You are on page 1of 100

กลวิธกี ารแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกนั เป็นภาษาไทย

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

โดย
นางสาวศุภวรรณ ทองวัน

การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
ภาควิชาภาษาตะวันตก
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปีการศึกษา 2555
ลิขสิทธิข์ องบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริกนั เป็ นภาษาไทย

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

โดย
นางสาวศุภวรรณ ทองวัน

การค้ นคว้าอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชาภาษาและการสื่ อสารระหว่างวัฒนธรรม
ภาควิชาภาษาตะวันตก
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2555
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
TRANSLATING AMERICAN COMEDY FILM TITLES INTO THAI:
STRATEGIES AND ANALYSIS

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

By
Miss Supawan Thongwan

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree
Master of Arts Program in Language and Intercultural Communication
Department of Western Languages
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2012
Copyright of Graduate School, Silpakorn University
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมตั ิให้การค้นคว้าอิสระเรื่ อง “ กลวิธีการแปลชื่อ
ภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทย ” เสนอโดย นางสาวศุภวรรณ ทองวัน เป็ นส่ วนหนึ่งของ
การศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและการสื่ อสารระหว่าง
วัฒนธรรม

……...........................................................
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย

ส วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารย์ที่ปรึ กษาการค้นคว้าอิสระ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จารุ วรรณ จริ นทรานนท์

คณะกรรมการตรวจสอบการค้นคว้าอิสระ

.................................................... ประธานกรรมการ
(อาจารย์พรสวรรค์ ตรี พาสัย)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จารุ วรรณ จริ นทรานนท์)
............/......................../..............
52113321: สาขาวิชาภาษาและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม
คาสาคัญ : ชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน/กลวิธีการเเปล
ศุภวรรณ ทองวัน : กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันเป็นภาษาไทย. อาจารย์ที่
ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ : ผศ.ดร.จารุวรรณ จรินทรานนท์. 89 หน้า.

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
เป็นภาษาไทย โดยวิเคราะห์ชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันจานวน 98 เรื่อง ที่เข้าฉายในโรงภาพยนตร์
ไทยระหว่างปี พ.ศ. 2551-2553 ใช้ทฤษฎีสโคโปส (Skopos Theory) และเพิ่มเติมเงื่อนไขเกี่ยวกับ

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
การแปลโดยอ้างอิงจากงานวิจัย การแปลชื่อภาพยนตร์ต่างประเทศแนวสยองขวัญ ของเบญจรัตน์


วิทยาเทพ (2550) และการถ่ายทอดสารจากชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษของภาพยนตร์อเมริกันเป็น
ภาษาไทย ของธีรารัตน์ บุญกองแสน (2543) ในการวิเคราะห์ และทาการเก็บแบบสอบถามผู้ชม
ภาพยนตร์จานวน 100 คน และสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ตอบแบบถาม จานวน 5 คน เพื่อนามาใช้ประกอบ
ในการศึกษาครั้งนี้
ผลวิจัยพบว่า ผู้แปลใช้กลวิธีในการแปล 10 วิธีด้วยกัน ดังนี้ 1) การแปลโดย ทับ
ศัพท์ทั้งหมดไม่มีเสริมความภาษาไทย 2) การแปลโดยทับศัพท์ทั้งหมดและเสริมความภาษาไทย 3)
การแปลโดยทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย 4) การแปลโดยทับศัพท์บางส่วน และไม่
เสริมความภาษาไทย 5) การแปลตรงตัวทั้งข้อความไม่มีเสริมความภาษาไทย 6) การแปล ตรงตัวทั้ง
ข้อความและเสริมความภาษาไทย 7) การแปลบางส่วนและเสริมความภาษาไทย 8) การแปล
บางส่วน ทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย 9) ตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม 10)
ตั้งชื่อใหม่โดยใช้คาที่มีเค้าความหมายเดิม
กลวิธีที่ผู้แปลนิยมใช้มากที่สุดคือ กลวิธีการแปลโดยตั้งชื่อใหม่ โดยไม่เกี่ยวข้อง
กับ ชื่อ เดิ ม ซึ่ งผลดั ง กล่ าวไม่ ส อดคล้ องกั บ ผลจากการสารวจแบบสอบถามที่พ บว่ า ชื่ อแปล
ภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่แปลโดยกลวิธีการแปลแบบแปลตรงตัวทั้งข้อความและขยายความด้วย
ภาษาไทยเป็นกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ที่มีการถ่ายทอดความหมาย สื่อความหมายเนื้อเรื่อง และ
ชวนให้น่าติดตามมากที่สุด

ภาควิชาภาษาตะวันตก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร


ลายมือชื่อนักศึกษา........................................ ปีการศึกษา 2555
ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ........................................


52113321: MAJOR: (LANGUAGE AND INTERCULTURAL COMMUNICATION)
KEY WORD: AMERICAN COMERDY FILM TITLES/TRANSLATION STRATEGY
SUPAWAN THONGWAN: TRANSLATING AMERICAN COMEDY FILM TITLES INTO
THAI: STRATEGIES AND ANALYSIS. INDEPENDENT STUDY ADVISOR: ASST.PROF.
JARUWAN CHARINTRANONT. 89 pp.

The objectives of this study are to analyze naming strategies of American Comedy
Film Titles in Thai Languages. Ninety-Eight American comedy films screens during
2009-2011 were analyzed, basing on the translation theory by Skopos (1977). More
techniques of Benjarat Vittayathep (2010) and Thirarath Boonkongsean (2000) are applicable
to the analysis as well.

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
The analysis was divided into two parts. In the first part, the researcher focused on



the classification of each title by identifying and explaining the main translation technique
employed. It was found that ten main strategies were applied,namely, 1) renaming by
theme-based translation without repeating of words in original titles, 2) unduly free translation,
3) transliteration of the original English titles with addition of sub-titles, 4) transliteration of the
original English titles without addition of sub-titles, 5) partial transliteration of the original
English title with addition of sub-titles, 6) partial transliteration of the original English title
without addition of sub-titles, 7) partial direct transliteration and partial transliteration of the
original English title with additional meaning in Thai language, 8) word-by word translation,
9) direct translation from English titles with addition of titles and 10) partial translation from
English titles with addition of titles

In the second part, 10 titles are selected to be outstanding examples of each


technique and are then presented in questionnaires which were distributed to 100
respondents in order to find out the technique(s) that can attract readers the most and five
respondents were interviewed to obtain more data for the study.

The completed questionnaires revealed more in-depth finding than expected.


Renaming by theme-based translation without repeating of words in original title, partial direct
translation of original titles with additional meaning in Thai language, and transliteration of
original English titles with addition of titles are the most frequently used techniques in title
translation while the most impressive title, according to the respondents, was one that used
the direct translation from English titles with addition of the titles.

Department of Western Languages Graduate School, Silpakorn University


Student's signature ........................................ Academic Year 2012
Independent Study Advisor's signature ........................................


กิตติกรรมประกาศ

งานค้นคว้าอิสระฉบับนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดว้ ยความกรุ ณาและความช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก


ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. จารุ วรรณ จริ ณทรานนท์ อาจารย์ที่ปรึ กษางานค้นคว้าอิสระ ผูใ้ ห้ความรู้และ
แนวคิดที่เป็ นประโยชน์ ผูใ้ ห้ความเอาใจใส่ ดว้ ยความอดทนและเมตตา ตลอดจนให้คาแนะนา และ
กาลังใจอันทรงคุณค่าแก่ผวู ้ ิจยั ความรู้ความสามารถและการสอนของอาจารย์ประทับใจผูว้ ิจยั อย่าง
ยิง่ ผูว้ จิ ยั รู ้สึกโชคดีที่ได้อยูใ่ นความดูแลของอาจารย์ และซาบซึ้ งในความกรุ ณาของอาจารย์เสมอมา

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
จึงขอกราบขอบพระคุณอาจารย์เป็ นอย่างสู งมา ณ ที่น้ ี


ผูว้ ิจ ยั ขอกราบขอบพระคุ ณ อาจารย์พ รสวรรค์ ตรี พาสัย ที่ ไ ด้กรุ ณามาเป็ นประธาน
กรรมการสอบงานค้นคว้าอิ สระ และชี้ ข ้อบกพร่ องและให้คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ ทาให้งาน
ค้นคว้าอิสระฉบับนี้ สมบูรณ์ย่งิ ขึ้น และขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ภาควิชาภาษาและการสื่ อสาร
ระหว่ า งวัฒ นธรรม คณะโบราณคดี ทุ ก ท่ า น ที่ ไ ด้ป ระสิ ท ธิ์ ประสาทวิ ช าความรู้ อ ัน มี ค่ า และ
มีประโยชน์ต่อผูว้ จิ ยั ทั้งในการทางานค้นคว้าอิสระและการประกอบอาชีพในอนาคต
ผูว้ จิ ยั ขอกราบขอบพระคุณพี่ๆทีมงานนิตยสาร ENTERTAIN พี่ต้ มั พัฒนะ จิรวงศ์ และ
ป้ อม ที่ให้ความช่ วยเหลื อและคาแนะนาในการค้นคว้าข้อมูลเกี่ ยวกับภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั และ
ขอขอบคุณกลุ่มตัวอย่างทุกท่านที่กรุ ณาสละเวลา และให้ความร่ วมมือในการให้ขอ้ มูลอันมีค่ายิ่งต่อ
การค้นคว้าอิสระฉบับนี้
ผูว้ ิจยั ขอขอบคุ ณพี่ๆเพื่อนๆน้องๆ ภาควิชาภาษาและการสื่ อสารระหว่างวัฒนธรรม
ที่คอยถามไถ่และให้กาลังใจผูว้ จิ ยั เสมอมาทาให้ผวู้ ิจยั รู้สึกมีความสุ ขตลอดการศึกษาในรั้วศิลปากร
แห่งนี้
ท้ายที่สุด ผูว้ ิจยั ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อสมคิด คุณแม่สกุลทิพย์ คุณป้ าถนอมศรี
น้าจิตรและผูม้ ีพระคุณทุกท่าน ผูเ้ ป็ นพลังและกาลังใจอันสาคัญยิง่ ที่สาคัญงานค้นคว้าอิสระฉบับนี้
คงมิอาจสาเร็ จลุ ล่วง หากมิได้กาลังใจจาก พี่ๆ น้องๆ เพื่อนๆ และผูท้ ี่มีส่วนในการช่ วยเหลือให้
กาลังใจทุกๆคน ขอบคุณธรรมชาติ โอกาส และโชคชะตา ที่ทาให้ผวู้ จิ ยั มีวนั นี้ ขอบคุณค่ะ


สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย .................................................................................................................... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ
กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ
ส ............................................................................................................................ ฌ
บทที่
1 บทน ............................................................................................................................ 1
ค น
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง .................................................................. 1

วั
น ส ...................................................................................................
......................................................................................
5
5
น ................................................................................................. 5
.............................................................................................. 6
น ท ............................................................................................... 6
นท ................................................................................... 6
2 ท ทน ณ ....................................................................................................... 7
น ท ...................................................................... 7
น ...................................................................................... 7
ท ............................................................................................ 10
ท (Skopos Theory) ................................ 11
.................................................................................................. 13
น น น (Christiane Nord) ............... 17
น ท น ................................... 19
น .......................................................................................... 24
3 นน ........................................................................................................... 25
......................................................................................................... 25
ประชากร ......................................................................................... 25
ท .......................................................................................... 26
............................................................................................... 29


ทท หน้า
น น ................................................................................................ 29
.............................................................................................. 31
การนาเสนอข้อมูล ............................................................................................... 34
ณ ท น น ............................................................................ 34
4 ..................................................................................................................... 36
น นทน น
ท ท น . . 2551-2553 ............................................................... 36

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง น น

5
ท ส น นน . .2551-2553 .......................... 53
น น ........................................................ 61
.................................................................................................... 61
น น น ท ......... 63
น ท น น ..... 66
.......................................................................................................... 68
ท น น นน
. . 2551-2553 .......................................................................................... 68
น น ท แปล น ตลก
น....................................................................................................... 69
น น ............................................................................ 71
น น ........................................................................................................ 72

ณน ............................................................................................................................ 73

น .................................................................................................................................. 77
น .............................................................................................. 78
น น น . .2551-2553.......................................... 82
น น น . .2551-2553 87

.............................................................................................................................. 89

สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 ตารางการวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั .ศ. 2551-2553 .... 26
2 ประเภทของกลุ่มกลวิธีการเเปลที่พบจากชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั
ปี พ.ศ. 2551-2553 ............................................................................................... 37
3 กลวิธีการทับศัพท์ที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั ปี พ.ศ. 2551-2553 .............. 37
4 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่แปลโดยการทับศัพท์ท้ งั หมด
และเสริ มความภาษาไทย ..................................................................................... 38

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
5 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่แปลโดยการทับศัพท์ท้ งั หมด


และไม่เสริ มความภาษาไทย ................................................................................
6 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่แปลโดยการทับศัพท์บางส่ วน
39

และเสริ มความภาษาไทย...................................................................................... 40
7 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่แปลโดยการทับศัพท์บางส่ วน
และไม่เสริ มความภาษาไทย ................................................................................. 41
8 กลวิธีการแปลความที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั ปี พ.ศ. 2551-2553 ............ 42
9 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่ใช้กลวิธีแปลบางส่ วน และเสริ มความภาษาไทย .... 43
10 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่ใช้กลวิธีแปลบางส่ วน การทับศัพท์บางส่ วน
และเสริ มความภาษาไทย ..................................................................................... 44
11 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่ใช้กลวิธีแปลตรงตัวทั้งข้อความ
และเสริ มความภาษาไทย ..................................................................................... 46
12 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่แปลโดยกลวิธีแปลทั้งข้อความ
ไม่เสริ มความภาษาไทย ....................................................................................... 47
13 กลวิธีการตั้งชื่อใหม่ที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั ปี พ.ศ. 2551-2553 ............ 47
14 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่ใช้กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม... 48
15 รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่ใช้กลวิธีการตั้งชื่อใหม่
โดย เดิม ............................................................................ 51
16 ร้อยละของกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั จาแนกตามกลวิธี .................... 52
17 ข้อมูลของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ ......................................................... 54
18 ข้อมูลของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ ......................................................... 54
19 ข้อมูลของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดับการศึกษา ...................................... 54

ตารางที่ หน้า
20 ข้อมูลของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ ..................................................... 55
21 องค์ประกอบภาพยนตร์ ที่ผชู้ มคิดว่ามีส่วนช่วยสร้างความดึงดูดใจ ห้ชมภาพยนตร์ . 55
22 จานวนของผูต้ อบแบบสอบถามที่เคยชมภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั .............................. 56
23 จานวนของผูต้ อบแบบสอบถามที่เคยชมภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั
เพราะชื่อแปลภาษาไทยดึงดูดใจ ................................................................. 56
24 จานวนของชื่อแปลภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั ที่ผชู้ มคิดว่าน่าดึงดูดใจมากที่สุด ............ 57
25 จานวนเหตุผลของผูช้ มที่คิดว่าชื่อแปลภาพยนตร์ภาษาไทยน่าดึงดูดใจ .................... 57
26
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
จานวนของชื่อแปลภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั ที่ผชู้ มคิดว่าน่าไม่น่าดึงดูดใจมากที่สุด ... 58
27 ส
จานวนเหตุผลของผูช้ มที่คิดว่าชื่อแปลภาพยนตร์ภาษาไทยไม่น่าดึงดูดใจ ................ 59


บทที่ 1

บทนา

1. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

ำน ก
ั ห อ ส ม ุ ด ก ลาง
สญในการติดต่อสื่ อสารกันระหว่างมนุษย์ มนุษย์ใช้ภาษาเป็ นเครื่ องมือ
ภาษามี ค วามสาคั
สื่ อสารเพื่อถ่ายทอดความคิด ความต้องการ ความรู้สึก หรื อข้อมูลระหว่างกัน ทาให้มนุษย์รับรู้และ
เข้า ใจความรู้ สึ กตลอดจนความต้องการของอีก ฝ่ ายหนึ่ งได้ ดังที่ กาญจนา นาคสกุล (2541:2)
กล่าวว่า “จุดมุ่งหมายสาคัญของการใช้ ภาษาก็คือการสื่ อสาร เพื่อถ่ ายทอดสิ่ งต่ างๆ ที่ อยู่ในความนึ ก
คิด หรื อ ข้ อความอันแสดงความรู้ สึกนึกคิดอย่ างใดอย่ างหนึ่งให้ ผ้ อู ื่นทราบ”

ในปั จจุบนั ซึ่ งเป็ นยุคแห่ งการสื่ อสารไร้พรมแดน การติดต่อสื่ อสารกันระหว่าง บุคคลใน
สังคมจึงไม่จากัดเพียงแค่ในสังคมของตนเองเท่านั้น หากแต่ยงั ต้องติดต่อสื่ อสารกับบุคคลที่อยูต่ ่าง
สังคมซึ่ งมีภาษา วัฒนธรรม พฤติกรรมและวิธีการสื่ อสารที่แตกต่างกัน หรื อที่เรี ยกว่าเป็ น การ
สื่ อสารข้ามวัฒนธรรม (Cross cultural communication) เมื่อต้องติดต่อกันอาจจะเกิดปั ญหา การ
สื่ อสารที่ผดิ พลาดได้ ดังนั้นการแปลจึงเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการสื่ อสารข้ามวัฒนธรรมที่จะช่วย
สร้ างความเข้าใจให้คนที่ ใช้ภาษาต่างกันสามารถสื่ อสารกันได้อย่างสัมฤทธิ์ ผล สัญฉวี สายบัว
(2550:11) กล่าวถึงการแปลไว้วา่

“บทบาทที่ เด่ นชั ดของงานแปลคื อเป็ นตัว “สื่ อ” (medium) ที่


เสนอความหมายทั้งมวลที่ ผ้ ูเขี ย นใส่ ไว้ ในต้ นฉบับของตนต่ อ ผู้รับสาร
หรื อผู้อ่านงานแปล ตัว “สื่ อ” นีจ้ ะต้ องเป็ นภาษาซึ่ งผู้รับสารหรื อผู้อ่าน
รู้ จักและใช้ ได้ อย่ างถนัด บทบาทนี เ้ ป็ นบทบาทที่ ขจัดปั ญหาสาคัญของ
มนุษย์ ในด้ านที่มนุษย์ ที่ใช้ ภาษาต่ างกันไม่ สามารถสื่ อสารกันได้ ”

1
2

การแปลชื่ อภาพยนตร์ เป็ นการสื่ อสารข้ามวัฒนธรรมรู ปแบบหนึ่ งที่มีความจาเป็ นต่อการ


สื่ อสารกับผูช้ มคนไทยซึ่ งเป็ นผูบ้ ริ โภคภาพยนตร์ ต่างประเทศ เนื่องจากชื่อแปลภาพยนตร์ จะช่วย
ให้ผชู้ มคนไทยสามารถคาดเดาเนื้ อเรื่ องและแนวภาพยนตร์ ได้ หากภาพยนตร์ ต่างประเทศไม่มีชื่อ
แปลภาษาไทย ผูช้ มคนไทยอาจต้อ งตี ค วามจากชื่ อ ภาษาอัง กฤษเอง ซึ่ ง อาจไม่ ถู ก ต้อ งตาม
วัตถุประสงค์ที่ภาพยนตร์ ตอ้ งการนาเสนอ ตัวอย่างเช่น ภาพยนตร์ เรื่ อง “Nothing to lose” หรื อชื่อ
ภาษาไทยว่า “คนเฮงดวงซวย” ถ้าหากผูช้ มคนไทยตีความหมายชื่ อภาพยนตร์ เอง โดยไม่เคยชม
ภาพยนตร์ ตวั อย่าง หรื อทราบข้อมูลเกี่ ยวกับภาพยนตร์ เรื่ องดังกล่าวมาก่อน อาจส่ งผลให้ผูช้ มไม่
เข้าใจสาระสาคัญของภาพยนตร์ อย่างแท้จริ ง และภาพยนตร์ เรื่ องดังกล่าวอาจไม่ได้รับความสนใจ

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
จากผูช้ ม เพราะการตีความหมายนั้นอาจเป็ นไปได้ท้ งั ความหมายตรงตัว และความหมายนัยแฝง แต่


เมื่ อ เห็ น ชื่ อ แปลภาษาไทยของภาพยนตร์ ดัง กล่ า วจะท าให้ผูช้ มสามารถคาดเดาแนวเรื่ อ งของ
ภาพยนตร์ได้วา่ อาจเป็ นภาพยนตร์ตลกเบาสมอง

ภาพยนตร์ ต่างประเทศที่ นาเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ ของประเทศไทยนั้น ประกอบด้วย


ภาพยนตร์ จากหลายชาติ ทั้งภาพยนตร์ จีน (ฮ่องกง) อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยุโรป ออสเตรเลีย และ
สหรัฐอเมริ กา (ฮอลลีวดู้ ) เป็ นต้น แต่ภาพยนตร์ ต่างประเทศที่ผชู้ มคนไทยส่ วนใหญ่ให้ความนิยม
คือ ภาพยนตร์ จากฮอลลีวดู้ (“สรุ ปภาพยนตร์ ประจาปี 2541”, 2542:91) ซึ่ งภาพยนตร์ จากฮอลลีวดู้
แนวตลกขบขัน หรื อที่เรี ยกว่า ภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั (American Comedy film) เป็ นประเภทหนึ่ง
ของภาพยนตร์ที่ได้รับความสนใจจากผูช้ มคนไทยอย่างมากในปั จจุบนั ดังเห็นได้จากบริ ษทั ผูน้ าเข้า
ภาพยนตร์ ต่างๆ นาเข้าภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ฉายตามโรงภาพยนตร์ แต่ละแห่ งในปี หนึ่ งๆนับหลาย
สิ บเรื่ อง

การที่ภาพยนตร์ ตลกอเมริ ก ันเป็ นที่นิย มชมกันมาก อาจเป็ นเพราะปั จจุ บ นั คนไทยต้อง


แข่งขันกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องการเรี ยน หรื อการทางานผูค้ นจึงมีความเครี ยดสู ง ทาให้ตอ้ ง
หาทางผ่อน คลายความเครี ยดที่เกิดจาก การเรี ยน หรื อการทางานประจาวัน การชมภาพยนตร์ ตลก
จึ ง เป็ นวิธี ก ารผ่อนคลายความเครี ย ดรู ป แบบหนึ่ ง โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ในกลุ่ ม คนไทยที่ ชื่ นชอบ
ภาพยนตร์ จากฮอลลีวดู ้ ซึ่ งการได้ชมภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั จะช่วยสร้างความเพลิดเพลินผ่อนคลาย
อารมณ์ และลดความความเครี ยดในชีวติ ประจาวันได้เช่นเดียวกัน
3

การนาเข้าภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ฉายตามโรงภาพยนตร์ ต่างๆจานวนมากนั้น มีผลทาให้


