้นที่ -2.12 ≤ Z ≤ -0.70 = P ( -2.12 ≤ Z ≤ -0.70 ) = 0.2250 = 22.50%

วิธีทา 1.6 พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานที่ Z = 1.37


Z=0 1.37
พื้นที่ Z ≥ 1.37 = P ( Z ≥ 1.37 )
= 0.5000 - P ( 0 ≤ Z ≤ 1.37 )
= 0.5000 – 0.4147
= 0.0853
ดังนั้นพื้นที่ที่ Z = 1.37 = P ( Z ≥ 1.37 ) = 0.0853 = 8.53%

วิธีทา 1.7 พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานที่ Z ≤ -0.45

-0.45 Z=0

พื้นที่ Z ≤ -0.45 = P ( Z ≤ -0.45 )


= 0.5000 - P ( -0.45 ≤ Z ≤ 0 )
= 0.5000 – 0.1736
= 0.3264
ดั้งนั้นพื้นที่ Z ≤ -0.45 = P ( Z ≤ -0.45 ) = 0.3264 = 32.64%

วิธีทา 1.8 พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน Z ≥ -1.52


พื้นที่ Z ≤ -0.45 = P ( Z ≥ -1.52 )
= P ( -1.50 ≤ Z ≤ 0 ) + ( 0 ≤ Z ≤ α )
= 0.4332 + 0.5
= 0.9332
ดั้งนั้นพื้นที่ Z ≤ -1.50 = P (Z ≥ -1.50 ) = 0.9332 = 93.32%

วิธีทา 1.9 พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน Z ≤ 2.48

Z=0 2.48

พื้นที่ Z ≤ -0.45 = P ( Z ≥ 2.48 )


= 0.5000 + P ( 0 ≤ Z ≤ 2.48 )
= 0.5000 + 0.4934
= 0.9934
ดั้งนั้นพื้นที่ Z ≤ 2.48 = P ( Z ≤ 2.48 ) = 0.9934 = 99.34%

วิธีทา 1.10 พื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน Z ≥ 1.00 และ z ≤ -2.00


-2.00 Z=0 1.00
พื้นที่ Z ≥ 1.00 และ z ≤ -2.00 = P ( Z ≥ 1.00 ) + P ( 0 ≤ Z ≤ -2.00 )
= -0.5 - P ( 0 ≤ Z ≤ 1.00 ) + 0.5 - P (-2.00 ≤ Z ≤ 1.00 )
= ( 0.5 – 0.3413 ) + ( 0.5 – 0.4772 )
= 0.1587 + 0.0228
= 0.1815
ดั้งนั้นพื้นที่ Z ≥ 1.00 และ z ≤ -2.00 = P ( Z ≥ 1.00 และ ≤ Z ≤ -2.00 )
= 0.1815 = 18.15%
วิธีทา 2.1 กาหนดพื้นที่ระหว่าง Z = 0 ถึง Z1 เท่ากับ 0.2995
จะเขียนรู ปได้ดงั นี้

Z = 0 Z1

จากรู ปพื้นที่แรงเงาจาก Z = 0 ถึง Z = Z1 เท่ากับ 0.2995


นัน่ คือ P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.2995
จากตารางหาพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน = P ( 0 ≤ Z ≤ 0.84 )
นัน่ คือ Z1 = 0.84
ดังนั้น เมื่อกาหนดพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานจาก Z = 0 ถึง Z เท่ากับ 0.2995 จะสามารถ
คานวณค่า Z1 จากตารางได้เท่ากับ 0.84
วิธีทา 2.2 กาหนดพื้นที่ระหว่าง Z = -1.05 ถึง Z1 เท่ากับ 0.8506 จะเขียนรู ปได้ดงั นี้

-1.05 Z = 0 Z1
จากรู ปพื้นที่แรงเงาจาก Z = -1.05 ถึง Z1 เท่ากับ 0.8506
นัน่ คือ P ( -1.05 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.8506
แต่ P ( -1.05 ≤ Z ≤ Z1) = P (-1.05 ≤ Z ≤ 0) + P ( 0 ≤ Z ≤ Z1)
จากตารางเปิ ดหาพื้นที่จะได้ = 0.3531 + P ( 0 ≤ Z ≤ Z1)
ดังนั้น 0.3531 + P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.8506
P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.8506 – 0.3531
P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.4975
จากตารางจะได้ = P ( 0 ≤ Z ≤ 2.81 )
นัน่ คือ Z1 = 2.81
ดังนั้น เมื่อกาหนดพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานจาก Z ≥ -1.05 ถึง Z1 เท่ากับ
0.8506 จะสามารถคานวณค่า Z1 ได้เท่ากับ 2.81

วิธีทา 2.3 กาหนดพื้นที่ระหว่าง Z = 1.23 ถึง Z1 เท่ากับ 0.1066


จะเขียนรู ปได้ดงั นี้
Z = 0 1.23 Z1
นัน่ คือ P ( 1.23 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.1066
แต่ P ( 1.23≤ Z ≤ Z1 ) = P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) - P ( 0 ≤ Z ≤ 1.23 )
ดังนั้น P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) - 0.3907 = 0.1066
P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.1066 + 0.3907
= 0.4973
จากตารางจะได้ = P ( 0 ≤ Z ≤ 2.78 )
นัน่ คือ Z1 = 2.78
ดังนั้นเมื่อกาหนดพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐานระหว่าง Z = 1.23 ถึง Z1 เท่ากับ 0.1066 จะสามารถ
คานวณค่า Z1 ได้เท่ากับ 2.78

วิธีทา 2.4 กาหนดพื้นที่มากกว่า Z1 เท่ากับ 0.1685


จะเขียนรู ปได้ดงั นี้

Z1

จากรู ปพื้นที่แรงเงาคือพื้นที่ที่ Z ≥ Z1 เท่ากับ 0.1685


นัน่ คือ P ( Z ≥ Z1 ) = 0.1685
P ( Z ≥ Z1 ) = 0.5 - P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 )
ดังนั้น 0.5- P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.1685
ดังนั้น ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.5 – 0.1685
= 0.3315
จากตารางจะได้ P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = P ( 0 ≤ Z ≤ 0.96 )
นัน่ คือ Z1 = 0.96
ดังนั้นเมื่อกาหนดพื้นที่ที่มากกว่า Z1 มีค่าเท่ากับ 0.1685 จะสามารถคานวณค่า Z1 ได้
เท่ากับ 0.96

วิธีทา 2.5 กาหนดพื้นที่นอ้ ยกว่า Z1 เท่ากับ 0.0129 จะเขียนรู ปได้ดงั นี้

Z1 Z=0
จากรู ปพื้นที่แรงเงาคือ Z ≤ Z1 เท่ากับ 0.0129
นัน่ คือ P ( 0 ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.0129
= 0.5 - P ( Z1 ≤ Z ≤ 0 )
ดังนั้น 0.0129 = 0.5 - P ( Z1 ≤ Z ≤ 0 )
P ( Z1 ≤ Z ≤ 0 ) = 0.5 – 0.0129
= 0.4871
จากตารางจะได้ = P ( -2.71 ≤ Z ≤ 0 )
นัน่ คือ Z1 = -2.71
ดังนั้นเมื่อกาหนดพื้นที่ที่นอ้ ยกว่า Z1 มีค่าเท่ากับ 0.0129 จะสามารถคานวณค่า Z1 ได้
เท่ากับ -2.71

วิธีทา 2.6 กาหนดพื้นที่แรงเงาดังรู ป มีพ้นื ที่เท่ากับ 0.0261 จะเขียนรู ปได้ดงั นี้

