You are on page 1of 48

แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (1)

แผนการจัดประสบการณ์ สัปดาห์ที่ 2 หน่วย ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย) สาระที่ควรเรียนรู้ เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก

nd
ตารางกิจกรรมประจาวัน
เวลา กิจกรรม รายละเอียด
07.00 - 08.00 - รับเด็ก - ครูสวัสดี ทักทายผู้ปกครอง รับเด็ก สังเกตและตรวจสุขภาพเด็ก

aila
- เด็กเก็บกระเป๋า ของใช้ส่วนตัว และคืนหนังสือนิทาน
- เด็กฟังนิทาน/ทาความสะอาดห้องเรียน/ทาความสะอาดบริเวณที่รับผิดชอบ
08.00 - 08.30 - เข้าแถวเคารพธงชาติ - เด็กร้องเพลง/เคารพธงชาติ/สวดมนต์ไหว้พระ
และกิจกรรมหน้าเสาธง - ครูพาเด็กกายบริหาร ออกกาลังกาย
- ครูเวรอบรมหน้าเสาธง/สวัสดีทักทายกัน
08.30 - 08.45 - เตรียมตัวก่อนเรียนรู้ - เด็กดื่มนม/รับประทานอาหารว่าง ล้างมือ เข้าห้องน้า

Th
08.45 - 09.00 - กิจกรรมเช้าวันใหม่สดใสแข็งแรง - ครูจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะที่สัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้
09.00 - 09.15 - กิจกรรมกลุ่มใหญ่ - ครูจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ หรือกิจกรรมกลุ่มใหญ่ที่สัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้
09.15 - 09.45 - กิจกรรมสร้างสรรค์ - ครูจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่สัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้
09.45 - 10.45 - กิจกรรมเสรี และกิจกรรม - วางแผน (5 นาที) เด็กเลือกมุมประสบการณ์ตามความสนใจ
กลุ่มย่อย
CE
- ปฏิบัติ (40 นาที) เด็กลงมือทากิจกรรมตามมุมที่วางแผน
- เล่นแล้วเก็บ (5 นาที) ครูร้องเพลง หรือเปิดเพลงเบาๆ ให้สัญญาณ เด็กเก็บของเล่นและทาความสะอาดด้วยตนเอง
- ทบทวน (10 นาที) เด็กนาเสนอความคิดและผลงาน บอกเล่าสิ่งที่ไปปฏิบัติในมุม และตอบคาถาม
10.45 - 11.15 - กิจกรรมเล่นสนุกนอกห้องเรียน - ครูพาเด็กทากิจกรรมเล่นสนุกนอกห้องเรียนหรือการเล่น กิจกรรมกลางแจ้ง
RIE
- เด็กล้างมือทาความสะอาดร่างกาย เตรียมตัวรับประทานอาหารกลางวัน
11.15 - 11.45 - พักเที่ยง - เด็กๆ รับประทานอาหารกลางวัน
11.45 - 12.00 - เตรียมตัวก่อนนอน - เด็กล้างมือ ล้างหน้า แปรงฟัน เข้าห้องน้า ปูที่นอน
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (2)

nd
เวลา กิจกรรม รายละเอียด
12.00 - 12.15 - รับการบ้าน - เด็กรับการบ้านที่สัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ใส่แฟูมการบ้าน
- พานิทานกลับบ้าน - เด็กเลือกนิทานที่สนใจมาเตรียมไว้ให้ครูลงบันทึกเพื่อยืมกลับบ้าน
12.15 - 14.15 - นอนพักผ่อน - ครูเล่านิทานก่อนนอน พาเด็กสวดมนต์ เปิดเพลงบรรเลงเบาๆ และให้เด็กนอนพักผ่อน

aila
14.15 - 14.30 - ตื่นนอน - เด็กเก็บที่นอน ล้างหน้า ทาแปูง รับประทานอาหารว่าง
14.30 - 15.00 - กิจกรรมสดชื่นหลังตื่นนอน - ครูพาเด็กร้องเพลง เล่านิทาน ทบทวนการบ้าน สนทนาทบทวนถึงเรื่องดีๆ ที่เด็กได้ทา สะท้อนการเรียนรู้ก่อนกลับบ้าน
- ครูแจกหนังสือนิทานพร้อมสมุดบันทึก (เล่มสีฟูา) ให้เด็กเอาไปใส่กระเป๋า
- ครูชักชวนให้เด็กเล่นเกมการศึกษาที่สอดคล้องกับหน่วย และเรื่องที่เรียนรู้ในวันนี้
- เด็กๆ ช่วยกันทาความสะอาดห้องเรียนรอผู้ปกครองมารับ

Th
15.00 - 16.00 - ส่งเด็กกลับบ้าน
CE - ครูสนทนา พูดคุยกับผู้ปกครองที่มารับเด็กกลับบ้าน
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (3)

Concept Map - การรับประทาน

nd
อาหารด้วยตนเอง
- ล้างมือ
- สุขนิสัยในการใช้ห้องน้า
- ล้างมือ
- การทาความสะอาดร่างกาย การปฏิบัติตนใน

aila
การรับประทานอาหารอาหาร

การปฏิบัติตนในการใช้
ห้องน้า
ปฐมนิเทศ
(เด็กดีมีวินัย) การช่วยเหลือตนเองใน

Th
การรับประทานอาหาร

การเก็บของเล่น ของใช้
ส่วนรวม
- การรับประทานอาหารได้เอง
การเก็บของใช้ส่วนตัว - การใช้อุปกรณ์ในการ
CE
รับประทานอาหาร
- วิธีเก็บของ
- สถานที่เก็บของ
- การเก็บรองเท้า
RIE
- การเก็บกระเป๋า
- แก้วน้า
- แปรงสีฟัน
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (4)

nd
aila
แผนการจัดประสบการณ์วันจันทร์

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (5)

1. วันจันทร์ กิจกรรมการจัดประสบการณ์ หน่วย ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย) เรื่อง การปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร

nd
ความคิดรวบยอด
การปฏิบัติตนในการรับประทานอาหาร เด็กๆ ควรฝึกมารยาทในการรับประทานอาหารให้ถูกต้องเพื่อความมีระเบียบวินัยและการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างมีความสุข

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สือ่ การประเมิน

aila
กิจกรรมเช้าวันใหม่สดใสแข็งแรง สังเกต
1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกาย 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : เด็ก 1. ครูชักชวนให้เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐาน โดยการให้เด็ก กลอง 1. การเคลื่อนไหว
อย่างคล่องแคล่วและทรงตัว แสดงออกถึงความแข็งแรง ความ เคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตามเสียงกลองที่ครู ร่างกายอย่าง
ได้ดี ยืดหยุ่น ความสมดุลและการควบคุม ตีโดยไม่ให้ชนกัน เมื่อครูตีกลองช้าให้เด็กเดินและทาท่าทาง คล่องแคล่วและทรงตัว
2. เด็กฟังและปฏิบัติตาม การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการเคลื่อนไหว ประกอบช้าๆ เมื่อครูตีกลองเร็วให้เด็กเดินและทาท่าทาง ได้ดี
คาสั่งได้ (17) ประกอบเร็วๆ และเมื่อครูตีกลองรัวๆ และหยุด ก็ให้เด็ก 2. การฟัง และปฏิบัติ

Th
2. การตระหนักรู้ในร่างกาย : เด็กรับรู้ เคลื่อนไหวเร็วๆ และหยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที ตามคาสั่ง
เกี่ยวกับร่างกายของตนเองและการ 2. ครูชักชวนให้เด็กยืนอย่างอิสระ กางแขนออกไม่ให้ชนเพื่อน
ควบคุมการใช้งานในพื้นที่ต่างๆ (19) แนะนาให้เด็กรู้จักจังหวะช้า - เร็ว โดยฟังจากเครื่องให้จังหวะที่
ครูเคาะ
3. ครูชักชวนให้เด็กทาท่าทางตามคาสั่ง เช่น กามือ แบมือ
สะบัดมือ หมุนมือ ตบมือ ยักไหล่ ย่าเท้า ฯลฯ ตามจังหวะที่ครู
CE
ให้ โดยครูเคาะให้จังหวะช้า - เร็ว สลับกัน
3. ครูชักชวนเด็กปฏิบัติกิจกรรมตามข้อ 2 ซ้าอีก 1 - 2 ครั้ง
4. ครูแนะนาให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อลาตัว แขนขาหายใจ
เข้าออกลึกๆ ช้าๆ
RIE
5. ครูให้เด็กๆ ดื่มน้า และนั่งแถวรอทากิจกรรมต่อไป
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (6)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สือ่ การประเมิน

nd
กิจกรรมกลุ่มใหญ่ สังเกต
1. เด็กบอกถึงการปฏิบัติตน 1. การพูด : เด็กใช้ภาษา แสดงความ 1. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “มากินข้าวซิ” ให้เด็กฟัง 1. เพลง 1. การบอกถึงการ
ในการรับประทานอาหารได้ คิดเห็น ความรู้สึกของตนเอง (23) 2. เด็กสนทนาถึงเนื้อหาของเพลงว่าเป็นย่างไร และถามเด็กว่า “มากินข้าวสิ” ปฏิบัติตนในการ
2. เด็กสนทนาโต้ตอบกับ 2. การเล่นสมมุติ : เด็กแสดงออกและ ใครเป็นคนเก่งทานอาหารเองได้ 2. อุปกรณ์ใน รับประทานอาหาร

aila
เพื่อนและครูเกี่ยวกับการ ถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด 3. ครูให้เด็กอาสาสมัคร 2 - 3 คนออกมาแสดงบทบาทสมมติ การล้างมือ เช่น 2. การสนทนากับ
รับประทานอาหารได้ จินตนาการและความรู้สึกผ่านการเล่น การรับประทานอาหารให้เพื่อนๆ ดู อ่างน้า น้า เพื่อนและครูเกี่ยวกับ
บทบาทสมมุติ (44) 4. เด็กและครูสนทนากันเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร โดย สะอาด สบู่ การรับประทานอาหาร
ครูให้คาถาม ดังนี้ ล้างมือ เป็นต้น
4.1 เด็กๆ รับประทานอาหารเองหรือไม่ อย่างไร
4.2 ก่อนรับประทานอาหารเด็กๆ ควรทาอย่างไร

Th
4.3 เด็กๆ ใช้อุปกรณ์ใดบ้างในการรับประทานอาหาร
4.4 การรับประทานอาหารที่ดีควรทาอย่างไร
5. ครูพาเด็กไปที่อ่างล้างมือหรือนาอ่างใส่น้าเข้ามาในห้องเรียน
(ตามความเหมาะสม) เพื่อสาธิตการล้างมือให้เด็กดู
6. เด็กแต่ละคนทดลองล้างมือตามวิธีที่ครูสาธิตให้ดู
กิจกรรมสร้างสรรค์ สังเกต
CE
1. เด็กทางานศิลปะตาม 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก : 1. ครูแนะนากิจกรรมประจาวัน คือ การปั้นดินน้ามันการวาด 1. ดินน้ามัน 1. การทางานศิลปะ
จินตนาการของตนเองได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ภาพอิสระและ การร้อยลูกปัด 2. แผ่นรองปั้น ตามจินตนาการ
2. เด็กใช้มือได้อย่าง การประสานความสัมพันธ์ระหว่างตา 2. ครูสาธิตวิธีการปั้นดินน้ามัน การวาดภาพอิสระ และการร้อย ดินน้ามัน 2. การใช้มืออย่าง
คล่องแคล่วและประสาน กับมือ และการควบคุมการใช้ ลูกปัดให้เด็กดู 3. กระดาษ A4 คล่องแคล่วและ
RIE
สัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อเล็กกิจกรรม (18) 3. ครูชักชวนให้เด็กเลือกทากิจกรรมตามความสนใจอย่างน้อย 4. สีเทียน ประสานสัมพันธ์กัน
3. เด็กเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ 1 กิจกรรม 3. การเล่าเรื่องราว
ผลงานของตนเองได้ 4. เด็กทากิจกรรมศิลปะตามความสนใจโดยครูคอยดูแลอย่าง เกี่ยวกับผลงานของ
ใกล้ชิด ตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (7)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สือ่ การประเมิน

nd
4. เด็กเก็บของเข้าที่ได้อย่าง 2. ศิลปะ : เด็กแสดงออกและถ่ายทอด 5. เมื่อเสร็จกิจกรรมหรือหมดเวลาในการทากิจกรรมให้เด็ก 4. การเก็บของเข้าที่
เรียบร้อย สิ่งที่พบ ความคิด จินตนาการ และ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่และนาเสนอผลงานการปั้นดินน้ามัน
ความรู้สึกผ่านผลงานทางศิลปะแบบ และการวาดภาพอิสระของตนให้ครูและเพื่อนฟัง
2 มิติ และ 3 มิติ (41) 6. เด็กนาผลงานไปส่งครู หรือนาไปติดที่บอร์ดแสดงผลงานที่

aila
3. การชื่นชมศิลปะ : เด็กแสดงความ ครูเตรียมไว้ให้
ชื่นชมในศิลปะสร้างสรรค์ต่างๆ (45) 7. ครูชักชวนให้เด็กล้างมือให้สะอาดหลังการปั้นดินน้ามัน หรือ
ทางานศิลปะ
กิจกรรมเสรี และกิจกรรมกลุ่มย่อย สังเกต
1. เด็กวางแผน ปฏิบัติ และ 1. การคิดริเริ่ม : เด็กแสดงถึงการคิด 1. ครูแนะนากิจกรรมในมุมประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับหน่วย 1. แผ่นวาง 1. การวางแผน ปฏิบัติ
ทบทวนกิจกรรมที่ทาได้ ริเริ่มในการสารวจโลกรอบตัว (1) การเรียนรู้พร้อมสาธิตวิธีทากิจกรรมหรือเล่นอุปกรณ์ใหม่ แผนการเล่น และทบทวนกิจกรรม