บริ ษทั นาเข้าและผูเ้ กี่ ยวข้องกับธุ รกิ จนี้ จาเป็ นต้องวางแผนการตลาดอย่างดี เพื่อความ สาเร็ จทาง
รายได้ ในบรรดาองค์ประกอบทางการตลาดหลายประการของธรุ กิจภาพยนตร์ น้ นั กลยุทธ์อย่าง
หนึ่งที่จะทาให้ภาพยนตร์ ที่นาเข้าเป็ นสิ นค้าที่น่าสนใจคือ การแปลชื่อภาพยนตร์ โดยเฉพาะในส่ วน
ของการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เพราะชื่ อแปลภาพยนตร์ มีส่วนดึ งดูดความสนใจ องผูช้ มได้มาก
ผูช้ มหลายคนมักใช้ชื่อภาพยนตร์ เป็ นสิ่ งช่วยตัดสิ นใจเลือกชมภาพยนตร์ ชื่อภาพยนตร์ สามารถช่วย
ให้ผชู้ มคาดเดาเนื้อหาและประเภทของภาพยนตร์ ได้ เช่ น ภาพยนตร์ รัก ภาพยนตร์ สยองขวัญ และ
ภาพยนตร์ตลก เป็ นต้น

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

โดยทัว่ ไปคนไทยให้ความสาคัญกับการตั้งชื่อเป็ นอย่างมาก ไม่วา่ จะเป็ นชื่อบุคคล ชื่ อ
สิ นค้า หรื อ ชื่ อภาพยนตร์ ล้วนต้องผ่านการคิดสร้างสรรค์อย่างพิถีพิถนั ให้สื่อความหมาย เมื่อ
พิจารณาการตั้งชื่อภาพยนตร์ ของทั้งภาพยนตร์ ไทยและต่างประเทศ มีเกณฑ์ที่ยึดถือร่ วมกัน คือต้อง
เป็ นชื่อที่สะดุดความสนใจกระตุน้ ความอยากรู้อยากเห็นของผูช้ มได้รู้ถึงแนวของภาพยนตร์ เรื่ องนั้น
ด้วย (ไศลทิพย์ จารุ ภูมิ, 2541:242-246) อาจกล่าวได้วา่ ชื่อภาพยนตร์เป็ นสิ่ งแรกที่จะชักชวนผูช้ มให้
ตัดสิ นใจไปสัมผัสกับเนื้อหาและความบันเทิงที่ผสู้ ร้างได้สร้างสรรค์ไว้ การแปลภาพยนตร์ ที่นาเข้า
จากต่างประเทศจึงต้องใช้ความประณี ตและพิถีพิถนั เพื่อให้สามารถสื่ อเนื้ อหาหลักๆของภาพยนตร์
แต่ละเรื่ องได้ดี โดยใช้คา วลี หรื อประโยคสั้นๆ ที่มีความหมายโดดเด่น และการแปลความหมาย
หรื ออาจเทียบเคียง กับชื่ อต้นฉบับภาษาอังกฤษ หรื อไม่ก็ต้ งั ขึ้นใหม่ เพื่อให้สื่อความหมายกับผูร้ ับ
สารคนไทย ดังตัวอย่าง

ตัวอย่างที่ 1
ภาพยนตร์ เรื่ อง “Batman Begins” หรื อชื่ อแปลภาษาไทยว่า “แบ็ทแมน บี กินส์ ”
การแปลชื่อตามตัวอย่างนี้เป็ นการแปลชื่อโดยการทับศัพท์ภาษาอังกฤษ โดยไม่มีภาษาไทยต่อท้าย
ตัวอย่างที่ 2
ภาพยนตร์ เรื่ อง “Phone Booth” หรื อชื่อแปลภาษาไทยว่า “โฟนบูธ วิกฤตโทรศัพท์
สะท้ านเมือง” การแปลชื่ อตามตัวอย่างนี้ เป็ นการแปลชื่ อโดยการทับศัพท์ภาษาอังกฤษแล้วขยาย
ความด้วยชื่อภาษาไทย
4

ตัวอย่างที่ 3
ภาพยนตร์ เรื่ อง“P.S. I Love You” หรื อชื่ อแปลภาษาไทยว่า “ปล.ผมจะรั กคุณ
ตลอดไป” การแปลชื่ อตามตัวอย่างนี้ เป็ นการตั้งชื่ อใหม่ โดยที่ความหมายไม่เหมือนเดิม แต่จะมี
บางส่ วนของชื่อเดิม หรื อคาแปลของคาสาคัญของชื่อเดิม
ตัวอย่างที่ 4
ภาพยนตร์ เรื่ อง “Enchanted” หรื อชื่ อแปลภาษาไทยว่า “มหั ศจรรย์ รัก ข้ ามภพ”
การแปลชื่อตามตัวอย่างนี้เป็ นการตั้งชื่อใหม่ โดยไม่มีส่วนที่เป็ นชื่อเดิมอยูเ่ ลย

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็ นได้ว่า การแปลชื่ อภาพยนตร์ ต่างประเทศเป็ นภาษาไทยนั้น มี

กลวิธีการแปลชื่ อภาพยนตร์ หลายวิธี เช่น การแปลโดยการทับศัพท์ภาษาอังกฤษและขยายความต่อ
ด้วยภาษาไทย การแปลความหมายที่ใกล้เคียงกับชื่อภาษาอังกฤษ การแปลโดยการทับศัพท์ กลวิธี
การแปลจากตัวอย่างดังกล่าวเป็ นเพียงบางส่ วนของการแปลชื่อภาพยนตร์ ต่างประเทศเป็ นภาษาไทย
เท่านั้น อีกทั้งชื่ อแปลภาษาไทยยังสร้างสี สันให้กบั ชื่อภาพยนตร์ ดว้ ยการใช้ภาษาโดดเด่น น่าฟั ง
น่าสนใจ ไม่วา่ จะเป็ นการเลือกสรรถ้อยคา การเล่นเสี ยงสัมผัสต่างๆ และการเรี ยบเรี ยงประโยคให้
แปลกและสะดุดตา เพื่อดึงดูดความสนใจจากผูช้ ม เมื่อผูช้ มได้อ่านหรื อฟังก็อาจเกิดความสนใจ
อยากชมเพราะชื่ อเรื่ องสะดุ ดใจ ซึ่ งแตกต่ างจากชื่ อภาพยนตร์ ภาษาอังกฤษที่มีค าสั้นๆให้ผูช้ ม
ภาพยนตร์ ตี ค วามเอาเอง เมื่ อ พิ จ ารณาในแง่ น้ ี ชื่ อ แปลภาษาไทยจึ ง อาจจะมี รู ป แบบที่ แตกต่ า ง
หลากหลายกันไปเพื่อดึงดูดความสนใจผูช้ มคนไทย ด้วยเหตุน้ ี ผวู้ ิจยั จึงสนใจที่จะศึกษากลวิธีการ
แปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั

จากการค้นคว้าข้อมูลเกี่ ยวกับการแปลชื่ อภาพยนตร์ น้ นั มีเพียงเบญจรัตน์ วิทยาเทพ


(2550) ที่ศึกษาเกี่ยวกับกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ต่างประเทศเป็ นภาษาไทยแนวสยองขวัญ และ
ธี รารัตน์ บุญกองแสน (2543) ที่ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการถ่ายทอดสารชื่อภาพยนตร์ ภาษาอังกฤษเป็ น
ภาษาไทย แต่ยงั ไม่มีผูใ้ ดศึ กษาเกี่ ยวกับกลวิธีการแปลชื่ อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั รวมถึ งไม่มี
งานวิ จ ัย เกี่ ย วกับ การส ารวจความคิ ด เห็ น ของกลุ่ ม ผูช้ มภาพยนตร์ ห รื อ ผูร้ ั บ สารที่ มี ต่ อ ชื่ อ แปล
ภาพยนตร์ จากเหตุ ดงั กล่ าว เป็ นเหตุจูงใจที่ทาให้ผูว้ ิจยั สนใจศึก ษางานวิจยั เรื่ องนี้ โดยมุ่งศึกษา
เฉพาะรายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั ที่เข้าฉายในโรงภาพยนตร์ ไทย ระหว่างช่วงปี 2551-2553 รวม
98 เรื่ อง โดยศึกษากลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เพื่อให้ทราบถึงแนวนิยมของกลวิธีการ
แปลชื่ อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั และสารวจความคิดเห็นของผูช้ มภาพยนตร์ หรื อผูร้ ับสารที่มีต่อชื่อ
แปลภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เพื่อให้ทราบถึง กลวิธีการแปลใดที่ผชู้ มให้ความคิดเห็นว่าถ่ายทอด
5

ความหมายจากชื่อเดิมได้ดี รวมถึงสื่ อความหมายถึ งเนื้ อเรื่ องและชวนให้น่าติดตามมากที่สุด และ


ผูว้ ิจยั เชี่ อว่างานวิจยั นี้ จะได้นาข้อมูลภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่มีอยู่มากมายมาใช้ให้เกิ ดประโยชน์
และขยายขอบเขตการศึกษาการแปลเกี่ยวกับภาพยนตร์ซ่ ึ งยังขาดแคลนให้กว้างขวางยิง่ ขึ้น

1. ปัญหานาวิจัย

1. มีกลวิธีการแปลใดบ้างที่ผแู้ ปลใช้ในการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทย


ในช่วงปี พศ.2551-2553 และกลวิธีการแปลวิธีใดได้รับความนิยมมากที่สุด

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
2. กลวิธีการแปลวิธีใดที่ผชู้ มภาพยนตร์เห็นว่ามีการถ่ายทอดความหมายจากชื่อเดิมได้ดี

รวมถึงสื่ อความหมายถึงเนื้ อเรื่ องและชวนให้น่าติดตามมากที่สุด

2. วัตถุประสงค์ ของงานวิจัย

1. เพื่อสารวจและวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ป็ นภาษาไทยในช่วง


ปี พศ.2551-2553
2. เพื่อสารวจความคิดเห็นของผูช้ มภาพยนตร์ ที่มีต่อชื่อแปลภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั
ในช่วงปี พศ.2551-2553

3. สมมติฐาน

3.1 การแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทยส่ วนใหญ่ไม่ใช้วธิ ีแปลคาต่อคาแต่ใช้


การแปลโดยการตั้งชื่อเรื่ องใหม่เป็ นหลัก
3.2 กลวิธีการแปลที่ผชู้ มภาพยนตร์ ส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็นว่าถ่ายทอดความหมายจาก
ชื่อเดิมได้ดี และชวนให้น่าติดตามมากที่สุดนั้นสอดคล้อง กับกลวิธีการแปลที่พบมากที่สุดในการ
แปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั
6

4. ขอบเขตของการวิจัย

การศึ กษาครั้ งนี้ ศึกษาเฉพาะรายชื่ อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ที่เข้าฉายในประเทศไทย


ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2553 ซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย ชื่อเรื่ องภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั
และชื่ อเรื่ องที่ได้รับการแปลเป็ นภาษาไทย โดยรายชื่ อทั้งหมดรวบรวมจากนิ ตยสาร Entertain
ฉบับ Extra เท่านั้น จานวนรวมทั้งสิ้ น 98 เรื่ อง

5. นิยามศัพท์เฉพาะ

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
กลวิธีการแปล หมายถึง วิธีการแปลจากภาษาต้นฉบับสู่ ภาษาฉบับแปล

ส กัน (American Comedy Film) หมายถึง ภาพยนตร์ที่สร้าง โดย
ภาพยนตร์ ตลกอเมริ
บริ ษทั ผูผ้ ลิตภาพยนตร์ ฮอลลีวดู๊ (Hollywood) โดยได้รับการจัดประเภทให้เป็ นภาพยนตร์ ที่มี
เนื้ อหามุ่ งเน้น ความสนุ ก สนาน และทาให้เกิ ดเสี ยงหัวเราะโดยอาจเป็ น ภาพยนตร์ ก าร์ ตูน
ภาพยนตร์ เพลง ภาพยนตร์ รักโรแมนติก ภาพยนตร์ ประเภทผจญภัย ภาพยนตร์ แนวจินตนาการ
(fantasy) และภาพยนตร์ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับครอบครัวอยูใ่ นประเภทนี้ดว้ ย

6. ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ

1. ทาให้รู้กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทยในช่วงปี พ.ศ. 2551-2553


2. ทาให้รู้ลกั ษณะแนวนิ ยมของกลวิธีการแปลชื่ อภาษาไทยของภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั
ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2553
3. ทาให้รู้ความคิดเห็ นของผูช้ มภาพยนตร์ ที่มีต่อชื่ อแปลภาษาไทยของภาพยนตร์ ตลก
อเมริ กนั ซึ่ งข้อมูลที่ได้จะเป็ นแนวทางให้กบั นักแปลชื่ อภาพยนตร์ ในการสร้างสรรค์ชื่อภาพยนตร์
ให้ดึงดูดใจผูร้ ับสารคนไทย
4. เป็ นการรวบรวมและบันทึกข้อมูลกลวิธีการแปลที่ใช้ในการแปลชื่ อภาพยนตร์ ตลก
อเมริ กนั ในช่วงระยะเวลาหนึ่ งไว้เป็ นหลักฐาน เพื่อนาไปเป็ นแนวทางให้กบั ผูท้ ี่สนใจศึกษากลวิธี
การแปลชื่อภาพยนตร์ ต่างประเทศประเภทอื่นๆต่อไป
5. เพื่อเป็ นประโยชน์ให้กบั วงการนักแปล หรื อสื่ อมวลชนแขนงอื่นๆ ที่สนใจในเรื่ องการ
แปล การสื่ อสารระหว่างวัฒนธรรม และการเขียนคาสร้างสรรค์เพื่องานโฆษณา
บทที่ 2

ทบทวนวรรณกรรม

“ก แปล ” ฉบับนี้ ผูว้ ิจยั


ได้ศึกษา โดย ดังนี้

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการแปล
1.1
1.2 ฤ
1.3
1.4 (Christiane Nord)
2. เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

1. แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับการแปล

1.1 นิยามของการแปล

ในส่ วนนี้ ผูว้ ิจยั กล่าวถึงความหมาย ตลอดจนคาจากัดความต่างๆเกี่ยวกับการแปล


หรื อ Translation จากนิ ยามของนัก วิชาการด้านการแปลทั้ง ชาวไทยและชาวต่ างประเทศเพื่อให้
เข้าใจถึงความหมายของการแปลตลอดจนแนวคิดเรื่ องการแปล ดังที่ได้รวบรวมคาจากัดความของ
การแปลโดยนักวิชาการหลายท่านพอสังเขป ดังต่อไปนี้
Perter Newmark (1981:7) กล่าวว่า “Translation is a craft consisting in the attempt
to replace a writen message and/or statement in one language by the same message and/or
statement in another language.”
ทิพา เทพอัครพงษ์ (2542:3)
การแปลเป็ นงานศิลปะที่มีองค์ประกอบคือ ผูแ้ ปลพยายามจะนาข้อความจากภาษาหนึ่ งไป
แทนที่ในอีกภาษาหนึ่ง”
7
8

J.C. Catford (1965: 1) กล่าว า “Translation is an operation performed on


language: a process of substituting a text in on language of text in another.”
(2523:2)
“การแปลเป็ นกระบวนการที่กระทาต่อภาษา กล่าวคือ เป็ นกระบวนการที่เอาถ้อยความที่เขียนด้วย
ภาษาหนึ่งไปแทนที่ถอ้ ยความที่เขียนด้วยอีกภาษาหนึ่ง”
Mildred M. Larson (1984:3) กล่าวว่า “Translation consists of transferring the
meaning of source language into the receptor language. This is done by doing from the form of

อ ส มุ ด ก
the first language to the form of a second language by way of semantic structure. It is meaning
ำน ก
ั ห ลาง

which is being transferred and must be held constant. Form changes only.”
หมายความว่ า การแปลประกอบไปด้ ว ยการเคลื่ อ นย้า ยความหมายจาก
ภาษาต้นฉบับไปสู่ ฉบับแปล ทาได้โดยเปลี่ยนจากรู ปแบบของภาษาแรกไปสู่ รูปแบบของภาษาที่
สองด้วยโครงสร้างทางความหมาย โดยที่ยงั คงรักษาความหมายเอาไว้ มีแต่เพียงรู ปแบบเท่านั้นที่
เปลี่ยนไป
มาร์ติน ลูเธอร์ (Martin Luther, 1483-1546 อ้างถึงใน สิ ทธา พินิจภูวดล, 2543: 12)
กล่าวว่า “การแปลคือการสามารถถ่ายทอดวิญญาณของต้นฉบับออกมาให้ได้ และให้สามัญชน
สามารถเข้าใจได้”
วิเนย์ และดาร์ เบลเนท์ (J.P. Vinay & J.Darbelnet, 1968 อ้างถึงใน สิ ทธา พินิจ
ภูวดล, 2543: 13) กล่าวว่า “การแปลเป็ นการวิเคราะห์ความหมายของภาษาโดยพิจารณาจากหน้าที่
ของคา และความหมายของคาตามแนวภาษาศาสตร์ ”

สิ ทธา พินิจภูวดล (2543: 13) ให้ความหมายของการแปลไว้วา่ “การแปลใน


ปั จจุบนั คื อการถ่ายทอดข้อความจากภาษาหนึ่ งไปยังอีกภาษาหนึ่ งโดยรักษารู ปแบบ คุ ณค่า และ
ควาหมายในข้อ ความเดิ ม ไว้อ ย่ า งครบถ้ว น รวมทั้ง ความหมายแฝง ซึ่ งได้แ ก่ ค วามหมายทาง
วัฒนธรรม ปรัชญา ความรู้สึก ฯลฯ”

อัจฉรา ไล่ศตั รู ไกล (2548: 14) กล่าว า “การแปล คือการถ่ายทอดความหมายจาก


ภาษาหนึ่ งไปสู่ อีกภาษาหนึ่ งให้ได้ตรงกันซึ่ งเท่ากับว่า ผูแ้ ปลต้องพยายามให้ผอู้ ่านที่อ่านข้อความ
แปลเข้าใจในสิ่ งเดียวกันกับผูอ้ ่านข้อความจากต้นฉบับ”
9

ทิพา เทพอัครพงศ์ (2542: 4) กล่าวว่า “การแปลเป็ นกระบวนการทางความคิด ที่ผู้


แปลจะต้องตีความจากภาษาต้นฉบับเสี ยก่อน การตีความนั้นเป็ นความคิดที่เป็ นอิสระจากภาษา คือผู้
แปลยังมิได้คิดถึงเรื่ องภาษา คิดแต่ความหมายเสี ยก่อน จากนั้นผูแ้ ปลค่อเลือกสรรภาษาของผูร้ ับสาร
ที่ใกล้เคียงกับภาษาต้นฉบับมาเป็ นบทแปล”

สัญฉวี สายบัว (2550: 1) ให้นิย ามว่า “การแปลเป็ นเรื่ องของการถ่ า ยทอด


ความหมายของต้นฉบับลงสู่ ฉบับแปล ความจึงถือเป็ นเป้ าหมายสาคัญสาหรับผูแ้ ปลที่จะต้องเก็บให้
ได้จากต้นฉบับ และเป็ นสิ่ งสาคัญสิ่ งหนึ่ งในการกาหนดคุณภาพงานแปล งานแปลที่มีคุณภาพ คือ

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
การคงอรรถรสเดิ ม ของต้น ฉบับ ไว้ใ นฉบับ แปล เมื่ อ ผูใ้ ดอ่ า นฉบับ แปลก็ จ ะเกิ ด ผลสนองตอบ
ลาง

เช่นเดียวกับผูอ้ ่านต้นฉบับ”

(2542:4) “

(2533: 33) “

ประเทือง ทินรัตน์ (2543:4) กล่าวว่า “การแปลเป็ นการสื่ อสารข้ามภาษา เป็ นการ


สื่ อสารที่จะต้องประกอบด้วยการถ่ายความหมาย การรักษาความทัดเทียมของความหมายและรักษา
ลีลาในการส่ งสารในภาษาต้นฉบับไว้ในภาษาฉบับแปล ทั้งนี้ ตอ้ งอาศัยทักษะในการใช้ภาษาของผู้
แปลเข้าช่วย”

วรรณา แสงอร่ ามเรื อง (2545: 7) กล่าวว่า “การแปล

เป็ นการจัดเรี ยบเรี ยงตัวบทใหม่ใ ห้สอดคล้องกับสถานการณ์ ที่กาหนดไว้และ


จัดเป็ นส่ วนหนึ่งของวัฒนธรรมปลายทาง”
10

พรพิมล เสนะวงศ์ (2527:2) กล่าวว่า “การแปลก็เป็ นการถ่ายทอดความหมายหรื อ


การสื่ อสารเช่นกัน แต่เป็ นการถ่ายทอดจากภาษาหนึ่ งซึ่ งเรี ยกว่า ภาษาต้นฉบับ (Source Language)
ไปสู่ อีกภาษาหนึ่งที่เรี ยกกันว่า ภาษาของผูร้ ับสาร (Receptor Language) หรื อภาษาเป้ าหมาย (Target
Language) การแปลจึงเกี่ยวข้องกับระบบภาษาสองภาษาที่แตกต่างกัน และวัฒนธรรมของผูใ้ ช้ภาษา
ที่แตกต่างกันด้วย”
จาก การแปลที่ ก ล่ า วมาข้า งต้นสามารถสรุ ป ได้ว่า การแปลเป็ น
ก ถ่ายทอดความหมายจากภาษาหนึ่งไปยังอีกภาษาหนึ่ง โดยมีองค์ประกอบหลักสามส่ วนด้วยกัน

(Target Language) และ


ำน ก
ั ห อ ส มุ ด
คือ ภาษาต้นฉบับ (Source Language)
ก ลาง
ภาษาฉบับแปลหรื อภาษาเป้ าหมาย
นักแปล (Translator) ผูท้ าหน้าที่ถ่ายทอดข้อความจากภาษา

หนึ่ ง ไปสู่ อี ก ภาษาหนึ่ ง ซึ่ งผูแ้ ปลต้องมี ค วามรู้ ท้ งั ในด้า นภาษาศาสตร์ การสื่ อสาร วัฒ นธรรม
ตลอดจนประสบการณ์และความรู้เฉพาะทางอื่นๆ เพื่อที่จะได้แปลความหมายให้ผรู้ ับสารเข้าใจได้
ตรงตามเจตนาของผูส้ ่ งสาร โดยภาษาฉบับแปลต้องคงความถูกต้องแม่นยาทั้งความหมาย ความเป็ น
ธรรมชาติของภาษา อารมณ์ความรู้สึก และลีลาการเขียน

1.2 ทฤษฎีการแปล
Newmark (1984) กล่ าวถึ งประโยชน์ของทฤษฎีการแปลว่า จะช่ วยให้ผูแ้ ปล
สามารถเลือกวิธีการแปลให้เหมาะสมกับงานเขียนประเภทต่างๆ ทั้งยังเป็ นแนวทางในการแก้ปัญหา
การแปล และทาให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของภาษากับความคิดและความหมาย เข้าใจถึงวัฒนธรรม
อันจะทาให้สามารถตีความและเข้าใจสารต่างๆได้
การแปลเป็ นศาสตร์ที่มีหลักเกณฑ์และมีการศึกษาในเชิง ฤ มานานแล้ว ผลการ
ศึกษาวิจยั ทางด้านการแปล ชี้ให้เห็นว่าการแปลเป็ นกระบวนการที่สลับซับซ้อน ต้องใช้ความรู้จาก
ศาสตร์หลายสาขา
ทฤษฎี ที่เป็ นประโยชน์ต่อการแปล (พัช รี โภคาสัม ฤทธิ์ 2527:16, สิ ทธา พินิจ
ภูวดล 2543:21-23) แบ่งออกเป็ น
1. ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ เน้นเรื่ องของคา กลุ่มคา ประโยค เรื่ องความหมายของ
คา ทั้ง ความหมายตรงกับ ความหมายแฝง เรื่ องของสังคมภาษาศาสตร์ (Sociolinguistics) ซึ่ ง
วัฒ นธรรม ของแต่ ล ะสั ง คมมี บ ทบาทในการใช้ภ าษา เรื่ อง จิ ต วิ ท ยาภาษาศาสตร์ (Psycho-
linguistics) จะช่วยให้นกั แปลเลือกใช้ถอ้ ยคาสานวนอย่างมีพลัง มีศิลปะ มีรสชาติและมีชีวติ ชีวา
11