Z1 Z2
จากรู ปพื้นที่แรงเงา 2A + A = 0.0261
3A = 0.0261
ดังนั้น 2A = 0.0174 และ A = 0.0087
นัน่ คือ P ( ≤ Z ≤ Z1 ) = 0.0174
= 0.5 - P ( Z1 ≤ Z ≤ 0 )
P ( Z1 ≤ Z ≤ 0 ) = 0.4826
= P ( -2.11 ≤ Z ≤ 0 )
นัน่ คือ Z1 = -2.11
และ P ( Z ≥ Z2 ) = 0.0087
= 0.5 - P ( 0 ≤ Z ≤ Z2 )
ดังนั้น P ( 0 ≤ Z ≤ Z2 ) = 0.4913
นัน่ คือ Z2 = 2.38

2.2 การหาพืน้ ทีภ่ ายใต้ เส้ นโค้ งปกติ โดยใช้ตารางสาเร็จรู ป Z กรณี ขอ้ มูลที่กาหนดให้มี
การแจกแจงปกติไม่ใช่การแจกแจงปกติแบบมาตรฐาน
ในกรณี น้ ีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลจะไม่เท่ากับ 0 ( µ ≠ 0 ) และส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของข้อมูลจะไม่เท่ากับ 1 ( ) ซึ่งไม่สามารถคานวณหาพื้นที่จากตาราง
สาเร็จรู ป Z ได้ จาเป็ นจะต้องเปลี่ยนข้อมูลดังกล่าวให้เป็ นข้อมูลมาตรฐานก่อน (Standard curve)
โดยใช้สูตร

=
โดยที่ คือ ค่ามาตรฐานของข้อมูลตัวที่ i
คือ ค่าของข้อมูลตัวที่ i
µ คือ ค่าเฉลี่ยของข้อมูล
คือ ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
หมายเหตุ เพราะข้ อสั งเกต
1. ข้อมูลที่นามาเปลี่ยนเป็ นค่ามาตรฐานเป็ นข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติ
2. ค่ามาตรฐานไม่มีหน่วย
3. ค่ามาตรฐานที่ได้จะมี µ = 0 ; = 1
4. ค่ามาตรฐานจะเป็ นบวกเมื่อข้อมูลเดิมมีค่ามากกว่าค่าเฉลี่ยและจะเป็ นลบเมื่อข้อมูลเดิมมี
ค่าน้อยกว่าค่าเฉลี่ย
5. การหาจานวนข้อมูลที่อยูร่ ะหว่าง x1 ถึง x2 จะมีจานวนข้อมูลเท่ากับพื้นที่จาก Z1 ถึง Z2
6. ขั้นตอนการหาจานวนข้อมูลที่อยูร่ ะหว่าง x1 – x2 มีดงั นี้
1. เปลี่ยนค่าข้อมูล x1 และ x2 เป็ นค่ามาตรฐาน Z1 และ Z2 ตามลาดับ
2. คานวณหาค่าพื้นที่จาก Z1 ถึง Z2 โดยเปิ ดจากตารางสาเร็จรู ปในเปอร์เซ็นต์ ( คือ
เทียบกับจานวนข้อมูล 100 ข้อมูล )
3. พื้นที่ภายใต้โค้งปกติระหว่าง x1 ถึง x2 จะเม่ากับพื้นที่ใต้โค้งปกติมาตรฐาน
ระหว่าง Z1 ถึง Z2
4. เปลี่ยนร้อยล่ะของพื้นที่ที่คานวณได้ในข้อ 3 เป็ นจานวนข้อมูล
7. โดยทัว่ ไปค่ามาตรฐานจะมีค่าประมาณ -3.9 ถึง 3.9

ตัวอย่ างที่ 3
ข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติมีนวน 500 ข้อมูล ได้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 20 และค่าส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4 จงหาว่าข้อมูลที่มีค่าระหว่าง 16 ถึง 22 มีจานวนกี่ขอ้ มูล
วิธีทา จากโจทย์ µ = 20, = 4, X1 = 16, X2 = 22
ขั้นที่ 1 จากสู ตร =
ดังนั้น = = = -1
= = = 0.5
ขั้นที่ 2 พื้นที่จาก X1 = 16 ถึง X2 = 22 เปรี ยบเทียบได้กบั การหาพื้นที่ได้จาก Z1 = 1.00 ถึง Z2 =
0.5 ดังนี้

16 Z = 0 22 -1.00 Z = 0 0.50

จากรู ป พื้นที่จาก Z1 = 1.00 ถึง Z2 = 0.5 คือ


P (-1.00 ≤ Z ≤ 0.5 ) = P (-1.00 ≤ Z ≤ 0 ) + P (0 ≤ Z ≤ 0.5 )
= 0.3413 + 0.1915
= 0.5328
= 53.28%
ขั้นที่ 3 นัน่ คือพื้นที่ของข้อมูลที่อยูร่ ะหว่าง X1 = 16 ถึง X2 = 22 เท่ากับ 53.28%
ขั้นที่ 4 ดังนั้นจานวนข้อมูลที่มีค่าระหว่าง 16 ถึง 22 คือ = 53.28% * 500
= * 500
= 266.40
= 266 ข้อมูล
ดังนั้นข้อมูลที่มีค่าระหว่าง 16 -22 มี 266 ข้อมูล

ตัวอย่ างที่ 4 ค่าใช้จ่ายต่อวันของนักศึกษาวิทยาลัยแห่งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเลข


คณิ ตเท่ากับ 50 บาท และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 5 บาท จงหาความน่าจะเป็ นที่สุ่ม
นักศึกษามาหนึ่งคนแล้วจะมีค่าใช้จ่ายต่อวันน้อยกว่า 48 บาท
วิธีทา จากโจทย์ µ = 50 = 5 บาท X1 = 48 บาท เปลี่ยนค่าใช้จ่ายต่อวันของนักศึกษา ( X1 )
ให้เป็ นค่ามาตรฐาน Z1 จากสู ตร
=
ดังนั้น =
=
= -0.40
นักศึกษาที่มีค่าใช้จ่ายจ่ายน้อยกว่า 48 คือพื้นที่ใต้โค้งปกติที่ X ≤ 48 ซึ่งจะมีพ้นื ที่เท่ากับ พื้นที่
ใต้โค้งปกติมาตรฐานที่ Z ≤ -0.40 ซึ่งสามารถเขียนรู ปประกอบตามพื้นที่แรงเงาดังนี้

4850 -0.4 Z = 0
จากรู ปจะได้ความน่าจะเป็ นของการสุ่ มนักศึกษาแล้วได้นกั ศึกษามีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า 48 บาทจะ
เท่ากับความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์สุ่มข้อมูลแล้วได้ค่ามาตรฐานน้อยกว่า -0.4
นัน่ คือ P ( X ≤ 48 ) = P ( Z ≤ -0.4 )
จากตารางสาเร็จรู ป Z จะได้ P ( Z ≤ -0.4 ) = 0.5 - P ( -0.4 ≤ Z ≤ 0 )
= 0.5 – 0.1554
= 0.3446
= 34.46%
ดังนั้นความน่าจะเป็ นที่สุ่มเลือกนักศึกษามา 1 คนแล้วมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า 48 บาท คือ
34.46%

ตัวอย่ างที่ 5 จากการศึกษาอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ รถยนต์ยหี่ ่อหนึ่งพบว่ามีการแจกแจง


ปกติ มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุการใช้งานเท่ากับ 24 เดือน ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3
เดือน อยากทราบว่าแบตเตอร์รี่ที่มีอายุการใช้งานระหว่าง 18 เดือน ถึง 30 เดือนมีกี่เปอร์เซ็นต์
วิธีทา จากโจทย์ µ = 24 เดือน = 3 เดือน X1 = 18 เดือน X2 = 30 เดือน
เปลี่ยนค่าของข้อมูล X1 และ X2 เป็ นค่ามาตรฐาน Z1, Z2
จากสู ตร =
ดังนั้น =
=
= -2.00
=
= + 2.00
จากข้อมูลเขียนแสดงพื้นที่ที่ตอ้ งการแรงเงาได้ดงั นี้