Th
2. เด็กแสวงหาคาตอบและ 2. การวางแผน : เด็กวางแผนและทา วิธีการเก็บ ข้อควรระวังในการเล่น และทบทวนข้อตกลง ของเด็ก 2. การแสวงหาคาตอบ
ข้อสงสัยต่างๆ ได้ สิ่งต่างๆ ตามการตัดสินใจของตนเอง ร่วมกัน 2. วัสดุ อุปกรณ์ และข้อสงสัยต่างๆ
3. เด็กแก้ปัญหาการเล่นได้ (2) 2. ครูให้เด็กวางแผนการเล่นตามมุม โดยนาสัญลักษณ์ของ ของเล่นในมุม 3. การแก้ปัญหาการ
ด้วยตนเอง 3. การปฏิบัติ : เด็กตั้งใจลงมือทาสิ่ง ตนเองวางในแผ่นวางแผนตามระบบที่จัดไว้ ครูบันทึกการ เสรี เล่น
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อน ต่างๆ ที่ตนเองสนใจ (3) วางแผนเข้ามุมของเด็กกลุ่มที่ 1 (วันจันทร์) จากนั้นจึงให้เด็ก 3. แบบบันทึก 4. การเล่นร่วมกับ
แบ่งปัน และผลัดกันเล่นได้ 4. การแก้ปัญหา : เด็กลงมือแก้ปัญหา กลุ่มอื่นๆ วางแผน และทยอยเข้ามุมประสบการณ์ การสังเกตการ เพื่อนแบ่งปัน และผลัด
CE
อย่างเหมาะสม ที่เกิดขึ้นในขณะเล่น (4) 3. ครูเข้าไปสังเกต ร่วมเล่น สนทนากับเด็กขณะทากิจกรรม วางแผน ปฏิบัติ กันเล่น
5. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ 5. การใช้แหล่งเรียนรู้ : เด็กค้นหา ต่างๆและจดบันทึกการทากิจกรรมของเด็กกลุ่มที่ 1 จนครบทุก ทบทวน 5. การเก็บของเล่นให้
ด้วยตนเอง รวบรวมข้อมูลและสร้างความคิด คน เข้าที่
6. เด็กถามคาถามและแสดง เกี่ยวกับโลกรอบตัว (5) 4. เมื่อหมดเวลาเล่น ครูร้องเพลงให้สัญญาณเก็บของเล่น และ 6. การถามคาถามและ
RIE
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ 6. การสะท้อนความคิด : เด็กสะท้อน กระตุ้นให้เด็กๆ ช่วยกันจัดเก็บของเล่นให้เข้าที่ ทาความสะอาด แสดงความคิดเห็น
สนใจได้ ความคิดเกี่ยวกับประสบการณ์ของ วัสดุอุปกรณ์และพื้นที่ให้สะอาด เกี่ยวกับสิ่งที่สนใจ
ตนเอง (6)
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (8)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สือ่ การประเมิน

nd
7. เด็กเชื่อมโยงความรู้และ 7. การเล่นร่วมมือ : เด็กให้ความ 5. เมื่อเก็บของเล่นเสร็จแล้ว ครูแนะนาให้เด็กกลุ่มที่ 1 (กลุ่มที่ 7. การเชื่อมโยงความรู้
ทักษะต่างๆ ใน ร่วมมือในการเล่นร่วมกับผู้อื่น (13) จะทบทวน) เตรียมผลงานที่จะนาเสนอมาวางไว้บนโต๊ะหรือ และทักษะต่างๆ ใน
ชีวิตประจาวันมาใช้ในการ 8. การแก้ไขความขัดแย้ง : เด็กแก้ไข บริเวณพื้นที่ที่กาหนด และกระตุ้นให้เด็กทุกคนนั่งประจาที่ ชีวิตประจาวันมาใช้ใน
เล่นได้ ความขัดแย้งทางสังคมด้วยเหตุผล 6. ครูให้เด็กกลุ่มที่ 1 ออกมา ทบทวนการทากิจกรรมทีละคน การเล่น

aila
(15) โดยนาเสนอผลงานของตนเองและ/หรือเล่าถึงสิ่งที่ได้ทาในมุม ตรวจผลงาน
9. ความมีวินัย : เด็กรับรู้และปฏิบัติ วันนี้ ครูชักชวนให้เด็กคนอื่นๆ และคุณครูร่วมชั้นตั้งคาถาม 1. ทางานครบตามที่
ตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) ถามเพื่อนเกี่ยวกับผลงานและสิ่งที่ได้ไปปฏิบัติ วางแผนไว้
10. การอ่าน : เด็กอ่านสิ่งต่างๆ เพื่อ 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุป และแสดงความชื่นชมทุกคนที่ร่วม 2. คุณภาพของงาน
ความสุขและเพื่อค้นหาข้อมูล (27) ทากิจกรรมด้วยความตั้งใจ
11. การเขียน : เด็กเขียนตาม

Th
จุดมุ่งหมายหลากหลาย (30)
12. การเล่นสมมติ : เด็กแสดงออก
และถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด
จินตนาการ และความรู้สึกผ่านการเล่น
บทบาทสมมติ (44)
กิจกรรมเล่นสนุกนอกห้องเรียน สังเกต
CE
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง 1. ความมีระเบียบวินัย : เด็กรับรู้และ 1. ครูนาเด็กเดินเป็นแถวไปสนามเด็กเล่น และให้เด็กอบอุ่น เครื่องเล่นสนาม 1. การปฏิบัติตาม
ได้ ปฏิบัติตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) ร่างกายด้วยการกายบริหารตามผู้นา 3 - 4 คน ข้อตกลง
2. เด็กปฏิบัติตนอย่าง 2. การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : เด็ก 2. ครูแนะนาเครื่องเล่นในสนามเด็กเล่นพร้อมทั้งสาธิตวิธีการ 2. การปฏิบัติตน
ปลอดภัยขณะเล่นได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ความ เล่นที่ถูกต้องและปลอดภัย ในขณะเล่น
RIE
3. เด็กสนใจและมีความสุข ยืดหยุ่น ความสมดุล และการควบคุม 3. เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันในการเล่นเครื่องเล่นสนาม 3. การแสดงออกทาง
ในการเล่นและออกกาลัง การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการเคลื่อนไหว อย่างถูกต้องและปลอดภัย เช่น อารมณ์ขณะเล่น
กาย (17) - วิธีเล่นอย่างถูกต้องและปลอดภัย
- รู้จักการรอคอยโดยการเข้าแถวตามลาดับก่อน - หลัง
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (9)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สือ่ การประเมิน

nd
3. พฤติกรรมการมีสุขภาพดี : เด็ก - รู้จักการแบ่งปันไม่แย่งกันเล่น
ปฏิบัติตนในการรักษาสุขภาพ ออก 4. เด็กเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างอิสระโดยมีครูคอยดูแลอย่าง
กาลังกาย และดูแลความปลอดภัยของ ใกล้ชิด ครูให้สัญญาณเมื่อหมดเวลาและให้เด็กเข้าแถวให้
ตนเอง (21) เรียบร้อย

aila
5. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับการเล่นเครื่องเล่นสนาม
6. ครูนาเด็กเดินเป็นแถวเพื่อไปทาความสะอาดร่างกายและ
กลับเข้าห้องเรียน
กิจกรรมสดชื่นหลังตื่นนอน สังเกต
1. เด็กแก้ปัญหาในการเล่น 1. ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนย่อยและ 1. ครูแนะนาเกมการศึกษา “การตัดต่อภาพจาน และ 1. เกม “การตัด 1. การเล่นเกม
เกมได้ ทั้งหมด :เด็กประกอบและแยกส่วน พยัญชนะ จ. จาน” ต่อภาพจาน การศึกษา

Th
2. เด็กเล่นรวมกลุ่มกับเพื่อน ต่างๆ ของวัตถุ (34) 2. ครูแนะนาวิธีเล่นเกม “การตัดต่อภาพจาน และพยัญชนะ และพยัญชนะ 2. การเล่นรวมกลุ่มกับ
ได้ 2. แบบรูป : เด็กจาแนก อธิบาย ทา จ. จาน” จ. จาน” เพื่อน
3. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ ตามแบบต่อเติมให้สมบูรณ์ และสร้าง 3. เด็กเล่นเกม “การตัดต่อภาพจาน และพยัญชนะ จ. จาน” 2. เกมที่เคยเล่น 3. การเก็บเกม
แบบรูปต่างๆ (39) โดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิด มาแล้ว การศึกษาเข้าที่
4. เด็กเล่นเกมใหม่สลับกับเกมที่เคยเล่นมาแล้ว
5. เมื่อหมดเวลาหรือเลิกเล่นให้เด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่ให้
CE
เรียบร้อย
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (10)

nd
aila
แผนการจัดประสบการณ์วันอังคาร

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (11)

2. วันอังคาร กิจกรรมการจัดประสบการณ์ หน่วย ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย) เรื่อง การช่วยเหลือตนเองในการรับประทานอาหาร

nd
ความคิดรวบยอด
การช่วยเหลือตนเองในการรับประทานอาหาร เป็นสิ่งที่เด็กทุกคนต้องฝึกฝนเพื่อให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง พึ่งพาตนเองได้ไม่ต้องคอยให้ผู้อื่นช่วยเหลือ
ตลอดเวลา

aila
จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน
กิจกรรมเช้าวันใหม่สดใสแข็งแรง สังเกต
1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกาย 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : เด็ก 1. ครูชักชวนให้เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐาน โดยการให้เด็ก 1. กลอง 1. การเคลื่อนไหว
ตามจังหวะได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ความ เคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตามเสียงกลองที่ครู 2. เพลง ร่างกายตามจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวประกอบ ยืดหยุ่น ความสมดุลและการควบคุม ตีโดยไม่ให้ชนกัน เมื่อครูตีกลองช้าให้เด็กเดินและทาท่าทาง “มากินข้าวสิ” 2. การเคลื่อนไหว
อุปกรณ์ตามจินตนาการได้ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการเคลื่อนไหว ประกอบช้าๆ เมื่อครูตีกลองเร็วให้เด็กเดินและทาท่าทาง 3. แก้วน้า ประกอบอุปกรณ์ตาม

Th
3. เด็กร่าเริง สดชื่น แจ่มใส (17) ประกอบเร็วๆ และเมื่อครูตีกลองรัวๆ และหยุด ก็ให้เด็ก ประจาตัวเด็ก จินตนาการ
และอารมณ์ดี 2. การตระหนักรู้ในร่างกาย : เด็กรับรู้ เคลื่อนไหวเร็วๆ และหยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที 3. การแสดงออกทาง
เกี่ยวกับร่างกายของตนเองและการ 2. ครูชักชวนให้เด็กแต่ละคนนาแก้วน้าประจาตัวของตนเองมา อารมณ์ของเด็ก
ควบคุมการใช้งานในพื้นที่ต่างๆ (19) ถือไปไว้ แล้วเคลื่อนไหวตามจังหวะเสียงกลองประกอบเพลง
3. การเคลื่อนไหว : เด็กแสดงออก “มากินข้าวสิ” ไปรอบๆ บริเวณโดยไม่ให้ชนกัน เมื่อได้ยิน
ถ่ายทอดสิ่งที่ สังเกตพบ ความคิด สัญญาณหยุดให้เด็กนาแก้วมาวางรวมกันตรงกลางห้องเรียนให้
CE
จินตนาการและความรู้สึกผ่านการ เป็นรูปร่างตามจินตนาการ
เคลื่อนไหว (43) 3. ครูให้เด็กปฏิบัติตามข้อ 2 อีก 1 - 2 ครั้ง
4. เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อด้วยการยกมือขึ้นเหนือศีรษะ แล้ว
ยืดตัวขึ้นลงพร้อมหายใจเข้าออกช้าๆ
RIE
5. ครูให้เด็กๆ ดื่มน้า แล้วนั่งแถวรอทากิจกรรมต่อไป
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (12)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมกลุ่มใหญ่ สังเกต
1. เด็กสนทนาโต้ตอบกับ 1. การกระหนักในความสามารถของ 1. เด็กและครูร่วมกันร้องและทาท่าทางประกอบเพลง “มากิน 1. เพลง “มา 1. การสนทนาโต้ตอบ
เพื่อนและครูได้ ตน : เด็กมีความมั่นใจและทาสิ่งต่างๆ ข้าวสิ” ตามจินตนาการอีกครั้ง กินข้าวสิ” กับเพื่อนและครู
2. เด็กรับประทานอาหารได้ ด้วยความสามารถของตนเอง (8) 2. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร 2. อุปกรณ์ใน 2. การรับประทาน

aila
ด้วยตนเอง 2. การพูด : เด็กใช้ภาษา แสดง โดยครูให้คาถาม ดังนี้ การรับประทาน อาหารได้ด้วยตนเอง
3. เด็กร่วมกิจกรรมด้วย ความคิดความรู้สึกของตนเอง (23) 2.1 เด็กๆ เคยรับประทานอาหารด้วยตนเองหรือไม่ อย่างไร อาหาร เช่น 3. การร่วมกิจกรรม
ความสนใจอย่างมีความสุข 2.2 ถ้าให้เด็กๆ ใช้ช้อนในการรับประทานอาหารเด็กๆ จะทา จานหรือถาดใส่ ด้วยความสนใจอย่างมี
ตั้งแต่ต้นจนจบ ได้หรือไม่ อย่างไร อาหาร ความสุขตั้งแต่ต้นจน
3. ครูพาเด็กไปที่โรงอาหาร แล้วแจกจานหรือถาดใส่อาหารให้ ช้อนส้อม จบ
เด็ก คนละ 1 ใบ และแจกช้อนส้อมอีกคนละ 1 คู่ แล้วสนทนา 3. ข้าวผัดไข่