2. ทฤษฎีจิตวิทยา วิชาจิตวิทยาช่วยให้นกั แปลมีความรู้ความเข้าใจในพฤติกรรม


การแสดงออกของมนุษย์ท้ งั ชายและหญิง กลุ่มวัยต่างๆกลุ่มคนมีปัญหา คนที่มีสุขภาพจิตบกพร่ อง
เพื่อให้มีความเข้าใจตัวละครในวรรณกรรม ข่าวหรื อบทความที่นามาแปล
3. ทฤษฎีการตลาด ความต้องการของลูกค้าและการตอบสนองความต้องการ ทา
ให้นกั แปลต้องทาความรู ้จกั ผูอ้ ่านและผูซ้ ้ือ

4. ทฤษฎีสื่อสารมวลชน ในปัจจุบนั มีสื่ออยูห่ ลากหลายทั้งสื่ อบุคคล สื่ อสิ่ งพิมพ์


สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ งมีบทบาทสาคัญในการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสาร ผูแ้ ปลจะต้องเข้าใจวิธีการส่ ง

น ก
ั ห
สารและรับสารซึ่ งมีผลต่อการปฏิบตั ิงานแปล
ำ อ ส ม ุ ด ก ลาง

ในงานวิจยั ฉบับนี้ เป็ นการวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่ อภาพยนตร์ ซึ่ งชื่อภาพยนตร์
เป็ นหนึ่ ง ในองค์ป ระกอบภายนอกของ ที่ มี ค วามส าคัญ ต่ อ ตัว บทหรื อ เนื้ อ หาของ
ภาพยนตร์ อย่างมาก เพราะทาหน้าที่แรกในการสื่ อสารถึงเนื้ อเรื่ อง ขณะเดียวกันตัวบทหรื อเนื้ อ
เรื่ องก็มีความสาคัญต่อชื่ อเรื่ องเช่นกัน Peter Newmark (1988:148) เสนอความคิดเกี่ยวกับการ
แปลชื่อเรื่ องว่า “นักแปลควรแปลเนือ้ เรื่ องให้ เสร็ จก่ อน แล้ วจึงค่ อยแปลชื่ อเรื่ อง ชื่ อเรื่ องของตัวบท
ประเภทการใช้ งานและตัวบทควรตรวจสอบกับแนวคิดของเนือ้ เรื่ องอีกครั้ ง”

จากคากล่าวข้างต้นแสดงว่า ความหมายของชื่อแปลภาพยนตร์ นอกจากจะเป็ น


ความหมายในระดับภาษาหรื อความหมายประจารู ปแล้ว ชื่อแปลภาพยนตร์ควรจะบ่งบอกเนื้ อหา
ด้วย ดังนั้นการวิจยั การแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั นี้ ผูว้ จิ ยั จึงไม่สามารถพิจารณาเฉพาะชื่อเรื่ อง
อย่างเป็ นเอกเทศได้ แต่ตอ้ งนาเนื้อเรื่ องเข้ามาวิเคราะห์ร่วมด้วย ทฤษฏีที่เลือกมาศึกษานี้จึงเป็ น
ทฤษฎีการแปลที่ตอ้ งไม่ยดิ ติดกับรู ปภาษา แต่ตอ้ งมองความหมายในระดับวาทกรรมด้วย ซึ่ ง
ฤ ฤ (Skopostherie)

1.2.1 ทฤษฎีสโคพอส (Skopos Theory)

ฤ Skopos ฤ
ฤ . (Hans J. Vermeer)
(function)
(Socioculture)
(Katharina Reiss) ฤ
12

opos
ฤ (function)

วรรณา (2545) ฤ

1.
2.

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
3. ส
4. น
5.

ทฤษฎี Skopos เป็ นทฤษฎีที่ยดึ หลักทฤษฎีการกระทาซึ่ งมีแนวคิดว่าการกระทาทุก


อย่ า งจะต้อ งทราบวัต ถุ ป ระสงค์ ห รื อ เป้ าหมายของตนก่ อ นที่ จ ะกระท าการใดๆ
ยู่

ทฤษฎีน้ ีเสนอข้อปฏิบตั ิในการแปลดังต่อไปนี้

1. ประเมินว่าใครเป็ นผูร้ ับสารปลายทาง


2. เมื่อทราบกลุ่มเป้ าหมาย ผูแ้ ปลสามารถชัง่ น้ าหนักความสาคัญของตัวบทต้นฉบับแต่
ละส่ วนก่อนการแปลได้อย่างถูกต้อง ตัดสิ นใจว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงก่อนหรื อระหว่างการแปล
(หรื อหลังการแปล)
3. ดาเนินการให้บรรลุเป้ าหมาย ตัวบทต้นฉบับจะต้องถูกถ่ายทอดเป็ นภาษาปลายทางไป
ยังผูร้ ับสารโดยประเมินตามความหวังของผูร้ ับสารนั้น

ข้อปฏิ บตั ิดงั กล่าวแสดงว่า ทฤษฎีน้ ี ให้ความสาคัญกับผูร้ ับสารปลายทางมาก ใน


การแปลทุกครั้งผูแ้ ปลจะต้องกาหนดผูร้ ับสารให้ได้ก่อน เพื่อจะได้ประเมินความคาดหวังหรื อพื้น
ความรู ้ของผูร้ ับสาร ตลอดจนสถานการณ์ในการแปลได้อย่างถูกต้อง
13

การแปลตามหลั ก ทฤษฎี (Skopos) ไม่ ไ ด้ เ พี ย งการถ่ า ยโอนตั ว บทและ


องค์ประกอบต่างๆไปยังสภาพแวดล้อมอีกแบบหนึ่ งที่มีวฒั นธรรมและภาษาแตกต่างกัน แต่การ
แปลเป็ นการผละออกจากวัฒนธรรมในตัวบทต้นฉบับมาสู่ วฒั นธรรมปลายทาง เป็ นการสร้างตัวบท
ใหม่ของ “สาร” ที่ตอ้ งการส่ ง เป็ นการนาเสนอข้อมูลในอีกวัฒนธรรมหนึ่งตามความต้องการของ
สังคมใหม่ ซึ่ งผูแ้ ปลต้องคานึงถึงปั จจัยสาคัญดังต่อไปนี้

1. ผูแ้ ปลต้องตีความต้นฉบับก่อนในฐานะที่เป็ นผูร้ ับสาร เพราะผูแ้ ปลไม่ได้ทา


หน้าที่ในการส่ งต่อเนื้อความที่มีอยูใ่ นตัวบทต้นฉบับเท่านั้น

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
2. ผูแ้ ปลต้อ งเลื อกหรื อ ก าหนดหน้า ที่ ส าหรั บ งานแปล เมื่ อ ผูแ้ ปลเลื อ กหรื อ

กาหนดหน้าที่ที่ต่างกันให้กบั งานแปลชิ้นหนึ่งๆ ก็ทาให้ตอ้ งเลือกวิธีการแปลที่แตกต่างกันไป
3. ปัจจัยด้านวัฒนธรรม เป็ นปั จจัยที่สาคัญมาก ตัวบทต้นฉบับหนึ่งๆจะถูกสร้าง
ขึ้ น เพื่ อ ท าหน้ า ที่ อ ย่ า งหนึ่ ง เมื่ อ มี ก ารแปลมาเป็ นอี ก ภาษาหนึ่ งและผู้อ่ า นงานแปลอยู่ ใ นอี ก
วัฒนธรรมหนึ่ งไม่ใช่ วฒั นธรรมเดี ยวกับตัวบทต้นฉบับแล้ว ผู้ ปลจะต้องคานึ งว่างควรจะให้งาน
แปลคงหน้าที่เดิมหรื อไม่

ฤ opos

1.3 วิธีการแปล
นักวิชาการด้านการแปลทั้งชาวไทยและต่างประเทศได้แบ่งวิธีการแปลออกเป็ น
หลายวิธี ดังนี้
เชวง จันทรเขตต์ (2524 อ้างถึงใน ดวงตา สุ พล, 2531: 17) ได้แบ่งวิธีการแปล
ออกเป็ น 2 ลักษณะดังนี้
1. การแปลแบบเสรี นิยมใช้ในสื่ อมวลชนทุกประเภท โดยเฉพาะอย่างเมื่อผูร้ ับ
สารต้องการความบันเทิง หรื อข่า วสารข้อเท็จจริ งในแง่ ที่ เกี่ ยวกับ ใจความและสาระสาคัญ ไม่
ต้องการความถูกต้องของการใช้ถอ้ ยคา
14

2. การแปลแบบคาต่อคา หรื อแบบแปลตามตัวอักษร นิ ยมใช้ในกลุ่ มนักศึกษา


นักวิชาการ หรื อกลุ่มเฉพาะอาชีพ กลุ่มบุคคลดังกล่าวต้องการความถูกต้องของทั้งสาระ ข้อเท็จจริ ง
และการใช้ถอ้ ยคา เพื่อจุดประสงค์ในด้านการศึกษา ค้นคว้า หรื อการนาไปปฏิบตั ิ

(2531: 12-30) 2
1. (Literal Translation)

1.1 (Word For Word Translation)

ำ น ก
ั ห อ ส ม ุ ด ก ลาง
1.2สการแปลตรงตัว (Literal Translation)

2. ( on- iteral Translation) ก

(Source Language Text)

1. ( iterary Transalation)

2. (Technical Translation)
15

( : - ) 2 ลักษณะใหญ่ๆคือ
1. ( iteral Translation)

2. (Free Translation)

1.
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด
(2543:47-51)
ก ลาง
(Literal Transalation)
2


1.1. ( ord-For- ord Translation)

1.2 ( iteral Translation)

2. ( on-Literal Transltion)
(Free Translation)
16

(2543: 17-18) 2
1. (Literal
Translation)

2. (Free Translation)
เอา
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

Larson (1984: 15-17) แบ่งวิธีการแปลออกเป็ นสองประเภทใหญ่ๆ คือ

1. การแปลแบบรัก ษารู ปแบบ (form-based translation) เรี ยกอีกชื่ อหนึ่ งว่า


Literal translation หรื อ word-for-word translation เป็ นการแปลโดยรักษาคาและรู ปแบบเดิมของ
ภาษาต้นฉบับทุกประการเหมาะสาหรับผูท้ ี่ตอ้ งการศึกษาภาษาต้นฉบับ เนื่องจากเป็ นการแปลที่ไม่
เหมาะสาหรับผูอ้ ่านภาษาแปลที่ตอ้ งการอ่านเอาความหมาย แม้จะมีการปรับโครงสร้างประโยคบ้าง
แต่ความไม่เป็ นธรรมชาติในภาษาแปลยังคงปรากฏอยู่
2. การแปลแบบรักษาความหมาย (meaning-based translation) เรี ยกอีกชื่อหนึ่ งว่า
Idiomatic translation คือการถ่ ายทอดความหมายจากภาษาต้นฉบับไปสู่ ฉบับภาษาแปลให้เป็ น
ธรรมชาติมากที่สุด การแปลแบบนี้จะไม่เหลือร่ องรอยของภาษาต้นฉบับอยูเ่ ลย

ได้
1. (Word For Word Translation)

ในปัจจุบนั การแปลตามตัวอักษรจะยังใช้ในการวิเคราะห์ภาษาตามแนวภาษาศาสตร์
เท่านั้น ไม่ใช้การแปลเพื่อมุ่งถ่ายทอดความหมาย
2. (Literal Translation)
17

3. (Free Translation)
(Non-Literal Translation)
โดยไม่ยึดติด
กับรู ปแบบของภาษาต้นฉบับ การใช้ภาษาในบทแปลก็ตอ้ งปรับให้เหมาะกับสถานการณ์ สังคม
และวัฒนธรรมของผูร้ ับสารด้วย

เป็ นงานวิจยั ที่ศึกษาเกี่ยวกับชื่อแปลภาพยนตร์ ดังนั้น


เพื่อเป็ นแนวทางในการวิเคราะห์กลวิธีการแปล และหน้าที่ในการสื่ อสาร
ของชื่อเรื่ อง
ำ น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
ส ่อเรื่อง เตียเน น (Christiane Nord)
1.4 แนวคิดการแปลชื

คริ สเตียน (1993)

1.

2.

3. ใ
ว่
ที่
18

4.

4.1 ที่

4.2

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

4.3 เป็ นการให้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับ
ลักษณ

5. ง

5.1

การวิ
5.2 ที่

5.3

6.

ว่า แต่จะสร้างแรงจูงใจทางอ้อมโดยอาศัย หน้าที่
การบรรยายความและหน้าที่ใ นการแสดงท่าทีมาช่วยโดยใช้ภาษาหรื อสื่ ออื่นๆ
19

น่ า จะเป็ นแนวทางการ
วิเคราะห์หน้าที่ของชื่ อแปลภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั ได้ กล่าวคือผูว้ ิจยั จะต้องพิจารณาและวิเคราะห์
ปั จ จัย ต่ า งๆที่ ส่ ง ผลต่ อ การแปล

2. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับ ภาพยนตร์

ำน ก
ั ห อ ส ม ุ ด ก ลยั ไม่าไงด้ทาหน้าที่เป็ นผูแ้ ปล เป็ นแต่เพียงผู้

งานวิจยั การแปลชื ่ อภาพยนตร์ ตลกอเมริ ก ั
น นี
้ ผู
ว ้ จ

ศึกษางานแปลชื่อภาพยนตร์ ที่มีผแู ้ ปลไว้แล้วเท่านั้น แม้จะเป็ นเช่ นนั้นก็ตาม ในการวิเคราะห์ดา้ น
การแปล นอกเหนื อจากการศึกษาทฤษฎีการแปลต่างๆแล้ว ผูว้ ิจยั จาเป็ นต้องศึกษางานวิจยั ต่างๆที่
เกี่ ยวกับการแปล เพื่อสร้างความเข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับการแปล และกระบวนการแปลประหนึ่ งว่า
ผูว้ จิ ยั ทาหน้าที่เป็ นผูแ้ ปลเช่นกัน เมื่อมีความเข้าใจหลักการหรื อทฤษฎีการแปลที่เกี่ยวข้องแล้วจึงจะ
สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องกับ
การแปลชื่อภาพยนตร์ ผูว้ จิ ยั พบงานวิจยั ที่ใช้เป็ นแนวทางในการศึกษา ดังรายละเอียดต่อไปนี้
2.1 (2550)

. . - ฤ ( opos Theory )
ผล

1.) ฤ
2.) ฤ
3.) ฤ
4.)
5.)
6.)
20

ผลสรุ ปงานวิจยั ของ เบญจรัตน์ พบว่า ฤ


เป็ นกลวิธีที่ใช้มากที่สุดในการแปลชื่อภาพยนตร์ต่างประเทศแนวสยองขวัญ
รองลงมา ด้ว

2.2 ธีรารัตน์ บุญกองแสน (2543) ศึกษาถึงการตั้งชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ อเมริ กนั


พบว่า ลัก ษณะของชื่ อภาษาไทยใช้ภาษาสื่ อความหมายถึ งตัว เอก เนื้ อ หาและบรรยากาศของ
ภาพยนตร์ ชื่อภาษาไทยเกิดจากการถ่ายทอดสารสารภาษาอังกฤษ มี 3 วิธีคือ การทับศัพท์ การแปล

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก
ความ และการตั้งชื่ อใหม่ และพบว่าชื่ อภาษาไทยเกิ ดจากการวิธีการสร้างสาร 3 วิธีคือวิธีการด้าน
ลาง

เสี ยง วิธีการด้านหน่วยคา และวิธีการด้านลีลาภาษา ส่ วนปั จจัยที่กาหนดการตั้งชื่อคือ ปั จจัยด้านตัว
บุคคลของผูต้ ้ งั ชื่ อ ปั จจัยเกี่ ยวกับกระบวนการตั้งชื่ อภาษาไทย ปั จจัยเกี่ ยวกับต้นสังกัด และปั จจัย
เกี่ยวกับสภาพสังคมวัฒนธรรม ซึ่ งจากการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่า ผูต้ ้ งั ชื่อใช้วิธีการต่างๆในการตั้ง
ชื่อภาษาไทย โดยมีเหตุผลต่างๆ คือ เหตุผลทางด้านภาษา คือ ลักษณะภาษาที่ใช้น้ นั ต้องสามารถ
สื่ อสารกับผูร้ ับสารคนไทยได้เข้าใจและมีความน่าสนใจ และเหตุผลทางวัฒนธรรมของผูร้ ับสารคน
ไทย เพื่อหลี กเลี่ ยงปั ญหาที่เกิ ดจากความแตกต่างของวัฒนธรรมและใช้ประโยชน์ของวัฒนธรรม
เพื่อสื่ อสารกับผูร้ ับสารคนไทยรวมทั้งเหตุผลด้านธุ รกิจการค้า ซึ่ งจากการวิจยั พบว่าชื่อภาษาไทยมี
บทบาททางธุ รกิจอย่างชัดเจน

ถ่ า ยทอดสารจากชื่ อ ภาษาอัง กฤษของภาพยนตร์ อ เมริ ก ัน เป็ น


ภาษาไทย ดังนี้

2.2.1 การทับ ศัพ ท์ คื อ การตั้ง ชื่ อ โดยใช้ก ารเขี ย นค าในชื่ อ ภาษาอัง กฤษเป็ น
ภาษาไทย แบ่งเป็ น
2.2.1.1 การทับศัพท์ท้ งั ข้อความโดยไม่มีการเสริ มความภาษาไทย
2.2.1.2 การทับศัพท์ท้ งั หมดโดยเสริ มข้อความภาษาไทย คือ การเสริ
ข้อความเพิ่มข้างหน้าหรื อต่อท้ายคาทับศัพท์ของชื่อภาษาอังกฤษ
2.2.1.3 การทับศัพท์บางส่ วนของข้อความโดยเสริ มความภาษาไทย โดยนาคา
บางส่ วนของชื่อภาษาอังกฤษมาทับศัพท์และเสริ มความภาษาไทย
21

2.2.2 การแปลความ คือ การแปลความหมายจากชื่อภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย


แบ่งเป็ น
2.2.2.1
1) แปล ทั้งข้อความ โดยไม่มีการเสริ มความ
2) แปล ทั้งข้อความ โดยมีการเสริ มความภาษาไทย
3) แปล ทั้งข้อความ แบบเอาความโดยไม่มีการเสริ มความ
4) แปล ทั้งข้อความ แบบเอาความ โดยมีการเสริ มความ

2.2.2.2
ำน ก
ั ห อ ส ม ุ ด ก
แปลบางส่ วนและเสริ มความ ดัดแปลงหรื อตกแต่งข้อความ
ลาง

2.2.3 การตั้ง ชื่ อใหม่ คื อ การที่ ผูต้ ้ งั ชื่ อ พิจ ารณาตั้ง ชื่ อภาษาไทยขึ้ น มาโดยที่
ความหมายของชื่อภาษาไทยไม่มีความเกี่ยวข้องกับชื่อเดิมเลย แบ่งเป็ น
2.2.3.1 ตั้งขึ้นใหม่โดยใช้คาในแวดวงเดียวกันกับความหมายของคาในชื่ อ
ภาษาอังกฤษ
2.2.3.2 ตั้งขึ้นใหม่โดยไม่เกี่ ยวข้องกับชื่อเดิม ความหมายของสารก็ไม่เกี่ยว
ข้องกับชื่อภาษาอังกฤษ

2.3 (2538)

( oncept)
22

1.

2. (Paradox) ม

(Unforgiven)

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง
3. ส
(The Last Boy Scout)

4.
(Kwagga Strikes Back) (Dave) (3 Ninjas)
(Blood Store Subspecies)
(Born Yesterday) หรื อคาที่เป็ นที่นิยม
ช่ ว ง เช่ น

(Richochet)

1. ใ ฤ (Aladin)
(The Lion King) (The Piano)
2. ฤ
(Beauty and The Beast)
3. ฤ
(The Vanishing) (Dennis The Menace)
23

4.
ฤ (The Silent of the Lambs) (California
Man)
5. ฤ
(The Body Guard)

อี ก

ำน ก
ั ห อ ส ม ุ ด ก ลา“ ง
2.4
ฤษ
ส (2541)
)
”(

ค “ ” ฤ

( ) า
ท์ Jaws

Cry,
The Beloved Country ..

