You are on page 1of 10

การทดสอบความแข็ง (Hardness test)

ความแข็ง คือ ความตานทานตอแรงกด การขัดสีและการกลึงของวัสดุ ดังนั้นการทดสอบความแข็งจึง


สามารถทําไดหลายวิธี แตในเชิงโลหะวิทยา การวัดความแข็งจะเปนการทดสอบความสามารถของโลหะในการ
ตานทานตอการแปรรูปถาวร เมื่อถูกแรงกดจากหัวกดกระทําลงบนชิ้นงานทดสอบ โดยมีวิธีในการทดสอบที่นิยมใชงาน
ดังนี้

1. Brinell Hardness Test (HB)


เปนการวัดความแข็งโดยอาศัยแรงกดคงที่กระทํากับลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งลงบนผิวชิ้นงานทดสอบ คา
ความแข็งจะคํานวณจากแรงกดที่กระทําตอหนึ่งหนวยพื้นที่ผิว โดยพื้นที่ผิวมีลักษณะเปนผิวโคง ดังนั้นสามารถคํานวณ
คาความแข็งไดตามสูตร ดังนี้

HB =

โดยที่ HB คือ คาความแข็งแบบ Brinell (kgf/mm2)


P คือ แรงกด (kgf)
D คือ เสนผานศูนยกลางของลูกบอลเหล็กกลา (mm.)
d คือ เสนผานศูนยกลางของรอยกด (mm.)

รูปที่ 1 : การทดสอบแบบ Brinell


แรงกดสําหรับการทดสอบจะอยูในชวง 500-3000 kgf และลูกบอลเหล็กกลาจะมีเสนผาศูนยกลาง 1.0 - 10
มม. โดยใชระยะเวลาในการกดประมาณ 10-15 วินาที สําหรับเหล็กหรือเหล็กกลา และ 30 วินาทีสําหรับโลหะนิ่ม (เชน
ตะกั่ว ดีบุก เปนตน) อยางไรก็ตาม เนื่องจากโลหะมีความแข็งที่แตกตางกัน หากโลหะที่ทดสอบนิ่มและใชแรงกดมาก
จะมีผลทําใหระยะที่หัวกดจมลงไปลึกมาก จนอาจเกินกวาครึ่งลูก ซึ่งจะมีผลตอการคํานวณคาความแข็งผิดพลาดได
หรือหากเลือกแรงกดนอยไปเมื่อเทียบกับขนาดของลูกบอลเหล็กกลาก็จะทําใหการแปลผลทําไดไมแมนยําเชนกัน ดังนั้น
การเลือกใชแรงกด และขนาดลูกบอลจะแตกตางกันไปดวย เพื่อปองกันขอบกพรองที่จะพบไดในการทดสอบดวยวิธี
นี้ เราสามารถพิจารณาไดจากอัตราสวน P/D2 ดังตอไปนี้
โลหะ คาความแข็งโดยประมาณ (HB) อัตราสวน P/D2
เหล็กกลาและเหล็กหลอ มากกวา 100 30
ทองแดง, ทองแดงผสม, อะลูมิเนียมผสม 30-200 10
อะลูมิเนียม 15-100 5
ดีบุก, ดีบุกผสม, ตะกั่ว, ตะกั่วผสม 3-20 1