Th
ร่วมกันเกี่ยวกับอุปกรณ์ในการรับประทานอาหาร เช่น เรียกชื่อ 4. น้าดื่ม
อย่างไร มีวิธีการใช้อย่างไร 5. กะละมังใส่
4. ครูตักข้าวผัดไข่ใส่จานให้เด็กคนละ ครึ่งทัพพี แล้วให้เด็ก ถาดหรือจาน
ทดลองใช้ช้อนส้อมในการรับประทานข้าวผัดไข่ โดยมีข้อตกลง
ร่วมกัน คือ
- ให้จับช้อนด้วยมือขวา หรือมือที่ถนัด และจับส้อมด้วยมือ
CE
อีกข้าง
- ให้ใช้ช้อนส้อมให้ตักข้าวผัดไข่รับประทานโดยไม่ให้ข้าวหก
5. เมื่อเด็กรับประทานหมดแล้วให้เด็กๆ นาจาดหรือถาดข้าว
และช้อนไปเก็บในกะละมังที่ครูเตรียมไว้และไปดื่มน้าให้
RIE
เรียบร้อย
6. ครูและเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับวิธีการรับประทานอาหาร
ด้วยตนเอง
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (13)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมสร้างสรรค์ สังเกต
1. เด็กทางานศิลปะตาม 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก : 1. ครูแนะนากิจกรรมประจาวัน คือ การปั้นดินน้ามัน การวาด 1. ดินน้ามัน 1. การทางานศิลปะ
จินตนาการของตนเองได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ภาพอิสระ และการร้อยลูกปัด 2. แผ่นรองปั้น ตามจินตนาการ
2. เด็กใช้มือได้อย่าง การประสานความสัมพันธ์ระหว่างตา 2. ครูสาธิตวิธีการปั้นดินน้ามัน การวาดภาพอิสระ และการร้อย ดินน้ามัน 2. การใช้มืออย่าง

aila
คล่องแคล่วและประสาน กับมือ และการควบคุมการใช้ ลูกปัด ให้เด็กดู 3. กระดาษ A4 คล่องแคล่วและ
สัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อเล็กกิจกรรม (18) 3. ครูชักชวนให้เด็กเลือกทากิจกรรมตามความสนใจอย่างน้อย 4. สีเทียน ประสานสัมพันธ์กัน
3. เด็กเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ 2. ศิลปะ : เด็กแสดงออกและถ่ายทอด 1 กิจกรรม 5. ลูกปัด 3. การเล่าเรื่องราว
ผลงานของตนเองได้ สิ่งที่พบ ความคิด จินตนาการ และ 4. เด็กทากิจกรรมศิลปะตามความสนใจโดยครูคอยดูแลอย่าง 6. เชือกร้อย เกี่ยวกับผลงานของ
4. เด็กเก็บของเข้าที่ได้อย่าง ความรู้สึกผ่านผลงานทางศิลปะแบบ ใกล้ชิด ลูกปัด ตนเอง
เรียบร้อย 2 มิติ และ 3 มิติ (41) 5. เมื่อเสร็จกิจกรรมหรือหมดเวลาในการทากิจกรรมให้เด็ก 4. การเก็บของเข้าที่

Th
3. การชื่นชมศิลปะ : เด็กแสดงความ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่และนาเสนอผลงานการปั้นดินน้ามัน
ชื่นชมในศิลปะสร้างสรรค์ต่างๆ (45) และการวาดภาพอิสระของตนให้ครูและเพื่อนฟัง
6. เด็กนาผลงานไปส่งครู หรือนาไปติดที่บอร์ดแสดงผลงานที่
ครูเตรียมไว้ให้
7. ครูชักชวนให้เด็กล้างมือให้สะอาดหลังการปั้นดินน้ามัน หรือ
ทางานศิลปะ
CE
กิจกรรมเสรี และกิจกรรมกลุ่มย่อย สังเกต
1. เด็กวางแผน ปฏิบัติ และ 1. การคิดริเริ่ม : เด็กแสดงถึงการคิด 1. ครูแนะนากิจกรรมในมุมประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับหน่วย 1. แผ่นวาง 1. การวางแผน ปฏิบัติ
ทบทวนกิจกรรมที่ทาได้ ริเริ่มในการสารวจโลกรอบตัว (1) การเรียนรู้พร้อมสาธิตวิธีทากิจกรรมหรือเล่นอุปกรณ์ใหม่ แผนการเล่น และทบทวนกิจกรรม
2. เด็กแสวงหาคาตอบและ 2. การวางแผน : เด็กวางแผนและทา วิธีการเก็บ ข้อควรระวังในการเล่น และทบทวนข้อตกลง ของเด็ก 2. การแสวงหาคาตอบ
RIE
ข้อสงสัยต่างๆ ได้ สิ่งต่างๆ ตามการตัดสินใจของตนเอง ร่วมกัน 2. วัสดุ อุปกรณ์ และข้อสงสัยต่างๆ
3. เด็กแก้ปัญหาการเล่นได้ (2) ของเล่นในมุม 3. การแก้ปัญหาการ
ด้วยตนเอง 3. การปฏิบัติ : เด็กตั้งใจลงมือทาสิ่ง เสรี เล่น
ต่างๆ ที่ตนเองสนใจ (3)
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (14)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อน 4. การแก้ปัญหา : เด็กลงมือแก้ปัญหา 2. ครูให้เด็กวางแผนการเล่นตามมุม โดยนาสัญลักษณ์ของ 3. แบบบันทึก 4. การเล่นร่วมกับ
แบ่งปัน และผลัดกันเล่นได้ ที่เกิดขึ้นในขณะเล่น (4) ตนเองวางในแผ่นวางแผนตามระบบที่จัดไว้ ครูบันทึกการ การสังเกตการ เพื่อนแบ่งปัน และผลัด
อย่างเหมาะสม 5. การใช้แหล่งเรียนรู้ : เด็กค้นหา วางแผนเข้ามุมของเด็กกลุ่มที่ 2 (วันอังคาร) จากนั้นจึงให้เด็ก วางแผน ปฏิบัติ กันเล่น
5. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ รวบรวมข้อมูลและสร้างความคิด กลุ่มอื่นๆ วางแผน และทยอยเข้ามุมประสบการณ์ ทบทวน 5. การเก็บของเล่นให้

aila
ด้วยตนเอง เกี่ยวกับโลกรอบตัว (5) 3. ครูเข้าไปสังเกต ร่วมเล่น สนทนากับเด็กขณะทากิจกรรม เข้าที่
6. เด็กถามคาถามและแสดง 6. การสะท้อนความคิด : เด็กสะท้อน ต่างๆและจดบันทึกการทากิจกรรมของเด็กกลุ่มที่ 2 จนครบทุก 6. การถามคาถามและ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ ความคิดเกี่ยวกับประสบการณ์ของ คน แสดงความคิดเห็น
สนใจได้ ตนเอง (6) 4. เมื่อหมดเวลาเล่น ครูร้องเพลงให้สัญญาณเก็บของเล่น และ เกี่ยวกับสิ่งที่สนใจ
7. เด็กเชื่อมโยงความรู้และ 7. การเล่นร่วมมือ : เด็กให้ความ กระตุ้นให้เด็กๆ ช่วยกันจัดเก็บของเล่นให้เข้าที่ ทาความสะอาด 7. การเชื่อมโยงความรู้
ทักษะต่างๆ ใน ร่วมมือในการเล่นร่วมกับผู้อื่น (13) วัสดุอุปกรณ์และพื้นที่ให้สะอาด และทักษะต่างๆ ใน

Th
ชีวิตประจาวันมาใช้ในการ 8. การแก้ไขความขัดแย้ง : เด็กแก้ไข 5. เมื่อเก็บของเล่นเสร็จแล้ว ครูแนะนาให้เด็กกลุ่มที่ 2 (กลุ่มที่ ชีวิตประจาวันมาใช้ใน
เล่นได้ ความขัดแย้งทางสังคมด้วยเหตุผล จะทบทวน) เตรียมผลงานที่จะนาเสนอมาวางไว้บนโต๊ะหรือ การเล่น
(15) บริเวณพื้นที่ที่กาหนด และกระตุ้นให้เด็กทุกคนนั่งประจาที่ ตรวจผลงาน
9. ความมีวินัย : เด็กรับรู้และปฏิบัติ 6. ครูให้เด็กกลุ่มที่ 2 ออกมา ทบทวนการทากิจกรรมทีละคน 1. ทางานครบตามที่
ตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) โดยนาเสนอผลงานของตนเองและ/หรือเล่าถึงสิ่งที่ได้ทาในมุม วางแผนไว้
10. การอ่าน : เด็กอ่านสิ่งต่างๆ เพื่อ วันนี้ ครูชักชวนให้เด็กคนอื่นๆ และคุณครูร่วมชั้นตั้งคาถาม 2. คุณภาพของงาน
CE
ความสุขและเพื่อค้นหาข้อมูล (27) ถามเพื่อนเกี่ยวกับผลงานและสิ่งที่ได้ไปปฏิบัติ
11. การเขียน : เด็กเขียนตาม 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุป และแสดงความชื่นชมทุกคนที่ร่วม
จุดมุ่งหมายหลากหลาย (30) ทากิจกรรมด้วยความตั้งใจ
12. การเล่นสมมติ : เด็กแสดงออก
RIE
และถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด
จินตนาการ และความรู้สึกผ่านการเล่น
บทบาทสมมติ (44)
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (15)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมเล่นสนุกนอกห้องเรียน สังเกต
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง 1. ความมีวินัย : เด็กรับรู้และปฏิบัติ 1. ครูชักชวนให้เด็กๆ อบอุ่นร่างกาย ด้วยการวิ่งเหยาะๆ รอบ สนามหน้า 1. การปฏิบัติตาม
ได้ ตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) สนาม ห้องเรียน หรือ ข้อตกลง
2. เด็กปฏิบัติตนอย่าง 2. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : เด็ก 2. ครูชักชวนให้เด็กร่วมกันกาหนดข้อตกลงในการเล่นอิสระ อาคาร 2. การปฏิบัติตน

aila
ปลอดภัยขณะเล่นได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ความ อย่างถูกต้องและปลอดภัย อเนกประสงค์ ในขณะเล่น
3. เด็กสนใจและมีความสุข ยืดหยุ่น ความสมดุลและการควบคุม 3. ครูชักชวนให้เด็กเล่นอิสระในสนามโดยมีครูคอยดูแลอย่าง 3. การแสดงออกทาง
ในการเล่นและออกกาลัง การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการเคลื่อนไหว ใกล้ชิด อารมณ์ขณะเล่น
กาย (17) 4. เมื่อหมดเวลาในการเล่นครูและเด็กสรุปร่วมกันถึงการเล่น
3. พฤติกรรมการมีสุขภาพดี : เด็ก อิสระในสนาม เช่น เด็กๆ เล่นอะไร ที่ไหน อย่างไร
ปฏิบัติตนในการรักษาสุขภาพ ออก 5. ครูนาเด็กเดินเป็นแถวเพื่อไปทาความสะอาดร่างกายและ

Th
กาลังกาย และดูแลความปลอดภัยของ กลับเข้าห้องเรียน
ตนเอง (21)
กิจกรรมสดชื่นหลังตื่นนอน สังเกต
1. เด็กเปรียบเทียบความ 1. การวิเคราะห์ข้อมูล : เด็กใช้ข้อมูล 1. ครูแนะนาเกม “จับคู่ภาพเหมือนอาหาร” 1. เกม “จับคู่ 1. การเล่นเกม
เหมือนและความแตกต่างได้ เกี่ยวกับคุณลักษณะต่างๆ ในการสรุป 2. ครูแนะนาวิธีเล่นเกม “จับคู่ภาพเหมือนอาหาร” ภาพเหมือน การศึกษา
2. แก้ปัญหาด้วยตนเอง ตัดสินใจและแก้ปัญหา (40) 3. เด็กเล่นเกม “จับคู่ภาพเหมือนอาหาร” โดยมีครูคอยดูแล อาหาร” 2. การเล่นรวมกลุ่มกับ
CE
หลังจากได้รับคาชี้แนะได้ 2. การสังเกต : เด็กสังเกตวัตถุ และ อย่างใกล้ชิด 2. เกมที่เคย เพื่อน
3. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ กระบวนการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ใน 4. เด็กเล่นเกมใหม่สลับกับเกมที่เคยเล่นมาแล้ว เล่นมาแล้ว 3. การเก็บเกม
สิ่งแวดล้อม (46) 5. เมื่อหมดเวลาหรือเลิกเล่นให้เด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่ให้ การศึกษาเข้าที่
เรียบร้อย
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (16)

nd
aila
แผนการจัดประสบการณ์วันพุธ

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (17)

3. วันพุธ กิจกรรมการจัดประสบการณ์ หน่วย ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย) เรื่อง การเก็บของใช้ส่วนตัว

nd
ความคิดรวบยอด
ของใช้ส่วนตัวของเด็กๆ ได้แก่ กระเป๋านักเรียน ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า แก้วน้า แปรงสีฟัน และรองเท้า เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เด็กๆ ต้องรู้จักจัดเก็บให้เป็นระเบียบเรียบร้อย
เพื่อง่ายต่อการค้นหาและการนามาใช้

aila
จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน
กิจกรรมเช้าวันใหม่สดใสแข็งแรง สังเกต
1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกาย 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : 1. ครูชักชวนให้เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐาน โดยการให้เด็ก 1. เพลง “เก็บ 1. การเคลื่อนไหว
อย่างคล่องแคล่วและทรงตัว เด็กแสดงออกถึงความแข็งแรง เคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตามเสียงกลองที่ ของ” ร่างกายอย่าง
ได้ดี ความยืดหยุ่น ความสมดุลและการ ครูตีโดยไม่ให้ชนกัน เมื่อครูตีกลองช้าให้เด็กเดินและทา 2. กลองหรือ คล่องแคล่วและทรงตัว
2. เด็กแสดงออกถึงความ ควบคุมการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการ ท่าทางประกอบช้าๆ เมื่อครูตีกลองเร็วให้เด็กเดินและทา เครื่องเคาะ ได้ดี