18 24 30

-2.00 0 + 2.00

P ( 18 ≤ X ≤ 30 ) = P ( -2.00 ≤ Z ≤ +2.00 )
= P ( -2.00 ≤ Z ≤ 0 ) + P ( 0 ≤ Z ≤ 2.00 )
= 0.4772 + 0.4772
= 0.9544
= 95.44%
นัน่ คือ P ( 18 ≤ X ≤ 30 ) = 95.44%
ดังนั้นแบตเตอร์รี่ที่มีอายุการใช้งานระหว่าง 18 เดือน ถึง 30 เดือน มีค่าเท่ากับ 95.44%
บทที่ 5 การสุ่ มตัวอย่ าง
ในการพิจารณาลักษณะต่างๆ ของข้อมูล ไม่วา่ ข้อมูลนั้นจะเป็ นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มของ
คนหรื อกลุ่มของสิ่ งของต่างๆ เพื่อต้องการที่จะได้ผลสรุ ป ของลักษณะของข้อมูลที่ถูกต้อง
จะต้องศึกษาจากข้อมูลทั้งหมด แต่ถา้ ข้อมูลทั้งหมดนั้นมีขนาดใหญ่หรื อมีจานวนมาก จะทาให้
ไม่สะดวกต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล เสี ยเวลา และเสยค่าใช้จ่ายสู งเป็ นต้น ดังนั้น จึงจาเป็ นต้อง
เลือกข้อมูลมาเป็ นบางส่ วนเพื่อเป็ นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดที่จะศึกษา และผลสรุ ปจะถูกต้อง
มากน้อยเพียงไร ขึ้นอยูก่ บั ข้อมูลที่เลือกมาเป็ นตัวแทนที่ดีของข้อมูลทั้งหมดหรื อไม่ เรี ยกวิธีการ
ที่จะเลือกข้อมูลมาเพื่อศึกษาว่า การสุ่ มตัวอย่าง (Random sampling)
6.1 ประชากรและตัวอย่ าง
ประชากร ( population) คือข้อมูลทั้งหมดที่ตอ้ งการจะศึกษา ไม่วา่ ข้อมูลนั้น จะเกี่ยวข้องกับ
คน สัตว์ หรื อสิ่ งของต่างๆ เช่น ต้องการศึกษาเกี่ยวกับรายได้ท้ งั หมดของคนที่มีภูมิลาเนาใน
จังหวัดนนทบุรี ดังนั้น ประชากรคือ จานวนคนทั้งหมดในจังหวัดนนทบุรี ถ้าต้องการศึกษา
เกี่ยวกับคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ระดับ ปวส . ของวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ดังนั้นประชากรคือ
คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ระดับ ปวส. ทั้งหมด ของนักศึกษาระดับ ปวส. ในวิทยาลัยนั้น
ประชากรแบ่งเป็ น 2 ชนิดคือ
1) ประชากรทีม่ จี านวนจากัด (finite population) คือประชากรที่สามารถนับจานวนได้อย่าง
แน่นอน เช่ น เครื่ องพิมพ์ดีดทั้งหมดของวิทยาลัยแห่งหนึ่ง คะแนนสอบปลายภาควิชา
คณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนระดับ ม .3 ของโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง อายุของพนักงานในโรงงาน
โชคดี ความสู งของนักเรี ยนระดับ ป .6 ของโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง เป็ นต้น จานวนหน่วยของ
ประชากร แหนด้วยสัญลักษณ์ N เช่น ต้องการศึ กษาอายุของพนักงานในโรงงานโชคดี
ซึ่งมี 315 คนดังนั้น ขนาดของประชากร (N) เท่ากับ 315
2) ประชากรทีม่ จี านวนอนันต์ (infinite population) คือประชากรที่มีขนาดใหญ่มาก จนไม่
สามารถนับจานวนได้ เช่น จานวนเต็ม เมล็ดข้าวเปลือก 1 กระสอบ เป็ นต้น

ตัวอย่ าง (sample) คือส่ วนหนึ่งของประชากรที่เลือกมา เช่น ถ้าต้องการศึกษารายได้ของผูท้ ี่อยู่


ในจังหวัดนนทบุรี จาไม่สามารถนารายได้ของทุกคนในจังหวัดนนทบุรีมาศึกษาได้ เพราะ
เสี ยเวลาในการหา จึงเลือกสุ่ มหารายได้แต่ละอาเภอมาทาการทดสอบ 300 คนจานวนหน่วยของ
ตัวอย่างเรี ยกว่า ขนาดของตัวอย่ างแทนด้วยสัญลักษณ์ตวั n ดังนั้นขนาดของตัวอย่าง (n) เท่ากับ
300
6.2 ค่ าพารามิเตอร์ และค่ าสถิต
ค่ าพารามิเตอร์ ( parameter) คือค่าที่แสดงลักษณะหรื อผลสรุ ปของประชากร ซึ่งเป็ น
ค่าคงที่เช่นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ( µ ),ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (  ) , ความแปรปรวน (  )เป็ นต้น
2

สู ตรที่ใช้ในการคานวณค่าพารามิเตอร์ได้แก่

ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ ข้อมูลที่แจกแจงความถี่
N k
µ= x =  f x i i
i i i i

N N
n k
 2
=  (x  ) i
2
2=  f (x i i
 )2
i i i i

N N
2

=  x  
N

k

i i
i   f (x
i i
i i
)2

N N

เมื่อ x i
แทนค่าของข้อมูลที่จะศึกษาค่าที่ i
N แทนจานวนข้อมูลทั้งหมดของประชากร
f i
แทนความถี่ของข้อมูล อัตราภาคชั้นที่ i
k แทนจานวนอัตราภาคชั้น

ค่ าสถิติ(statistics) คือค่าที่แสดงลักษณะหรื อผลสรุ ปของตัวอย่างที่สุ่มมา ซึ่งเป็ นค่าที่ไม่


คงที่ ซึ่งแปรเปลี่ยนไปตามขอมูลของตัวอย่างการสุ่ มมา เช่น ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ( x ) ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (s) ความแปรปรวน ( s )สู ตรที่ใช้คานวณค่าสถิติได้แก่ 2

ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ ข้อมูลที่แจกแจงความถี่
n k
x = x i
x = f x i i
i i i i

n n
s =  x x 
2 k

s =  f (x x )
n
2 2 2
i i i
i i i i

n–l n–l
2

 x x 
k

s =  f (x
n

s = i i
i i i
i i
x) 2

n–l n–l
เมื่อ x i
แทนค่าของข้อมูลจากตัวอย่างค่าที่ i
n แทนจานวนข้อมูลทั้งหมดของตัวอย่าง
f i
แทนความถี่ของข้อมูลของอันตรภาคชั้นที่ i
k แทนจานวนอันภาคชั้น

ตัวอย่างที่ 1 คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของเด็กกลุ่มหนึ่ง จานวน 12 คน เป็ นดังนี้ 15, 18, 16,


12, 9, 14, 17, 19, 8, 10, 13, 14 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน
สอบของเด็กกลุ่มนี้
n
วิธีทา จากสู ตร    xi
i i