รูปที่ 2 : ลักษณะการทดสอบแบบ Brinell ที่ไมถูกตอง


สําหรับการทดสอบเหล็กกลาชุบแข็ง หรือโลหะที่มีความแข็งสูงมากๆ จะไมสามารถทดสอบดวยลูกบอล
เหล็กกลาชุบแช็งได จะตองใชลูกบอลทังสเตนคารไบดขนาด 2.45 มม. แทนซึ่งจะใชสําหรับทดสอบวัสดุที่แข็งตั้งแต
444 ถึง 627 HB
ขอควรระวังสําหรับการวัดความแข็งดวยวิธีนี้ ไดแก
- ผิวของชิ้นงานทดสอบตองเรียบ เพื่อใหไดคาเสนผานศูนยกลางของรอยกดที่แนนอน และที่ผิวของชิ้นงาน
ทดสอบตองไมมี oxide scale หรือสิ่งแปลกปลอม นอกจากนี้การเตรียมผิวตองระวังอยางมาก โดย
หลีกเลี่ยงกรรมวิธีรอน (heating) และกรรมวิธีเย็น (cold working)
- ตองระวังตําแหนงการทดสอบโดยใหระยะหัวกดอยูหางจากขอบแตละดานของชิ้นงานอยางนอย 3 เทาของ
เสนผานศูนยกลางของลูกบอล ระยะหางของแตละรอยกดหางกันอยางนอย 3 เทาของเสนผานศูนยกลาง
ของลูกบอล และชิ้นงานตองมีความหนาอยางนอย 8 เทาของความลึกของการกด
- ควรวัดเสนผานศูนยกลางรอยกด 2 ครั้งในแนวตั้งฉากกัน แลวหาคาเฉลี่ยเพื่อนําไปคํานวณหาความแข็ง
ตอไป
การวัดความแข็งแบบ Brinell มีขอดี คือ ในการกด 1 ครั้งจะครอบคลุมหลายๆ เฟสของชิ้นงาน ทําใหไดคา
ความแข็งที่สม่ําเสมอ ซึ่งหากวัดดวยวิธีที่ใชหัวกดขนาดเล็กมาก อาจทําใหวัดไดเพียงเฟสเดียว ทําใหคาความแข็งที่
ได ไมไดเปนคาที่แสดงถึงความแข็งของทั้งวัสดุนั้น แตขอจํากัดของวิธีนี้ คือ ชิ้นงานตองมีขนาดใหญเพียงพอที่จะวัด
กับหัวกดได และไมควรวัดกับชิ้นงานที่มีรัศมีผิวโคงนอยกวา 1 นิ้ว
2. Vickers Hardness Test
เปนการวัดความแข็งโดยใชหัวกดเพชรมีลักษณะเปนปรามิดฐานสี่เหลี่ยม ที่ปลายหัวกดทํามุม 136? (เปน
มุมที่มีองศาใกลเคียงกับหัวกดลักษณะกลมมากที่สุด) เปนเวลา 10-15 วินาที คาความแข็งจะคํานวณจากแรงกดที่
กระทําตอหนึ่งหนวยพื้นที่ผิวเชนเดียวกับการทดสอบแบบ Brinell แตวิธีนี้หัวกดเปนเพชรซึ่งมีความแข็งสูงมากๆ ดังนั้น
ในการใชงานจึงสามารถวัดคาความแข็งไดตั้งแตโลหะที่นิ่มมาก (HV ประมาณ 5) จนถึงโลหะที่แข็งมากๆ (VHN
ประมาณ 1500) โดยไมตองเปลี่ยนหัวกด จะเปลี่ยนก็เฉพาะแรงกดเทานั้น โดยมีตั้งแต 1-120 kgf ขึ้นอยูกับความแข็ง
ของโลหะที่ทดสอบ ซึ่งทําใหวิธีนี้มีขอไดเปรียบกวา Brinell คือ ไมตองคํานึงถึงอัตราสวน P/D2 และขอจํากัดในดาน
ความหนาของชิ้นงานทดสองเนื่องจากหัวกดเพชรมีขนาดเล็กมาก
HV =

โดยที่ HV คือ คาความแข็งแบบ Vicker (kgf/mm2)


P คือ แรงกด (kgf)
d คือ ขนาดเสนทะแยงมุม d1 และ d2 เฉลี่ย (mm.)