The Old Man and The Sea

Gone with The Wind น


24

ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการแปล รวมถึง
กับงานวิจยั ฉบับนี้ นามาเป็ น สาหรับวัตถุประสงค์งานวิจยั ทั้งสองข้อ

วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 การวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทย


1.1 หมดและ
1.2
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก หมด
ลาง

1.3
1.4
1.5
1.6
1.7 การตั้งชื่อใหม่ ไม่เกี่ยวข้องกับชื่อ
1.8 การตั้งชื่อใหม่

วัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 สารวจความคิดเห็นของผูช้ มภาพยนตร์ที่มีต่อชื่อแปลภาพยนตร์ตลก


อเมริ กนั ในช่วงปี พศ.2551-2553

ค ที่ มี ต่ อ ชื่ อแปล


ภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั
ารสื่ อความหมาย

จากการทบทวนวรรณกรรม รวบรวมแนวคิดทฤษฎี ตลอดจนเอกสารที่


เกี่ ยวข้องกับการแปล รแปลชื่ อ
ภาพยนตร์ ผู้วิ จ ัย แนวทางในการวิ เ คราะห์ การแปลชื่ อ ภาพยนตร์
ชมที่มีต่อ ตลกอเมริ กนั
3

“กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทย” ฉบับนี้ เป็ นงานวิจยั เชิง


(Descriptive Statistics) เพื่ อ วิเ คราะห์ ก ลวิธี ก ารแปลชื่ อ ภาพยนตร์ ต ลกอเมริ ก ัน

ำน ก
ั ห อ ส มุ
ความคิดเห็น ด กลาง ชื่อแปลภาษาไทยของภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั
โด

1. การเลือกแหล่งข้อมูล 2. กลุ่มตัวอย่างประชากร 3. เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
4. การรวบรวมข้อมูล 5. ขั้นตอนการศึกษา 6. การวิเคราะห์ขอ้ มูล 7.
8. การสร้างเกณฑ์ที่ใช้ในการวิจยั ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1.
1.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็ นข้อมูลที่ได้จาก การรวบรวมรายชื่ อภาพยนตร์
ตล อเมริ กนั จากนิตยสาร Entertain ฉบับ Extra กา แบบสอบถาม
1.2 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็ นข้อมูลที่ได้จากเอกสาร วารสาร บทความ รายงาน
วิจยั และเอกสารที่เกี่ ยวข้อง โดยการหาข้อมูลจากหนังสื อ พจนานุ กรม หรื อเอกสารและงานวิจยั ที่
เกี่ ยวข้อง จาก ห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหง
มหาวิทยาลัยศิลปากร เว็บไซต์ที่มีเนื้อหานาเสนอเกี่ยวกับ


2.1

. . 551- 553 โด
n e in Extra รวมทั้งหมด 98
25
26

2.2
1
1 โด ด
โด (Simple Random Sampling)
ด โ ,1973 90% ด ด
1

ำน ก
ั ห

อ ส มุ ด กลาง 5 โด

ส (Acciden l S mpling) 1

3. เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
การศึกษาครั้งนี้ เครื่ องมือที่ใช้ในงานวิจยั ฉบับนี้ ซึ่ งมี 2 ส่ วนคือ
ส่ วนที่ 1 ตารางบันทึกข้อมูลการวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั
1 ตารางการวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั . . 551-2553

กลวิธีการเเปลทีพ่ บ
กลวิธีการตั้งชื่อ
กลวิธีการทับศัพท์ กลวิธีการแปลความ ใหม่
ตั้งชื่อใหม่ โดยใช้ คาทีม่ เี ค้ าความหมายเดิม
แปลตรงตัวทั้งข้ อความ ไม่ มเี สริมความ

แปลตรงตัวทั้งข้ อความ เเละเสริมความ

ชื่อ
ชื่อแปล ตั้งชื่อใหม่ โดยไม่ เกีย่ วข้ องกับชื่อเดิม
ทับศัพท์ บางส่ วน เเละเสริมความ

ปี ภาพยนตร์
ภาษาไทย
แปลบางส่ วน ไม่ มเี สริมความ

ภาษาอังกฤษ
ทับศัพท์ เเละเสริมความ
ทับศัพท์ ไม่ เสริมความ
27

ส่ วนที่ 2 แบบสอบถาม
ลักษณะของแบบสอบถามเป็ นแบบสอบถามจานวน 1 ชุด แบ่งเป็ น 2 ภาค คือ
ภาคที่ 1 เป็ นแบบสอบถามเพื่อถามข้อมูลพื้นฐานของผูต้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ อายุ,
เพศ ระดับการศึกษา และ อาชีพ มีคาถามทั้งหมด 4 ข้อ ลักษณะเป็ นแบบกาหนดให้เลือกตอบ
ภาคที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับความสนใจเกี่ยวกับภาพยนตร์ ความคิดเห็นต่อชื่ อ
แปลภาษาไทยของภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั และเหตุผลในการเลือก โดยแบ่งออกเป็ น 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แบบสอบถามความ
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลดาง ด3 ด

ดด
ส ด ด (5) ไปน้อยที่สุด


2 ด
โด ด ด ด ดด ด ดด

รายชื่ อภาพยนตร์ ที่นามาใช้เป็ นตัวอย่างนั้นเป็ นชื่อภาพยนตร์ กลุ่
กลวิธีการแปล ตามวัตถุประสงค์ของงานวิจยั ข้อที่หนึ่ ง โดย
ผูว้ ิจยั ได้สุ่มตัวอย่างรายชื่ อด้วยวิธีการสุ่ มแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้วิธีการจับฉลาก
แต่ละรายชื่อจากแต่ละกลุ่มกลวิธีการแปล สาหรับกลวิธีการแปลใดที่พบเพียงรายชื่อเดียว ผู้ จัยจะใช้
วิธีการเลือกแบบเจาะจงรายชื่อภาพยนตร์ น้ นั มาเป็ นตัวอย่างในงานวิจยั รวมรายชื่อภาพยนตร์ ท้ งั หมด
10 รายชื่อ
รายชื่อภาพยนตร์ ที่สุ่มตัวอย่างได้ และใช้ในแบบสอบถาม มีดงั ต่อไปนี้
1. Sex and the City เซ็กส์ แอนด์ เดอะ ซิต้ ี
2. Yes Man เยสแมน คนมันรุ่ งเพราะมุ่งเซย์เยส
3. The House Bunny บันนี่สาว หัวใจซี๊ด
4. High School Mucical: Senior Year ไฮสคูล มิวสิ คคัล
5. You don’ mess wi h Zoh n อย่าแหย่โซฮาน
6. The Great Buck Howard คนเจ๋ งเป้ ง
28

7. The Hangover เมายกแก๊ง แฮงค์ยกก๊วน


8. What happen in Vegas หนุ่มฟุ้ ง สาวเฟี้ ยว เปรี้ ยวรักที่เวกัส
9. Easy A อีนี่แร๊ งงส์
10. The Proposal ลุน้ รักวิวาห์ฟ้าแลบ


ด ด

ำน ก
ั ห อ ส

มุ ด ก
ด ลาง

ส ด


ด ด ( pen- nded)


1. ด ด ดด
1.1 ดด ดด ด
1.2 ดด ด
1.3 (โ ด )
2. ด ด ดด
2.1 ด ดด
2.2 ด
2.3 (โ ด )

ด ด
ด โด
ด ด ด
ด (Open-Ended) ด ด
29


.1 1

. 551– 553 3 ปี จานวนทั้ง หมด 98 โด
A A
http://www.imdb.com
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
. ส
100 ชุ ด ตามสถานศึ ก ษา
โด
(Simple Random Sampling) โด 90 ด ด
1 ( ำ ด โ , 1973)
( ndep h n e iew) 5 โด
(Acciden l S mpling) 1

5.
ขั้นตอนการศึกษาของงานวิจยั ฉบับนี้ ได้แบ่งเป็ นสองส่ วน
1
1.1 ค้นคว้าข้อมูลจากหนังสื อ ที่เกี่ยวข้องกับ และแนวคิดการแปล
ชื่อเรื่ อง และเอกสารงานวิจยั เกี่ยวกับการแปลชื่อภาพยนตร์
1.2 รวบรวมข้อมูลรายชื่อภาพยนตร์
2551-2553 จากนิตยสาร A EXTRA
1.3 ด โด
http://www.imdb.com
1.4 นาข้อมูลรายชื่อภาพยนตร์ท้ งั หมดมารวบรวม และวิเคราะห์กลวิธี
ตา ด ด
30

1.5 จัดหมวดหมู่ ชื่อ ภาพยนตร์ตามกลวิธีการแปล

1.6 (Descriptive Analysis)


โด

2 ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามเพื่อสารวจความคิดเห็นของผูช้ ม
2.1
ำ น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง ภาพยนตร์ และ
การสื่ อความหมาย ชื่อ ส ภาพยนตร์
2.2 ด ดวิเคราะห์
ผูว้ ิจ ั วิธีการสุ่ มแบบง่าย (Simple Random
Sampling) โดยใช้วธิ ี การจับฉลากแต่ละรายชื่อจากแต่ละกลุ่มกลวิธีการแปล หากพ กลวิธีการแปลใดที่
มีเพียงรายชื่อเดียว ผูจ้ ยั จะใช้วธิ ีการเลือกแบบเจาะจงรายชื่อภาพยนตร์ มาเป็ นตัวอย่างในงานวิจยั
2.3 โด ด
2.4
2.5 ด
2.6 ด
( ด 535 1 1) ด
= f x 100
N

f

2.7 สรุ ปผลและ (Descriptive Analysis)

31

6.

ด ด ด โด
1 วิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทย
โด

ห อ SKมPุดSก(1977)


ั ล า
สำ3น การแปลตรงตัว (Literal)
โด ด Mildred M. Larson (1984)
ง การแปลคาต่อคา (Word-for-
word) และ การแปลตามวัตถุประสงค์ (Purpose)

( )
( 55 ) โด ด ด
1. โด ดด ด
2. โด ด
3. โด
4. โด ด ด
5. โด ด ด
6. โด ด ด


Skopos (1977) Mildred M. Larson (1984)
( 55 ) 2 ด
ด ด
( 5 3) 3
ด ดด
32


( 5 3) ด 3 ด
1. การทับศัพท์ คือ การตั้งชื่อโดยใช้การเขียนคาในชื่อภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย
แบ่งเป็
1.1 การทับศัพท์ท้ งั ข้อความโดยไม่มีการเสริ มความภาษาไทย
1.2 การทับศัพท์ท้ งั หมดโดยเสริ มข้อความภาษาไทย คือ การเสริ มข้อความเพิ่ม

ำน ก
ั ห อ ส ม
ข้างหน้าหรื อต่อท้ายคาทับศัพท์ของชื่อภาษาอังกฤษ
ุ ด กลาง
1.3 การทับศัพท์บางส่ วนของข้อความโดยเสริ มความภาษาไทย โดยนา

คาบางส่ วนของชื่ ภาษาอังกฤษมาทับศัพท์และเสริ มความภาษาไทย

2. การแปลความ คือ การแปลความหมายจากชื่อภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทย แบ่งเป็ น


2.1
2.1.2 แปล ดทั้งข้อความ โดยไม่มีการเสริ มความ
2.1.3 แปล ดทั้งข้อความ โดยมีการเสริ มความภาษาไทย
2.1.4 แปล ดทั้งข้อความ แบบเอาความโดยไม่มีการเสริ มความ
2.1.5 แปล ดทั้งข้อความ แบบเอาความ โดยมีการเสริ มความ
2.2 แปลบางส่ วนและเสริ มความ ดัดแปลงหรื อตกแต่งข้อความ

3. การตั้งชื่อใหม่ คือ การที่ผตู้ ้ งั ชื่อพิจารณาตั้งชื่อภาษาไทยขึ้นมาโดยที่


ความหมายของชื่อภาษาไทยไม่มีความเกี่ยวข้องกับชื่อเดิมเลย แบ่งเป็ น
3.1 ตั้งขึ้นใหม่โดยใช้คาในแวดวงดียวกันกับความหมายของคาในชื่อ
ภาษาอังกฤษ
3.2 ตั้งขึ้นใหม่โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม ความหมายของสารก็ไม่เกี่ยวข้องกับ
ชื่อภาษาอังกฤษ
33


โด 8

1.
1.1
1.2
1.3
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
2.
.1

.
2.3 การแปลบางส่ วน
3.
3.1 การตั้งชื่อใหม่โด ไม่เกี่ยวข้องกับชื่อ ด
3.2 การตั้งชื่อใหม่โด ด

2 ด

โด
( ด 2535: 101) ดังนี้
= f x 100
N

f
34

สรุ ปผลและนา (Descriptive


Analysis) และใช้ตารางเปรี ย บเที ย บ ส าหรั บ ในส่ ว นค าถามปลายเปิ ด (Open-Ended) ด
ด ด
(Indepth Interview) ด

7.

ำน ก
ั ห อ ส ม ุ ด ก

ลา งด
(Descriptive An l sis) ส โด
ส่ วนที่ 1 เป็ นข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษา
98 ภาษาไทยส าหรั บ
. 551- 553 โด

2 เป็ นข้อ มู ล ที่ ไ ด้จ ากการวิ เ คราะห์ แ บบสอบถามเกี่ ย วกับ ความคิ ด เห็ น
โด
ด (Open- nded)
ด ด

8.

ในขั้นต้นผูว้ ิจยั ได้คน้ คว้า ข้อมูลและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ ยวข้อง



2 ข้อของงานวิจยั ฉบับนี้ ดด
35

1. ด
แนวคิดและทฤษฎี ที่เกี่ ยวข้องกับการแปล

2. ด
โด แนวคิ ด
สร้ า ง

ำ น ก
ั ห อ ส ม ุ ด กลาง
จากการศึ ก ษาค้นส
คว้า ข้อ มู ล ข้า งต้น เหล่ า นี้ ผู้วิจ ัย ใช้เ ป็ นกรอบแนวคิ ด ในการวิ จ ัย เพื่ อ ใช้
ดาเนินการสารวจตามวัตถุประสงค์ของงานวิจยั ด
บทที่ 4

ผลการวิจัย

การวิจัยเรื่อง “ กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันเป็นภาษาไทย” มีวัตถุประสงค์ เพื่อ

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
วิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และเพื่อสารวจความ


คิดเห็นของผู้ชมที่มีต่อกลวิธีการแปลที่ผู้แปลเลือกใช้แปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ผลการวิจัยนี้ได้มา
จากการรวบรวมรายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกั นที่เข้าฉายในประเทศไทยระหว่างปี 2551-2553 รวม
ทั้งสิ้น 98 รายชื่อ และ จากแบบสอบถาม ผู้วิจัยนาเสนอผลการศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลใน
รูปแบบสถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) โดยนาเสนอผลการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่ว นที่ 1 ผลการวิเคราะห์ก ลวิธีก ารแปลชื่อภาพยนตร์ต ลกอเมริกัน ที่น าเข้าฉายใน
ประเทศไทย ในช่วงปี 2551-2553 (ตารางที่ 2 – 16)
ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบส บถา เพื่อสารวจความคิดเห็นของผู้ชมที่มีต่อ
ชือ่ แปลภาพยนตร์ตลกอเมริกัน (ตารางที่ 17 – 27)

ส่วนที่ 1 ผลการวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่นาเข้าฉายในประเทศไทยในช่วงปี
2551-2553 รวมทั้งหมด 98 เรื่อง

งานวิจัยนี้เป็นการนารายชื่อภาพยนตร์ต้นฉบับภาษาอังกฤษมาเปรียบเทียบกับชื่อแปลภาษาไทย
โดยอาศัยกรอบการศึกษาเรื่องแนวคิดและทฤษฎีการแปลของ SKOPOS (1977) โดยเพิ่มเติมเงื่อนไข
เกี่ยวกับการแปลชื่อภาพยนตร์ตามกรอบงานวิจัยของ เบญจรัตน์ วิทยาเทพ (2550) และการถ่ายทอดสาร
ของชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยตามกรอบงานวิจัยของ ธีรารัตน์ บุญกองแสน (2543) จาก
ผลการวิเคราะห์กลวิธีการแปลที่ใช้แปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันในช่วงปี 2551-2553 จา
98 เรื่ อ ง พบกลวิ ธี ก ารแปลจ านวน 3 กลุ่ ม ได้ แ ก่ อั น ดั บ ที่ 1 กลวิ ธีก ารแปลกลุ่ม ตั้ ง ชื่อ ใหม่

36
37

จา คิดเป็นร้อยละ 44.90 อันดับที่ 2 กลวิธีการแปลกลุ่มแปลความ จานวน 32 เรื่อง คิดเป็น


ร้อยละ 32.65 อันดับที่ 3 กลวิธีการแปลกลุ่มทับศัพท์ จานวน 22 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 22.45

ตารางที่ 2 ประเภทของกลุ่มกลวิธีการเเปลที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ปี พ.ศ. 2551-2553


กลวิธกี ารเเปล จานวน (เรื่อง) ร้อยละ
1. กลวิธีการตั้งชื่อใหม่ 44 44.90
2. กลวิธีการเเปลความ
ศัพำท์น
3. กลวิธีการทับส
กัห อ ส มุ ด ก 32

22าง
32.65
22.45
รวม 98 100

นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้วิเคราะห์ความถี่ของกลวิธีการแปลที่อยู่ภายใต้กลุ่มกลวิธีการแปลแต่ละ
กลุ่มดังนี้
1) กลวิธีการทับศัพท์ เป็นกลวิธีที่ใช้คาอ่านภาษาอัง กฤษเป็นชื่อภาพยนตร์ จากการ
วิเคราะห์ครั้งนี้พบว่ามีกลวิธีการแปลที่อยู่ในกลุ่มทับศัพท์จานวน 4 กลวิธี ได้แก่ กลวิธีการแปลโดยการ
ทับศัพท์ทั้งหมด และเสริมความภาษาไทย จานวน 12 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 54.54 กลวิธีการแปลโดย
การทับศัพท์ทั้งหมด ไม่เสริมภาษาไทย จานวน 5 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 22.73 กลวิธีการแปลโดยการทับ
ศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย จานวน 4 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 18.18 และ กลวิธีการแปลโดย
การทับศัพท์บางส่วน และไม่เสริมความภาษาไทย จานวน 1 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 4.55 ตามลาดับ

ตารางที่ 3 กลวิธีการทับศัพท์ที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ปี พ.ศ. 2551-2553


1. กลวิธกี ารทับศัพท์ จานวน (เรื่อง) ร้อยละ
1.1 การทับศัพท์ทั้งหมด และเสริมความภาษาไทย 12 54.54
1.2 การทับศัพท์ทั้งหมด ไม่มีเสริมความภาษาไทย 5 22.73
1.3 การทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย 4 18.18
1.4 การทับศัพท์บางส่วน และไม่เสริมความภาษาไทย 1 4.17
รวม 22 100
38

1.1) การทับศัพท์ทั้งหมด และเสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์


โดยใช้คาอ่านจากภาษาอังกฤษมาทับศัพท์ และเสริมความภาษาไทย เพื่อขยายความและสื่อความหมาย
ให้ผู้ชมได้เข้าใจแนวของภาพยนตร์ รวมถึงเนื้อหาของภาพยนตร์ให้ชัดเจนมากขึ้น จากการวิเคราะห์
พบว่า กลวิธีการแปลวิธีนี้แม้จะทาให้ชื่อแปลภาพยนตร์มีลักษณะยาว แต่ก็นับเป็นกลวิธีการแปลที่นิยม
ในการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน สังเกตได้จาก จานวนภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ในช่วงระยะเวลา 3
ปี ตั้งแต่ปี 2551-2553 ทั้งหมด 98 เรื่อง มีการแปล ในลักษณะนี้ถึง 12 เรื่อง

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ตารางที่ 4 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่แปลโดยการทับศัพท์ทั้งหมด และเสริมความภาษาไทย
กลวิธที ี่ 1.1
ส กลวิธกี ารทับศัพท์ทงั้ หมด เเละเสริมความภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 Fool's Gold ฟูลส์โกลด์ ตามล่าหารัก ขุมทรัพย์มหาภัย
2 2551 Penelope เพเนโลปี้ รักเเท้…ขอเเค่ปาฏิหารย์
3 2551 Juno จูโน่…โจ๋ป่องใจเกินร้อย
4 2551 Mamma Mia! มัมมา มีอา! วิวาห์วนุ่ ลุ้นหาพ่อ
5 2551 Kung fu panda กังฟูเเพนด้า วิบตั ิการณ์สยองโลก
6 2551 Get Smart เก็ท สมาร์ท พยัคฆ์ฉลาด เก๊กไม่เลิก
7 2551 In Bruges อินบรูซ คู่นักฆ่าตะลุยมหานคร
8 2552 Yes Man เยสเเมน คนมันรุ่ง เพราะมุ่งเซย์ "เยส"
9 2552 Bolt โบลท์ ซูเปอร์โฮ่ง ฮีโร่หัวใจเต็มร้อย
10 2552 New in Town นิว อิน ทาวน์ หนีร้อนมาหนาวรัก
11 2553 MacGruber แม๊คกรูเบอร์ ยอดคนสมองบวม
12 2553 Due Date ดิว เดท คู่แปลก ทริปป่วน
ตัวอย่างที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่าง 1 “จูโน่ โจ๋ป่องใจเกินร้อย (Juno)”
ชื่อภาษาไทยใช้วิธีทับศัพท์ชื่อภาษาอังกฤษคาว่า “จูโน่” ซึ่งเป็นชื่อของตัวละครเอก
ของเรื่อง และเสริมความภาษาไทยว่า “โจ๋ป่องใจเกินร้อย” เพื่อสื่อความหมายของชื่อภาพยนตร์ให้ชัด
39

ขึ้น เช่น เนื้อหาของภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นเรื่องราวของตัวละครเอกที่ชื่อ จูโน่ วัยรุ่นสาวซึ่งตั้งท้องในวัย


เรียน แต่ด้วยความใจกล้าที่ปฏิเสธการทาแท้ง และเลือกอุ้มท้องลูกของตัวเอง พร้อมเชิดหน้าเดินต่อใน
สังคมต่อไป จึงเป็นที่มาของชื่อแปลภาพยนตร์เรื่องนี้
ตัวอย่าง 2 “ ” (Yes Man)”
ชื่อภาษาไทยใช้วิธีทับศัพท์ชื่อภาษาอังกฤษค าว่า “ ” ซึ่งเป็น ช า
บ บบ และเสริมความภาษาไทยว่า “ ” เพื่อสื่อความหมายของชื่อภาพยนตร์

สบ า สา จ ก
ำน ก
ั ห อ ส ม
ให้ชัดขึ้น เช่น เนื้อหาของภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นเรื่องราวของตัว ละครเอกที่
ุ ด กลาง
า า า า จาก
ก แ แ สา า ถ
า ก ก า จึงเป็นที่มาของชื่อแปล
ภาพยนตร์เรื่องนี้ ส
1.2) การทับศัพท์ทั้งหมด ไม่มีเสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์
โดยใช้คาอ่านภาษาอังกฤษมาทับศัพท์เป็นชื่อภาพยนตร์ โดยไม่ใช้คาภาษาไทยเสริมความประกอบ
จากการวิเคราะห์พบว่า ชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่แปลด้วยกลวิธีนี้ จะเป็นชื่อภาพยนตร์ที่เป็นคาสั้น
กระชับ ออกเสียงง่าย เหมาะที่จะนามาทับศัพท์เป็นภาษาไทย กลวิธีการแปลโดยทับศัพท์ทั้งหมด และ
ไม่มีเสริมความภาษาไทย ไม่เป็นที่นิยมนักในการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน สังเกตได้จาก จานวน
ภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ในช่วงระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ ปี 2551-2553 ทั้งหมด 98 เรื่อง มีการแปล ใน
ลักษณะนี้เพียง 5 เรื่อง
ตารางที่ 5 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่แปลโดยการทับศัพท์ทั้งหมด ไม่มีเสริมความภาษาไทย
กลวิธที ี่ 1.2 กลวิธีการทับศัพท์ทั้งหมด ไม่มีเสริมความภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 Sex and the City เซ็กซ์ แอนด์ เดอะ ซิติ้
2 2552 The Pink Panther 2 เดอะ พิงค์ เเพนเธอร์ 2
3 2553 Sex and The City 2 เซ็กซ์ แอนด์ เดอะซิตี้ 2
4 2553 Toy Story 3 ทอย สตอรี่ 3
5 2553 Yogi Bear โยกี้ แบร์
40

ตัวอย่างที่พบจากชื่ ภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่างที่ 1 “เซ็กซ์ แอนด์ เดอะซิตี้ (Sex and the City)”
เป็นการทับศัพท์ชื่อภาษาอังกฤษ ด้วยการออกเสียงอ่านคาศัพท์ภาษาอังกฤษ ซึ่งเมื่ออ่าน
ทับศัพท์แล้วสามารถสร้างเสน่ห์ให้กับชื่อภาษาไทยได้อย่างดี รวมถึงสามารถสื่อความหมาย ให้ผู้ชมคน
ไทยได้เข้าใจเนื้อเรื่องอย่างชัดเจนและถูกต้อง
ตัวอย่างที่ 2 “เดอะพิงค์ แพนเตอร์ (The Pink Panther)”
เป็นการทับศัพท์ชื่อภาษาอังกฤษ ซึ่งผู้ชมคนไทยรูจ้ ักกันเป็นอย่างดี ชื่อภาพยนตร์เรื่องนี้