Th
ร่าเริง สดชื่นแจ่มใส และ เคลื่อนไหว (17) ท่าทางประกอบเร็วๆ และเมื่อครูตีกลองรัวๆ และหยุด ก็ให้ จังหวะอื่นๆ 2. การแสดงออกถึง
อารมณ์ดี 2. การตระหนักรู้ในร่างกาย : เด็ก เด็กเคลื่อนไหวเร็วๆ และหยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที ความร่าเริง สดชื่น
3. เด็กแสดงท่าทางการ รับรู้เกี่ยวกับร่างกายของตนเองและ 2. ครูให้เด็กแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มเด็กผู้หญิง แจ่มใส และอารมณ์ดี
เคลื่อนไหวตามจินตนาการได้ การควบคุมการใช้งานในพื้นที่ต่างๆ และกลุ่มเด็กผู้ชาย แล้วให้เด็กแต่ละกลุ่มทาท่าทางประกอบ 3. การเคลื่อนไหวตาม
(19) เพลง“เก็บของ” ตามจินตนาการ จินตนาการ
3. ดนตรี : เด็กแสดงออกและ 3. เด็กๆ ปฏิบัติตามข้อ 2 ซ้าอีก 1 - 2 ครั้ง
CE
ถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด 4. ครูชักชวนให้เด็กๆ ผ่อนคลายกล้ามเนื้อด้วยการยืดตัวขึ้น
จินตนาการ และความรู้สึกผ่าน ลง และบิดตัวซ้ายขวาช้าๆ จากนั้นครูให้เด็กๆ ดื่มน้าแล้วนั่ง
ดนตรี แถวรอทากิจกรรมต่อไป
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (18)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมกลุ่มใหญ่ สังเกต
1. เด็กแสดงความสนใจและ 1. ความเข้าใจความหมาย : เด็ก 1. ครูเล่านิทานเรื่อง “น้องส้มมาโรงเรียน” ให้เด็กๆ ฟัง 1. นิทานเรื่อง 1. ความสนใจและเป็น
เป็นผู้ฟังที่ดี เข้าใจและแสดงการตอบสนองต่อ 2. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับเนื้อหาในนิทาน โดยครู “น้องส้มมา ผู้ฟังที่ดี
2. เด็กสนทนาโต้ตอบกับ สิ่งที่ฟังได้ตรงความหมาย (22) ใช้คาถาม ดังนี้ โรงเรียน” 2. การสนทนาโต้ตอบ

aila
เพื่อนและครูเกี่ยวกับการเก็บ 2. การพูด : เด็กใช้ภาษา แสดง - เด็กเคยเก็บกระเป๋าเองหรือไม่ อย่างไร 2. ของใช้ส่วนตัว กับเพื่อนและครู
ของใช้ส่วนตัวได้ ความคิดเห็น ความรู้สึกของตนเอง - ทาไมน้องส้มจึงชอบมาโรงเรียน เด็กในห้องเรียน เกี่ยวกับการเก็บของใช้
3. เด็กเก็บของใช้ส่วนตัวได้ (23) 3. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับของใช้ส่วนตัวเด็ก โดย ส่วนตัวได้
อย่างเหมาะสมกับวัย 3. การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ : เด็กใช้ ครูใช้คาถามในการกระตุ้นความคิดของเด็ก ดังนี้ 3. การเก็บของใช้
คาศัพท์ภาษาอังกฤษง่ายๆ ในการ - ของใช้ของเด็กๆ มีอะไรบ้าง ส่วนตัวได้อย่าง
สื่อความหมาย (31) - เด็กๆ คิดว่าของใช้ของเด็กๆ ควรเก็บอย่างไรจึงจะ เหมาะสมกับวัย

Th
เหมาะสม
- เด็กๆ คิดว่าจะเก็บของใช้ของตนเองให้เป็นระเบียบ
เรียบร้อยได้หรือไม่ อย่างไร
4. ครูให้เด็กนาของใช้ส่วนตัว เช่น กระเป๋า รองเท้า แก้วน้า
และแปรงสีฟัน มาวางไว้ด้านหน้าของตัวเอง จากนั้นครู
แนะนาของใช้แต่ละชิ้น และวิธีการจัดเก็บ แล้วให้เด็กนาของ
CE
ใช้ของตนเองไปเก็บยังที่ที่ครูจัดไว้ให้
5. ครูพาเด็กๆออกเสียงคาศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
ที่เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องใช้ในห้องเรียน เช่น
แก้วน้า Glass
RIE
แปรงสีฟัน Toothbrush
รองเท้า Shoe
กระเป๋า Bag
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (19)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมสร้างสรรค์ สังเกต
1. เด็กทางานศิลปะตาม 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก : 1. ครูแนะนากิจกรรมประจาวัน คือ การปั้นดินน้ามัน การ 1. ดินน้ามัน 1. การทางานศิลปะ
จินตนาการของตนเองได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง วาดภาพอิสระ และการร้อยลูกปัด 2. แผ่นรองปั้น ตามจินตนาการ
2. เด็กใช้มือได้อย่าง การประสานความสัมพันธ์ระหว่าง 2. ครูสาธิตวิธีการปั้นดินน้ามัน การวาดภาพอิสระ และการ ดินน้ามัน 2. การใช้มืออย่าง

aila
คล่องแคล่วและประสาน ตากับมือ และการควบคุมการใช้ ร้อยลูกปัด ให้เด็กดู 3. กระดาษ A4 คล่องแคล่วและ
สัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อเล็กกิจกรรม (18) 3. ครูชักชวนให้เด็กเลือกทากิจกรรมตามความสนใจอย่าง 4. สีเทียน ประสานสัมพันธ์กัน
3. เด็กเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ 2. ศิลปะ : เด็กแสดงออกและ น้อย 5. ลูกปัด 3. การเล่าเรื่องราว
ผลงานของตนเองได้ ถ่ายทอดสิ่งที่พบ ความคิด 1 กิจกรรม 6. เชือกร้อย เกี่ยวกับผลงานของ
4. เด็กเก็บของเข้าที่ได้อย่าง จินตนาการ และความรู้สึกผ่าน 4. เด็กทากิจกรรมศิลปะตามความสนใจโดยครูคอยดูแลอย่าง ลูกปัด ตนเอง
เรียบร้อย ผลงานทางศิลปะแบบ ใกล้ชิด 4. การเก็บของเข้าที่

Th
2 มิติ และ 3 มิติ (41) 5. เมื่อเสร็จกิจกรรมหรือหมดเวลาในการทากิจกรรมให้เด็ก
3. การชื่นชมศิลปะ : เด็กแสดง ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่และนาเสนอผลงานการปั้นดินน้ามัน
ความชื่นชมในศิลปะสร้างสรรค์ และการวาดภาพอิสระของตนให้ครูและเพื่อนฟัง
ต่างๆ (45) 6. เด็กนาผลงานไปส่งครู หรือนาไปติดที่บอร์ดแสดงผลงานที่
ครูเตรียมไว้ให้
7. ครูชักชวนให้เด็กล้างมือให้สะอาดหลังการปั้นดินน้ามัน
CE
หรือทางานศิลปะ
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (20)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมเสรี และกิจกรรมกลุ่มย่อย สังเกต
1. เด็กวางแผน ปฏิบัติ และ 1. การคิดริเริ่ม : เด็กแสดงถึงการ 1. ครูแนะนากิจกรรมในมุมประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับหน่วย 1. แผ่นวาง 1. การวางแผน ปฏิบัติ
ทบทวนกิจกรรมที่ทาได้ คิดริเริ่มในการสารวจโลกรอบตัว การเรียนรู้พร้อมสาธิตวิธีทากิจกรรมหรือเล่นอุปกรณ์ใหม่ แผนการเล่นของ และทบทวนกิจกรรม
2. เด็กแสวงหาคาตอบและ (1) วิธีการเก็บ ข้อควรระวังในการเล่น และทบทวนข้อตกลง เด็ก 2. การแสวงหาคาตอบ

aila
ข้อสงสัยต่างๆ ได้ 2. การวางแผน : เด็กวางแผนและ ร่วมกัน 2. วัสดุ อุปกรณ์ และข้อสงสัยต่างๆ
3. เด็กแก้ปัญหาการเล่นได้ ทาสิ่งต่างๆ ตามการตัดสินใจของ 2. ครูให้เด็กวางแผนการเล่นตามมุม โดยนาสัญลักษณ์ของ ของเล่นในมุมเสรี 3. การแก้ปัญหาการ
ด้วยตนเอง ตนเอง (2) ตนเองวางในแผ่นวางแผนตามระบบที่จัดไว้ ครูบันทึกการ 3. แบบบันทึก เล่น
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อน 3. การปฏิบัติ : เด็กตั้งใจลงมือทาสิ่ง วางแผนเข้ามุมของเด็กกลุ่มที่ 3 (วันพุธ) จากนั้นจึงให้เด็ก การสังเกตการ 4. การเล่นร่วมกับ
แบ่งปัน และผลัดกันเล่นได้ ต่างๆ ที่ตนเองสนใจ (3) กลุ่มอื่นๆ วางแผน และทยอยเข้ามุมประสบการณ์ วางแผน ปฏิบัติ เพื่อนแบ่งปัน และผลัด
อย่างเหมาะสม 4. การแก้ปัญหา : เด็กลงมือ 3. ครูเข้าไปสังเกต ร่วมเล่น สนทนากับเด็กขณะทากิจกรรม ทบทวน กันเล่น

Th
5. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะเล่น (4) ต่างๆและจดบันทึกการทากิจกรรมของเด็กกลุ่มที่ 3 จนครบ 5. การเก็บของเล่นให้
ด้วยตนเอง 5. การใช้แหล่งเรียนรู้ : เด็กค้นหา ทุกคน เข้าที่
6. เด็กถามคาถามและแสดง รวบรวมข้อมูลและสร้างความคิด 4. เมื่อหมดเวลาเล่น ครูร้องเพลงให้สัญญาณเก็บของเล่น 6. การถามคาถามและ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ เกี่ยวกับโลกรอบตัว (5) และกระตุ้นให้เด็กๆ ช่วยกันจัดเก็บของเล่นให้เข้าที่ ทาความ แสดงความคิดเห็น
สนใจได้ 6. การสะท้อนความคิด : เด็ก สะอาด วัสดุอุปกรณ์และพื้นที่ให้สะอาด เกี่ยวกับสิ่งที่สนใจ
7. เด็กเชื่อมโยงความรู้และ สะท้อนความคิดเกี่ยวกับ 5. เมื่อเก็บของเล่นเสร็จแล้ว ครูแนะนาให้เด็กกลุ่มที่ 3 (กลุ่ม 7. การเชื่อมโยงความรู้
CE
ทักษะต่างๆ ใน ประสบการณ์ของตนเอง (6) ที่จะทบทวน) เตรียมผลงานที่จะนาเสนอมาวางไว้บนโต๊ะหรือ และทักษะต่างๆ ใน
ชีวิตประจาวันมาใช้ในการ 7. การเล่นร่วมมือ : เด็กให้ความ บริเวณพื้นที่ที่กาหนด และกระตุ้นให้เด็กทุกคนนั่งประจาที่ ชีวิตประจาวันมาใช้ใน
เล่นได้ ร่วมมือในการเล่นร่วมกับผู้อื่น (13) 6. ครูให้เด็กกลุ่มที่ 3 ออกมา ทบทวนการทากิจกรรมทีละคน การเล่น
8. การแก้ไขความขัดแย้ง : เด็ก โดยนาเสนอผลงานของตนเองและ/หรือเล่าถึงสิ่งที่ได้ทาใน ตรวจผลงาน
RIE
แก้ไขความขัดแย้งทางสังคมด้วย มุมวันนี้ ครูชักชวนให้เด็กคนอื่นๆ และคุณครูร่วมชั้นตั้ง 1. ทางานครบตามที่
เหตุผล (15) คาถาม ถามเพื่อนเกี่ยวกับผลงานและสิ่งที่ได้ไปปฏิบัติ วางแผนไว้
9. ความมีวินัย : เด็กรับรู้และปฏิบัติ 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุป และแสดงความชื่นชมทุกคนที่ร่วม 2. คุณภาพของงาน
ตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) ทากิจกรรมด้วยความตั้งใจ
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (21)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
10. การอ่าน : เด็กอ่านสิ่งต่างๆ
เพื่อความสุขและเพื่อค้นหาข้อมูล
(27)
11. การเขียน : เด็กเขียนตาม

aila
จุดมุ่งหมายหลากหลาย (30)
12. การเล่นสมมติ : เด็กแสดงออก
และถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ
ความคิดจินตนาการ และความรู้สึก
ผ่านการเล่นบทบาทสมมติ (44)
กิจกรรมการเล่นสนุกนอกห้องเรียน สังเกต

Th
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลงได้ 1. ความมีวินัย : เด็กรับรู้และปฏิบัติ 1. เด็กๆ อบอุ่นร่างกายด้วยการวิ่งเหยาะๆรอบสนาม ของเล่นใน 1. การปฏิบัติตาม
2. เด็กปฏิบัติตนอย่าง ตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) 2. ครูแนะนาเกมการละเล่น “การเล่นวิ่งเก็บของ” พร้อมทั้ง ห้องเรียน ข้อตกลง
ปลอดภัยขณะเล่นได้ 2. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : สาธิตวิธีการเล่นให้เด็กดู 2. การปฏิบัติตน
3. เด็กสนใจและมีความสุข เด็กแสดงออกถึงความแข็งแรง 3. ครูชักชวนให้เด็กอาสาสมัครออกมาทดลองเล่นตามที่ครู ในขณะเล่น
ในการเล่นและออกกาลังกาย ความยืดหยุ่น ความสมดุลและการ สาธิตให้ดู 3. การแสดงออกทาง
ควบคุมการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการ 4. ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกันในการเล่น การเล่นวิ่งเก็บ อารมณ์ขณะเล่น
CE
เคลื่อนไหว (17) ของ
5. ครูชักวนให้เด็กเล่นเกมการละเล่น “การเล่นวิ่งเก็บของ“
ตามที่ครูสาธิตให้ดู
6. เมือหมดเวลาในการเล่น ครูชักชวนให้เด็กเด็กทาความ
RIE
สะอาดร่างกายแล้วกลับเข้าห้องเรียน
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (22)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมสดชื่นหลังตื่นนอน สังเกต
1. เด็กแก้ปัญหาในการเล่น 1. ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนย่อย 1. ครูแนะนาเกมการศึกษา “การตัดต่อภาพของเล่น” 1. เกม “การตัด 1. การเล่นเกม
เกมได้ และทั้งหมด : เด็กประกอบและแยก 2. ครูแนะนาวิธีเล่นเกม “การตัดต่อภาพของเล่น” ต่อภาพของเล่น” การศึกษา
2. เด็กปฏิบัติตามกติกาการ ส่วนต่างๆ ของวัตถุ (34) 3. เด็กเล่นเกม“การตัดต่อภาพของเล่น” โดยมีครูคอยดูแล 2. เกมที่เคยเล่น 2. การเล่นรวมกลุ่มกับ

aila
เล่นง่ายๆ ได้ 2. รูปร่าง รูปทรง : เด็กจาแนก อย่างใกล้ชิด มาแล้ว เพื่อน
3. เด็กเล่นร่วมกันได้อย่างมี บอกชื่อ และอธิบายลักษณะของ 4. เด็กเล่นเกมใหม่สลับกับเกมที่เคยเล่นมาแล้ว 3. การเก็บเกม
ความสุข รูปร่าง รูปทรงต่างๆ (35) 5. เมื่อหมดเวลาหรือเลิกเล่นให้เด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่ให้ การศึกษาเข้าที่
เรียบร้อย