รูปที่ 3 : ลักษณะรอยกดจากหัวเพชรของ Vickers Hardness Test

ขอควรระวังสําหรับการวัดความแข็งดวยวิธีนี้ ไดแก
- การเลือกใชน้ําหนักกดมีผลตอความแข็งดวย คือ ถาเลือกน้ําหนักนอยเกินไป จะไดคาความแข็งที่ผิด แต
ถาชิ้นงานนิ่มและใชน้ําหนักกดมากเกินไป อาจทําใหเกิดปญหากับหัวกดเพชรตอนคลายหัวกดได
- ผิวของชิ้นงานทดสอบตองไมมี oxide scale หรือสิ่งแปลกปลอม การเตรียมผิวของชิ้นทดสอบตองใช
ความระมัดระวังอยางมาก และหลีกเลี่ยงกรรมวิธีรอน (heating) หรือกรรมวิธีเย็น (cold working)
- ไมควรวัดความแข็งในบริเวณที่ใกลกับตําแหนงเดิม โดยควรเวนระยะหางไวไมนอยกวา 2.5 เทาของเสน
ทแยงมุมรอยกด ทั้งตามแนวแกน x และ y
- ความหนาของชิ้นงานทดสอบควรมากกวาอยางนอย 1.5 เทาของเสนทแยงมุมของรอยกด และหลังจาก
การทดสอบวัดความแข็ง ไมควรมีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ใหเห็นทางดานหลัง (อีกดานหนึ่ง) ของชิ้นงาน
ทดสอบ
- การอานคาความยาวเสนทแยงมุม จะขึ้นกับสายตาของแตละคน ดังนั้นควรใหคนใดคนหนึ่งเปนผูอานคา
วิธีทดสอบนี้ไมเปนที่นิยมในการใชงานสําหรับภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากขอจํากัดที่ทดสอบไดชา ตองมี
เตรียมผิวที่ดี เพื่อใหไดคาเสนทแยงมุมของรอยกดที่แนนอน และมีโอกาสผิดพลาดในการวัดระยะเสนผานศูนยกลางได

3. Rockwell Hardness Test


เปนวิธีวัดความแข็งของโลหะที่นิยมใชมากที่สุด โดยจะวัดความแข็งจากความลึกระยะกดที่ถูกหัวกดกดดวย
แรงคงที่ ซึ่งจะแตกตางจากแบบ Brinell และ Vicker ที่วัดจากแรงกดตอหนึ่งหนวยพื้นที่ ดังนั้นวิธีนี้จึงมีการวัดดวยกัน
หลายสเกล เพื่อใหสามารถเลือกใชวัดความแข็งไดเหมาะสมที่สุด แรงที่ใชกดมี 2 สวน คือ minor load และ major
load
Minor load เปนแรงที่ยึดหัวกดลูกบอลเหล็กชุบแข็ง หรือหัวกดเพชรไวบนผิวโลหะที่จะวัดความแข็ง
Major load เปนแรงที่มากกวา minor load และกดลงภายหลังจากให minor load กับชิ้นงาน
สําหรับมาตรฐานความแข็งแบบ Rockwell มีอยู 15 สเกล (ไมรวม superficial hardness scale) ดังแสดงใน
ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 : การวัดความแข็งแบบ Rockwell สเกลตางๆ