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
เป็นชื่อการ์ตูนที่เคยถูกสร้างมาแล้วในอดีต ทาให้ไม่จาเป็นต้องแปลชื่อเรื่องใหม่ หรือเสริมความใดๆ


เพราะอาจทาให้ผู้ชมสับสนว่าเป็นภาพยนตร์คนละเรื่อง และอาจส่งผลกระทับต่อการรับรูข้ องผู้ชมได้
1.3) การทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์
โดยทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย ซึ่งชื่อต้นฉบับภาษาอังกฤษอาจไม่เหมาะสาหรับ นามา
แปล อีกทั้งการทับศัพท์เพียงอย่างเดี ยวอาจไม่สามารถสื่อความหมายถึงแนวของภาพยนตร์ และ
เนื้อหาของภาพยนตร์ได้ ดังนั้นการทับศัพท์ภาษาอังกฤษที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อตัวละครเอก ชื่อกลุ่ม
เป็นต้น รวมถึงการเสริมความด้วยภาษาไทยจะช่วยชื่อภาพยนตร์มีความน่าสนใจมากขึ้น และ สามาถ
สื่อความหมายของชื่อภาพยนตร์ได้ชัดขึ้น จากการวิเคราะห์พบว่า กลวิธีการแปลลักษณะนี้ไม่เป็นที่
นิยมนักในการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน สังเกตได้จากจานวนภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ในช่ว ง
ระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ปี 2551-2553 ทั้งหมด 98 เรื่อง มีการแปลด้วยวิธีนี้เพียง 4 เรื่อง

ตารางที่ 6 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่แปลโดยการทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย


กลวิธที ี่ 1. 3 กลวิธีการทับศัพท์บางส่วน เเละเสริมความภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 Horton Heers a Who! ฮอร์ตัน กับโลกจิว๋ สุดมหัศจรรย์
2 2551 The House Bunny บันนี่สาว หัวใจซี๊ด
3 2552 Zack and Miri Make a Porno แซ็คเเละมิริ คู่ซี้จูนรักไม่มกี กั๊
4 2552 The Rebound เผลอใจใส่เกียร์ รีบาวด์
41

ตัวอย่างที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่าง “แซ็คเเละมิริ คู่ซี้จูนรักไม่มกี กั๊ (Zack and Miri Make a Porno)”
ชื่อภาษาไทยใช้วิธีทับศัพท์ชื่อตัวละเอกของเรื่อง คือ “แซคและมิริ” และเสริมความ
ภาษาไทย คาว่า “คู่ซี้จูนรักไม่มกี กั๊ ” เพื่อสื่อความหมายถึงความสนิทสนม และไม่มีอะไรปิดบังกัน
ระหว่างตัวละครเอกในเรื่องทั้งสองคน ทาให้ภาพยนตร์มีความน่าสนใจมากขึ้น

1.4) การแปลโดยทับศัพท์บางส่วน และไม่เสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลชื่อ


ั ห อ ส มุ ด กลาง
ภาพยนตร์โดยการทับศัพท์บางส่วนของชื่อต้นฉบับภาษาอังกฤษ และไม่เสริมความภาษาไทย จากการ
ำน

วิเคราะห์ พบว่ า กลวิธีก ารแปลวิ ธีนี้ น ามาใช้แปลชื่อ ภาพยนตร์ ต ลกอเมริกั น ประเภทภาคต่ อ ซึ่ ง
ภาพยนตร์ประเภทภาคต่ออาจมีจานวนน้อย ดังนั้นจึงเป็นข้อจากัดที่ผู้แปลจะเลือกใช้กลวิธีนี้ในการแปล
ชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันประเภททั่วไป จึงเป็นผลให้กลวิธีการแปลวิธีนี้ไม่เป็นที่นิยม ในการแปลชื่อ
ภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ดังเห็นได้จาก การวิเคราะห์กลวิธีแปล พบเพียง 1 รายชื่อเท่านั้น

ตารางที่ 7 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่แปลโดยการทับศัพท์บางส่วน และไม่เสริมความภาษาไทย


กลวิธที ี่ 1.4 กลวิธีการแปลโดยทับศัพท์บางส่วน และไม่เสริมความ ภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2552 High School Musical : Senior Year ไฮสคูล มิวสิคัล
ตัวอย่าง “ไฮสคูล มิวสิคัล (High School Musical: Senior Year)”
เป็นการทับศัพท์ชื่อภาษาอังกฤษเฉพาะคาว่า ไฮสคูล มิวสิคคัล โดยไม่แปล คาศัพท์ที่
เหลือของชื่อภาษาอังกฤษคือ Senior Year อาจเป็นเพราะภาพยนตร์เรื่อง High School Musical เป็น
ภาพยนตร์ภาคต่อ ซึ่งคาว่า Senior Year เป็นภาคที่สามของภาพยนตร์เรื่องดังกล่าว ชื่อภาพยนตร์เรื่องนี้
มีการทับศัพท์ ชื่อภาษาอังกฤษตั้งแต่ภาคแรก ดังนั้นผู้ชมคนไทยจึงอาจจะคุ้นเคยกับ ชื่อของภาพยนตร์
เรื่องนี้ ดีอยู่แล้ว จึงส่งผลให้ผู้แปลเลือกที่จะละคาไม่แปล คาว่า Senior Year รวมถึงไม่เสริมความ
ภาษาไทยด้วย
42

2) กลวิธีการแปลความ เป็นกลวิธีการแปลความหมายจากชื่อเดิมในภาษาอังกฤษอย่าง
ตรงความหมาย หรือเป็นการถอดความหมายโดยใช้คาภาษาไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกับความหมาย
เดิมแต่มีสีสันมากกว่าเพื่อให้ชื่อภาพยนตร์น่าสนใจมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็สื่อความหมายเหมือนชื่อ
เดิ มในภาษาอังกฤษด้ว ย จากการวิเคราะห์ครั้งนี้ พบว่ามีก ลวิธีการแปลที่อยู่ใ นกลุ่มการแปลความ
จานวน 4 กลวิธี ได้แก่ กลวิธีการแปลบางส่วนและเสริมความภาษาไทย จานวน 14 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ
43.75 กลวิธีการแปลบางส่วน การทับศัพท์บางส่วนและเสริมความภาษาไทย จานวน 11 เรื่อง คิดเป็น
ร้อยละ 34.78 กลวิธีการแปลทั้งข้อความและเสริมภาษาไทย จานวน 6 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 18.75 และ

น ก
ั ห อ ส ม ุ ด กลาง
กลวิธีการแปลทั้งข้อความ และไม่เสริมความภาษาไทย จานวน 1 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 3.12 ตามลาดับ


ตารางที่ 8 กลวิธีการแปลความที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ปี พ.ศ. 2551-2553
2. กลวิธกี ารแปลความ จานวน (เรื่อง) ร้อยละ
2.1 การแปลบางส่วน และเสริมความภาษาไทย 14 43.75
2.2 การแปลบางส่วน การทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย 11 34.38
2.3 การแปลทั้งข้อความ และเสริมความภาษาไทย 6 18.75
2.4 การแปลทั้งข้อความ ไม่เสริมความภาษาไทย 1 3.12
รวม 32 100.00

2.1 การแปลบางส่วน และ เสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลที่ผู้แปลหยิบยก


เอาถ้อยคาบางคา หรือเลือกนาเสนอข้อความบางส่วนในรูปแบบที่เกิดจากการแปลมาเป็นภาษาไทย
และใช้ก ารตกแต่ ง ข้อความหรื อ เสริม ความเข้ าไป ซึ่ง ในส่ ว นที่ ผู้แปลเลือ กน ามาแปลนั้ น ถื อว่า มี
ความสาคัญต่อสื่อสารให้ผู้ชมรับรู้ถึงเนื้อเรื่องของภาพยนตร์ เช่น สื่อความหมายถึงตัวเอกของเรื่อง และ
สื่อความหมายถึงสถานที่ในเรื่อง เป็นต้น เพื่อให้ผู้ชมเข้าใจถึงเนื้อหาภาพยนตร์ชัดเจนยิ่งขึ้น จากการ
วิเคราะห์พบว่า กลวิธีการแปลบางส่วน และเสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลที่ ผู้แปลค่อนข้าง
นิยม นามาใช้แปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ดังเห็นได้จากจานวน ภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ในช่วงระยะ
เวลา 3 ปี ตั้งแต่ปี 2551-2553 ทั้งหมด 98 เรื่อง มีการแปลด้วยวิธีนี้ถึง 14 เรื่อง
43

ตารางที่ 9 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันทีใ่ ช้กลวิธีแปลบางส่วน และเสริมความภาษาไทย


กลวิธที ี่ 2.1 กลวิธีการเเปลบางส่วน เเละเสริมความภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 Martian Child ลูกผมเป็นมนุษย์ต่างดาว
2 2551 My Sassy Girl ยกหัวใจให้ยัยตัวร้าย
3 2551 My best friend's girl "เเอ้ม" ด่วนป่วนเพื่อนซี้
4
น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
2551 The Hottie and the Nottie
ำ เริ่ด เชิ่ด สวย เหรอ?
5 ส
2552 Confession of a Shopaholic เสน่ห์รักสาวนักช้อป
6 2552 The Great Buck Howard คนเจ๋งเป้ง
7 2552 Night at the Museum 2 มหึมาพิพิธภัณฑ์ ดับเบิ้ลมันส์ทะลุโลก 2
8 2552 Land of Lost ข้ามมิติตะลุยแดนมหัศจรรย์
9 2553 The man who stare at Goats เรียกข้าว่า จารชนจ้องแพะ
10 2553 Love Happens รักแท้ มีแค่ครั้งเดียว
11 2553 Tooth Fairy เทพพิทักษ์ ฟันน้านม
12 2553 How to Train Your Dragon อภินิหารไวกิ้ง พิชิตมังกร
13 2553 It’s Complicated รักวุน่ วาย หัวใจสับราง
14 2553 Going the Distance รักแท้ไม่แพ้ระยะทาง
ตัวอย่างที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่างที่ 1 “เสน่ห์รักสาวนักช้อป (Confession of Shopaholic)”
ชื่อภาพยนตร์ เรื่ องนี้ มีการแปลตรงตัว คาว่า “Shopaholic” ซึ่งมีค วามหมายว่า
“นักช้อป” (http://dict.longdo.com) และเสริมความภาษาไทย คาว่า “เสน่ห์รักสาว” เพิ่มข้างหน้าคา
แปล เพื่อทาให้ชื่อภาพยนตร์มีน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ซึ่งการแปลตรงตัวบางข้อความ รวมกับการเสริม
ความ สามารถสื่อความหมายถึงแนวเรื่อง และเนื้อหาของภาพยนตร์ได้ จึงเป็นจาเป็นต้องแปลความทั้ง
ประโยค ดั งเห็น ว่า ชื่อภาพยนตร์เรื่องนี้ ละไม่แปล ค าว่า “Confession of” อาจเป็น เพราะหาค า
ภาษาไทยที่เหมาะสมไม่ได้ หรือการแปลความหมายอาจทาให้ชื่อแปลยาว เยิ่นเย้อ ไม่ได้ใจความ และ
ไม่น่าสนใจ
44

2.2) การแปลบางส่วน การทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธี


การแปลที่เลือกนาเสนอข้อความบางส่วนในรูปแบบที่เกิดจากการแปลมาเป็นภาษาไทย และทับศัพท์
ชื่อต้นฉบับภาษาอังกฤษบางคา อีกทั้งเสริมความภาษาไทย เพื่อขยายความและสื่อความหมายให้ผู้ชม
ได้เข้าใจเนื้อหาของภาพยนตร์มากขึ้น จากการวิเคราะห์พบว่า ในส่วนที่ผู้แปลเลือกนาแปลความนั้น
มักจะเป็นคาศัพท์ที่บอก เวลา ตาแหน่ง และความรู้สึก เป็นต้น ในส่วนที่ผู้แปลเลือกนามาทับศัพ ท์นั้น
มักจะเป็นคาศัพท์ชื่อเฉพาะ ชื่อบุคคล เป็นต้น ในส่วนเสริมความภาษาไทยนั้น มักจะเป็นประโยคสั้นๆ
ขยายความถึงเนื้อเรื่องของภาพยนตร์ กลวิธีการแปลวิธีนับว่าเป็นกลวิธีที่นิยมใช้แปลชื่อภาพยนตร์

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ตลกอเมริกันในระดับกลาง ดังเห็นได้จาก จานวนภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ในช่วงระยะ เวลา 3 ปี ตั้งแต่


ปี 2551-2553 ทั้งหมด 98 เรื่อง มีการแปลด้วยวิธีนี้ 11 เรื่อง
ตารางที่ 10 รายชื่อภาพยนตร์ต ลกอเมริกันที่ใ ช้ก ลวิธีแปลบางส่ว น การทับศัพท์บางส่วน และเสริม
ความภาษาไทย
กลวิธที ี่ 2.2 การแปลบางส่วน ทับศัพท์บางส่วน เเละเสริมความภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 Virgin Territory สะกดจูบ เเดนเวอร์จิ้น
2 2551 What happens in Vegas หนุ่มฟุ้ง สาวเฟี้ยว เปรี้ยวรักที่เวกัส
3 2552 Big Stan พี่บิ๊กเบิ้ม ขอทีอย่าเเหยม
Ice Ages 3: Dawn of the ไอซเอจ เจาะยุคน้าเเข็งมหัศจรรย์ 3 จ๊ะเอ๋
4 2552
Dinosaurs ไดโนเสาร์
5 2552 New York, I love you นิวยอร์ก นครเเห่งรัก
6 2553 Alvin and the Chipmunks 2 อัลวินกับสหายชิพมังค์จอมซน 2
7 2553 A serious man เฮ้อ โลกมันเครียด ขอซีเรียสซะให้เข็ด
8 2553 Date Night คืนเดทพิสดาร ผิดฝาผิดตัวรั่วยกเมือง
9 2553 Shrek Forever After เชร็ค สุขสันต์ นิรนั ดร
10 2553 I love you Phillip Morris รักนะ นายมอริส
11 2553 When in Rome อธิษฐานวุ่นลุ้นรัก ณ กรุงโรม
45

ตัวอย่างที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่างที่ 1 “ (What happens in Vegas)”
ก กา แ แ ก บ า า บ บ กสถา
e as ก า แ แ า บ บ กสถา า า in
แ า า า าษา า ส า า
ถ า า ก กบ หนุ่มเจ้าเสน่ห์กับสาวผู้ยึดประเพณีปฏิบัติ ซึ่ ส า า
าส ก ส หวัง หาความสุ ข เต็ มที่ แต่ ว่ า า า า า า ก ส าก
จ บ ส ส
ำน ก
ั ห อ ส
ซึ่ า ส ก มุ ด กลาง า ส ทาพลาดครั้งใ จาก
ก าจ า ส า า าษา แ กา บ สถา บถ
สถา า า
ตัวอย่างที่ 2 “คืนเดทพิสดาร ผิดฝาผิดตัวรั่วยกเมือง (Date Night)”
ก กา แ แ ก บ า า ate า
า จ า า แ ก บ ก แ กแ า า i ht แ า
แ า า า“ ” เพื่อสื่อความหมาย า แ ก กา
แ สาจ า า ให้ผู้ชมเข้าใจถึง า Date Night จ าก
า ถา ากแ า บ า ก าจ จ า า

2.3) การแปลทั้งข้อความ และเสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลความหมายจาก


ชือ่ ต้นฉบับภาษาอังกฤษอย่างตรงตัวทั้งข้อความ และเสริมความภาษาไทย เพื่อขยายความเนื้อหาของ
ภาพยนตร์ให้ชัดเจนขึ้น ในส่วนการใช้ภาษาขยายความนั้น พบว่าผู้แปลมัก สร้างสรรค์ภาษาโดยใช้คา
สแลง คาคล้องจอง และคาสัมผัสสระ เป็นต้น จากการวิเคราะห์พบว่า กลวิธีการแปลลักษณะนี้ถึงแม้ว่า
ชื่อแปลภาษาไทยเป็นการแปลความหมายจากชื่อต้นฉบับ และสามารถสื่อความหมายจากชื่อต้นฉบับ
ภาษาอังกฤษได้ดี รวมถึงการเสริมข้อความภาษาไทยช่วยเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับภาพยนตร์แต่ละเรื่อง
ได้มากขึ้น แต่กลวิธีการแปลลักษณะนี้ไม่เป็นที่นิยมนามาแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน สังเกตุได้จาก
จานวนภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ในช่วงระยะ เวลา 3 ปี ตั้งแต่ปี 2551-2553 ทั้งหมด 98 เรื่อง มีการแปล
ด้วยวิธีนี้เพียง 6 เรื่อง
46

ตารางที่ 11 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่ใช้กลวิธีแปลตรงตัวทั้งข้อความ และเสริมความภาษาไทย


กลวิธที ี่ 2.3 กลวิธีการเเปลทัง้ ข้อความ เเละเสริมความภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 Bedtime Stories มหัศจรรย์นิทานก่อนนอน
2 2552 17 Again 17 ขวบอีกครั้ง…กลับมาเเก้ฝันให้เป็นจริง
3 2552 The Hangover เมายกเเก๊ง เเฮงค์ยกก๊วน
4
ห อ
2552 The Brother Bloom
ำน ก
ั ส มุ ด กลาง พีน่ ้องบลูม รวมกันตุ๋น จุน้ ละมุน
5
6 2553 Killers

2553 The Switch ปุ๊บปั๊บสลับกิ๊ก
เทพบุตรหรือนักฆ่าบอกมาซะดีๆ
ตัวอย่างที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่างที่ 1 “มหัศจรรย์นิทานก่อนนอน (Bedtime Stories)”
ชื่อภาพยนตร์เรื่องนี้มกี ารแปลความหมายชื่อต้นฉบับภาษาอังกฤษตรงตัวทั้งข้อความ
“Bedtime Stories” แปลว่า “นิทานก่อนนอน” โดยเสริมความภาษาไทย คาว่า “มหัศจรรย์” นาหน้าชื่อ
แปลตรงตัว เพื่อสื่อความหมายถึงความแปลก หรือ เป็นสิ่งในจินตนาการ ชวนให้น่าติดตาม
ตัวอย่างที่ 2 “พี่น้องบลูม รวมกันตุ๋น จุ้นละมุน (The Brother Bloom)”
ชื่อภาพยนตร์เรื่องนี้ทีการแปลความหมายชื่อต้ นฉบับภาษาอังกฤษตรงตัว ทั้งข้อความ
“The Brother Bloom” แปลว่า “พี่น้องบลูม” โดยเสริมความภาษาไทย คาว่า “รวมกันตุ๋น จุ้นละมุน ”
ขยายความหลังชื่อแปลตรงตัว เพื่อสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจถึงเนื้อหาของภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับ นัก
ต้มตุ๋นสองพี่น้อง ที่สร้างเรื่องวุ่นวาย จนกลายเป็นเรื่องตลกขบขัน นอกนี้จะเห็นว่ามีการใช้คาสัมผัส
สระ ในประโยคเสริมความ คือ คาว่า ตุ๋น และ จุ้น ซึ่งมีส่วนช่วยให้ชื่อภาพยนตร์น่าประทับใจมากขึ้น
2.4) การแปลทั้งข้อความ ไม่มีเสริมความภาษาไทย เป็นกลวิธีการแปลความหมายตรงตัว
จากชื่อต้นฉบับภาษาอังกฤษทั้งข้อความ ไม่มีเสริมความภาษาไทย จากการวิเคราะห์พบว่า การแปลใน
ลักษณะนี้ไม่เป็นที่นิยมในการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน จะเห็นได้ว่า ภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่เข้า
ฉายในช่วงปี 2551-2553 จานวนทั้งหมด 98 เรื่อง มีเพียง 1 เรื่องเท่านั้น อาจเป็นเพราะเป็นเรื่องยากที่จ
หาคาแปลภาษาไทยที่มีความหมายตรงตัวกับความหมายเดิมภาษาอังกฤษและต้องเป็นคาที่สื่อความ
หมายถึงเนื้อหาของภาพยนตร์เรื่องนั้นๆได้ด้วย
47

ตารางที่ 12 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่แปลโดยกลวิธแี ปลทั้งข้อความ ไม่เสริมความภาษาไทย


กลวิธที ี่ 2.4 กลวิธีการเเปลตรงตัวทั้งข้อความ ไม่มเี สริมความภาษาไทย
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 You don't mess with the Zohan อย่าเเหย่โซฮาน
ตัวอย่าง “อย่าแหย่โซฮาน (You don’t mess with Zohan)”
เป็นการแปลความหมายตรงตัวของคาศัพท์ในชื่อต้นฉบับภาษาอังกฤษ คือคาว่า Don’t


ั ห อ ส มุ ด กลาง
แปลว่ า อย่ า (http://dict.longdo.com) ค าว่ า mess with เป็ น ค าสแลง แปลว่ า กวน หรื อ แหย่
ำน

(www.urbandictionary.com) และคาทับศัพท์ชื่อเฉพาะของตัวละครเอกของเรื่องคือ โซฮาน Zohan จาก
การแปลความหมายดังกล่าว ส่งผลให้ชื่อแปลภาษาไทยสามารถสื่อความหมายได้อย่างตรงตัวกับชื่อ
ต้นฉบับภาษาอังกฤษ และสอดคล้องการแนวของภาพยนตร์ รวมถึงเนื้อหาของภาพยนตร์ โดยที่ไม่ต้อง
ขยายความภาษาไทยเพิ่มอีก

3) กลวิธีการตั้งชื่อใหม่ เป็นกลวิธีการแปลที่ผู้แปลตั้งชื่อภาพยนตร์ขึ้นมาใหม่ โดย


ไม่ได้ทับศัพท์ภาษาอังกฤษ ไม่ได้แปลความหมายจากชื่อภาษาอังกฤษ การแปลชื่อในลักษณะนี้ อาจมี
สาเหตุ มาจาก ชื่อภาษาอังกฤษเมื่อน ามาทับศัพท์แล้ว ออกเสียงยาก เช่น หรือแปลความหมายเป็น
ภาษาไทยแล้ วไม่ น่าสนใจ ผู้แปลจึงต้องตั้งชื่อขึ้นมาใหม่เพื่อสื่อความหมายถึงแนวหรือเนื้ อหาของ
ภาพยนตร์ ใ ห้ผู้ชมเข้าใจมากที่สุด หากพิจ ารณาในแง่ข องค าแปลจากชื่อภาษาอังกฤษจะพบว่าชื่อ
ภาษาไทยจะสื่อความหมายให้เห็นถึงประเด็นเรื่องราวที่แตกต่างจากชื่อภาษาอังกฤษ จากการวิเคราะห์
ครั้งนี้พบว่ามีกลวิธีการแปลที่อยู่ในกลุ่มการตั้งชื่อใหม่จานวน 2 กลวิธี ได้แก่ กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดย
ไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม จานวน 34 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 77.27 และ กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดยใช้คาที่มีเค้า
ความหมายเดิม จานวน 10 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 22.73
48

ตารางที่ 13 กลวิธีการตั้งชื่อใหม่ที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ปี พ.ศ. 2551-2553