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (23)

nd
aila
แผนการจัดประสบการณ์วันพฤหัสบดี

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (24)

4. วันพฤหัสบดี กิจกรรมการจัดประสบการณ์ หน่วย ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย) เรื่อง การเก็บของเล่น ของใช้ส่วนรวม

nd
ความคิดรวบยอด
ของเล่น ของใช้ส่วนรวมในห้องเรียนนั้นมีมากมาย เช่น ของเล่นต่างๆในมุมประสบการณ์ต่างๆ หนังสือ อุปกรณ์การทางานศิลปะ อุปกรณ์การเขียน โต๊ะ เก้าอี้
ฯลฯ ซึ่งของเล่น ของใช้เหล่านี้เด็กๆ ต้องเล่นและใช้ร่วมกัน ดังนั้นจึงต้องรู้จักวิธีการจัดเก็บเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย และง่ายต่อการนามาใช้

aila
จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน
กิจกรรมเช้าวันใหม่สดใสแข็งแรง สังเกต
1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกาย 1. ดนตรี : เด็กแสดงออกและ 1. ครูชักชวนให้เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐาน โดยการให้เด็ก เพลง“กระต่าย” 1. การเคลื่อนไหว
ตามจังหวะดนตรีได้ ถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด เคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตามเสียงกลองที่ ร่างกายตามจังหวะ
2. เด็กเคลื่อนไหวเลียนแบบ จินตนาการ และความรู้สึกผ่านดนตรี ครูตีโดยไม่ให้ชนกัน เมื่อครูตีกลองช้าให้เด็กเดินและทา 2. การเคลื่อนไหว
ท่าทางการเคลื่อนไหวของ (42) ท่าทางประกอบช้าๆ เมื่อครูตีกลองเร็วให้เด็กเดินและทา เลียนแบบท่าทางการ

Th
สัตว์ได้ตามจินตนาการ 2. การเคลื่อนไหว : เด็กแสดงออก ท่าทางประกอบเร็วๆ และเมื่อครูตีกลองรัวๆ และหยุด ก็ให้ เคลื่อนไหวของสัตว์
3. เด็กร่าเริง สดชื่น แจ่มใส ถ่ายทอดสิ่งที่ สังเกตพบ ความคิด เด็กเคลื่อนไหวเร็วๆ และหยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที ตามจินตนาการ
และอารมณ์ดี จินตนาการและความรู้สึกผ่านการ 2. ครูให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามคาสั่งของครู เช่น การ 3. การแสดงออกทาง
เคลื่อนไหว (43) ทาท่ากระโดดกบ ท่านกบิน ท่าปลาว่ายน้า ฯลฯ อารมณ์ของเด็ก
3. ครูตกลงกับให้เด็กว่าให้เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระ
เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดฟังคาสั่งและปฏิบัติตาม
CE
ข้อตกลง
4. เด็กปฏิบัติกิจกรรมตามข้อ 3 ซ้าอีก 1 - 2 ครั้ง โดยครั้ง
ต่อมาเปลี่ยนให้เด็กคนอื่นๆ เป็นผู้ออกคาสั่งให้เพื่อนปฏิบัติ
ตามบ้าง
RIE
5. ครูชักชวนให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อดื่มน้าแล้วนั่งแถว
เตรียมทากิจกรรมต่อไป
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (25)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมกลุ่มใหญ่ สังเกต
1. เด็กบอกวิธีการเก็บของ 1. ความเข้าใจความหมาย : เด็ก 1. ครูเล่านิทานเรื่อง “ตุ๊กตาจ๋า” ให้เด็กฟัง 1. นิทานเรื่อง 1. การบอกวิธีการเก็บ
เข้าที่ได้ เข้าใจและแสดงการตอบสนองต่อสิ่ง 2. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับเนื้อหาในนิทาน โดย “ตุ๊กตาจ๋า” ของเข้าที่
2. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ ที่ฟังได้ตรงกับความหมาย (22) ครูใช้คาถามดังนี้ 2. เพลง “เก็บ 2. การเก็บของเล่นเข้า

aila
อย่างถูกต้อง 2. การพูด : เด็กใช้ภาษา แสดง 2.1 เด็กๆ บอกได้หรือไม่ว่าในนิทานเรื่องนี้มีใครบ้าง ของ” ที่ได้อย่างถูกต้อง
3. เด็กสามารถร่วมสนทนา ความคิดความรู้สึกของตนเอง (23) 2.2 จุ๊บแจงมีนิสัยอย่างไร 3. ของเล่น ของ 3. การร่วมสนทนาและ
และแสดงความคิดเห็นได้ 2.3 ทาไมตุ๊กตาจึงหายไป ใช้ในห้องเรียน แสดงความคิดเห็นได้
อย่างเหมาะสมกับวัย 2.4 ถ้าเด็กๆ เป็นจุ๊บแจงจะทาเหมือนจุ๊บแจงหรือไม่ อย่างเหมาะสมกับวัย
เพราะอะไร
3. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับการเก็บของเล่นของ

Th
ใช้ส่วนรวมในห้องเรียนโดยครูใช้คาถามดังนี้
3.1 เด็กๆ บอกได้หรือไม่ว่า ในห้องเรียนของเรามีของ
เล่น ของใช้อะไรบ้าง
3.2 เด็กๆ คิดว่าของเล่น ของใช้ในห้องเรียนต้องจัดเก็บ
อย่างไรจึงจะเหมาะสม
3.3 เด็กๆ คิดว่าถ้าเด็กๆ ไม่เก็บของเล่นเลยจะเกิดอะไร
CE
ขึ้น
4. ครูนาของเล่น ของใช้ต่างๆ เช่น หนังสือนิทาน หม้อ หุ่น
สัตว์จาลอง ดินน้ามัน ไม้บล็อก ตัวต่อพลาสติกสร้างสรรค์
แว่นขยาย มากองรวมกันหน้าห้องเรียน แล้วให้เด็ก
RIE
อาสาสมัครออกมานาของเล่น ของใช้นั้นไปเก็บเข้าที่ให้
เรียบร้อย
5. เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “เก็บของ” และร่วมกันสรุป
เกี่ยวกับการเก็บของเล่น ของใช้ส่วนรวมเข้าที่ให้เรียบร้อย
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (26)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมสร้างสรรค์ สังเกต
1. เด็กทางานศิลปะตาม 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก : 1. ครูแนะนากิจกรรมประจาวัน คือ การปั้นดินน้ามัน การ 1. ดินน้ามัน 1. การทางานศิลปะ
จินตนาการของตนเองได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง การ วาดภาพอิสระและการร้อยลูกปัด 2. แผ่นรองปั้นดิน ตามจินตนาการ
2. เด็กใช้มือได้อย่าง ประสานความสัมพันธ์ระหว่าง ตากับ 2. ครูสาธิตวิธีการปั้นดินน้ามัน การวาดภาพอิสระ และ น้ามัน 2. การใช้มืออย่าง

aila
คล่องแคล่วและประสาน มือ และการควบคุมการใช้ กล้ามเนื้อ การร้อยลูกปัด ให้เด็กดู 3. กระดาษ A4 คล่องแคล่วและ
สัมพันธ์กัน เล็กกิจกรรม (18) 3. ครูชักชวนให้เด็กเลือกทากิจกรรมตามความสนใจอย่าง 4. สีเทียน ประสานสัมพันธ์กัน
3. เด็กเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ 2. ศิลปะ : เด็กแสดงออกและ น้อย 1 กิจกรรม 5. ลูกปัด 3. การเล่าเรื่องราว
ผลงานของตนเองได้ ถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด 4. เด็กทากิจกรรมศิลปะตามความสนใจโดยครูคอยดูแล 6. เชือกร้อย เกี่ยวกับผลงานของ
4. เด็กเก็บของเข้าที่ได้อย่าง จินตนาการ และความรู้สึกผ่าน อย่างใกล้ชิด ลูกปัด ตนเอง
เรียบร้อย ผลงานทางศิลปะแบบ 2 มิติ และ 5. เมื่อเสร็จกิจกรรมหรือหมดเวลาในการทากิจกรรมให้เด็ก 4. การเก็บของเข้าที่

Th
3 มิติ (41) ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่และนาเสนอผลงานการปั้นดิน
3. การชื่นชมศิลปะ : เด็กแสดงความ น้ามันและการวาดภาพอิสระของตนให้ครูและเพื่อนฟัง
ชื่นชมในศิลปะสร้างสรรค์ต่างๆ (45) 6. เด็กนาผลงานไปส่งครู หรือนาไปติดที่บอร์ดแสดงผลงาน
ที่ครูเตรียมไว้ให้
7. ครูชักชวนให้เด็กล้างมือให้สะอาดหลังการปั้นดินน้ามัน
หรือการทางานศิลปะ
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (27)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมเสรี และกิจกรรมกลุ่มย่อย สังเกต
1. เด็กวางแผน ปฏิบัติ และ 1. การคิดริเริ่ม : เด็กแสดงถึงการคิด 1. ครูแนะนากิจกรรมในมุมประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับ 1. แผ่นวาง 1. การวางแผน ปฏิบัติ
ทบทวนกิจกรรมที่ทาได้ ริเริ่มในการสารวจโลกรอบตัว (1) หน่วยการเรียนรู้พร้อมสาธิตวิธีทากิจกรรมหรือเล่นอุปกรณ์ แผนการเล่นของ และทบทวนกิจกรรม
2. เด็กแสวงหาคาตอบและ 2. การวางแผน : เด็กวางแผนและทา ใหม่ วิธีการเก็บ ข้อควรระวังในการเล่น และทบทวน เด็ก 2. การแสวงหาคาตอบ

aila
ข้อสงสัยต่างๆ ได้ สิ่งต่างๆ ตามการตัดสินใจของตนเอง ข้อตกลงร่วมกัน 2. วัสดุ อุปกรณ์ และข้อสงสัยต่างๆ
3. เด็กแก้ปัญหาการเล่นได้ (2) 2. ครูให้เด็กวางแผนการเล่นตามมุม โดยนาสัญลักษณ์ของ ของเล่นในมุมเสรี 3. การแก้ปัญหาการ
ด้วยตนเอง 3. การปฏิบัติ : เด็กตั้งใจลงมือทาสิ่ง ตนเองวางในแผ่นวางแผนตามระบบที่จัดไว้ ครูบันทึกการ 3. แบบบันทึก เล่น
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อน ต่างๆ ที่ตนเองสนใจ (3) วางแผนเข้ามุมของเด็กกลุ่มที่ 4 (วันพฤหัสบดี) จากนั้นจึง การสังเกตการ 4. การเล่นร่วมกับ
แบ่งปัน และผลัดกันเล่นได้ 4. การแก้ปัญหา : เด็กลงมือ ให้เด็กกลุ่มอื่นๆ วางแผน และทยอยเข้ามุมประสบการณ์ วางแผน ปฏิบัติ เพื่อนแบ่งปัน และผลัด
อย่างเหมาะสม แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในขณะเล่น (4) 3. ครูเข้าไปสังเกต ร่วมเล่น สนทนากับเด็กขณะทากิจกรรม ทบทวน กันเล่น

Th
5. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ 5. การใช้แหล่งเรียนรู้ : เด็กค้นหา ต่างๆและจดบันทึกการทากิจกรรมของเด็กกลุ่มที่ 4 จนครบ 5. การเก็บของเล่นให้
ด้วยตนเอง รวบรวมข้อมูลและสร้างความคิด ทุกคน เข้าที่
6. เด็กถามคาถามและแสดง เกี่ยวกับโลกรอบตัว (5) 4. เมื่อหมดเวลาเล่น ครูร้องเพลงให้สัญญาณเก็บของเล่น 6. การถามคาถามและ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ 6. การสะท้อนความคิด : เด็ก และกระตุ้นให้เด็กๆ ช่วยกันจัดเก็บของเล่นให้เข้าที่ ทา แสดงความคิดเห็น
สนใจได้ สะท้อนความคิดเกี่ยวกับ ความสะอาด วัสดุอุปกรณ์และพื้นที่ให้สะอาด เกี่ยวกับสิ่งที่สนใจ
7. เด็กเชื่อมโยงความรู้และ ประสบการณ์ของตนเอง (6) 5. เมื่อเก็บของเล่นเสร็จแล้ว ครูแนะนาให้เด็กกลุ่มที่ 4 7. การเชื่อมโยงความรู้
CE
ทักษะต่างๆ ใน 7. การเล่นร่วมมือ : เด็กให้ความ (กลุ่มที่จะทบทวน) เตรียมผลงานที่จะนาเสนอมาวางไว้บน และทักษะต่างๆ ใน
ชีวิตประจาวันมาใช้ในการ ร่วมมือในการเล่นร่วมกับผู้อื่น (13) โต๊ะหรือบริเวณพื้นที่ที่กาหนด และกระตุ้นให้เด็กทุกคนนั่ง ชีวิตประจาวันมาใช้ใน
เล่นได้ 8. การแก้ไขความขัดแย้ง : เด็กแก้ไข ประจาที่ การเล่น
ความขัดแย้งทางสังคมด้วยเหตุผล 6. ครูให้เด็กกลุ่มที่ 4 ออกมา ทบทวนการทากิจกรรมทีละ ตรวจผลงาน
RIE
(15) คน โดยนาเสนอผลงานของตนเองและ/หรือเล่าถึงสิ่งที่ได้ 1. ทางานครบตามที่
9. ความมีวินัย : เด็กรับรู้และปฏิบัติ ทาในมุมวันนี้ ครูชักชวนให้เด็กคนอื่นๆ และคุณครูร่วมชั้น วางแผนไว้
ตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) ตั้งคาถาม ถามเพื่อนเกี่ยวกับผลงานและสิ่งที่ได้ไปปฏิบัติ 2. คุณภาพของงาน
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (28)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
10. การอ่าน : เด็กอ่านสิ่งต่างๆ เพื่อ 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุป และแสดงความชื่นชมทุกคนที่
ความสุขและเพื่อค้นหาข้อมูล (27) ร่วมทากิจกรรมด้วยความตั้งใจ
11. การเขียน : เด็กเขียนตาม
จุดมุ่งหมายหลากหลาย (30)

aila
12. การเล่นสมมติ : เด็กแสดงออก
และถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด
จินตนาการ และความรู้สึกผ่านการ
เล่นบทบาทสมมติ (44)
กิจกรรมการเล่นสนุกนอกห้องเรียน สังเกต
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง 1. การเล่นร่วมมือ : เด็กให้ความ 1. ครูชักชวนให้เด็กๆ อบอุ่นร่างกายด้วยการวิ่งเหยาะๆ 1. น้า 1. การปฏิบัติตาม