N
= 15 + 18 +16 + 12 + 9 + 14 + 17 + 19 + 8 + 10 + 13 + 14
12
= 13.75
ดังนั้นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบของเด็กกลุ่มนี้คือ 13.75 คะแนน

 x  
N
จากสู ตร  = i
i i

N
(1.25) 2  (4.25) 2  (2.25) 2  (1.75) 2  (4.75) 2  .....  (0.25) 2
=
12

= 135.25
 3.4
12
ดังนั้นส่ วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐานของคะแนนสอบของเด็กกลุ่มนี้ = 3.4 คะแนน
ตัวอย่างที่ 2 เลือกกลุ่มเด็กกลุ่มหนึ่งมา 10 คน ปรากฏว่ามีน้ าหนัก 45, 42, 50, 41,43, 47, 54, 49,
44 และ 45 กิโลกรัม
จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน และความแปรปรวนของน้ าหนัก
ของเด็กกลุ่มนี้
n
วิธีทา จากสู ตร x = x i
i i

N
= 45 + 42 + 50 + 41 + 43 + 47 + 54 + 49 + 44 + 45
10
= 46
ดับนั้นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของน้ าหนักเด็กกลุ่มนี้ = 46 กิโลกรัม
จากสู ตร s =2

= (-1) +(-4) +(4) +(-5) +(-3) +(1) +(8) +(3) +(-2) +(-1)
2 2 2 2 2 2 2 2 2 2

10 -1
= 16.2
 ความแปรปรวนของน้ าหนักของเด็กกลุ่มนี้ = 16.2 กิโลกรัม

 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = s = 16.2 = 4.03 กิโลกรัม

ตัวอย่างที่ 3 จากตารางแจกแจงความถี่เป็ นคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้น


ปวส.2 ของวิทยาลัยแห่งหนึ่งจานวน 1,200 คน ดังนี้

คะแนนสอบ จานวนนักศึกษา
12-15 16
16-19 52
20-23 108
24-27 290
28-31 412
32-35 226
36-39 96

1) จงหาความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2
ของวิทยาลัยนี้
2) ถ้าสุ่ มเลือกตัวอย่างคะแนนสอบของนักศึกษามา 100 คนดัง

คะแนนสอบ จานวนนักศึกษา
12-15 2
16-19 5
20-23 10
24-27 22
28-31 35
32-35 18
36-39 8

จงหาความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักศึกษาที่เลือกมาเป็ นตัวอย่างนี้
วิธีทา 1)

จานวนนักศึกษา x f x x   x   2
f (x  )2
คะแนน
i i i i

f 
i i i

12-15 16 13.5 216 -15 225 3,600


16-19 52 17.5 910 -11 121 6,292
20-23 108 21.5 2,322 -7 49 5,292
24-27 290 25.5 7,395 -3 9 2,610
28-31 412 29.5 12,154 1 1 412
32-35 226 33.5 7,571 5 25 5,650
36-39 96 37.5 3,600 9 81 7,776
1,200 34,168 31,632
k
จากสู ตร  = f x i i
i i

N
= 34,168
1,200
= 28.5
k
 =  f ( x -µ ) i i
2

i i

N
= 31,623
1,200
= 26.36
ดังนั้น ความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาวิทยาลัแห่งหนึ่ง เท่ากับ
26.36 คะแนน

2) จากตัวอย่างคะแนนสอบที่สุ่มเลือกมา

จานวน x i
f x
i i (x -x) (x -x)
i i
2
f (x -x)
i i
2

คะแนนสอบ นักศึกษา
f i

12-15 2 13.5 27 -14.8 219.04 438.08


16-19 5 17.5 87.5 -10.8 116.64 583.2
20-23 10 21.5 215 -6.8 46.24 462.4
24-27 22 25.5 561 -2.8 7.84 172.48
28-31 35 29.5 1,032.5 1.2 1.44 50.4
32-35 18 33.5 603 5.2 27.04 486.72
36-39 8 37.5 300 9.2 84.64 677.12
100 2,826 2,870.4
k
จากสู ตร x = f x i i
i i

n
= 2,826
100
= 28.3
k

s
2
=  f (x -x) i i
2

i i

n–l
= 2,870.4
99
= 22.99  29
ดังนั้น ความแปรปรวนของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาที่เลือกสุ่ มมาคือ 29
คะแนน

6.3 การสุ่ มตัวอย่ าง


ในการเลือกตัวอย่างบางส่ วนออกมาจากประชากร เพื่อจะศึกษาลักษณะต่างๆ นั้น
จะต้องมี
การกาหนดขั้นตอนในการสุ่ ม และเลือกใช้วธิ ีการสุ่ มตัวอย่างให้เหมาะสม เพราะข้อมูลที่
เป็ นตัวอย่างจะให้ค่าสถิติที่ไม่คงที่ ค่าสถิติที่ดีจะเป็ นค่าสถิติที่มีค่าใกล้เคียงกับ
ค่าพารามิเตอร์มากที่สุด

6.4 ขั้นต้ นการสุ่ มตัวอย่ าง


การสุ่ มตัวอย่าง เพื่อให้ได้ตวั อย่างที่ดีที่สุด ควรปฏิบตั ิตามขั้นตอนต่อไปนี้
1) กาหนดจุดประสงค์ของการสารวจ เพื่อจะได้ทราบว่ากาลังสารวจเกี่ยวกับเรื่ องอะไร และ
ทาเพื่ออะไร
2) กาหนดคาจากัดความของประชากรที่จะเลือกตัวอย่างที่จะศึกษาที่จะชัดเจนได้ ประชากร
ที่จะศึกษามีลกั ษณะครอบคลุมไปถึงไหน เพื่อไม่ให้มีความตีความที่แตกต่างกันออกไป
เพราะจะไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้
3) กาหนดข้อมูลสถิติที่จะทาการรวบรวม ว่าจะเก็บข้อมูลอะไรบ้าง โดยสอดคล้องกับ
จุดประสงค์ของการสารวจ และคาจากัดความของประชากรที่ต้ งั ไว้ แล้วเก็บรวบรวม
เฉพาะสิ่ งที่ตอ้ งการ
4) กาหนดวิธีการวัด และการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่แน่นอน เพราะวิธีการวัดและเก็บ
รวบรวมมีหลายวิธีซ่ ึงจะทาให้การสรุ ปผลอาจแตกต่างกันไป จึงควรเลือกวิธีการจัดและ
เก็บรวบรวมข้อมูลให้เหมาะสมและชัดเจน
5) เลือกตัวอย่างขึ้นมาเพื่อทาการสารวจ โดยกาหนดว่าควรเลือกตัวอย่าง ขนาดเท่าไร และ
ใช้วธิ ีการเลือกตัวอย่างโดยวิธีใดจึงจะเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร โดยต้องคานึงถึง
ค่าใช้จ่ายและและเวลาที่มีมาประกอบด้วย
6) เตรี ยมงานสาหรับออกแบบสารวจ โดยการอบรมพนักงานหรื อเจ้าหน้าที่ที่จะออกสารวจ
เสี ยก่อน เพื่อให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ ความหมายของคาต่างๆ ที่จะใช้ ระยะเวลาของ
การสารวจวิธีการบันทึกข้อมูล เป็ นต้น
7) วิเคราะห์และสรุ ปผลการสารวจ เมื่อได้ทาการสารวจและนาข้อมูลที่ได้มาตรวจสอบดูวา่
ถูกต้องครบถ้วนตามที่ตอ้ งการจึงนาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์และสรุ ปผล ตามหลักวิธีการ
ทางสถิติเพื่อจะนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
8) นาข้อบกพร่ องที่เกิดขึ้นในแต่ละจุด ไปใช้ปรับปรุ งแก้ไข เพื่อการสารวจในครั้งต่อไป