3. กลวิธกี ารตั้งชือ่ ใหม่ จานวน (เรื่อง) ร้อยละ


3.1 การตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกีย่ วข้องกับชื่อเดิม 34 77.27
3.2 การตั้งชื่อใหม่โดยใช้คาที่มีเค้าความหมายเดิม 10 22.73
รวม 44 100

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด
3.1) กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม เป็นกลวิธีที่ผู้แปลชื่อภาพยนตร์
กลาง
พิจ ารณาชื่ อขึ้น มาใหม่โ ดยไม่ ได้ แ ปลชื่ อจากชื่อ ต้ น ฉบั บเดิ มภาษาอั งกฤษ ซึ่ง ชื่อภาษาไทยก็ไม่ มี

ความหมายเกี่ยวข้องกับชื่อเดิม จากการวิเคราะห์พบว่า กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม
เป็นกลวิธีการแปลที่ผู้แปลนิยมนามาใช้แปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันมากที่สุด ดังเห็นได้จากจานวน
ภาพยนตร์ตลกอเมริกัน ในช่วงระยะ เวลา 3 ปี ตั้งแต่ปี 2551-2553 ทั้งหมด 98 เรื่อง มีการแปลด้วยวิธีนี้
ถึง 34 เรื่อง
ตารางที่ 14 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันทีใ่ ช้กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกีย่ วข้องกับชื่อเดิม
กลวิธที ี่ 3.1 กลวิธกี ารตั้งชือ่ ใหม่โดยไม่เกีย่ วข้องกับชื่อเดิม
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 Mr.Wood Cock คู่อริ ริเคลมแม่
2 2551 Mr. Magorium's Wonder มหัศจรรย์ร้านของเล่นพิลึกโลก
3 2551 Enchanted มหัศจรรย์รกั ข้ามภพ
4 2551 Dan in Real Life ป๊ะป๋าปราบป่วนก๊วนยกบ้าน
5 2551 I could never be your woman รักครั้งใหม่หัวใจ เเอ๊บเเบ๊ว
6 2551 Nim's Island ฮีโร่แฝงร่างสุดขอบโลก
7 2551 Be Kind Rewind ใครจะว่าหนังบ้าเนี๊ยเเหละเจ๋ง
8 2551 Wall E หุ่นน้อยหัวใจรักษ์โลก
9 2551 Made of Hornor กั๊กใจให้เพื่อนเลิฟ
10 2551 Burn After Reading ยกขบวนป่วนซีไอเอ
11 2551 Disaster Movie ขบวนการฮีโร่ป่วนโลก
49

ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย


12 2551 Tropic thunder ดาราประจัญบาน ท.ทหารจาเป็น
13 2552 What just Happened? เเอบเม้าท์เรื่องฉาวฮอลลีวู๊ด
14 2552 Imagin that พ่อลูกคู่ใส หัวใจมหัศจรรย์
15 2552 UP ปู่ซ่าบ้าพลัง
16 2552 Bandslam กระโจนฝันให้สนั่นโลก
17 2552

ั ห อ ส
The Ugly Truth
ำน มุ ด กลาง ญ.หญิงรักด้วยใจ ช.ชายรักด้วย…
18
19
2552
2552

Couple Retreat
Whip it
เกาะสวรรค์ บาบัดหัวใจ
สาวจี๊ด หัวใจ 4 ล้อ
20 2553 The Spy Next Door วิ่งโขยงฟัด
21 2553 How to Be เทพบุตรรักเกิน 100
22 2553 It’s complicated ก า จสบ า
23 2553 My One and Only หาผู้ชายดีๆให้รักติดหนึบ
24 2553 Furry Vengeance ม๊อบหน้าขนซนซ่าป่วนเมือง
25 2553 The Bounty Hunter จับแฟนสาวสุดจี๊ดมาเข้าปิ้ง
26 2553 Bitter/Sweet ข้ามฟ้าหาสูตรรัก
27 2553 Knight and Day โคตรคนพยัคฆ์ร้ายกับหวานใจมหาประลัย
28 2553 Despicable Me มิสเตอร์แสบ ร้ายเกินพิกัด
29 2553 The Back -Up Plan พบชายงามตอนตุ๊บป่อง
30 2553 Letter to Juliet สะดุดเลิฟ ที่เมืองรัก
31 2553 Grown Ups ขาใหญ่ วัยกลับ
32 2553 Red คนอึดต้องกลับมาอึด
33 2553 The Joneses ครอบครัวขายแหลก
34 2553 Easy A อีนี่ แร๊งงงส์
50

ตัวอย่างที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่างที่ 1 “ปู่ซ่า บ้าพลัง (UP)”
เป็นกลวิธีการตั้งชื่อใหม่ อาจจะมีสาเหตุมาจากชื่อภาษาอังกฤษเมื่อนามาทับศัพท์หรือ
แปลความหมายไม่สามารถสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจได้ ซึ่งคาว่า “UP” แปลว่า ขึ้น หรือ บน หากผู้
แปลน าความหมายที่แ ปลจากชื่อ ภาษาอัง กฤษแบบนี้ ม าเป็ น จุด ขายในชื่อ ภาษาไทย อาจะท าให้
ภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ประสบความสาเร็จ หากพิจารณาในแง่คาแปลจะพบว่า ผู้แปลตั้งชื่อภาพยนตร์ขึ้น

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ใหม่ เพื่อสื่อความหมายถึงเนื้ อหาของเรื่องที่เกี่ยวกับคุณ ปู่ที่มีค วามฝัน ที่จ ะเดิ น ทางผจญภัยไปใน


ดินแดนอันลี้ลับตั้งแต่สมัยยังหนุ่ม แต่เมือ่ เวลาผ่านไป ความฝันนั้นก็ค่อยๆเลือนลาง จนกระทั่งเข้าสู่วัย
ชรา แต่แล้วคุณปู่จอมซ่าต้องตัดสินใจทาสิ่งที่บ้าที่สุดในชีวิต จากเนื้อเรื่องดังกล่าว จึงเป็นที่มาของชื่อ
แปลภาษาไทยที่ตั้งขึ้นชื่อใหม่ว่า "ปู่ซ่าบ้าพลัง”
ตัวอย่างที่ 2 “ครอบครัวขายแหลก (The Joneses)”
เป็นกลวิธีการตั้งชื่อใหม่ ซึ่งการตั้งชื่อในลักษณะนี้ อาจจะมีสาเหตุมาจากชื่อทับศั พท์
ภาษาอังกฤษออกเสียงยาก าแ าษา า า The Jonesses า า ก
า สก า าถ ผู้แปลจึงตั้งชื่อใหม่ขึ้นมา เพื่อ
สื่อให้ผู้ชมเข้าใจเนื้อหาของภาพยนตร์ เกี่ยวกับส า ก ค บ จ ส า ส
ก จ แ เป็นเพียงพนักงานขายของบริษัทแห่งหนึ่งที่ปลอมตัวมาอยู่ในย่านชนชั้นกลาง าอวดรูปแบบ
การใช้ชีวิตให้เพื่อนบ้านอิจฉา และโน้มน้าวใจทางอ้อมให้บรรดาเพื่อนบ้านซื้อสินค้าหรือบริการทาง
อ้อมจากเนื้อเรื่องดังกล่าว จึงเป็นที่มาของชื่อแปลภาษาไทยที่ตั้งขึ้นชื่อใหม่ว่า “ครอบครัวขายแหลก"

3.2) การตั้ง ชื่อ ใหม่โ ดยใช้ค าที่มีเ ค้ า ความหมายเดิม เป็น กลวิ ธีก ารตั้ งชื่อใหม่
ผู้แปลเลือกใช้ค าที่มี ค วามหมายใกล้เคียงกับชื่อต้ น ฉบับภาษาอังกฤษบางส่ว น แต่ ค วามหมาย
โดยรวมไม่เกี่ยวข้องกับชื่อต้นฉบับภาษาอังกฤษ จากการวิเคราะห์พบว่า กลวิธีการแปลชื่อภายนตร์ด้วย
การตั้งชื่อใหม่โดยใช้คาที่มีเค้าความหมายเดิม เป็นกลวิธีกา แ ที่ า าแ ในระดับกลางจะเห็น
ได้ว่า ภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่เข้าฉายในช่วงปี 2551-2553 จานวนทั้งหมด 98 เรื่อง มีจา 10 เรื่อง
51

ตารางที่ 15 รายชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่ใช้กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดย า า า า เดิม


กลวิธที ี่ 3.2 กลวิธกี ารตั้งชือ่ ใหม่โดยใช้คาที่มีเค้าความหมายเดิม
ลาดับ ปี ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาไทย
1 2551 27 Dresses เพื่อนเจ้าสาว 27 วิวาห์ เมื่อไรจะ
ได้เป็นเจ้าสาว?
2 2551 Superhero Movie ไอ้แมงปอ ฮีโร่ซุปเปอร์รั่ว
3 2551 Teeth กลืบเขมือบ

ำน ก

4 2551 Beverly Hills Chihuahuaห อ ส มุ ด กลาง คุณหมาไฮโซ โกบ้านนอก
5 2551 Sex Drive ส เเอ้มติดล้อ ไม่ขอเวอร์จิ้น
6 2552 The Proposal ลุ้นรักวิวาห์ฟ้าเเล่บ
7 2553 Valentine's Day หวานฉ่าวันรักก้องโลก
8 2553 Kick-Ass เกรียนโคตร มหาประลัย
9 2553 Cats & Dogs: The Revenge of Kitty Gaiore สงครามพยัคฆ์ร้ายขนปุย 2
10 2553 Dinner for Schmucks ปาร์ตี้นี้มีแต่เพี้ยน
ตัวอย่างที่พบจากชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
ตัวอย่าง 1“คุณหมาไฮโซ โกบ้านนอก (Beverly Hills Chihuahua)”
เป็น กลวิธีการตั้ งชื่อใหม่ ซึ่งการตั้งชื่อในลักษณะนี้ อาจจะมีสาเหตุมาจากชื่อ าษา
ก ษ าจ าแ าษา สา า ถถา า า แ สา า ถ า าแ
ก แ า าจ า Chih ah a ส แ ถ า าก า า
าจ า า า แ จ า า าแ า า า า ก า
ถ า า Be erl hills า ก า แ จ สส กา
แ จ าา แ า กา กา
า 2“ (The Proposal)”
เป็นกลวิธีการตั้งชื่อใหม่ แ สา า ถ า าแ ก แ า าจ
า า า The roposal แ า กา แ า แ ถา ากแ กา สา า ถส า จ า
า แ จ ก าา ส า าถ
า ก กบกา แ า แบบ
52

จาก า สา า ถสรุ กา า ก กา แ า
ก ก า า ช่วงปี พ.ศ. 2551-2553 จา า กลวิธีการแปล
บ า กรอบงานวิจัยของ เบญจรัตน์ วิทยาเทพ (2550) และ ธีรารัตน์ บุญกองแสน (2543) จานวน
8 กลวิธี ได้แก่ 1) กลวิธีการทับศัพท์ทั้งหมด ไม่มีเสริมความภาษาไทย 2) กลวิธีการทับศัพท์ทั้งหมด
และเสริมความภาษาไทย 3) กลวิธีการทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย 4) กลวิธีการแปลตรง
ตัวทั้งข้อความ ไม่มีเสริมความภาษาไทย 5) กลวิธีการแปลตรงตัวทั้งข้อความ และเสริมความภาษาไทย
6) กลวิธีการแปลบางส่วนและเสริมความภาษาไทย 7) กลวิธีการตั้งชื่อใหม่ โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม

น ก
ั ห อ ส ม ุ ด กลาง
8) กลวิธีการตั้งชื่อใหม่โดยใช้ คาที่มีเค้าความหมายเดิม

นอกจากนีส้ยังพบกลวิธีการแปลเพิ่ เติมจากกลวิธีแปลทั้ง 8 อีกจานวน 2 กลวิธี คือ
1) กลวิธีการแปลโดยการทับศัพท์บ างส่วน และไม่เสริมความภาษาไทย 2) กลวิธีการแปลบางส่วน
ทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย
ก กา แ บ กา แ า ก ก . . 2551-
255 จา ได้จานวน 10 กลวิธี ดังสรุปรายละเอียดต่อไปนี้
ตารางที่ 16 ร้อยละของกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน จาแนกตามกลวิธี
กลวิธกี ารเเปล จานวน ร้อยละ
1) การตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม 34 34.70
2) การแปลบางส่วน และเสริมความภาษาไทย 14 14.29
3) การแปลโดยทับศัพท์ทั้งหมด และเสริมความภาษาไทย 12 12.25
4) การแปลบางส่วน ทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย 11 11.22
5) การตั้งชื่อใหม่โดยใช้คาที่มีเค้าความหมายเดิม 10 10.20
6) การแปลตรงตัวทั้งข้อความ และเสริมความภาษาไทย 6 6.13
7) การแปลโดยทับศัพท์ทั้งหมด ไม่มีเสริมความภาษาไทย 5 5.10
8) การแปลโดยทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย 4 4.09
9) การแปลโดยทับศัพท์บางส่วน และไม่เสริมความภาษาไทย 1 1.02
10) การแปลตรงตัวทั้งข้อความ ไม่มีเสริมความภาษาไทย 1 1.02
รวม 98 100.0
53

จาก า า 16 สามารถสรุ ปได้ ว่า กลวิธีก ารแปลที่ บ าก ส ในการแปลชื่ อ


ภาพยนตร์ ต ลกอเมริ กัน คือ กลวิธีก ารตั้ งชื่อใหม่โดยไม่เกี่ยวข้ องกับชื่อเดิม 34.70
องลงมา ก กา แ บา ส แ ส า าษา 14.29 ก กา บ
แ ส า าษา 12.25 ก กา แ บา ส บ บา ส
แ ส า าษา 11.22 า า บ ส ก กา แ บ บ า ก า แก
ก กา า า า า 10.20 ก กา แ
า แ ส า าษา 6.13 กลวิธีการทับศัพท์ทั้งหมด ไม่มีเสริมความ

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ภาษาไทย คิดเป็นร้อยละ 5.1 และ ก กา บ บา ส แ ส า าษา

4.09 ตามลาดับ ส่วนกลวิธีการแปลที่ไม่เป็น ที่นิยมในการนามาแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริกัน
บ2 ก จา าก คือ กลวิธีการแปลโดยการทับศัพท์บางส่วน และเสริมความภาษาไทย
และ กลวิธีการแปลตรงตัวทั้งข้อความ ไม่มีเสริมความภาษาไทย 1.02
ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้ ผู้วิจัยจะนาไป ก บ าถา แบบส บถา สา จ ามคิดเห็น
แปล า ก ก ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ต่อไป

ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้ชมที่มีต่อชื่อ แปลภาพยนตร์ตลก


อเมริกัน
แบบสอบถามมีคาถามทั้งหมด 8 ข้อ จานวน 2 หน้า (ดู ภาคผนวก ก) โดยเก็บแบบสอบถาม
จานวน 100 ชุด ซึ่งผลจากการสารวจแบ 2 า ดังรายละเอียดต่อไปนี้
า 1 แบบส บถา า บแบบส บถา แก า
บกา กษา แ า
า 2 แบบส บถา า ส จ ก กบ า า แ าษา
า ก ก
54

2.1 ข้อมูลส่วนตัว
ตารางที่ 17 ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ
อายุ จานวน
ต่ากว่า 25 ปี 48
26 - 30 ปี 20
31 - 35 ปี 24
36 - 40
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด6
กลาง
รวม

มากกว่า 41 ปี 2
100
จากตารางที่ 17 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุตากว่ ่ า 25 ปี ร้อยละ 48 รองลงมา
ได้แก่ อายุระหว่าง 31 – 35 ปี ร้อยละ 24 และอายุระหว่าง 26 – 30 ปี ร้อยละ 20.5
ตารางที่ 18 ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ
เพศ จานวน
ชาย 38
หญิง 62
รวม 100
จากตารางที่ 18 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 62
เป็นเพศชายร้อยละ 38
ตารางที่ 19 ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จานวน
ปริญญาตรี 81
ปริญญาโท 19
รวม 100

จากตารางที่ 19 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 81


และปริญญาโท ร้อยละ 19
55

ตารางที่ 20 ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอาชีพ

อาชีพ จานวน
นักศึกษา 44
พนักงานบริษัท 41
เจ้าของกิจการ 7
รับราชการ
ำ น ก
ั ห อ ส มุ ด 4
3 กลาง

กาลังหางาน
พนักงานรัฐวิสาหกิจ 1
รวม 100

จากตารางที่ 20 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอาชีพเป็นนักศึกษา ร้อยละ 44 รองลงมา


ได้แก่ พนักงานบริษัท ร้อยละ 41 ประกอบธุรกิจส่วนตัว/เจ้าของกิจการ ร้อยละ 7 รับราชการ 4
กา า า แ กา สา กจ 1 า า บ

2.2 ความสนใจเกี่ยวกับภาพยนตร์
ตารางที่ 21 องค์ประกอบภาพยนตร์ที่ผู้ชมคิดว่ามีส่วนช่วยสร้างความดึงดูดใจ ห้ชมภาพยนตร์

องค์ประกอบของภาพยนตร์ จานวน
เนื้อเรื่องย่อ 38
นักแสดง 19
ชื่อภาพยนตร์ 16
ผู้กากับ 15
ค่ายหนัง 12
อื่นๆ 0
รวม 100
56

จากตารางที่ 21 พบว่าองค์ประกอบของภาพยนตร์ที่ดึงดูดความสนใจผู้ชมให้เข้าชม ภาพยนตร์


มากที่สุด อันดับที่ 1 คือ เนื้อเรื่อง ร้อยละ 38 อันดับที่ 2 คือ นักแสดง ร้อยละ 19 อันดับที่ 3 คือ ชื่อ
ภาพยนตร์ ร้อยละ 16 อันดับที่ 4 ผู้กากับ ร้อยละ 15 บ 5 า 12 า า บ
ตารางที่ 22 จานวนของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยชมภาพยนตร์ตลกอเมริกัน

คาตอบ จานวน
เคย 97

ำ น
ไม่เคย ก
ั ห อ ส มุ ด
3 กลาง

รวม 100

จากตารางที่ 22 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยชมภาพยนตร์ตลกอเมริกนั ร้อยละ 97


ในขณะที่ไม่เคยชมภาพยนตร์ตลกอเมริกันเพียงร้อยละ 3

ตารางที่ 23 จานวนของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยชมภาพยนตร์ตลกอเมริกันเพราะชื่อแปลภาษาไทย
ดึงดูดใจ เข้า
คาตอบ จานวน
เคย 84
ไม่เคย 16
100

จากตารางที่ 23 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยประทับใจสะดุดตาสะดุดใจ กับชื่อ


แปลภาษาไทยของภาพยนตร์ตลกอเมริกนั และเข้าชมภาพยนตร์ตลกอเมริกันเพราะชื่อแปลภาษาไทย
ร้อยละ 84 ในขณะผู้ชมที่ไม่รู้สึกประทับใจไม่สะดุดตากับชื่อแปลภาษาไทยภาพยนตร์ ตลกอเมริกัน
และไม่เคยชมภาพยนตร์ตลกอเมริกันเพราะชื่อแปลภาษาไทย ร้อยละ 16
57

ตารางที่ 24 จานวนของชื่อแปลภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่ผชู้ มคิดว่าน่าดึงดูดใจมากที่สุด


ชื่อเเปลภาพยนตร์ภาษาไทย จานวน (คน)
เมายกเเก๊ง เเฮงค์ยกก๊วน 17
เยสเเมน คนมันรุ่งเพราะมุ่งเซย์ "เยส" 16
เซ็กซ์ เเอนด์ เดอะ ซิตี้ 15
ลุ้นรักวิวาห์ฟ้าเเล่บ 13
ไฮสคูล มิวสิคคัล

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง 12
อย่าเเหย่โซฮาน
อีนี่ เเร๊งงส์
ส 10
7
หนุ่มฟุง้ สาวเฟี้ยว เปรี้ยวรักที่เวกัส 5
บันนี่สาว หัวใจซี๊ด 3
คนเจ๋งเป้ง 2
รวม 100
จากตารางที่ 24 พบว่าชื่อแปลภาษาไทยสาหรับภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่ผู้ชมให้ความ คิดเห็น
ว่า น่าดึงดูดใจมากที่สุดคือ เมายกแก๊ง แฮงค์ยกก๊วน (The Hangover) ซึ่งชื่อแปลที่แปลด้วย กลวิธีการ
เเปลตรงตัวทั้งข้อความ เเละเสริมความภาษาไทย รองลงมาคือ เยสเเมน คนมันรุ่งเพราะมุ่งเซย์ "เยส"
(Yes Man) ซึ่งเป็นชื่อแปลที่แปลโดยกลวิธีการทับศัพท์ทับหมด และเสริมความภาษาไทย

ตารางที่ 25 จานวนเหตุผลของผู้ชมภาพยนตร์ทคี่ ิดว่าชื่อแปลภาพยนตร์ภาษาไทยน่าดึงดูดใจ


เหตุผล จานวน
ภาษาสื่อความหมายให้จนิ ตนการถึงเเนวภาพยนตร์ 60
ภาษาไพเราะ อ่านดูเเล้วน่าสนใจที่เข้าไปชมภาพยนตร์ 27
ชื่อเเปลภาษาไทยใช้ภาษาเข้าใจง่าย เช่น คาทับศัพท์ 6
ชื่อเเปลภาษาไทยใช้คาสัมผัสคล้องจอง คาเลียนเสียงธรรมชาติทาให้ชื่อน่าสนใจ 4
ความหมายของชื่อภาษาไทยสอดคล้องกับชื่อภาษาอังกฤษ 3
รวม 100
58

จากตารางที่ 25 พบว่า ผู้ ชมภาพยนตร์ ส่ว นใหญ่ใ ห้ เ หตุ ผ ลว่ า ชื่ อ แปลภาษาไทยส าหรั บ
ภาพยนตร์ตลกอเมริกันน่าดึงดูดใจให้ชมภาพยนตร์เพราะว่า ใช้ภาษาได้ดี สามารถสื่อความหมายให้
ผู้ ช มสามารถจิ น ตนาการถึ ง แนวเรื่ อ งของภาพยนตร์ ไ ด้ จ านวน 60 คะแนน า
แ าษา าษา า า แ าส จ า า จา 27 แ า า บ
ตารางที่ 26 แสดงจานวนของชื่อแปลภาพยนตร์ตลกอเมริกนั ที่ผู้ชมคิดว่าไม่น่าดึงดูดใจมากที่สุด
ชื่อเเปลภาพยนตร์ภาษาไทย จานวน
อีนี่ เเร๊งงส์
ำ น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลา
26
ง 17
คนเจ๋งเป้ง