Th
ได้ ร่วมมือในการเล่นร่วมกับผู้อื่น (13) รอบสนาม 2. อุปกรณ์การ ข้อตกลง
2. เด็กปฏิบัติตนอย่าง 2. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : เด็ก 2. ครูชักชวนให้เด็กสร้างข้อตกลงร่วมกันในการเล่นน้า เล่น เล่นน้า 2. การปฏิบัติตน
ปลอดภัยขณะเล่นได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ความ ทราย 3. ทราย ในขณะเล่น
3. เด็กสนใจและมีความสุข ยืดหยุ่น ความสมดุลและการควบคุม 3. ครูชักชวนให้เด็กเล่นน้าเล่นทรายอย่างอิสระ ครูร่วมเล่น 4. อุปกรณ์การ 3. การแสดงออกทาง
ในการเล่นและออกกาลัง การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการ และตั้งคาถาม สนทนากับเด็กเกี่ยวกับสิ่งที่เล่น เล่นทราย อารมณ์ขณะเล่น
กาย เคลื่อนไหว (17)
CE
3. พฤติกรรมการมีสุขภาพดี : เด็ก 4. เมื่อเลิกเล่นหรือหมดเวลาในการเล่นครูให้สัญญาณเก็บ
ปฏิบัติตนในการรักษาสุขภาพ ออก วัสดุอุปกรณ์
กาลังกาย และดูแลความปลอดภัย 5. ครูชักชวนให้เด็กทาความสะอาดร่างกายก่อนกลับเข้า
ของตนเอง (21) ห้องเรียน
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (29)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมสดชื่นหลังตื่นนอน สังเกต
1. เด็กแก้ปัญหาด้วยวิธีการ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนย่อย 1. ครูแนะนาเกม “ภาพตัดต่อเด็กเล่นของเล่น” 1. เกม “ภาพตัด 1. การเล่นเกม
ต่างๆ โดยการลองผิดลอง และทั้งหมด : เด็กประกอบและแยก 2. ครูพาเด็กเล่นเกม “ภาพตัดต่อเด็กเล่นของเล่น ” โดยครู ต่อเด็กเล่นของ การศึกษา
ถูก ส่วนต่างๆ ของวัตถุ (34) สาธิตวิธีการเล่นให้เด็กดู เล่น” 2. การเล่นรวมกลุ่มกับ

aila
2. เด็กเล่นรวมกลุ่มกับเพื่อน 2. รูปร่าง รูปทรง : เด็กจาแนก บอก 3. ครูให้เด็กลองเล่นเกม “ภาพตัดต่อเด็กเล่นของเล่น” เป็น 2. เกมที่เคยเล่น เพื่อน
ได้ ชื่อ และอธิบายลักษณะของรูปร่าง กลุ่ม มาแล้ว 3. การเก็บเกม
3. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ รูปทรงต่างๆ (35) 4. เมื่อเล่นเสร็จหรือหมดเวลาในการเล่นครูชักชวนให้ การศึกษาเข้าที่
เด็กๆ ช่วยกันเก็บเกมภาพตัดต่อเข้าที่ให้เรียบร้อย

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (30)

nd
aila
แผนการจัดประสบการณ์วันศุกร์

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (31)

5. วันศุกร์ กิจกรรมการจัดประสบการณ์ หน่วย ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย) เรื่อง การปฏิบัติตนในการใช้ห้องน้า

nd
ความคิดรวบยอด
การฝีกให้เด็กรู้จักใช้ห้องน้า และการขับถ่ายให้เป็นเวลา เป็นกิจวัตรประจาวันที่เด็กๆ ต้องปฏิบัติอย่างสม่าเสมอโดยเด็กๆ ควรบอกครูเมื่อต้องการเข้าห้องน้า และควรรู้
วิธีการใช้ห้องน้าการล้างมือหลังจากเข้าห้องน้าเสร็จแล้ว และมารยาทในการเข้าห้องน้า เช่น การเข้าแถวตามลาดับก่อนหลัง การรักษาความสะอาดห้องน้าทุกครั้งที่ใช้ เป็นต้น

aila
จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน
กิจกรรมเช้าวันใหม่สดใสแข็งแรง สังเกต
1. เด็กฟังและปฏิบัติตาม 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : เด็ก 1. ครูชักชวนให้เด็กเคลื่อนไหวพื้นฐาน โดยการให้เด็ก คาบรรยาย 1. การฟังและปฏิบัติ
คาสั่ง แสดงออกถึงความแข็งแรง ความ เคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระตามเสียงกลองที่ครู ตามคาสั่ง
2. เด็กแสดงออกถึงความร่า ยืดหยุ่น ความสมดุลและการควบคุม ตีโดยไม่ให้ชนกัน เมื่อครูตีกลองช้าให้เด็กเดินและทาท่าทาง 2. การแสดงออกถึง
เริงแจ่มใสและอารมณ์ดี การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการเคลื่อนไหว ประกอบช้าๆ เมื่อครูตีกลองเร็วให้เด็กเดินและทาท่าทาง ความร่าเริง แจ่มใส

Th
3. เด็กทาท่าทางตาม (17) ประกอบเร็วๆ และเมื่อครูตีกลองรัวๆ และหยุด ก็ให้เด็ก และอารมณ์ดี
จินตนาการ 2. การเคลื่อนไหว : เด็กแสดงออก เคลื่อนไหวเร็วๆ และหยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที 3. การทาท่าทางตาม
ถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด 2. ครูให้เด็กทาท่าทางตามจินตนาการ โดยฟังคาบรรยาย จินตนาการ
จินตนาการและความรู้สึกผ่านการ “เด็กตื่นนอนตอนเช้า เข้าห้องน้า อาบน้า ล้างหน้า แปรงฟัน
เคลื่อนไหว (43) แต่งตัว ถือกระเป๋านักเรียนแล้วไปโรงเรียน พบคุณครูสวัสดี
เอากระเป๋าไปเก็บ จากนั้นเดินไปอ่านหนังสือนิทานกับเพื่อน
CE
เมื่อได้เวลาไปเข้าแถวเคารพธงชาติ ก็เอาหนังสือนิทานไปเก็บ
เข้าที่ให้เรียบร้อย”
3. ครูให้เด็กปฏิบัติข้อ 2 ซ้าอีก 1 - 2 ครั้ง โดยในแต่ละครั้งอาจ
เปลี่ยนคาบรรยายใหม่เป็นคาบรรยายเกี่ยวกับการเก็บของเล่น
RIE
หรือการเข้าห้องน้าของเด็ก เป็นต้น
4. ครูชักชวนให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยการยืดตัวขึ้น ลง
หายใจเข้าออกช้าๆ ยาวๆ จากนั้นครูให้เด็กดื่มน้า และนั่งแถว
รอเตรียมทากิจกรรมต่อไป
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (32)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมกลุ่มใหญ่ สังเกต
1. เด็กใช้ห้องน้า ห้องส้วมได้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูล : เด็กใช้ข้อมูล 1. ครูพาเด็กร้องเพลง “ล้างมือ” พร้อมกับทาท่าทางประกอบ เพลง “ล้างมือ” 1. การใช้ห้องน้า
อย่างถูกสุขลักษณะ เกี่ยวกับคุณลักษณะต่างๆ ในการสรุป ตามจินตนาการ ห้องส้วม
2. เด็กล้างมือทุกครั้ง ตัดสินใจและแก้ปัญหา (40) 2. ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบัติหลังการใช้ 2. การล้างมือ

aila
หลังจากใช้ห้องน้าห้องส้วม 2. การสรุปผล : เด็กสรุปข้อมูลจาก ห้องน้า ห้องส้วม แสดงความคิดเห็นตามที่ตนเองปฏิบัติมา หลังจากใช้ห้องน้า
ได้ ประสบการณ์และการสังเกตด้วย 3. ครูพาเด็กไปห้องน้า ห้องส้วม พร้อมสาธิตวิธีใช้และสอนให้ ห้องส้วม
3. เด็กสนทนาโต้ตอบกับ ตนเอง (50) เด็กล้างมือทุกครั้งหลังการใช้ห้องน้าห้องส้วม 3. การสนทนากับ
เพื่อนและครูเกี่ยวกับการใช้ 4. ครูให้เด็กทดลองใช้ห้องน้า ห้องส้วมตามวิธีการที่ครูสาธิต เพื่อนและครู
ห้องน้าได้ และล้างมือหลังจากใช้ห้องน้า ห้องส้วม
5. ครูพาเด็กกลับชั้นเรียน ร่วมกันสนทนาถึงวิธีการใช้ห้องน้า

Th
ห้องส้วม ที่ถูกสุขลักษณะอีกครั้ง
กิจกรรมสร้างสรรค์ สังเกต
1. เด็กทางานศิลปะตาม 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อเล็ก : 1. ครูแนะนากิจกรรมประจาวัน คือ การปั้นดินน้ามัน การวาด 1. ดินน้ามัน 1. การทางานศิลปะ
จินตนาการของตนเองได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ภาพอิสระ และการร้อยลูกปัด 2. แผ่นรองปั้นดิน ตามจินตนาการ
2. เด็กใช้มือได้อย่าง การประสานความสัมพันธ์ระหว่างตา 2. ครูสาธิตวิธีการปั้นดินน้ามัน การวาดภาพอิสระ และการร้อย น้ามัน 2. การใช้มืออย่าง
คล่องแคล่วและประสาน กับมือ และการควบคุมการใช้ ลูกปัด ให้เด็กดู 3. กระดาษ A4 คล่องแคล่วและ
CE
สัมพันธ์กัน กล้ามเนื้อเล็กกิจกรรม (18) 3. ครูชักชวนให้เด็กเลือกทากิจกรรมตามความสนใจอย่างน้อย 4. สีเทียน ประสานสัมพันธ์กัน
3. เด็กเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับ 2. ศิลปะ : เด็กแสดงออกและถ่ายทอด 1 กิจกรรม 5. ลูกปัด 3. การเล่าเรื่องราว
ผลงานของตนเองได้ สิ่งที่พบ ความคิด จินตนาการ และ 4. เด็กทากิจกรรมศิลปะตามความสนใจโดยครูคอยดูแลอย่าง 6. เชือกสาหรับ เกี่ยวกับผลงานของ
4. เด็กเก็บของเข้าที่ได้อย่าง ความรู้สึกผ่านผลงานทางศิลปะแบบ ใกล้ชิด ร้อยลูกปัด ตนเอง
RIE
เรียบร้อย 2 มิติ และ 3 มิติ (41) 5. เมื่อเสร็จกิจกรรมหรือหมดเวลาในการทากิจกรรมให้เด็ก 4. การเก็บของเข้าที่
3. การชื่นชมศิลปะ : เด็กแสดงความ ช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่และนาเสนอผลงานการปั้นดินน้ามัน
ชื่นชมในศิลปะสร้างสรรค์ต่างๆ (45) การวาดภาพอิสระ และการร้อยลูกปัดของตนให้ครูและเพื่อน
ฟัง
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (33)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
6. เด็กนาผลงานไปส่งครู หรือนาไปติดที่บอร์ดแสดงผลงานที่
ครูเตรียมไว้ให้
7. ครูชักชวนให้เด็กล้างมือให้สะอาดหลังการปั้นดินน้ามันหรือ
ทางานศิลปะ

aila
กิจกรรมเสรี และกิจกรรมกลุ่มย่อย สังเกต
1. เด็กวางแผน ปฏิบัติ และ 1. การคิดริเริ่ม : เด็กแสดงถึงการคิด 1. ครูแนะนากิจกรรมในมุมประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับหน่วย 1. แผ่นวาง 1. การวางแผน
ทบทวนกิจกรรมที่ทาได้ ริเริ่มในการสารวจโลกรอบตัว (1) การเรียนรู้พร้อมสาธิตวิธีทากิจกรรมหรือเล่นอุปกรณ์ใหม่ แผนการเล่นของ ปฏิบัติ และทบทวน
2. เด็กแสวงหาคาตอบและ 2. การวางแผน : เด็กวางแผนและทา วิธีการเก็บ ข้อควรระวังในการเล่น และทบทวนข้อตกลง เด็ก กิจกรรม
ข้อสงสัยต่างๆ ได้ สิ่งต่างๆ ตามการตัดสินใจของตนเอง ร่วมกัน 2. วัสดุ อุปกรณ์ 2. การแสวงหา
3. เด็กแก้ปัญหาการเล่นได้ (2) 2. ครูให้เด็กวางแผนการเล่นตามมุม โดยนาสัญลักษณ์ของ ของเล่นในมุมเสรี คาตอบและข้อสงสัย