สเกล ประเภทหัวกด Major การใชงานทั่วไป
laod, kgf
A หัวกดเพชร (two scales- 60 ซีเมนตคารไบด, เหล็กกลาที่มีขนาดบาง และเหล็กกลาชุบแข็ง
carbide and steel) ผิวไมลึก (shallow case-hardening steel)
B ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 100 โลหะผสมของทองแดง (Copper alloys), เหล็กกลาที่ไมแข็ง
1/16 นิ้ว (1.588 มม.) มาก (soft steels), โลหะผสมของอะลูมิเนียม (aluminum
alloys) และเหล็กหลออบเหนียว (malleable iron)
C หัวกดเพชร 150 เหล็กกลา, เหล็กหลอที่มีความแข็งสูง (hard cast irons),
เหล็กหลออบเหนียวชนิดเพอรริติก, ไทเทเนียม, เหล็กกลาชุบ
แข็งที่ผิวลึก และวัสดุอื่นๆ ที่มีความแข็งมากกวา 100 HRB
D หัวกดเพชร 100 เหล็กกล า ที่ มีข นาดบาง และเหล็ก กลา ชุบ แข็ง ที่ผิว และ
เหล็กหลออบเหนียวชนิดเพอรริติก
E ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 100 เหล็กหลอ, โลหะผสมของอะลูมิเนียม โลหะผสมของ
1/8 นิ้ว (3.175มม.) แมกนีเซียม และโลหะสําหรับผลิตแบริ่ง
F ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 60 โลหะผสมของทองแดงที่ผานการอบออน และโลหะแผนบางที่ไม
1/16 นิ้ว (1.588 มม.) แข็ง
G ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 150 บรอนซผสมฟอสฟอรัส (Phosphor bronze), โลหะผสม
1/16 นิ้ว (1.588 มม.) ทองแดง-เบอริเลียม (beryllium copper), เหล็กหลออบเหนียว.
โดยความแข็งสูงสุดที่วัดไดจะตองไมเกิน 92 HRG เพื่อปองกัน
หัวกดเสียหาย
H ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 60
อะลูมิเนียม, สังกะสี และตะกั่ว
1/8 นิ้ว (3.175 มม.)
K ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 150 โลหะสําหรับผลิตแบริ่ง และวัสดุอื่นๆ ที่บางและนิ่ม โดยเลือกใช
1/8 นิ้ว (3.175 มม.) ลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งขนาดเล็กและใชแรงกดสูงเพื่อปองกัน
ผลของ anvil effect
L ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 60 โลหะสําหรับผลิตแบริ่ง และวัสดุอื่นๆ ที่บางและนิ่ม โดยเลือกใช
1/4 นิ้ว (6.350 มม.) ลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งขนาดเล็กและใชแรงกดสูงเพื่อปองกัน
ผลของ anvil effect
M ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 100 โลหะสําหรับผลิตแบริ่ง และวัสดุอื่นๆ ที่บางและนิ่ม โดยเลือกใช
1/4 นิ้ว (6.350 มม.) ลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งขนาดเล็กและใชแรงกดสูงเพื่อปองกัน
ผลของ anvil effect
P ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 150 โลหะสําหรับผลิตแบริ่ง และวัสดุอื่นๆ ที่บางและนิ่ม โดยเลือกใช
สเกล ประเภทหัวกด Major การใชงานทั่วไป
laod, kgf
1/4 นิ้ว (6.350 มม.) ลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งขนาดเล็กและใชแรงกดสูงเพื่อปองกัน
ผลของ anvil effect
R ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 60 โลหะสําหรับผลิตแบริ่ง และวัสดุอื่นๆ ที่บางและนิ่ม โดยเลือกใช