บันนี่สาว หัวใจซี ด

16
ไฮสคูล มิวสิคคัล 14
เยสเเมน คนมันรุ่งเพราะมุ่งเซย์ "เยส" 9
อย่าเเหย่โซฮาน 5
หนุ่มฟุ้ง สาวเฟี้ยว เปรี้ยวรักที่เวกัส 4
เมายกเเก๊ง เเฮงค์ยกก๊วน 3
เซ็กซ์ เเอนด์ เดอะ ซิตี้ 3
ลุ้นรักวิวาห์ฟ้าเเล่บ 3
รวม 100
จากตารางที่ 26 พบว่าชื่อแปลภาษาไทยสาหรับภาพยนตร์ตลกอเมริกันที่ผู้ชมให้ความคิดเห็น
ว่าไม่น่าดึงดูดใจมากที่สุดคือ อีนี่แร๊งส์ (Easy A) ซึ่งเป็นชื่อที่แปลโดยกลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์โดย
การตั้ งชื่อใหม่โดยไม่อิงกับชื่อต้น ฉบับภาษาอังกฤษ รองลงมาคือ บันนี่ สาว หัว ใจซี๊ด (The house
Bunny) ซึ่ แ ก กา แ กา บ บา ส แ ส า าษา
59

ตารางที่ 27 แสดงจานวนเหตุผลของผู้ชมภาพยนตร์ที่คดิ ว่าชื่อแปลภาพยนตร์ภาษาไทยไม่น่าดึงดูดใจ


เหตุผล จานวน
ภาษาไม่สื่อความหมายให้จนิ ตนการถึงเเนวของภาพยนตร์ 46
ภาษาไม่ไพเราะ ไม่ดึงดูดใจผู้ชม 38
ชื่อแ ภาษาไทยยาวเกินไป 8
ชื่อภาษาไทยใช้ภาษาไม่เหมาะสม เช่น คาสเเลง 6

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ความหมายของชื่อภาษาไทยไม่สอดคล้องกับชื่อภาษาอังกฤษ 2
ส รวม 100
จากตารางที่ 27 พบว่ า ผู้ ช มภาพยนตร์ ส่ ว นใหญ่ ใ ห้ เ หตุ ผ ลว่ า ชื่ อ แปลภาษาไทยส าหรั บ
ภาพยนตร์ตลกอเมริกันไม่น่าดึงดูดใจให้ชมภาพยนตร์เพราะว่า ชื่อภาษาไทยไม่สื่อความหมาย ให้ผู้ชม
สามารถจิ น ตนาการถึ ง แนวเรื่ อ งของภาพยนตร์ ไ ด้ จา 6 แ า
แ าษา าษา า จ จา 38 แ า า บ

จากกา ก บ จากแบบส บถา สารวจความคิ ด เห็น ของผู้ ชม พบว่า ชื่ อ


แปลภาษาไทยที่แปลด้วยกลวิธีการแปลทั้งข้อความและเสริมความภาษาไทยนั้น เป็นกลวิธีการแปลที่
ดึงดูดใจ า มากที่สุด บแบบส บถา ส ให้เหตุผลว่าชื่อแปล า ที่แปล
ด้ ว ยกลวิธีนี้ มีก ารถา า า จาก บบ าษา ก ษ แ าษา า
ส ก ถ กา ใช้ภ าษาสื่ อความหมายให้จิน ตนการถึงเเนวภาพยนตร์ได้ ดี า
าจ า า แ า า บบ าษา ก ษ า
แ ก กา แ กา (The Hangover)

ส ก การตั้งชื่อใหม่โดยไม่อิงกับชื่อเดิมนั้นผู้ชมให้ความเห็นว่าเป็นชื่อที่ไม่น่า
ดึ ง ดู ด ใจมากที่ สุ ด เพราะความหมายของชื่ อ แปลภาษาไทยไม่ มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ชื่ อ ต้ น ฉบั บ
ภาษาอังกฤษ อีกทั้งผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วยกับลักษณะภาษาที่ใช้การสร้างสรรค์ชื่อในกลวิธกี าร
แปลชื่อแบบการตั้งชื่อใหม่ เพราะว่า ส่ว นใหญ่จ ะเป็นการใช้ค าสแลง หรือค าสมัยใหม่ใ นการตั้ งชื่อ
ภาพยนตร์ ซึ่งชื่อภาพยนตร์ที่เป็นตัวแทนของกลวิธีการแปลดังกล่าวคือ อีนี่แร๊งงส์ (Easy A)
60

จากกา บ บ จากกา า ก กา แ า จา
า . .2551-2553 แ สา จจากแบบส บถา จา 100 บ า ก กา แ
แ แ า ก ก ก า ก กา
กบ ส ก บ สา จ บแบบส บถา า า
ก กา แ ส า า ถ แ ถา า า จาก รวมถึงชื่อแปลภาษา
ไทยสามารถดึ งดูด ใจผู้ชมได้ดี ที่สุด คือ ก กา แ า แ ส า าษา
จากกา า แ สา จ า ถ ส า จ บ บ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ก
กา แ แ
ำน
แ ก
ั ห อ สามุ ด กลางก ก าจ ก ส

ถึงแม้ว่าชื่อภาพยนตร์มีหน้าที่สื่อสารถึงแนวคิดของภาพยนตร์ รวมถึงเป็นสารโฆษณาที่ดึงดูดใจผู้ชมให้
เข้ า ชมภาพยนตร์ เ รื่ อ ง แต่ ก า ส จ า ของผู้ ช มนั้ น าจ ก บ จจ
ก บกา ส จ กแส า ก าก บ า แ จ สา า ถส
แ าก กา แ ก กา แ ส แต่ สา า ถส า ก กา แ
แ าก ส แ ก กา แ ให้ความ าถ่ายทอดความหมายจาก
ชื่อเดิมได้ดี ชื่อแปลน่าสนใจและส า า ถ ที่สุด า
5

สรุ ปผลการวิจัย ผล ล

1. สรุ ปผลการวิจัย

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

วัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทยในช่วงปี . . 2551 -
2553 และสารวจความคิดเห็นอองผูชช มภาพยนตร์ที่มีต่อชื่อ ภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั

1 เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั เป็ นภาษาไทย

. . 2551-2553
98
(2550) และการ
ถ่ า ยทอดสารจากชื่ อภาพยนตร์ ภ าษาอัง กฤษอองภาพยนตร์ อเมริ กันเป็ นภาษาไทย
(2543) 8 กลวิธี
คือ 1 2
3) 4
ม าม 5
6 7
8)

61
62

ยัง ล 2 คือ 1
2

ในช่วงปี 2551-2553 ทั้งหมด 10

1.
2.
3.
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
4. ส ว
5.
6.
7.
8.
9.
10. ม าม

จากการวิ เ คราะห์ ก ลวิ ธี ป็ นภาษาไทย พบ


1
34 34.70 2
. 3 การแปลโดยทับศัพท์
ทั้งหมด และเสริ มความ 12 . 4 การแปลบางส่ วน
ทับศัพท์บางส่ วน และเสริ มความภาษาไทย . 5 การตั้ง
ชื่อใหม่โดยใชชคาที่มีเคชาความหมายเดิม 10 10.20 อันดับที่ 6 การแปลตรง
ตัวทั้งอชอความ และเสริ มความภาษาไทย 4.09 7 การแปลโดย
ทับศัพท์ท้ งั หมด ไม่มีเสริ มความภาษาไทย 5.10 8 การแปล
ดยทับศัพท์บางส่ วน และเสริ มความภาษาไทย จานวน 4 รายชื่อ คิดเป็ นรชอยละ 4.09 9
10 จาน 1 1.02
การแปลโดยทับศัพท์บางส่ วน และไม่เสริ มความภาษาไทย การแปลตรงตัวทั้งอชอความไม่มี
63

เสริ มความภาษาไทย จากรายชื่ อภาพยนตร์ อเมริ กนั ที่นามาวิเคราะห์ท้ งั หมด 98 รายชื่อ ผลการวิเคราะห์
อองงานวิจยั ฉบับนี้ที่พบว่ากลวิธีการแปลแบบตั้งชื่อใหม่เป็ นกลวิธีการแปลที่ผแูช ปลนิยมใชชมากที่สุดนั้น
สอดคลชองกับงานวิจยั อองเบญจรัตน์ วิทยาเทพ (2550) ที่พบว่ากลวิธีการแปลแบบตั้งชื่อใหม่เป็ นที่นิยม
ในการแปลชื่อภาพยนตร์ ต่างประเทศประเภทสยองอวัญ
10
ในการ

1.
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

1.1
(Sex and the City) 3 (Toy Story 3)

1.2

(Get Smart)
64

1.3

(The Rebound)

1.4

ำน ก
ั ห อ ส
ไฮสคู

ล มิวสิุด
คัลก(High
ลางSchool Musical : Senior Year)

2.

2.1 การแปลตรงตัวทั้งอชอความไม่มีเสริ มความภาษาไทย

’ ess with Zohan)


2.2 การแปลตรงตัวทั้ง อชอความ
65

(Bedtime Stories)

2.3 การแปลบางส่ วนและเสริ มความภาษาไทย เป็ นกลวิธีการแปลที่ผแูช ปลหยิบยกเอา


ถชอยคา บางคา

ความหมายว่า
ำน ก
ั ห อ ส ม
เสน่ ห์รักสาวนักช้ อป (Confession of Shopaholic) แปลตรงตัวคาว่า Shopaholic มี
ุ ด กลาง ชชอป (พจนานุ กรมออนไลน์ http://dict.longdo.com)

และเสริ มอชอความว่า เสน่ ห์รัก เอชาไป เพื่อใหชชื่อภาพยนตร์ มีเสี ยงสัมผัสคลชองจองและน่ าสนใจมาก
ยิง่ อึ้น
2.4 การแปลบางส่ วน ว

สะกดจูบ เเดนเวอร์
จิน้ (Virgin Territory)

3.

.
อึ้นมาใหม่โดยไม่ไดชแปลชื่ อจากชื่ อตชนฉบับเดิ มภาษาอังกฤษ ซึ่ งชื่ อภาษาไทยก็ไม่มีความหมายเกี่ ยว
คู่อริ ริ เคลมแม่ (Mr.Wood Cock) มหั ศจรรย์ ร้านของเล่ นพิลึกโลก (Mr. Magorium's
Wonder) และ หุ่ นน้ อยหั วใจรั กษ์ โลก (Wall E)
66

3.2

คุณหมาไฮโซ โกบ้ านนอก v l ll ’ C หวานฉ่าวันรั ก


ก้ องโลก (Valentine's Day)

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ส 1 และเป็ นอชอ มู ล พื้ น ฐาน

2 อองผูชช ม
กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั แบบใดที่ผชูช มใหชความคิดเห็นว่าน่าดึงดูดใจมาก
ที่สุด

ใชชแบบสอบถามเป็ นเครื่ องมือในการสารวจผลตอบรับอองผูชช ม โดยผูวช ิจยั ยกตัวอย่าง


รายชื่อ ตามกลวิธีการแปลที่ไดชวิเคราะห์ท้ งั หมด 10 วิธี ซึ่ งไดชชื่อแปลภาพยนตร์
ทั้งหมด 10 เรื่ อง ผูตช อบแบบสอบถามจะไม่ทราบมาก่อนว่าชื่อภาพยนตร์ แต่ละชื่ อใชชกลวิธีการใดการ
แปล ซึ่ งจากการสารวจพบว่า
2.1
62 38
25 48 31-35 24
81 44
41
67

แสดงใหชเห็ นว่าคนวัยเรี ย นยังคงเป็ นกลุ่ มผูชช มที่นิยมชมภาพยนตร์ เพื่อ

.
กลุ่ ตัวอย่างส่ วนใหญ่มีความเห็นว่า เนื้ อเรื่ องย่อ เป็ นองค์ประกอบสาคัญ
ดึงดูดใจ 38 นักแสดง จานวน 19

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
และ อันดับที่ 3 คือ ชื่อภาพยนตร์ จานวน 16 คน นอกจากนี้ กลุ่มตัวอย่างเคยชมภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั

97 และ ส
84
ผลการวิเคราะห์ อาช งตชนแสดงใหชเห็ นว่า ชื่ อภาพยนตร์ ยงั คงเป็ นองค์ประกอบสาคัญอองการ
โฆษณาและประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ เรื่ องต่างๆที่สามารถสรชางความสนใจใหชกบั ผูชช มภาพยนตร์ โดย
กลุ่ มตัวอย่างส่ วนใหญ่ใหชความเห็ นว่า ชื่ อภาพยนตร์ น้ นั สารโฆษณาที่สาคัญในการใหชออช มูลและสื่ อ
ความหมายถึ งแนวเรื่ องอองภาพยนตร์ อีกทั้งลักษณะภาษาที่ใชชสรชางสารยังน่ าสนใจสามารถดึงดูดใจ
ผูชช มไดช ดังเห็นไดชจาก ผลสารวจที่พบว่า ชื่อภาพยนตร์ เป็ นองค์ประกอบอันดับสามรองจาก นักแสดง
และเนื้อเรื่ องย่อ
.

17
16
60
จานวน 27 คน
ถึง
แนวเรื่ องภาพยนตร์ไดชดีน้ นั ตชองมีการแปลความหมายจากชื่อตชนฉบับใหชครบถชวนและอยายความต่อทชาย
เพื่ อ ใหช ชื่ อ ภาพยนตร์ น่ า สนใจมากอึ้ น อี ก ทั้ง ยัง ช่ ว ยใหช ผูชช มเอชา ใจความหมายอองชื่ อ ภาพยนตร์
68

2. อภิปรายผล
จากอชอมูลที่ ผวู ช ิจยั ไดชวิเคราะห์ถึงกลวิธีการแปลชื่ อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั และผลการสารวจ
อองผูชช มที่มีต่อชื่อแปลภาษาไทยตามหัวอชออชางตชนแลชว ต่อไปนี้ ผวูช ิจยั จะกล่าวโดยใชชแนวคิดและทฤษฎี
ที่เกี่ยวอชองมาสนับสนุนการพิจารณา ซึ่งผูวช จิ ยั จะนาเสนอเป็ น 2 ส่ วนคือ
2.1 2551-2553

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
นั้น ผูแช ปลสามารถ ส 34.70 98 แบบตั้งชื่อใหม่
ไดชอย่างอิสระ จะเห็ นไดชว่าชื่ อแปลภาพยนตร์ ที่
แปลดชวยกลวิธีน้ ี จะ และมีลกั ษณะภาษาที่โดด
เด่ น แต่ยงั คงไวชซ่ ึ ง อรรถรสอองภาพยนตร์ เรื่ องต่า งๆ เช่ น
ดังเห็ นไดชจาก ตลกอเมริ กนั

(What happen in Las Vegas)


(EASY A)
ใชช ภ าษาสแลงในการ

สรุ ป ไดชว่า การตั้งชื่ อใหม่โดยไม่ อิง กับชื่ อเดิ มนั้นเป็ นกลวิธีก ารแปลที่ ผูแช ปลนิ ยมใชชในการ
สรชางสรรค์ มากที่สุด อาจมีเหตุผลมาจากการแปลชื่ อภาพยนตร์ น้ นั ผูแช ปล
ทั้งนี้ เพราะการ
แปลชื่ อ ภาพยนตร์ เ ป็ นสรช า งสารต่ า งวัฒ นธรรม ดัง นั้น ชื่ อ ภาษาไทยตชอ งเป็ นทั้ง สารโฆษณา ที่
ดึงดูดใจผูชช มไดช
69

2.2 เพื่อทราบถึงความคิดเห็นอองผูชช มว่ากลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ตลกอเมริ กนั แบบ


ใดที่ผชู ช มใหชความคิดเห็นว่าน่าดึงดูดใจมากที่สุด
ในการศึกษาครั้งนี้ แปลทั้ง
อชอความและอยายความดชวยอชอความภาษาไทยมากที่สุ ด โดยใหชเหตุผลว่า ชื่ อแปลทั้งอชอความนั้นมี
ความหมายสอดคลชองกับ ชื่ อตชนฉบับ และสามารถสื่ อความ ถึ งแนวเรื่ องภาพยนตร์ ไ ดชดี ส่ วน
อชอความอยายความต่อทชายนั้นช่ วยใหชชื่อภาพยนตร์ น่าสนใจ ส่ วนกลวิธีการแปลที่กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า

ำน ั ห อ ส มุ ด กลาง
เป็ นกลวิธีที่ไม่น่าดึ งดู ดใจเลยคื อ กลวิธีการแปลแบบตั้งชื่ อใหม่โดยไม่อิงกับชื่ อเดิ ม ซึ่ งกลวิธีน้ ี เป็ น


กลวิธีที่ผแู ช ปลนิยมใชชแปลมากที่สุด โดยกลุ่มตัวอย่างใหชความเห็นว่า ชื่อแปลภาษาไทยที่แปลดชวยกลวิธี
นี้ มักจะมีความหมายไม่สอดคลชองกับชื่อตชนฉบับ ถึงแมชลกั ษณะภาษาที่ใชชในชื่อแปลนั้นเป็ นคาทันสมัย
แต่ไม่สามารถช่วยใหชผชู ช มคาดเดาถึงเนื้ อเรื่ องอองภาพยนตร์ ไดชดีเท่ากับ กลวิธีการแปลทั้งอชอความและ
อยายความดชวยภาษาไทย
สรุ ป ไดชว่า กลวิ ธี ก ารแปลที่ ผูแช ปลนิ ย มใชชแ ปลชื่ อ
นั้นคือ การตั้งชื่ อใหม่ไม่อิงกับชื่ อเดิม ไม่สอดคลชองกับกลวิธีแปลที่ผชูช มคิดว่า
เป็ นกลวิธีการแปลชื่อที่สามารถดึงดูดใจผูชช มไดชมากที่สุดคือ กลวิธีการแปลทั้งอชอความ และอยายความ
ดชวยอชอความภาษาไทย

จากผลสรุ ปตามวัตถุประสงค์ 2 อชอ อชางตชน ผูวช จิ ยั สามารถอภิปรายผลการวิจยั

ภาพยนตร์
ซึ่ ง

ซึ่ งการแปลชื่ อเรื่ องแบบการตั้งชื่ อใหม่น้ นั ผูแช ปลจะมีอิสระใน


การสรชางสรรค์ชื่อแปลไดชมากกว่ากลวิธีการเปลอื่นๆ
70

มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การตัด สิ น ใจชมภาพยนตร์ อ องผูชช มเช่ น กัน


ผูแช ปล การใชชภาษาในชื่ อ
ภาพยนตร์ ดัง เห็ น ไดชจ าก ก
ภาษา ะ เรื่ องราว
เมื่ อ
และ ช ม ภ า พ ย น ต ร์ เ รื่ อ ง ดั ง ก ล่ า ว
มี ค วามจ าเป็ นกับ ผูชรั บ สารคนไทย อาจ

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
ส แปล

ผูวช ิ จ ัย พิ จารณาเกี่ ย วกับ ชื่ อ แปลภาษาไทยที่ มี ก ารใชชค าทับ ศัพ ท์ว่า น่ า จะเกี่ ย วอชอ งกับ เรื่ อ ง
การปนภาษา (Code-Mixing) ดชวย เพราะคาทับศัพท์ที่ผแูช ปลใชชในชื่อแปลภาพยนตร์ น้ นั ถือว่าเป็ นคายืม
(Loan word) ชนิ ดหนึ่ ง ที่ เรี ย กว่า ค ายืม แบบทับ ศัพ ท์ จึ ง เป็ นการสื่ อสารที่ มี ก ารปนภาษ เกิ ดอึ้ น
จากการศึกษาเรื่ องการปนภาษานั้นพบว่ามีสาเหตุหลายประการ ดัง ผลการศึกษาออง วงค์แอ ภัทรนิตย์
(2545) เรื่ อง การศึกษาการใชชภาษาอังกฤษปนภาษาไทย พบว่า สาเหตุอองการใชชภาษาอังกฤษ
ปนภาษาไทยอองนั ก วิ ช าการและนั ก เอี ย น เพราะภาษาอัง กฤษใชช ง่ า ย สื่ อความหมายชั ด เจน
ดัง นั้น ในการแปลชื่ อภาพยนตร์ เหตุ ผลอาจเป็ นเพราะ
การทับ ศัพท์สามารถสื่ อความหมายไดชตรงตัว เพราะไม่ตชองมีการเปลี่ ย นแปลงรู ป คา เพียงแต่เอีย น
คาทับศัพท์ดวช ยตัวอักษรภาษาไทยเท่านั้น อีกทั้ง
การใชชค าทับศัพ ท์ใ นชื่ อแปล
ภาษาไทย จึงถูกนาเอชามาใชชแทนที่เพื่อช่วย

การแปลชื่อภาพยนตร์ แต่ละเรื่ องนั้น ล


องตนเอง แต่ที่สาคัญที่สุดคือ
อองชื่อนั้นๆ เพราะ นั้ ชม ก็สามารถ
ถึ งแมชวา่ ผูชช มบางคนใหชความเห็นว่า ชื่อแปลที่ หมายเดิม
ตชนฉบับ


71

ในทชายที่สุดผูวช ิจยั พบว่า การแปลชื่ อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั นั้น ไม่ไดชมีหลักเกณฑ์ตายตัวว่า


จะตชองกระทาตามนั้นหรื อตชองไม่กระทาอย่างใดอย่างหนึ่ ง การแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั นับเป็ น
งานสรช างสรรค์อย่างหนึ่ งที่มีลกั ษณะการใชชภาษาเอชาไปเกี่ ยวอชอง ไม่อยากตัดสิ นว่าชื่ อ


ั ห อ ส มุ ด กลาง
แปลภาษาไทยอองภาพยนตร์ เรื่ องนี้ผดิ หลักภาษาไทยหรื อชื่อแปลเรื่ องนี้ไม่น่าสนใจ หรื อชื่อแปลเรื่ องนี้
ำน

น่าสนใจมากกว่า เนื่ องจากการแปลชื่อภาพยนตร์ น้ นั เป็ นการสื่ อสารอชามวัฒนธรรมอย่างหนึ่ ง ดังนั้นจึง
มีปัจจัยหลายประการเอชามากาหนดใหชผแูช ปลในการแปลชื่อภาพยนตร์ เพื่อสื่ อสารกับผูชช มคนไทย อีก
ทั้ง อองผูชช มนั้น ไม่ ไ ดชอ้ ึ น อยู่ ก ับ ชื่ อ ภาพยนตร์ เ พี ย งอย่ า งเดี ย ว เพราะ

งานวิจยั ฉบับ นี้ แต่


กลวิธีการแปลวิธีใดที่ผแูช ปลนิยมใชชมากที่สุด และกลวิธีการแปลวิธีใดที่ผชูช มใหช
ความเห็ นว่าถ่ายทอดความหมายจากชื่ อเดิมไดชดี ชื่ อแปลน่ าสนใจและสื่ อความหมายถึงเนื้ อเรื่ องไดชดี
ที่สุดเท่านั้น

3. ล

ใ 5
72

4.

1.

ำน ก
ั ห อ ส ม ุ ด กลาง
2.
ส . . -2553
. .

3.

4.
เป็ นตชน
5.
73

บรรณานุกรม

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. การวิเคราะห์สื่อ:แนวคิดและเทคนิค. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั อินฟิ นิต้ ี เพรส จากัด,
2541.

น ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง
กาญจนา นาคสกุล. ระบบเสี ยงภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย, 2541. ส
กฤษดา เกิดดี. ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ . กรุ งเทพมหานคร: ห้องภาพสุ วรรณ, 2541.
จุฑาภา ยศสุ นทรกุล. “กลยุทธ์การสื่ อสารการตลาดภาพยนตร์ อเมริ กนั ของผูจ้ ดั จาหน่ายภาพยนตร์
ต่างประเทศในประเทศไทย” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543.
ชวนะ ภวกานันท์. รายงานวิจยั เรื่ อง “บทบาทของสารโฆษณาที่มีต่อภาพยนตร์ไทย”. คณะวารสาร
ศาสตร์และสื่ อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2530.
เชวง จันทรเขตต์. การแปลเพื่อการสื่ อสาร. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช
จากัด, 2528.
ดวงตา สุ พล. ทฤษฎีและกลวิธีการแปล = THEORY AND STRATEGIES OF TRANSLATION.
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2531.
เดชพัฒน์ อรรถสาร. “กระบวนการตั้งชื่ อภาษาไทยในภาพยนตร์สหรัฐอเมริ กา” วิทยานิพนธ์นิเทศ
ศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
เตือนจิตต์ จิตต์อารี . แปลให้เป็ นแล้วเก่ง. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั อมริ นทร์พริ้ นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง
จากัด (มหาชน), 2548.
74

ทิพา เทพอัครพงศ์. การแปลเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์


มหาวิทยาลัย, 2542.
ธีรารัตน์ บุญกองแสน. “การศึกษาการตั้งชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ อเมริ กนั ”. วิทยานิพนธ์ศิลป
ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543.
นภาภรณ์ อัจฉริ ยกุล. การใช้ภาษาไทยในภาพยนตร์ในภาษาไทย 1 เล่มที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุ งเทพมหานคร: สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุ โขทัย, 2534.

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

ปั ญญา บริ สุทธิ์ . ทฤษฎีและวิธีปฏิบตั ิในการแปล. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ หจก. ธรรมกมลการ
พิมพ์, 2533.
ประเทือง ทินรัตน์. การแปลเชิงปฏิบตั ิ = Practical Translation. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 2543.
ประวีณมัย บ่ายคล้อย. “ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการชมภาพยนตร์ นอกกระแส” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
พรพิมล เสนะวงศ์. พื้นฐานของการแปล. นครปฐม: ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2527.
2541”. ด -Starpics. 479
(20 มก คม 2542).73, 2542.
เมตตา วิวฒั นานุกลู . การสื่ อสารต่างวัฒนธรรม. กรุ งเทพมหานคร: แอคทีฟ พริ้ นท์ จากัด, 2548.
วงข์แข ภัทรนิตย์. การศึกษาการใช้ภาษาอังกฤษปนไทย” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ, 2525.
วรนาถ วิมลเฉลา. คู่มือสอนแปล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2539.
75

วรรณา แสงอร่ ามเรื อง. ทฤษฎีและหลักการแปล = Theories of Translation. พิมพ์ครั้งที่ 2.


กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
วิชยาภรณ์ เชาวน์เกษม. “ลักษณะภาษาโฆษณาภาพยนตร์ ในหนังสื อพิมพ์รายวันไทย” วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2546.
ไศลทิพย์ จารุ ภูมิ. “การตั้งชื่ อหนัง (แบบ) ไทยๆ”. ใน จับจ้องมองสื่ อ. 242-246. กรุ งเทพมหานคร:
โครงการสื่ อสันติภาพ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด กลาง

ส. ศิวรักษ์. ศิลปะแห่งการแปล. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์เคล็ดไทย, 2534.
สัญฉวี สายบัว. หลักการแปล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ,
2542.
สิ ทธา พินิจภูวดล. คู่มือนักแปลอาชีพ. กรุ งเทพมหานคร: นานมีบุค๊ ส์, 2542
สอ เสถบุตร. NEW MODEL ENGLISH-THAI DICTIONARY. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทย
วัฒนาพานิช, 2532.
เสรี สมชอบ. การแปลเบื้องต้น = Introduction to Translation. อุบลราชธานี : ภาควิชาภาษาต่างประเทศ
คณะมนุษยศาสตร์ สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี , 2542.
อัจฉรา ไล่ศตั รู ไกล. จุดมุง่ หมาย หลักการ และวิธีการแปล=Nature and Method of Translation. พิมพ์
ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2543.
อมรา ประสิ ทธิ์ รัฐสิ ทธุ์. ภาษาศาสตร์สังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
76

ภาษาต่ างประเทศ

Benjarat Vittayathep. “An Analysis of Naming Strategies of Foreign Film Titles in Thai Language”
Thesis (M.A. of ARTS), English for Business and Industry, King Mongkut’s Institute of
Technology North Bangkok, 2007.
Catford, J.C. A Linguistic Theory of Tranlation. London: Oxford University Press, 1965.

ำน ั ห อ ส มุ ด กลาง
Drinks,T.(1996). Comedy Films. Retrieved December 25, 2011 from


http://www.filmsite.org/comedyfilms.html.
Frederick B.Shroyer and Louis G.Gardemal. Types of Drama. Illinois USA.: Scott, Foresman and
Company, 1970.
Hans, V. A Skopos Theory of Translation. Heidelberg : TextCon Text, 1996.
Larson, M.L. Meaning-based Translation: A Guide to Cross-language Equivalence. London:
University Press of America, 1984.
Newmark, P. Approaches to translation. New York: PhoenixELT, 1995.
Newmark, P. A Textbook of Translation. London: Prentice Hall International, 1988.
Se-Ed’s Modern English-Thai Thai-English Dictionary (Contemporary Edition). Bangkok: Se-
Education Public Company Limited, 2002.
Wes D. Gerhing. Handbook of American Film Genres. USA. : Greenwood Press, 1988.
The internet movie database. American Comedy Films. Retrived June 21, 2012 from
http://www.imdb.com.
Theory of Translations. The Skopos Theory. Retrived June 21,2012 from
http://web.letras.up.pt/mtt/tt/tt5.htm.
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

ภาคผนวก
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

ภาคผนวก ก
แบบสอบถาม
79

แบบสอบถามชุดนีจ้ ดั ทาขึน้ เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูล ในการทาสารนิพนธ์ ของนักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชา


ภาษาและการสื่อสารระหว่ างวัฒนธรรม ภาควิชาภาษาตะวันตก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย
ศิลปากร ในหัวข้ อ “กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริกนั เป็ นภาษาไทย” ผู้จัดทาขอขอบพระคุณ
ทุกท่ านที่ให้ ความร่ วมมือเป็ นอย่ างดีในการตอบแบบสอบถามไว้ ณ ที่นี ้

ตอนที่ 1 ข้ อมูลส่ วนตัว

1. อายุ
 ต่ากว่า 25 ปี  26 – 30 ป  31 – 35 ปี  36 – 40 ปี  41 ปี ขึ ้นไป

2. เพศ  ชาย
ำน ก
ั ห อ ส ม
 หญิงุ ด ก ลาง
3. ระดับการศึกษา

 ต่ากว่าปริ ญญาตรี  ปริ ญญาตรี  ปริ ญญาโท  สูงกว่าปริ ญญาโท

4. อาชีพ
 นักศึกษา  รับราชการ  พนักงานบริ ษัท
 พนักงาน ฐวิสหากิจ  เจ้ าของกิจการ  กาลังหางาน

ตอนที่ 2 ความสนใจเกี่ยวกับภาพยนตร์

5. คุณคิดว่าองค์ประกอบใดของภาพยนตร์ ที่สามารถดึงดูดความสนใจของผู้ชมได้ มากที่สดุ


(กรุณาเรี ยงลาดับจากมากที่สดุ (5) ไปน้ อยที่สดุ (1))
 ชื่อภาพยนตร์  ผู้กากับ  ค่ายหนัง  เนื ้อเรื่ อง  นักแสดง อื่นๆ (โปรด
ระบุ)..............

6. คุณเคยสะดุดตา สะดุดใจกับชื่อแปลภาษาไทยของภาพยนตร์ อ และ อ ทาใ คุณให้ ร้ ูสกึ


อยากชมภาพยนตร์ เรื่ องนันบ้
้ าง อไ
 เคย  ไม่เคย

7. คุณเคยชมภาพยนตร์ ตลกอเมริ กนั หรื อไม่ (หมายถึง ภาพยนตร์ อเมริ กนั ทุกประเภทที่มเี นื ้อหาแนวตลก
เช่น Drama Comedy, Romantic Comedy, Cartoon Comedy, Action Comedy)
 เคย  ไม่เคย
80

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับชื่อภาพยนตร์
8. จากรายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริกนั ต่อไปนี ้ า า าความเกี่ยวเนื่องระหว่างชื่อภาพยนตร์ ต้นฉบับ
ภาษาอังกฤษกับ อแปลภาษาไทยของภา ย แ ล อง คิดว่าชื่อใด ดึงดูดใจและไม่ น่า
ดึงดูดใจ (เลือกได้ มากกว่า 1 ชื่อ)
1. Sex and the City - เซ็กซ์ แอนด์ เดอะ ซิตี ้ 6. The Great Buck Howard - คนเจ๋ งเป้ง

 ดึงดูดใจ  ดึงดูดใจ
 ไม่ดงึ ดูดใจ  ไม่ดงึ ดูดใจ
เหตุผล …………...………… เหตุผล …………...………
……………………………………..

ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง …………………………………
2.Yes Man-
ส “ 7.” The Hangover - เมายกเเก๊ ง เเฮงค์ ยกก๊ วน

 ดึงดูดใจ  ดึงดูดใจ
 ไม่ดงึ ดูดใจ  ไม่ดงึ ดูดใจ
เหตุผล …………...………… เหตุผล …………...………
…………………………………….. …………………………………
8. What happens in Vegas
3. The House Bunny -

 ดึงดูดใจ  ดึงดูดใจ
 ไม่ดงึ ดูดใจ  ไม่ดงึ ดูดใจ
เหตุผล …………...………… เหตุผล …………...………
…………………………………….. …………………………………
4. High School Musical: Senior Year ไฮสคูล มิวสิคคัล 9. Easy A -อีน่ ี เเร๊ งงส์

 ดึงดูดใจ  ดึงดูดใจ
 ไม่ดงึ ดูดใจ  ไม่ดงึ ดูดใจ
เหตุผล …………...………… เหตุผล …………...………
…………………………………….. …………………………………
5. You don’t mess with Zohan อย่ าเเหย่ โซฮาน 10. The Proposal - ลุ้นรักวิวาห์ ฟ้าเเล่ บ

 ดึงดูดใจ  ดึงดูดใจ
 ไม่ดงึ ดูดใจ  ไม่ดงึ ดูดใจ
เหตุผล ……………… เหตุผล …………...………
…………………………………….. …………………………………
81

8.1 จากรายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริกนั ขาง คิดว่า อแปลภาษาไทย องใด ดึงดูดใจ มากที่สดุ


(โปรดระบุ).....................................................................................................เพราะอะไร?

 ใช้ ภาษาไพเราะ สะดุดตา สะดุดใจฟั งดูแล้ วน่าสนใจทีจ่ ะเข้ าไปชมภาพยนตร์


 ใช้ ภาษาได้ ดี สามารถสือ่ ความหมายให้ เราจินตนาการถึงแนวเรื่ องของภาพยนตร์ ได
 อื่นๆ (โปรดระบุ)……………………………………………………………..…….

8.2 จากรายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริกนั ขาง คิดว่า อแปลภาษาไทย องใด ไม่ ดึงดูดใจ มาก
ที่สดุ
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

(โปรดระบุ)……………………….………………………………………………….เพราะอะไร?

 ใช้ ภาษาไม่ไพเราะ ไม่ดงึ ดูดใจผู้ชม


 ชื่อภาษาไทยไม่สอื่ ความหมายให้ เราจินตนาการถึงแนวเรื่ องของภาพยนตร์ ได้
 อื่นๆ (โปรดระบุ).....................................................................................................
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

ภาคผนวก ข

รายชื่อภาพยนตร์ ตลกอเมริกันปี พ.ศ. 2551-2553 จานวน 98 รายชื่อ


83

ปี ชื่อภาพยนตร์ ภาษาอังกฤษ ชื่อแปลภาพยนตร์ ภาษาไทย


2551 Sex and the City เซ็กซ์ แอนด์ เดอะ ซิติ้
2551 Fool's Gold ฟูลส์โกลด์ ตามล่าหารัก ขุมทรัพย์มหาภัย
2551 Penelope เพเนโลปี้ รักเเท้…ขอเเค่ปาฏิหารย์
2551 Juno จูโน่…โจ๋ ป่องใจเกินร้อย
2551 Mamma Mia! มัมมา มีอา! วิวาห์วนุ่ ลุน้ หาพ่อ
2551 Kung fu panda กังฟูเเพนด้า วิบตั ิการณ์สยองโลก
2551 Get Smart
น ก
ั ห อ ส มุ ดเก็กทล
า ง
สมาร์ท พยัคฆ์ฉลาด เก๊กไม่เลิก
2551 In Bruges สำ อินบรู ซ คู่นกั ฆ่าตะลุยมหานคร
2551 Horton Heers a Who! ฮอร์ตนั กับโลกจิ๋วสุ ดมหัศจรรย์
2551 The House Bunny บันนี่สาว หัวใจซี๊ด
2551 You don't mess with the Zohan อย่าเเหย่โซฮาน
2551 Bedtime Stories มหัศจรรย์นิทานก่อนนอน
2551 Martian Child ลูกผมเป็ นมนุษย์ต่างดาว
2551 My Sassy Girl ยกหัวใจให้ยยั ตัวร้าย
2551 My best friend's girl "เเอ้ม" ด่วนป่ วนเพื่อนซี้
2551 The Hottie and the Nottie เริ่ ด เชิ่ด สวย เหรอ?
2551 Virgin Territory สะกดจูบ เเดนเวอร์จิ้น
2551 What happens in Vegas หนุ่มฟุ้ ง สาวเฟี้ ยว เปรี้ ยวรักที่เวกัส
2551 Mr.Wood Cock คู่อริ ริ เคลมแม่
2551 Mr. Magorium's Wonder มหัศจรรย์ร้านของเล่นพิลึกโลก
2551 Enchanted มหัศจรรย์รักข้ามภพ
2551 Dan in Real Life ป๊ ะป๋ าปราบป่ วนก๊วนยกบ้าน
2551 I could never be your woman รักครั้งใหม่หวั ใจ เเอ๊บเเบ๊ว
2551 Nim's Island ฮีโร่ แฝงร่ างสุ ดขอบโลก
2551 Be Kind Rewind ใครจะว่าหนังบ้าเนี๊ยเเหละเจ๋ ง
2551 Wall E หุ่นน้อยหัวใจรักษ์โลก
84

ปี ชื่อภาพยนตร์ ภาษาอังกฤษ ชื่อแปลภาพยนตร์ ภาษาไทย


2551 Made of Hornor กัก๊ ใจให้เพื่อนเลิฟ
2551 Burn After Reading ยกขบวนป่ วนซีไอเอ
2551 Disaster Movie ขบวนการฮีโร่ ป่วนโลก
2551 Tropic thunder ดาราประจัญบาน ท.ทหารจาเป็ น
เพื่อนเจ้าสาว 27 วิวาห์ เมื่อไรจะได้เป็ น
2551 27 Dresses เจ้าสาว?
2551 Superhero Movie
น ก
ั ห อ ส มุ ด กแล
ไอ้
าง
มงปอ ฮีโร่ ซุปเปอร์ ร่ัว
2551 Teeth สำ กลืบเขมือบ
2551 Beverly hills Chihuahua คุณหมาไฮโซ โกบ้านนอก
2551 Sex Drive เเอ้มติดล้อ ไม่ขอเวอร์จิ้น
2552 The Pink Panther 2 เดอะ พิงค์ เเพนเธอร์ 2
2552 Yes Man เยสเเมน คนมันรุ่ ง เพราะมุ่งเซย์ "เยส"
2552 Bolt โบลท์ ซูเปอร์ โฮ่ง ฮีโร่ หวั ใจเต็มร้อย
2552 New in Town นิว อิน ทาวน์ หนีร้อนมาหนาวรัก
2552 Zack and Miri Make a Porno แซ็คเเละมิริ คู่ซ้ ีจูนรักไม่มีกกั๊
2552 The Rebound เผลอใจใส่ เกียร์ รี บาวด์
2552 High School Musical : Senior Year ไฮสคูล มิวสิ คลั
2552 17 Again 17 ขวบอีกครั้ง…กลับมาเเก้ฝันให้เป็ นจริ ง
2552 The Hangover เมายกเเก๊ง เเฮงค์ยกก๊วน
2552 The Brother Bloom พี่นอ้ งบลูม รวมกันตุ๋น จุน้ ละมุน
2552 Confession of a Shopaholic เสน่ห์รักสาวนักช้อป
2552 The Great Buck Howard คนเจ๋ งเป้ ง
2552 Night at the Museum 2 มหึมาพิพิธภัณฑ์ ดับเบิ้ลมันส์ทะลุโลก 2
2552 Land of Lost ข้ามมิติตะลุยแดนมหัศจรรย์
2552 Big Stan พี่บ๊ิกเบิม้ ขอทีอย่าเเหยม
ไอซเอจ เจาะยุคน้ าเเข็งมหัศจรรย์ 3 จ๊ะเอ๋
2552 Ice Ages 3: Dawn of the Dinosaurs ไดโนเสาร์
85

ปี ชื่อภาพยนตร์ ภาษาอังกฤษ ชื่อแปลภาพยนตร์ ภาษาไทย


2552 New York I love you นิวยอร์ค นครเเห่งรัก
2552 What just Happened? เเอบเม้าท์เรื่ องฉาวฮอลลีวดู๊
2552 Imagine that พ่อลูกคู่ใส หัวใจมหัศจรรย์
2552 UP ปู่ ซ่าบ้าพลัง
2552 Bandslam กระโจนฝันให้สนัน่ โลก
2552 The Ugly Truth ญ.หญิงรักด้วยใจ ช.ชายรักด้วย…

น ก
ั ห อ ส มุ ด ก ล า ง
สำ
2552 Couple Retreat เกาะสวรรค์ บาบัดหัวใจ
2552 Whip it สาวจี๊ด หัวใจ 4 ล้อ
2553 Sex and The City 2 เซ็กซ์ แอนด์ เดอะซิต้ ี 2
2553 Toy Story 3 ทอย สตอรี่ 3
2553 Yogi Bear โยกี้ แบร์
2553 MacGruber แม๊คกรู เบอร์ ยอดคนสมองบวม
2553 Due Date ดิว เดท คู่แปลก ทริ ปป่ วน
2553 The Switch ปุ๊ บปั๊ บสลับกิ๊ก
2553 Killers เทพบุตรหรื อนักฆ่า บอกมาซะดีๆ
2553 The man who stare at Goats เรี ยกข้าว่า จารชนจ้องแพะ
2553 Tooth Fairy เทพพิทกั ษ์ ฟันน้ านม
2553 How to Train Your Dragon อภินิหารไวกิ้ง พิชิตมังกร
2553 Love Happens รักเเท้ มีเเค่ครั้งเดียว
2553 It's Complicated รักวุน่ วาย หัวใจสับราง
2553 Going the Distance รักแท้ไม่แพ้ระยะทาง
2553 Alvin and the Chipmunks 2 อัลวินกับสหายชิพมังค์จอมซน 2
2553 A seriuos man เฮ้อ โลกมันเครี ยด ขอซีเรี ยสซะให้เข็ด
2553 Date Night คืนเดทพิสดาร ผิดฝาผิดตัวรั่วยกเมือง
2553 Shrek Forever After เชร็ ค สุ ขสันต์ นิรันดร
2553 I love you Phillip Morris รักนะ นายมอริ ส
86

ปี ชื่อภาพยนตร์ ภาษาอังกฤษ ชื่อแปลภาพยนตร์ ภาษาไทย


2553 When in Rome อธิษฐานวุน่ ลุน้ รัก ณ กรุ งโรม
2553 The Spy Next Door วิง่ โขยงฟัด
2553 How to Be เทพบุตรรักเกิน 100
2553 Up in the air หนุ่มโสด หัวใจโดเดี่ยว
2553 My One and Only หาผูช้ ายดีๆให้รักติดหนึบ
2553 Furry Vengeance ม๊อบหน้าขนซนซ่าป่ วนเมือง
2553
ำน
The Bounty Hunterก
ั ห อ ส มุ ดจัก ล า ง
บแฟนสาวสุ ดจี๊ดมาเข้าปิ้ ง
2553 Bitter/Sweetส ข้ามฟ้ าหาสู ตรรัก
2553 Knight and Day โคตรคนพยัคฆ์ร้ายกับหวานใจมหาประลัย
2553 Despicable Me มิสเตอร์แสบ ร้ายเกินพิกดั
2553 The Back -Up Plan พบชายงามตอนตุบ๊ ป่ อง
2553 Letter to Juliet สะดุดเลิฟ ที่เมืองรัก
2553 Grown Ups ขาใหญ่ วัยกลับ
2553 Red คนอึดต้องกลับมาอึด
2553 The Joneses ครอบครัวขายแหลก
2553 Easy A อีนี่ แร๊ งงงส์
2552 The Proposal ลุน้ รักวิวาห์ฟ้าเเล่บ
2553 Valentine's Day หวานฉ่ าวันรักก้องโลก
2553 Kick-Ass เกรี ยนโคตร มหาประลัย
Cats & Dogs: The Revenge of Kitty
2553 Gaiore สงครามพยัคฆ์ร้ายขนปุย 2
2553 Dinner for Schmucks ปาร์ต้ ีน้ ีมีแต่เพี้ยน
ำน ก
ั ห อ ส มุ ด ก ลาง

ภาคผนวก ค

า า ว ค า ก ว กา ภา น ก กน .ศ.2551 -2553
ปี
1

ชื่อ
ภาพยนตร์
ภาษาอังกฤษ

ส ำ
ชื่อแปล
ภาษาไทย

น ั

ทับศัพท์ ไม่เสริมความ

ห อ
ทับศัพท์ เเละเสริมความ
ส มุ
กลวิธีการทับศัพท์

ทับศัพท์บางส่วน เเละเสริมความ
ด ก
แปลตรงตัวทั้งข้อความ ไม่มีเสริมความ
ลาง

แปลตรงตัวทั้งข้อความ เเละเสริมความ
กลวิธีการเเปลที่พบ
กลวิธีการแปลความ

แปลบางส่วน ไม่มีเสริมความ

ตั้งชื่อใหม่โดยใช้คาที่มีเค้าความหมายเดิม

ตั้งชื่อใหม่โดยไม่เกี่ยวข้องกับชื่อเดิม
กลวิธีการตั้งชื่อใหม่
88
89

ประวัติผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล นางสาวศุภวรรณ ทองวัน


ที่อยู่ 4 หมู่บ้านเสรี 4 ซอย 5 (ถนนพระรามเก้า ซอย43)
แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250
ประวัตกิ ารศึกษา
อ าเร็จม
สส ุ ด
พ.ศ. 2545
ำน ก
ั ห การศึ
ก ลาง ทยาลัยอัสสัมชัญ
กษาปริญญาศิลปศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา

พ.ศ. 2552
ส ภาษาจีนธุรกิจ จากมหาวิ
ศึกษาต่อระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและการ
สื่อสาร ระหว่างวัฒนธรรม คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประวัตกิ ารทางาน
พ.ศ 2548-2552 บริษัท GEO DÉCOR จากัด
พ.ศ. 2552-2553 บริษัท PROPAGANDIST จากัด
พ.ศ. 2553-2554 บริษัท ART OF LIVING จากัด
พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน บริษัท FILL IN THE BLANK จากัด

You might also like