6.5 วิธีการสุ่ มตัวอย่ าง


วิธีการสุ่ มตัวอย่าง จากประชากรที่นิยมใช้มี 2 วิธีคือ
6.5.1 การสุ่ มตัวอย่ างชนิดไม่ ทราบโอกาสหรือความน่ าจะเป็ นทีแ่ ต่ ละหน่ วยจะถูกเลือกขึน้ มา
เป็ นตัวอย่ าง
การเลือกตัวอย่างโดยวิธีน้ ี แต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาสถูกเลือกไม่เท่ากัน หรื อ
บางหน่วยอาจไม่มีโอกาสถูกเลือกเลย การสุ่ มตัวอย่างลักษณะนี้ เช่น
1) การสุ่ มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling) เป็ นการเลือกตัวอย่างที่พบ
หน่วยของประชากรที่ตอ้ งการเก็บข้อมูลทันที เช่น ต้องการสอบถามความคิดเห็น
เกี่ยวกับการขึ้นราคาค่าโดยสารรถประจาทาง เมื่อผ่านพบใครก็สอบถามทันที
2) การสุ่ มตัวอย่างแบบเจาะจง หน่วยความที่ตอ้ งการ(purposive sampling)เป็ นการ
เลือกตัวอย่างบางหน่วยของประชากรที่ตอ้ งการศึกษา เช่น ต้องการสอบถามถึงยา
สระผมที่กลุ่มวัยรุ่ นใช้เป็ นประจาว่าใช้ยหี่ อ้ ใด ก็เลือกตัวอย่างเฉพาะกลุ่มวัยรุ่ น
เท่านั้น
3) การสุ่ มตัวอย่างกาหนดลักษณะของหน่วยที่เลือกหรื อกาหนดโควตา
(puotasampling) เป็ นการเลือกตัวอย่างโดยให้ขอ้ มูลมีการกระจายมากขึ้น เช่น
ต้องการเลือกตัวอย่างพนักงานในโรงงานแห่งหนึ่งที่มีอายุมากกว่า 40 ปี โดยแยกเพศ
ชายและเพศหญิง
การเลือกตัวอย่างโดยวิธีดงั กล่าวนี้ เป็ นที่นิยมใช้กนั มาก เพราะสะดวก ประหยัดเวลา
และเสี ยค่าใช้จ่าย แต่ขอ้ มูลที่ได้มกั จะไม่ใช่ตวั อย่างที่ดีสาหรับเป็ นตัวแทนของประชาชน
6.5.2 การสุ่ มตัวอย่ างชนิดทราบโอกาสหรือความน่ าจะเป็ นทีแ่ ต่ ละหน่ วยจะถูกเลือกขึน้ มาเป็ น
ตัวอย่ าง
การเลือกตัวอย่างวิธีน้ ีโอกาสที่แต่ละหน่วยของประชากรจะถูกเลือกขึ้นมาเป็ นตัวอย่างมี
เท่าๆ กัน การเลือกมีหลายวิธีที่นิยมใช้กนั เช่น
1) การสุ่ มตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling) อาจทาได้ดงั นี้
ก. วิธีจับฉลาก วิธีน้ ีใช้กบั ประชากรที่มีจานวนไม่มากนัก เพราะต้องเขียนชื่อหรื อ
หมายเลขที่ใช้แทนหน่วยของประชากรทั้งหมดลงในฉลาก แล้วทาการสุ่ มหยิบขึ้นมา ให้
มีจานวนเท่ากับ จานวนของตัวอย่างที่ตอ้ งการ
ข. โดยใช้ ตัวรางเลขสุ่ ม (table of random number) การสุ่ มโดยใช้ตารางเลือกสุ่ ม ทา
ได้โดยกาหนดหมายเลขให้กบั ค่าสังเกตทุกๆค่าในประชากร แล้วเลือกตัวเลขตัวแรก
อย่างสุ่ มจากตารางเลขสุ่ มซึ่งจะเริ่ มจากจานวนใดก็ได้ อาจจะหลับตัว ใช้ปลายดินสอทิ่ม
ลงไปที่ใดที่หนึ่งโดยไม่เจาะจงจากตาราง แล้วอ่านตัวเลขไปตามลาดับ อาจอ่านจากซ้าย
ไปขวา ขวาไปซ้าย ข้างล่างไปข้างบน ข้างบนไปข้างล่าง หรื อการอ่านตามเส้นทแยงก็ได้
ตารางเลขสุ่ มมีหลายตาราง เช่น ตารางเลขสุ่ มของทิปเบต (tippet) ตารางเลขสุ่ มของฟิ ช
เชอร์(fisher) และเยทส์(Yates) ตารางเลขสุ่ มของ kandall และ bakington smith เป็ นต้น
เช่น ถ้ามีประชากร 500 หน่วย ต้องการเลือกมา 50 ตัวอย่าง ได้กาหนดหมายเลขของ
ประชากรด้วย 001-499 แล้วสุ่ มตาราง 1 ตาราง เมื่อได้ตารางแล้ว หลับตาใช้ปลายดินสอ
จิม้ หมายเลข เช่นได้
09188 20097 32825 39527 04220 86304 ...
ก็จะใช้หน่วยที่
091 009 395 270 422 086 304 ...
ถ้าได้ตวั เลขไม่อยูใ่ นขอบเขตที่ตอ้ งการให้ผา่ นไป ใช้ตวั เลขใหม่จนครบ ถ้ามีตวั ซ้ ากัน
เลือกเพียงตัวเดียว จนได้ครบ 50 ตัวอย่าง
2) การสุ่ มตัวอย่างแบบมีระบบ (systematic random sampling)
การเลือกตัวอย่างโดยมีวธิ ีน้ ี เป็ นวิธีเลือกที่กาหนดหมายเลขของประชากรไว้แล้วสุ่ ม
เลือกเฉพาะหน่วยแรก หน่วยต่อ ๆ ไปจะห่างจากหน่วยเลขเป็ นระยะเท่า ๆ กัน ตามอัตราส่ วน
ของขนาดประชากรกับขนาดของตัวอย่าง สรุ ปได้ดงั นี้
(1) ให้ N แทนสมาชิกทั้งหมดของประชากร
n แทนสมาชิกของกลุ่มตัวอย่างที่ตอ้ งการหา
อัตราส่ วนของขนาดประชากรกับขนาดของตัวอย่างแทนด้วย k
 N = k
n

(2) สุ่ มหมายเลขระหว่าง 1 ถึง k มา 1 หมายเลข หมายเลขที่ได้จะเป็ นสมาชิกตัวแรก


(สมมติวา่ เป็ นตัวเลข a ) สมาชิกตัวต่อไปจะเพิม่ ทีละ k ดังนี้
a, a + k, a + 3k , … จนครบตามต้องการ
เช่น มีประชากร 1,200 หน่วย (N = 1,200) ต้องการสุ่ มตัวอย่างมา 100 หน่วย
( n = 100 ) ดังนั้น k = 1,200 = 12
100

ต่อไปสุ่ มหมายเลข 1 ถึง 12 มาหนึ่งหมาเลข สมมติได้เลข 8 ดังนั้นกลุ่ม


ตัวอย่าง 100 หน่วยได้แก่
8, 20, 32, 44, 56, 68, 80, …, 1, 196
3) การสุ่ มตัวอย่ างแบบชั้นภูมิ (stratified random sampling)
การสุ่ มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ทาได้โดยการแบ่งประชากรออกเป็ นชั้นภูมิยอ่ ย ๆ ตาม
ลักษณะของประชากรโดยให้แต่ละหน่วยของประชากรที่เหมือนกันอยูใ่ นชั้นภูมิเดียวกัน แล้วทา
การสุ่ มตัวอย่างมาแต่ละชั้นภูมิ
กาหนดให้ ขนาดของประชากรทั้งหมด แทนด้วย N
ขนาดของตัวอย่างที่ตอ้ งการ แทนด้วย n
แบ่งประชากรออกเป็ นชั้นภูมิ แต่ละชั้นประกอบด้วย N , N , N , …, N เมื่อ k
1 2 3 k
คือจานวนชั้นภูมิ และ N + N + N + … + N = N
1 2 3 k