Th
ด้วยตนเอง 3. การปฏิบัติ : เด็กตั้งใจลงมือทาสิ่ง ตนเองวางในแผ่นวางแผนตามระบบที่จัดไว้ ครูบันทึกการ 3. แบบบันทึก ต่างๆ
4. เด็กเล่นร่วมกับเพื่อน ต่างๆ ที่ตนเองสนใจ (3) วางแผนเข้ามุมของเด็กกลุ่มที่ 5 (วันศุกร์) จากนั้นจึงให้เด็กกลุ่ม การสังเกตการ 3. การแก้ปัญหาการ
แบ่งปัน และผลัดกันเล่นได้ 4. การแก้ปัญหา : เด็กลงมือแก้ปัญหา อื่นๆ วางแผน และทยอยเข้ามุมประสบการณ์ วางแผน ปฏิบัติ เล่น
อย่างเหมาะสม ที่เกิดขึ้นในขณะเล่น (4) 3. ครูเข้าไปสังเกต ร่วมเล่น สนทนากับเด็กขณะทากิจกรรม ทบทวน 4. การเล่นร่วมกับ
5. เด็กเก็บของเล่นเข้าที่ได้ 5. การใช้แหล่งเรียนรู้ : เด็กค้นหา ต่างๆและจดบันทึกการทากิจกรรมของเด็กกลุ่มที่ 5 จนครบทุก เพื่อนแบ่งปัน และ
ด้วยตนเอง รวบรวมข้อมูลและสร้างความคิด คน ผลัดกันเล่น
CE
6. เด็กถามคาถามและแสดง เกี่ยวกับโลกรอบตัว (5) 4. เมื่อหมดเวลาเล่น ครูร้องเพลงให้สัญญาณเก็บของเล่น และ 5. การเก็บของเล่นให้
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ 6. การสะท้อนความคิด : เด็กสะท้อน กระตุ้นให้เด็กๆ ช่วยกันจัดเก็บของเล่นให้เข้าที่ ทาความสะอาด เข้าที่
สนใจได้ ความคิดเกี่ยวกับประสบการณ์ของ วัสดุอุปกรณ์และพื้นที่ให้สะอาด 6. การถามคาถาม
7. เด็กเชื่อมโยงความรู้และ ตนเอง (6) 5. เมื่อเก็บของเล่นเสร็จแล้ว ครูแนะนาให้เด็กกลุ่มที่ 5 (กลุ่มที่ และแสดงความ
RIE
ทักษะต่างๆ ใน 7. การเล่นร่วมมือ : เด็กให้ความ จะทบทวน) เตรียมผลงานที่จะนาเสนอมาวางไว้บนโต๊ะหรือ คิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่
ชีวิตประจาวันมาใช้ในการ ร่วมมือในการเล่นร่วมกับผู้อื่น (13) บริเวณพื้นที่ที่กาหนด และกระตุ้นให้เด็กทุกคนนั่งประจาที่ สนใจ
เล่นได้
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (34)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
8. การแก้ไขความขัดแย้ง : เด็กแก้ไข 6. ครูให้เด็กกลุ่มที่ 5 ออกมา ทบทวนการทากิจกรรมทีละคน 7. การเชื่อมโยง
ความขัดแย้งทางสังคมด้วยเหตุผล โดยนาเสนอผลงานของตนเองและ/หรือเล่าถึงสิ่งที่ได้ทาในมุม ความรู้และทักษะ
(15) วันนี้ ครูชักชวนให้เด็กคนอื่นๆ และคุณครูร่วมชั้นตั้งคาถาม ต่างๆ ใน
9. ความมีวินัย : เด็กรับรู้และปฏิบัติ ถามเพื่อนเกี่ยวกับผลงานและสิ่งที่ได้ไปปฏิบัติ ชีวิตประจาวันมาใช้

aila
ตามข้อตกลงของส่วนรวม (16) 7. ครูและเด็กร่วมกันสรุป และแสดงความชื่นชมทุกคนที่ร่วม ในการเล่น
10. การอ่าน : เด็กอ่านสิ่งต่างๆ เพื่อ ทากิจกรรมด้วยความตั้งใจ ตรวจผลงาน
ความสุขและเพื่อค้นหาข้อมูล (27) 1. ทางานครบตามที่
11. การเขียน : เด็กเขียนตาม วางแผนไว้
จุดมุ่งหมายหลากหลาย (30) 2. คุณภาพของงาน
12. การเล่นสมมติ : เด็กแสดงออก

Th
และถ่ายทอดสิ่งที่สังเกตพบ ความคิด
จินตนาการ และความรู้สึกผ่านการเล่น
บทบาทสมมติ (44)
กิจกรรมการเล่นสนุกนอกห้องเรียน สังเกต
1. เด็กปฏิบัติตามข้อตกลง 1. ทักษะการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ : เด็ก 1. ครูชักชวนให้เด็กอบอุ่นร่างกายโดยเดินย่าเท้าอยู่กับที่ ลูกบอลเบอร์ 3 1. การปฏิบัติตาม
ได้ แสดงออกถึงความแข็งแรง ความ 2. ครูจัดให้เด็กยืนเป็นวงกลมและครูยืนอยู่ตรงกลาง ข้อตกลง
CE
2. เด็กปฏิบัติตนอย่าง ยืดหยุ่น ความสมดุลและการควบคุม 3. ครูให้เด็กโยนลูกบอล โดยครูจะโยนบอลให้เด็กและเด็กเป็น 2. การปฏิบัติตน
ปลอดภัยขณะเล่นได้ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ในการเคลื่อนไหว ผู้รับบอล และโยนลูกบอลลงพื้นให้ลูกบอลกระเด้งขึ้นจากพื้น ในขณะเล่น
3. เด็กสนใจและมีความสุข (17) เมื่อรับเสร็จให้โยนกลับมาให้ครู 3. การแสดงออกทาง
ในการเล่นและออกกาลัง 2. พฤติกรรมการมีสุขภาพดี : เด็ก 4. ครูพยายามโยนลูกบอลให้เด็กรับครบทุกคนแล้วให้ อารมณ์ขณะเล่น
RIE
กาย ปฏิบัติตนในการรักษาสุขภาพ ออก อาสาสมัครออกมาเป็นผู้ส่งบอลให้เพื่อน
กาลังกาย และดูแลความปลอดภัยของ 5. ครูเปิดโอกาสให้เด็กเล่นอิสระ แล้วผ่อนคลายกล้ามเนื้อ แล้ว
ตนเอง (21) สรุปกิจกรรม
6. เด็กทาความสะอาดร่างกายแล้วกลับห้องเรียน
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (35)

จุดประสงค์ ประสบการณ์สาคัญ (KDI) กิจกรรม สื่อ การประเมิน

nd
กิจกรรมสดชื่นหลังตื่นนอน สังเกต
1. เด็กแก้ปัญหาในการเล่น 1. การเล่นร่วมมือ : เด็กให้ความ 1. ครูจัดให้เด็กนั่งเป็นวงกลมใหญ่แล้วแนะนาเกม “เรียงลาดับ 1. เกม 1. การเชื่อมโยง
เกมได้ ร่วมมือในการเล่นร่วมกับผู้อื่น (13) ขั้นตอนการล้างมือ” “เรียงลาดับ ความรู้และทักษะ
2. เด็กเล่นเกมร่วมกันผู้อื่น 2. การมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ 2. เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับการล้างมืออย่างถูกวิธี ขั้นตอนการล้าง ต่างๆ ใน

aila
ได้ สัญลักษณ์ตัวหนังสือ : เด็กแสดงถึง 3. ครูให้เด็กแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มๆ ละเท่าๆ กัน แล้วให้ มือ” ชีวิตประจาวัน
3. เด็กเก็บของเข้าที่ได้อย่าง ความรู้เกี่ยวกับตัวอักษรที่พบเห็นใน เด็กแต่ละกลุ่มทดลองเล่นเกม “เรียงลาดับขั้นตอนการล้างมือ ” 2. เกมที่เคยเล่น 2. การเล่นรวมกลุ่ม
ถูกต้อง ชีวิตประจาวัน (28) 4. เมื่อเด็กเล่นเสร็จแล้ว สามารถนาเกมที่เคยเล่นมาแล้วมาเล่น มาแล้ว กับเพื่อน
อีกได้ 3. การเก็บเกม
5. เมื่อหมดเวลา เด็กช่วยกันเก็บเกมการศึกษาเข้าที่ การศึกษาเข้าที่

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (36)

nd
aila
ตารางการจัดกิจกรรมเสรี

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (37)

ตารางการจัดกิจกรรมเสรี หน่วย ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย)

nd
มุม
มุมบทบาทสมมติ มุมบล็อก มุมหนังสือ มุมวิทยาศาสตร์ มุมศิลปะ
กิจกรรมที่1 “สมมตินะสมมติ” กิจกรรมที่1 “ห้องน้าของหนู” กิจกรรมที่1 “เก็บของให้ถูกที่” กิจกรรมที่1 “น้าสะอาด” กิจกรรมที่1 “พิมพ์ภาพสวยๆ”

aila
สิ่งที่เด็กจะทา สิ่งที่เด็กจะทา สิ่งที่เด็กจะทา สิ่งที่เด็กจะทา สิ่งที่เด็กจะทา
- เด็กเล่นบทบาทสมมติการไป - เด็กลองออกแบบและสร้าง - เด็กอ่านหนังสือและนิทาน - เด็กทดลองขั้นตอนการกรอง - เด็กพิมพ์ภาพจากสื่อของเล่น
เข้าห้องน้าควรปฏิบัติอย่างไร ห้องน้าตามจินตนาการ ต่างๆเกี่ยวกับเก็บของ น้าให้สะอาด ตามจินตนาการ
สื่อที่ใช้ สื่อที่ใช้ สื่อที่ใช้ สื่อที่ใช้ สื่อที่ใช้
- อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ใน - ไม้บล็อก - หนังสือนิทานเรื่อง ตุ๊กตาจ๋า - การกรองน้า - กระดาษ
ชีวิตประจาวัน - ตัวต่อ - แว่นขยาย - สีน้า

Th
- เลโก้ - สมุดบันทึก
กิจกรรมที่2 “พ่อค้า แม่ค้า ตัว กิจกรรมที่2 “ของเล่นของหนู” กิจกรรมที่2 “ล้างมือให้สะอาด” กิจกรรมที่2 “หนูน้อยนักสังเกต” กิจกรรมที่2 “ปั้น ปั้น”
น้อย” สิ่งที่เด็กจะทา สิ่งที่เด็กจะทา สิ่งที่เด็กจะทา สิ่งที่เด็กจะทา
สิ่งที่เด็กจะทา - เด็กเอาไม้บล็อกและวัสดุของ - เด็กอ่านหนังสือนิทาน - เด็กลองชั่งสังเกตว่า ใน ศพด. - เด็กๆ ปั้นของเล่นที่ตนเองชื่น
- เด็กเล่นเป็นแม่ค้าพ่อในการ เล่นในมุมบล็อกมาต่อเป็นของเล่น เกี่ยวกับการล้างมือ และการเข้า ของเรามีอะไรบ้าง และบันทึก ชอบตามจินตนาการ ตาม
ทากับข้าวรับประทานและให้เด็ก ที่ตนเองชอบมากที่สุด ห้องน้าอย่างถูกวิธี สื่อที่ใช้ จินตนาการ
CE
ปฏิบัติการรับประทานอาหาร สื่อที่ใช้ สื่อที่ใช้ - กระดาษบันทึก สื่อที่ใช้
อย่างถูกวิธี - ไม้บล็อก - หนังสือเกี่ยวกับขั้นตอนการ - ดินสอ, สีดินสอ, เมจิก - แปูงโดว์หรือดินน้ามัน
สื่อที่ใช้ - ตัวต่อ ล้างมือและการใช้ห้องน้าอย่างถูก - แผ่นรองปั้น
- อุปกรณ์เครื่องครัว - เลโก้ วิธี
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (38)

nd
aila
แนวปฏิบัติของครู

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (39)

แนวปฏิบัติของครู

nd
หัวข้อ รายละเอียดการปฏิบัติ
1. คาถามสาคัญ 1.1 การปฏิบัติตนในการรับประทานอาหารเราควรปฏิบัติอย่างไร
1.2 เด็กช่วยเหลือตนเองในการรับประทานอาหารได้หรือไม่ และควรทาอย่างไร
1.3 อุปกรณ์และเครื่องใช้ในห้องเรียนของเรามีอะไรบ้าง

aila
1.4 เด็กสามารถเก็บของเล่นเข้าที่ให้เรียบร้อยได้หรือไม่ และควรเก็บอย่างไร
1.5 เราจะปฏิบัติตนในการใช้ห้องน้าอย่างไรจึงจะเหมาะสม
1.6 ขั้นตอนการล้างมือ 7 ขั้นตอนมีอะไรบ้าง
2. หนังสือนิทาน 2.1 ตุ๊กตาจ๋า
2.2 หนูส้มมาโรงเรียน