1/2 นิ้ว (12.70 มม.) ลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งขนาดเล็กและใชแรงกดสูงเพื่อปองกัน
ผลของ anvil effect
S ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 100 โลหะสําหรับผลิตแบริ่ง และวัสดุอื่นๆ ที่บางและนิ่ม โดยเลือกใช
1/2 นิ้ว (12.70 มม.) ลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งขนาดเล็กและใชแรงกดสูงเพื่อปองกัน
ผลของ anvil effect
V ลู ก บอลเหล็ ก กล า ชุ บ แข็ ง 150 โลหะสําหรับผลิตแบริ่ง และวัสดุอื่นๆ ที่บางและนิ่ม โดยเลือกใช
1/2 นิ้ว (12.70 มม.) ลูกบอลเหล็กกลาชุบแข็งขนาดเล็กและใชแรงกดสูงเพื่อปองกัน
ผลของ anvil effect
คาความแข็งจะแสดงเปน 2 สวน คือ ตัวเลขคาความแข็งที่วัดได และสัญลักษณของสเกลที่ใชวัด (แสดงถึง
ลักษณะหัวกดที่ใชวัด คา และmajor load) ตัวอยาง เชน 64.0 HRC หมายความคา ตัวเลขความแข็งที่อานไดเทากับ
64.0 ดวยการวัดแบบ Rockwell สเกล C ที่ใชหัดกดเพชร และมีคา major load เทากับ 100 kgf
สวนใหญการทดสอบเหล็กกลา และวัสดุอื่นๆ จะใชเปน Rockwell สเกล C และ B อยางไรก็ตาม เนื่องจาก
ไมไดมีการกําหนดสเกลที่ชัดเจน ดังนั้นจึงควรพิจารณาถึงปจจัยอื่นๆ ดวย เพื่อใหเลือกใชสเกลไดเหมาะสมที่สุด ซึ่ง
ปจจัยตางๆ ที่ตองคํานึงถึง ไดแก
? ชนิดของวัสดุ โดยทั่วไปผลการทดสอบที่ดีที่สุด ไดจากการใชแรงกดสูงที่สุดเทาที่ชิ้นงานทดสอบจะ
สามารถรับได และจากตารางที่ 1 จะบอกไดวาวัสดุที่ทดสอบควรใชสเกลแบบไหน เชน วัสดุแข็ง เชน
เหล็กกลา หรือทังสเตนคารไบด จะตองใชสเกล A, C, D เทานั้น
? ความหนาของชิ้นงานทดสอบ ควรมากกวาความลึกของรอยกดอยางนอย 10 เทา เพื่อใหไดคาความ
แข็งที่ถูกตอง ซึ่งการวัดความลึกรอยกด แบงไดเปน 2 สวน ดังนี้
- ความลึกรอยกด = (100 - คาความแข็งที่วัดได) x 0.002 สําหรับหัวกดเพชร
- ความลึกรอยกด = (130 - คาความแข็งที่วัดได) x 0.002 สําหรับหัวกดบอล
นอกจากนี้ภายหลังการทดสอบจะตองไมมีรอยนูนเกิดขึ้นทางดานหลังของชิ้นงานทดสอบดวย
? รูปรางของชิ้นงานทดสอบ และตําแหนงในการวัด
- ชิ้นงานรูปทรงยาว จะตองติดตั้งแทนรองรับเพื่อใหมั่นใจไดวา ผิวทดสอบที่ทําการวัดความ
แข็งตั้งฉากกับแนวกดของหัวกด
- ชิ้นงานทรงกระบอก การวัดคาความแข็งใหถูกตองจะตองใชคา correction factor ชวยปรับ
คาความแข็งที่อานได เนื่องจากในการวัดความแข็งของผิวนูน (convex) หักกดจะกดลงไป
ลึกมากกวาปกติ ดังนั้นคาที่อานไดจะนอยกวาความเปนจริง ดังนั้นคา correction factor
(ตารางที่ 2) จะถูกบวกเขาไปเมื่อวัดความแข็งกับผิวชิ้นงานทรงกระบอก นอกจากนี้ในการ
วัดความแข็งชิ้นงานทรงกระบอกจะตองใชแทนตัววี (V anvil) เพื่อชวยรองรับชิ้นงานทดสอบ
ใหอยูนิ่งกับที่
ตารางที่ 2 : คา Correction factors สําหรับการวัดความแข็งชิ้นงานทรงกระบอก
Correction factors สําหรับชิ้นงานทดสอบที่มีเสนผานศูนยกลางเทากับ
คาความ 6.350 มม. 9.525 มม. 12.700 15.875 19.050 22.225 25.400
แข็งที่อาน มม. มม. มม. มม. มม.
ได (0.250 (0.375 นิ้ว)