เลือกตัวอย่างโดยที่ขนาดของตัวอย่างแต่ละชั้นภูมิเท่ากับ n , n , n , … n และ 1 2 3 k

n + n + n + … + n = n c]t
1 2 3 k

n
= n1
= n2
= n3
= … = nk
N N1 N2 N3 Nk

เช่นประชากรมีขนาด 300 คน แบ่งชั้นภูมิได้เป็ นผูม้ ีวฒ


ุ ิ ปวช. 40 คน ปวส. 60 คน
ปริ ญญาตรี 150 คน ปริ ญญาโท 50 คน ต้องการสุ่ มตัวอย่างมา 60 คน
ดั้งนั้น 60
= n1
= n2
= n3
= n4
300 40 60 150 50

จะได้ n 1 ุ ิ ปวช. ในกลุ่มตัวอย่าง คิดเป็ น 8 คน


แทนผูม้ ีวฒ
n 2 แทนผูม้ ีวฒ ุ ิ ปวส. ในกลุ่มตัวอย่าง คิดเป็ น 12 คน
n 3 แทนผูม้ ีวฒุ ิปริ ญญาตรี ในกลุ่มตัวอย่าง คิดเป็ น 30 คน
n 4 แทนผูม้ ีวฒ ุ ิปริ ญญาโท ในกลุ่มตัวอย่าง คิดเป็ น 10 คน

แสดงได้ ดังแผนภูมิ

8 คน 12 คน 30 คน 10 คน
กลุ่มตัวอย่ าง
60 คน

4) การสุ่ มตัวอย่ างแบบแบ่ งกลุ่ม ( cluster random sampling )


การเลือดตัวอย่างโดยวิธีน้ ี จะต้องแบ่งประชากรออกเป็ นกลุ่ม ๆ ก่อน โดยแต่ละ
หน่วยในกลุ่มเดียวกันมีประชากรลักษณะต่าง ๆ กัน ส่ วนแต่ละกลุ่มจะคล้ายกันมากที่สุด การสุ่ ม
ตัวอย่างจะสุ่ มเลือกมา 1 กลุ่ม เช่น มีประชากรขนาด 500 คน ประกอบด้วย
ทหาร 120 คน ตารวจ 100 คน ข้าราชการครู 200 คน พนักงานรัฐวิสาหกิจ 80 คน
ต้องการตัวอย่างขนาด 50 คน

แสดงแผนภูมกิ ารสุ่ มตัวอย่ างแบบแบ่ งกลุ่ม

แบ่งเป็ นกลุ่ม ๆละ 50 คน


กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4
ทหาร 12 คน ทหาร 12 คน ทหาร 12 คน ทหาร 12 คน
ตารวจ 10 คน ตารวจ 10 คน ตารวจ 10 คน ตารวจ 10 คน
ครู 20 คน ครู 20 คน ครู 20 คน ครู 20 คน
รัฐวิสาหกิจ 8 คน รัฐวิสาหกิจ 8 คน รัฐวิสาหกิจ 8 คน รัฐวิสาหกิจ 8 คน

สุ่ มเลือกมา 1 กลุ่ม เพื่อเป็ นตัวอย่าง


ทหาร 12 คน
ตารวจ 10 คน
5) การสุ่ มตังอย่ างแบบหลายขั้น ( ครู
multi –20stage
คน random sapling )
รัฐวิสาหกิจ 8 คน
เป็ นการสุ่ มตัวอย่างที่ทาเป็ นขั้น ๆ หลายขั้นด้วยกันโดยที่สุ่มตัวอย่างในแต่ละขั้นนั้น
อาจใช้วธิ ีใดก็ได้ กลุ่มตัวอย่างที่ได้ในขั้นสุ ดท้ายจะเป็ นตัวแทนของประชากร
นอกจากนี้การสุ่ มตังอย่างโดยวิธีการต่าง ๆ นั้น ถ้าการเลือกตัวอย่างแรกแล้วตัวอย่าง
ที่ถูกเลือกมานั้นถูกกลับใส่ คืนไปก่อนที่จะเลือกหน่วยต่อ ๆ ไปหน่ายนั้นอาจถูกเลือกขึ้นมาอีก
นัน่ คือตัวอย่างที่ถูกเลือกมาแล้วมีโอกาสที่จะถูกเลือกซ้ าได้อีก เรี ยนการสุ่ มแบบนี้วา่ การสุ่ ม
ตัวอย่างแบบแทนที่ ( sampling with replacement ) แต่ถา้ ตัวอย่างที่สุ่มขั้นมาแล้วไม้นา
กลับคืนไป ทาให้การสุ่ มครั้งต่อ ๆ ไป ไม่มีโอกาสถูกเลือกซ้ าขั้นมาอีก เรี ยกการสุ่ มแบบนี้วา่
การสุ่ มตัวอย่างแบบแทนที่ ( sampling without replacement )

6.6 การแจกแจงค่ าเฉลีย่ ทีไ่ ด้ จากตัวอย่ าง


จากประชากรขนาด N หน่าย เมื่อสุ่ มตัวอย่างขนาด n หน่ายแบบแทนที่ จานวนกลุ่ม
ทั้งหมดที่ได้จะเท่ากับ N กลุ่ม และถ้าสุ่ มแบบไม่แทนที่ จานานกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจะได้
n

เท่ากับ N! กลุ่ม และเมื่อนากลุ่มตัวอย่างมาหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ( x ) ค่าเฉลี่ยที่ได้จะ


( N  n)!
แตกต่างกันไป ซึ่ง
n

x
=
i
i i
x
n

เมื่อ x แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของตัวอย่าง


X i แทนค่าของข้อมูลจากตัวอย่างค่าที่ i
N แทนขนาดของตัวอย่าง
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของตัวอย่าง ( x ) ของแต่ละกลุ่มที่คานวณได้สามารถแจกจงความถี่
ได้
1) การแจกแจงค่าเฉลี่ยของตัวอย่างแบบแทนที่
ตัวอย่างที่ 3 กาหนดประชากรชุดที่หนึ่งประกอบด้วย 2, 3, 5, 7 และสุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ
2 แบบแทนที่ จงนาค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ( x ) ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด มาแจกแจงความถี่ในรู ป
ตาราง

วิธีทา ประชากรประกอบด้วย 2, 3, 5, 7 มีขนาดเท่ากับ 4  N = 4


สุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ 2 แบบแทนที่  n = 2
ดังนั้นจานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดที่เป็ นไปได้ = N = 4 = 16 กลุ่ม
n 2

 xi
นากลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มมาหาค่าเฉลี่ย ( X ) จากสู ตร X = i l

n
กลุ่มตัวอย่าง 16 กลุ่ม คือ (2, 2,), (2, 7), (2, 5), (2, 7), (3, 2), (3, 3), (3, 5),
(3, 7), (5, 2), (5, 3), (5, 5), (5, 7), (7, 2), (7, 3), (7, 5), (7, 7) ตามลาดับและค่าเฉลี่ย ( x )
ของกลุ่มตัวอย่างคือ 2, 2.5, 3.5, 4.5, 2.5, 3, 4, 5, 3.5, 4, 5, 6, 4.5, 5, 6, 7 และนาค่าเฉลี่ย ( x )
ของกลุ่มตัวอย่างมาสร่ างตารางแจกแจงความถี่ได้ดงั นี้

ตารางแจกแจงความถี่ของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง

ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ความถี่ ( f )
(x)
2 1
2.5 2
3 1
3.5 2
4 2
4.5 2
5 3
6 2
7 1
16

2) การแจกแจงค่าเฉลี่ยของตัวอย่างแบบไม่แทนที่

ตัวอย่ างที่ 4 กาหนดให้ประชากรชุดหนึ่งประกอบด้วย 1, 3, 5, 9 และสุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ


2 แบบไม่แทนที่ จงนาค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ( x ) ที่เป็ นไปได้ท้ งั หมด มาแจกแจงความถี่ในรู ป
ตาราง
วิธีทา ประชากรประกอบด้วย 1, 3, 5, 9 มีขนาดเท่ากับ 4  N = 4
สุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ 2 แบบ ไม่แทนที่  n = 2
ดังนั้นจานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดที่เป็ นไปได้ = 4!
= 12 กลุ่ม
(4  2)!
กลุ่มตัวอย่าง 123 กลุ่ม คือ (1, 3), (1, 5 ), (1, 9), (3, 1), (3, 5), (3, 9), (5, 1), (5, 3),
(5, 9), (9, 1), (9, 3), (9, 5) และหาค่าเฉลี่ย (X) ของตัวอย่างได้ดงั นี้ 2, 3, 5, 2, 4, 6, 3,
4, 7, 5, 6, 7 ตามลาดับ และนามาสร้างตารางแจกแจงความถี่
ตารางแจกแจงความถี่ของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง

ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (X) ความถี่ (f )


2 2
3 2
4 2
5 2
6 2
7 2
12

6.7 การหาค่ าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่ าเฉลีย่ ของตัวอย่ าง


สู ตรที่ใช้ในการคานวณ ได้แก่
N

x
ค่าเฉลี่ยของประชากร ( ) =
i
i i

(x i
)2
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  ) = i i
หรื อ
N

x ( ) 2
2
i
( ) = i i

N
k

f x
ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ( ) = (ข้อมูลแจกแจง)
i i
i i
» k

f i l
i

ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง = (  ) x

2
k


k

f (x )  f (x ) 2

 ( )
i
= หรื อ  ( ) 2
i x i i
i i i i
x k k

f f
x

i i
i i i i

(ข้อมูลแจกแจง)

หมายเหตุ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง หรื อเรี ยกว่าความคลาดเคลื่อน

มาตรฐานของค่ าเฉลีย่ ของตัวอย่ าง


1) การหาค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่างที่สุ่ม
ตัวอย่างแบบแทนที่
ตัวอย่ างที่ 5 การกาหนดให้ประชากรประกอบด้วย 3,4,7,8 สุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ2 แบบ
แทนที่ จงหา
1) ค่าเฉลี่ยของประชากร (  )
2) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  )
3) ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  x )
4) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  x )

วิธีทา 1) ค่าเฉลี่ยของประชากร (  )

x i
3 47 8
 = i 1
= = 5.5
N 4
ดังนั้นค่าเฉลี่ยของประชากร เท่ากับ 5.5
2) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  )

 (x i  i )
(3  5.5) 2  (4  5.5) 2  (7  5.5) 2  (8  5.5) 2
 = i 1
=
N 4

= 17
= 17
4 2

ดังนั้นส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  ) = 17
= 2.06
2
3) ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  x )
ประชากรประกอบด้วย 3,4,7,8 มีขนาดเท่ากับ 4(N=4) สุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ 2
( n =2) แบบแทนที่ กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นไปได้ = N =4 = 16 กลุ่ม คือ (3,3), (3,4), (3,7),
n 2

(3,8), (4,3) , (4,4) , (4,7) , (4,8) , (7,3) , (7,4), (7,7), (7,8), (8,3), (8,4), (8,7),
(8,8) และค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง ( x ) ได้แก่ 3, 3.5, 5, 5.5, 3.5, 4, 5.5, 6, 5, 5.5, 7 ,
7.5, 5.5, 6, 7.5, 8 ตามลาดับและสร้างตารางอจกแจงความถี่ได้ดงั นี้
x fi
f x i
( x   ) x   ) f (x   )
i i x i x
2
i i x
2

3 1 3 -2.5 6.25 6.25


3.5 2 7 -2 4 8
4 1 4 -1.5 2.25 2.25
5 2 10 -0.5 0.25 0.5
5.5 4 22 0 0 0
6 2 12 0.5 0.25 0.5
7 1 7 1.5 2.25 2.25
7.5 2 15 2 4 8
8 1 8 2.5 6.25 6.25
16 88 34
k

f i xi
 x = i 1
k
= 88
= 5.5
f
16
i
i 1

 ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยตัวอย่าง (  ) = 5.5 x

4) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) x

 f (x   )
k
2

= = 34
= 34
1.46
i i x
 x i l
k

 f
16 4
i
i l

 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) = x
34
 1.46
4
จากตัวอย่างจะพบว่า
 = 5.5
x
= 

x = 34
=
4 n
นั้นคือ
ถ้าประชากรขนาด N มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ  สุ่ มตัวอย่างขนาด n
แบบแทนที่ จะได้
1) ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง  =  x

2) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง  =  x
n
 2
3) ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง  2
x =
n
2) การหาค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่างที่สุ่ม
ตัวอย่างแบบไม่แทนที่

ตัวอย่ างที่ 6 การกาหนดประชากรประกอบด้วย 2, 3, 5, 7, 8 และสุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ 2 แบบ


ไม่แทนที่ จงหา
1) ค่าเฉลี่ยของประชากร (  )
2) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  )
3) ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) x

4) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) x
วิธีทา ประชากรประกอบด้วย 2,3, 5, 7, 8
1) ค่าเฉลี่ยของประชากร (  )
N

x i
235 7 8
 = i 1
= = 5
N 5
ดังนั้นค่าเฉลี่ยของประชากรเท่ากับ 5
2) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  )
2
N

 (x i  )
(2  5) 2  (3  5) 2  (5  5) 2  (7  5) 2  (8  5) 2
= i 1
=
N 5

= 26
 2.28
5

ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  ) = 26
 2.28
5
3) ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) x

ประชากรประกอบด้วย 2, 3, 5, 7, 8 และสุ่ มตัวอย่างขนาดเท่ากับ 2 แบบไม่แทนที่


( N = 5, n = 2)
กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นไปได้ = N! = 5! กลุ่มคือ (2,3), (2,5), (2,7),
( N  n)! (5  2)!
(2,8),(3,2),
(3,5), (3,7), (3,8), (5,2), (5,3), (5,7), (5,8), (7,2), (7,3), (7,5), (7,8), (8,2),
(8,3), (8,5), (8,7) ตามลาดับและค่าเฉลี่ย ( x ) ของกลุ่มตัวอย่างได้แก่ 2.5, 3.5, 4.5, 5,
2.5, 4, 5, 5.5, 3.5, 4, 6, 6.5, 4.5, 5, 6, 7.5, 5, 5.5, 6.5, 7.5 ตามลาดับ และสร้าง
ตารางแจกแจงความถี่ของค่าเฉลี่ย ( x ) ของกลุ่มตัวอย่าง ได้ดงั นี้

x f f x (x   ) (x   ) 2
f (x   ) 2
i i x i x i i x
i

2.5 2 5 -2.5 6.25 12.5


3.5 2 7 -1.5 2.25 4.5
4 2 8 -1 1 2
4.5 2 9 -0.5 0.25 0.5
5 4 20 0 0 0
5.5 2 11 0.5 0.25 0.5
6 2 12 1 1 2
6.5 2 13 1.5 2.25 4.5
7.5 2 15 2.5 6.25 12.5
20 100 39

f i xi
 x = i 1
k
= 100
=5
f
20
i
i 1

ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) = 5 x

4) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) x
k

 f (x i  x )2
x = i 1
k
i
= 39
 1.396
f
20
i
i 1

ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) เท่ากับ x
39
20
จากตัวอย่างจะพบว่า
 = 5 =
x