นิ้ว) (0.500 นิ้ว) (0.625 นิ้ว) (0.750 นิ้ว) (0.875 นิ้ว) (1.000 นิ้ว)
การทดสอบความแข็ง ดวยลูกบอล 1/16 นิ้ว (1.588 มม.) (Rockwell สเกล B, F และ G)
0 * * * * 4.5 3.5 3.0
10 * * * 5.0 4.0 3.5 3.0
20 * * * 4.5 4.0 3.5 3.0
30 * * 5.0 4.5 3.5 3.0 2.5
40 * * 4.5 4.0 3.0 2.5 2.5
50 * * 4.0 3.5 3.0 2.5 2.0
60 * 5.0 3.5 3.0 2.5 2.0 2.0
70 * 4.0 3.0 2.5 2.0 2.0 1.5
80 5.0 3.5 2.5 2.0 1.5 1.5 1.5
90 4.0 3.0 2.0 1.5 1.5 1.5 1.0
100 3.5 2.5 1.5 1.5 1.0 1.0 0.5
การทดสอบความแข็ง ดวยหัวกดเพชร (Rockwell สเกล C, D และ A)
20 * * * 2.5 2.0 1.5 1.5
30 * * 2.5 2.0 1.5 1.5 1.0
40 * 2.5 2.0 1.5 1.0 1.0 1.0
50 2.5 2.0 1.5 1.0 1.0 0.5 0.5
60 1.5 1.0 1.0 0.5 0.5 0.5 0.5
70 1.0 1.0 0.5 0.5 0.5 - -
80 0.5 0.5 0.5 - - - -
หมายเหตุ : * เปน correction factor ที่เกิน 5.0 (สําหรับ Rockwell สเกล B, F และ G) และ 3.0 (สําหรับ Rockwell
สเกล C, D และ A) ซึ่งไมเปนที่ยอมรับ จึงไมรวมอยูในตาราง
- การวัดความแข็งผิว ดานใน (เชน ดานในของวงแหวน) สวนใหญจะใชหัวกดแบบ
gooseneck adapter
- ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของรอยกด กับขอบของชิ้นงานทดสอบควรมากกวา 2.5
เทาของเสนผานศูนยกลางรอยกด และไมควรวัดความแข็งในบริเวณที่ใกลกับตําแหนงเดิม
โดยควรเวนระยะหางไวไมนอยกวา 4 เทาของเสนผานศูนยกลางรอยกด
ตารางที่ 3 : เปรียบเทียบคาความแข็งตามวิธีตางๆ
BRINELL VICKERS
ROCKWELL SUPERFICIAL ROCKWELL OR FIRTH TENSILE
10 m/m Ball
DIAMOND STRENGTH
Diamond Brale 1/16" Ball "N" Brale Penetrater 3000 kgm Load HARDNESS
150 60 kgf 15 kg Dia. Of Ball NUMBER Equivalent
100 kgf 100 kgf B 30 kg 45 kg Load Hardness
kgf C A Load 15 Impression 1000 lb. Sq.
D Scale Scale Load 30N 45N Number
Scale Scale N in m/m In.
80 92 87 97 92 87 1865
79 92 86 92 87 1787
78 91 85 96 91 86 1710
77 91 84 91 85 1633
76 90 83 96 90 84 1556
75 90 83 89 83 1478
74 89 82 95 89 82 1400
73 89 81 88 81 1323
72 88 80 95 87 80 1245
71 87 80 87 79 1160
70 87 79 94 86 78 1076
69 86 78 94 85 77 1004
68 86 77 85 79 942
67 85 76 93 84 75 894
66 85 76 93 83 73 854
65 84 75 92 82 72 2.25 745 820
64 84 74 81 74 2.30 710 789
63 83 73 92 80 70 2.30 710 763
62 83 73 91 79 69 2.35 682 746
61 82 72 91 79 68 2.35 682 720
60 81 71 90 78 67 2.40 653 697
59 81 70 90 77 66 2.45 627 674 326
BRINELL VICKERS
ROCKWELL SUPERFICIAL ROCKWELL OR FIRTH TENSILE
10 m/m Ball
DIAMOND STRENGTH
Diamond Brale 1/16" Ball "N" Brale Penetrater 3000 kgm Load HARDNESS
150 60 kgf 15 kg Dia. Of Ball NUMBER Equivalent
100 kgf 100 kgf B 30 kg 45 kg Load Hardness
kgf C A Load 15 Impression 1000 lb. Sq.
D Scale Scale Load 30N 45N Number
Scale Scale N in m/m In.
58 80 69 89 76 65 2.55 578 653 315
57 80 69 89 75 63 2.55 578 633 304