 N n
และ x = 39
= =
20 n N 1
นัน่ คือ
ประชากรขนาด N มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ  สุ่ มตัวอย่าง
ขนาด n แบบไม่แทนที่ จะได้
1) ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง  = x

 N n
2) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง  = x
n N 1

[ N n
2
3) ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง
n N 1
หมายเหตุ การสุ่ มตัวอย่างแบบแทนที่หรื อไม่แทนที่ ค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  )จะ
x

เท่ากับค่าเฉลี่ยของประชากร (  ) เสมอ แต่ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง


(  ) จะแตกต่างกันที่ค่าของ N  n และถ้า N มีขนาดใหญ่หรื อ n จะมีค่าน้อย
x
N 1
N n
กว่า 5% ของ N จะทาได้ มีค่าใกล้เคียง 1 และจะทาให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
N 1
ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  )
x
= 
n
ถ้าประชากรมีการแจกแจงปกติโดยที่ค่าเฉลี่ยของประชากรเท่ากับ µ และเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ  แล้ว ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ( ) จะมีการแจกแจงปกติดว้ ยและสามารถ
เปลี่ยนค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ( ) ให้เป็ นค่ามาตรฐาน (Z) โดยใช้สูตร
x
x x  x
จาก z = เป็ น z = หรื อ z = 
 x
n

และสามารถคานวณหาความน่าจะเป็ นของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ( x ) ได้โดยใช้วธิ ีการ


เดียวกับการหาพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งปกติ ดังตัวอย่าง

ตัวอย่ างที่ 7 ร้านอาหารไทยแห่งหนึ่งได้ทาการบันทึกถึงจานวนลูกค้าที่เข้ามารับประทาน


อาหารพบว่า จานวนลูกค้ามีการแจกแจงปกติโดยเฉลี่ยแล้ววันละ 400 คน ส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 80 คน ถ้าสุ่ มจานวนลูกค้ามา 12 วัน จงหาความน่าจะเป็ นที่จานวนลูกค้า
ของวันที่สุ่มตัวอย่างมา โดยเฉลี่ยแล้วน้อยกว่า 250 คน
วิธีทา ให้ x แทนจานวนลูกค้าโดยเฉลี่ยจากตัวอย่างที่สุ่ม
เมื่อค่าเฉลี่ยของลูกค้าที่เข้ามารับประทานอาหาร (  ) วันละ 400 คน
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (  ) ของลูกค้าเท่ากับ 80 คน
จานวนที่สุ่มมา 12 วัน  n = 12

= 80
= 23.09
n 12
จานวนลูกค้าที่เข้ามารับประทานอาหารต่อวันมีการแจกแจงปกติ ดังนั้นค่าเฉลี่ยของ
ลูกค้าจาก ตัวอย่าง ( x ) ย่อมมีการแจกแจงปกติดว้ ย
ถ้า x = 350 คน

x 350  400


Z = 
= = - 2.17
23.09
n

แสดงได้ดงั รู ป

350 400 -2.17 0

จากตารางที่ 1 (ภาคผนวก)
P( x < 350) = P(z < -2.17)
= P(z < 0) - P ( -2.17 < z < 0)
= 0.5 – 0.4850 = 0.015
 ความน่าจะเป็ นที่จานวนลูกค้าเฉลี่ยของวันที่สุ่มตัวอย่างมามีจานวนน้อยกว่า 350 คน

คิดเป็ น 0.015 หรื อ 1.5 %


ตัวอย่ างที่ 8 ร้านค้าย่อยจาหน่ายพัดลมแห่งหนึ่งได้สารวจยอดขายในเดือนมีนาคมของปี หนึ่ง
พบว่ายอดขายพัดลมมีการแจกแจงปกติโดยเฉลี่ยขายได้วนั ละ 60 ตัว ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
15 ตัว ถ้าสุ่ มยอดขายพัดลมในเดือนมีนาคมปี นี้มา 10 ตัว จงหาความน่าจะเป็ นที่ยอดขาย
เฉลี่ยของพัดลมของวันที่สุ่มมาที่ขายได้วนั ละ 65 ตัว ถึง 72 ตัว
วิธีทา ให้ x แทนจานวนพัดลมที่ขายได้เฉลี่ย จากตัวอย่างที่สุ่มมา
เมื่อ  = 60 และ  = 15, n = 10


 = 15
= 4.75
n 10
ยอดขายพัดลมในแต่ละวันมีการแจกแจงปกติ ดังนั้นเฉลี่ยของยอดขายพัดลม ( x ) ที่
สุ่ มมาย่อมมีการแจกแจงปกติดว้ ย
ถ้ายอดขายพัดลมเฉลี่ยของวันที่สุ่มมาขายได้วนั ละ 65 ถึง 72 ตัว

x 65  60
 Z1 = = = 1.05
 4.75
n

x 72  60
Z =
2

= = 2.53
4.75
n

แสดงได้ดงั รู ป

60 65 72 0 1.05 2.53

จากตารางที่ 1 (ภาคผนวก)
P(65 < x < 72) = P (0 < z < 2.52) - P (0 < z < 1.05)
= 0.4941 - 0.3531
= 0.141
ความน่าจะเป็ นที่ยอดขายเฉลี่ยของพัดลมของวันที่สุ่มมาขายได้ 65 ตัวถึง 72 ตัว คิดเป็ น
0.141 หรื อ 14.1 %

หมายเหตุ 1. ถ้าการสุ่ มตัวอย่างขนาด n หน่วย จากประชากรขนาด N ที่มีมีการแจกแจง


ปกติ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ  ถ้าขนาดของตัวอย่างที่สุ่มมา
มีขนาดค่าเฉลี่ยของค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) เท่ากับ  และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
x

ค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง (  ) เท่ากับ 
x
n
2. ถ้าประชากรมีการแจกแจงปกติ แต่ไม่ทราบส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ
ประชากร (  ) และตัวอย่างมีขนาดใหญ่ ( n  30 ) การคานวณอาจใช้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ของตัวอย่าง (  ) แทนส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (  )
x

ตัวอย่ างที่ 9 หลอดไฟชนิดหนึ่งผลิตโดยโรงงานแห่งหนึ่งจานวน 1,000 หลอด อายุการใช้


งานเฉลี่ย 1,200 ชัว่ โมง ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 85 ชัว่ โมง ถ้าสุ่ มตัวอย่างหลอดไฟมา 40
หลอด จงหาความน่าจะเป็ นที่อายุการใช้งานเฉลี่ยของหลอดไฟที่สุ่มมามีค่ามากกว่า 1,230
ชัว่ โมง
วิธีทา โจทย์ไม่ได้กาหนดอายุการใช้งานของหลอดไฟเป็ นการแจกแจงปกติแต่ n = 40 ( n
 30 ) มีขนาดใหญ่ จึงถือว่าอายุการใช้งานของหลอดไฟมีการแจกแจงปกติ

  = 12 ชัว่ โมง,  = 85 ชัว่ โมง, n = 40



= 85 = 13.45
n 40

จากหลอดไฟที่สุ่มมา 40 หลอด อายุการใช้งานเฉลี่ยมากกว่า 1,230 ชัว่ โมง เปลี่ยนเป็ นค่า z


x 1,230  1,200
z = =
 13.45
n
Z = 2.23

แสดงได้ดงั รู ป

1,200 1,230 0 2.23

จากตารางที่ 1 (ภาคผนวก)
P( x  1,230 ) = P( z > 2.23)
= P( z > 0) - P ( 0 < z < 2.23)
= 0.5 – 0.4871 = 0.0129

ความน่าจะเป็ นที่อายุการใช้งานเฉลี่ยของหลอดไฟที่สุ่มมา ที่มีค่ามากกว่า 1,230 ชัว่ โมง คิด


เป็ น 0.0129

You might also like