56 79 68 88 74 62 2.60 555 613 294
55 79 67 88 73 61 2.60 555 595 287
54 78 66 87 72 60 2.65 534 577 279
53 77 65 87 71 59 2.70 514 560 269
52 77 65 86 70 57 2.75 495 544 261
51 76 64 86 69 56 2.75 495 528 254
50 76 63 86 69 55 2.80 477 513 245
49 75 62 85 68 54 2.85 461 498 238
48 75 61 85 67 53 2.90 444 484 232
47 74 61 84 66 51 2.90 444 471 225
46 73 60 84 65 50 2.95 432 458 219
45 73 59 83 64 49 3.00 415 446 211
44 73 59 83 63 48 3.00 415 434 206
43 72 58 82 62 47 3.05 401 423 202
42 72 57 82 61 46 3.10 388 412 198
41 71 56 81 60 44 3.10 388 402 191
40 70 55 80 60 43 3.15 375 392 185
39 70 55 80 59 42 3.20 363 382 181
38 69 54 79 58 41 3.25 352 372 176
37 69 53 109 79 57 40 3.30 341 363 171
36 68 52 109 78 56 39 3.35 331 354 168
BRINELL VICKERS
ROCKWELL SUPERFICIAL ROCKWELL OR FIRTH TENSILE
10 m/m Ball
DIAMOND STRENGTH
Diamond Brale 1/16" Ball "N" Brale Penetrater 3000 kgm Load HARDNESS
150 60 kgf 15 kg Dia. Of Ball NUMBER Equivalent
100 kgf 100 kgf B 30 kg 45 kg Load Hardness
kgf C A Load 15 Impression 1000 lb. Sq.
D Scale Scale Load 30N 45N Number
Scale Scale N in m/m In.
35 68 52 108 78 55 37 3.35 331 345 163
34 67 51 108 77 54 36 3.40 321 336 159
33 67 50 107 77 53 38 3.45 311 327 154
32 66 49 106 76 52 34 3.50 302 318 150
31 66 48 106 76 51 33 3.55 293 310 146
30 65 48 105 75 50 32 3.60 285 302 142
29 65 47 104 75 50 30 3.65 277 294 138
28 64 46 103 74 49 29 3.70 269 286 134
27 64 45 103 73 48 28 3.75 262 279 131
26 63 45 102 73 47 27 3.80 255 272 126
25 63 44 101 72 46 26 3.80 255 266 124
24 62 43 100 72 45 24 3.85 248 260 122
23 62 42 99 71 44 23 3.90 241 254 118
22 62 42 99 71 43 22 3.95 235 248 116
21 61 41 98 70 42 21 4.00 229 243 113
20 61 40 97 69 42 20 4.05 23 238 111
18 95 4.10 217 230 107
16 94 4.15 212 222 102
14 92 4.25 203 213 98
12 90 4.35 192 204 92
10 89 4.40 187 195 90
8 87 4.50 179 187 87
6 85 4.60 170 180 83
BRINELL VICKERS
ROCKWELL SUPERFICIAL ROCKWELL OR FIRTH TENSILE
10 m/m Ball
DIAMOND STRENGTH
Diamond Brale 1/16" Ball "N" Brale Penetrater 3000 kgm Load HARDNESS
150 60 kgf 15 kg Dia. Of Ball NUMBER Equivalent
100 kgf 100 kgf B 30 kg 45 kg Load Hardness
kgf C A Load 15 Impression 1000 lb. Sq.
D Scale Scale Load 30N 45N Number
Scale Scale N in m/m In.
4 84 4.65 166 173 79
2 82 4.80 156 166 77
0 81 4.80 156 160 74
79 4.90 149 156 73
77 5.00 143 150 70
74 5.10 137 143 67
72 5.20 131 137 65
70 5.30 126 132 62
68 5.40 121 127 60
65 5.50 116 122 58
5.60 112 117 56

ที่มา : สถาบันเหล็กและเหล็กกลาแหงประเทศไทย

You might also like