Th
3. คาศัพท์ที่น่าสนใจ แก้วน้า (Glass) แปรงสีฟัน (Toothbrush) หนังสือ (Books) ไม้บล็อก (Block) กระเป๋า (Bag)
4. คณิตศาสตร์แสนสนุก 4.1 รูปร่าง รูปทรง : วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม
4.2 จานวนและตัวเลข : 1 - 10
4.3 ทักษะอื่นๆ : สี (ชมพู ฟูา)
5. ประสบการณ์พิเศษ 5.1 สารวจห้องน้าห้องส้วม
CE
5.2 ขั้นตอนการล้างมืออย่างถูกวิธี 7 ตอน
5.3 การใช้ห้องน้าอย่างถูกวิธี
6. การจัดบรรยากาศ 6.1 ปูายนิเทศ : ขั้นตอนการล้างมือ 7 ขั้นตอน
และสภาพแวดล้อม 6.2 โต๊ะจัดแสดงการเรียนรู้ของเด็ก : ผลงานเด็ก
RIE
7. การประสานความร่วมมือกับ 7.1 ข่าวสารสาคัญ : แจ้งให้ผู้ปกครองทราบเกี่ยวหน่วยการเรียนรู้ “ปฐมนิเทศ (เด็กดีมีวินัย)”
ผู้ปกครองและชุมชน 7.2 สร้างสรรค์การเรียนรู้ที่บ้าน : ให้ผู้ปกครองสนทนากับลูกเรื่องราวเกี่ยวกับเด็กดีมีวินัย
7.3 ชวนลูกหลานอ่านหนังสือ : ผู้ปกครองและลูกร่วมกันอ่านหนังสือนิทาน และสนทนาเกี่ยวกับนิทานที่อ่าน
7.4 ร่วมปรึกษาหารือ/เยี่ยมบ้าน : เยี่ยมบ้านเด็ก
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (40)

nd
aila
ภาคผนวก

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (41)

nd
เพลง “มากินข้าวซิ” เพลง “เข้าแถว”
(ศิมาพร เพ็งสาเกษ) ไม่ทราบนามผู้แต่ง
มากินข้าวซิ มากินข้าวซิ กับดี ดี กับดี ดี เข้าแถว เข้าแถว อย่าล้าแนว ยืนเรียงกัน
มีทั้งแกงและต้มยา (ซ้า) อา อ่า อ่า (ซ้า) อย่า มัวแชเชือน เดินตาม เพื่อนให้ทัน
ระวัง เดินชนกัน เข้าแถวกัน ว่องไว (ซ้า)

aila
เพลง “เก็บของ”
เนื้อร้อง กัญญา เกตุกล่า เพลง “ล้างมือ”
ทานอง เพลงผู้ใหญ่ลี ไม่ทราบนามผู้แต่ง
เก็บของไว้ให้ถูกที่ เก็บดีดีอย่างวิ่งซุกซน ก่อนทานอาหารเราต้องล้างมือ เล่นมาเปื้อนเปรอะเราต้องล้างมือ
มาช่วยกันเก็บทุกคน มาช่วยกันเก็บทุกคน กลับจากห้องน้าเราต้องล้างมือ ล้างมือล้างมือให้สะอาดเอย
หนู หนูอย่าซนช่วยกันคนดี ช่วยกัน ช่วยกันคนดี (ซ้า)

Th
CE
RIE

แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (42)

เกม/การละเล่นพื้นบ้าน

nd
aila
วิธีการเล่น
1. ให้ผู้เล่นนั่งเป็นวงกลม ทั้งสองฝุายนั่งคละสลับกัน
2. โดยปกติถ้าแบ่งเป็นชายฝุายหนึ่งหญิงฝุายหนึ่ง จะให้ฝุายชายเป็นผู้ถือผ้าก่อน โดยให้ตัวแทนฝุายชาย 1 หรือ 2 คน แล้วแต่ว่าจะมีผ้าอยู่ในกลุ่มของตนกี่ผืนยืนอยู่นอกวง

Th
หรือจะให้ฝุายหญิงออกมาถือผ้าคละรวมกับฝุายชายด้วยก็ได้ แต่จะต้องมีจานวนผู้เล่นที่ออกมาฝุายละเท่ากัน
3. ผู้เล่นที่นั่งอยู่ในวงต้องนั่งอยู่เฉย ๆ จะหันหน้าไปมองผู้ที่ถือผ้าอยู่นอกวงไม่ได้ หรือจะบอกผู้หนึ่งผู้ใดที่ถูกซ่อนผ้าไม่ได้
4. ให้ผู้เล่นที่ถือผ้าอยู่นอกวงนั้นเดินรอบวง แล้วให้หาที่ซ่อนลูกตูมโดยซ่อนไว้ที่ข้างลาตัวของผู้เล่นที่นั่งอยู่เป็นผู้เล่นคนละฝุายกันหรือผู้ล่นเพศตรงข้าม แล้วเดินวนไปเรื่อย ๆ
จนมาถึงตัวผู้ที่ถูกซ่อนลูกตูมเอาไว้ ให้ตีผู้ที่ถูกซ่อน 1 ทีด้วยลูกตูมแล้ววิ่งหนี หรือถ้าผู้เล่นที่ถูกซ่อนรู้สึกตัวให้วิ่งไล่ผู้เล่นที่นาลูกตูมมาวาง แล้วพยายามให้ลูกตูมตีผู้เล่นผู้นั้นให้ได้ ผู้
เล่นที่นา ลูกตูมไปซ่อนไว้ก็จะต้องวิ่งหนีรอบวงและพยายามวิ่งไปนั่งแทนที่ของผู้ที่ตนนาลูกตูมไปซ่อนเอาไว้ให้ได้ ถ้าถูกตีเสียก่อนจักต้องมาทาหน้าที่เช่นเดิม แต่ถ้าวิ่งหนีไปนั่งทัน
ผู้ที่ถูกซ่อนลูกตูม จักต้องทาหน้าที่แทนในการเล่นรอบต่อไป
CE
ข้อตกลงในการเล่น
1. ผู้ที่ถือลูกตูมจะต้องเดินหรือวิ่งไปรอบวงในทางเดียวกัน
2. ผู้เล่นที่นั่งจะต้องนั่งอยู่เฉย ๆ ไม่สามารถลุกเดินมือเปล่าไปมาได้ หรือห้ามมองผู้เล่นที่เดินถือลูกตูม
3. เมื่อผู้เล่นเดินจบครบรอบแล้วจะต้องซ่อนลูกตูมไว้ข้างหลังผู้เล่นที่นั่งอยู่แต่ต้องไม่ให้ลูกตูมอยู่ห่างจากตัวมากนัก
RIE
4. จะต้องซ่อนฝุายตรงข้ามเท่านั้นจะซ่อนฝุายเดียวกันไม่ได้ เช่น ถ้าแบ่ง เป็นฝุายหญิงและฝุายชาย ฝุายชายจะต้องซ่อนฝุายหญิง และฝุายหญิงจะต้องซ่อนฝุายชาย
5. เมื่อซ่อนแล้วจะต้องวิ่งหนีไปรอบ ๆ วงกลม จะวิ่งย้อนทางหรือตัดวงไม่ได้
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (43)

nd
นิทานเรื่อง “ตุ๊กตาจ๋า…..”
แต่งโดย นางสาวศิริวรรณี สีบาง (ครูแนน)
จุ๊บแจงเป็นเด็กผู้หญิงหน้าตาน่ารัก จุ๊บแจงชอบเล่นของเล่นแต่เล่นของเล่นแล้วไม่ยอมเก็บของเล่น ทาให้คุณแม่ต้องคอยเตือนบ่อยๆ
แม่ : จุ๊บแจง! เล่นเสร็จแล้วเก็บของเล่นเข้าที่ด้วยนะจ้ะ.....

aila
จุ๊บแจง : ค่ะแม่
จุ๊บแจงรับคาและเก็บของเล่นเมื่อแม่เตือน แต่ถ้าแม่ไม่เห็นและไม่เตือนจุ๊บแจงก็ไม่ยอมเก็บ
จุ๊บแจง : แม่ไม่อยู่ เราไม่เก็บคงไม่เป็นไรหรอก เดี๋ยวก็กลับมาเล่นอีก
จุ๊บแจงมีตุ๊กตาที่น่ารักตัวหนึ่งเวลาไปไหนมาไหนจุ๊บแจงก็จะอุ้มตุ๊กตาตัวนี้ไปด้วย วันนี้ก็เช่นกันคุณแม่ไม่อยู่บ้าน จุ๊บแจงเล่นของเล่นแล้วไม่ยอมเก็บ และอุ้มตุ๊กตาไปเดินเล่นที่สวน
หลังบ้าน
จุ๊บแจง : ตุ๊กตาจ๋า…..ตุ๊กตาที่น่ารัก จุ๊บแจงรักตุ๊กตาจ๋า…..ที่สุดเลย เราไปเดินเล่นด้วยกันนะ

Th
จุ๊บแจงพาตุ๊กตาตัวน้อยเดินเล่นในสวนจนเหนื่อย จึงพาตุ๊กตามานั่งพักที่ใต้ต้นไม้ใหญ่และเผลอหลับไป ส่วนตุ๊กตาตัวน้อย เมื่อเห็นจุ๊บแจงหลับก็ออกเดินเที่ยวเล่น
ตุ๊กตา : จุ๊บแจงๆ ตื่นๆ หลับซะแล้ว งั้นตุ๊กตาจ๋าไปเที่ยว เดี๋ยวเดียวจะกลับมา จุ๊บแจงหลับตา พาให้ฝันดี
จากนั้นตุ๊กตาตัวน้อยก็ออกเดินเที่ยวเล่นอย่างสนุกสนาน และในขณะนั้นตุ๊กตาก็ได้พบกับมดตะนอยกาลังช่วยกันขนอาหารเพื่อกลับรัง เดินต่อแถวกันไป ตุ๊กตาน้อยเกิดความสงสัย
จึงเข้าไปหา และร้องทักว่า
ตุ๊กตา : พี่มดตะนอยตัวจ้อย ท่านทาอะไร จะเก็บเศษผลไม้ ไปทาไมกัน?
มด 1 : ตุ๊กตาจ๋า…..ท้องฟูานั้นไซ้ จะตกมาเสียเมื่อไร ก็ไม่รู้เลย
CE
มด 2 : เราสามพี่น้อง จึงต้องรีบหา อาหารและยา ใบหญ้ามากมาย
มด 3 : เอาไว้สร้างบ้าน ปูองกันอันตราย เมื่อยามมีภัย จะได้ใช้มัน
ตุ๊กตา : พี่มดตะนอย ขอตุ๊กตาน้อยช่วยได้ไหม ตุ๊กตาน้อยอยากไป เก็บผลไม้ช่วยพี่ และอีกอย่าง อยากช่วยจุ๊บแจงคนดี ให้รู้หน้าที่ ของตนที่ควรทา…..
มดตะนอยอนุญาตให้ตุ๊กตาไปที่บ้าน เมื่อไปถึงที่บ้านของมดตะนอย
RIE

(มีเนื้อหานิทานต่อด้านหลัง)
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (44)

nd
ตุ๊กตา : โอโห…..ทาไมบ้านพี่มดตะนอยน่าอยู่จังเลย
บ้านของมดตะนอยสะอาดน่าอยู่ ไม่เหมือนบ้านของจุ๊บแจงที่มีแต่ของเล่นวางเต็มไปหมดเลย ตุ๊กตาน้อยเริ่มคิดว่าจะช่วยจุ๊บแจงได้อย่างไร เมื่อคิดได้แล้วตุ๊กตาน้อยเอ่ยของคุณมด
ตะนอยที่ช่วยให้คิดได้ และลามดตะนอยกลับบ้าน ส่วนจุ๊บแจงเมื่อตื่นขึ้นมาไม่เห็นตุ๊กตาก็ตกใจ รีบวิ่งตามหาตุ๊กตาทันที
จุ๊บแจง : ตุ๊กตาจ๋า…..ตุ๊กตาอยู่ไหน รีบมาไวไว จะได้เล่นกัน
จุ๊บแจงทั้งวิ่งตามหา ร้องตะโกนเรียกหาตุ๊กตา และไปพบกับนกน้อยตัวหนึ่ง

aila
จุ๊บแจง : นกน้อยจ๋า…..เห็นตุ๊กตาไหม ตุ๊กตาอยู่ไหน บอกให้รู้ที…..
นกน้อย : ฉันมัวเที่ยวเล่น บินเล่นเพลินไป ตุ๊กตาอยู่ไหน ฉันไม่รู้ซี
จุ๊บแจงวิ่งตามหาต่อไป ไปเจอกระต่าย
จุ๊บแจง : กระต่ายจ๋า…..เห็นตุ๊กตาไหม ตุ๊กตาอยู่ไหน บอกให้รู้ที…..
กระต่าย : จุ๊บแจงจ๋า…..ฉันมันกินหญ้า ตุ๊กตาอยู่ไหน ฉันไม่รู้ซี
จุ๊บแจงวิ่งไปเจอแม่ไก่

Th
จุ๊บแจง : แม่ไก่จ๋า…..เห็นตุ๊กตาไหม ตุ๊กตาอยู่ไหน บอกให้รู้ที…..
แม่ไก่ : ฉันมันคุ้ยหา อาหารเพลินไป ตุ๊กตาอยู่ไหน ฉันไม่รู้ซี
จุ๊บแจงรู้สึกเสียใจมาก ที่ตัวเองหาตุ๊กตาไม่เจอ จุ๊บแจงนั่งร้องไห้
จุ๊บแจง : ฮือๆๆๆ เป็นเพราะจุ๊บแจงไม่ดูแลของเล่นแน่เลย ตุ๊กตาจ๋า กลัวจุ๊บแจงทิ้งไปเหมือนของเล่นอื่นๆ แน่เลย ตุ๊กตาจ๋า ไม่อยากอยู่กับจุ๊บแจงแล้ว ฮือๆๆ ตุ๊กตาจ๋า…..ตุ๊กตา
อยู่ไหน รีบมาไวไว จะได้เล่นกัน ฮือๆๆ
CE
ขณะที่จุ๊บแจงนั่งร้องไห้อยู่ ตุ๊กตาก็กลับมาถึงพอดี ตุ๊กตาตัวเปื้อนไม่น่ารักเหมือนเดิม จุ๊บแจงมองเห็นดีใจรีบวิ่งไปกอดตุ๊กตา
จุ๊บแจง : ตุ๊กตาจ๋า…..เจ้าไปไหนมา ไม่รู้หรือว่า จุ๊บแจงเป็นห่วง ดูสิเนื้อตัวมอมแมม เดี๋ยวเรากลับบ้านด้วยกันนะ จุ๊บแจงจะอาบน้าแต่งตัวให้ใหม่ แล้วเราจะได้ไปช่วยกันเก็บของ
เล่นด้วย
ตุ๊กตา : จุ๊บแจงที่รัก ฉันไปเที่ยวมา ที่บ้านใบหญ้า ของพี่มดตะนอย บ้านนั้นน่าอยู่ เก็บกวาดเช็ดถู เก็บของเป็นระเบียบ
จุ๊บแจง : บ้านของเราก็เหมือนกันจ๊ะ จุ๊บแจงสัญญาต่อไปนี้จุ๊บแจงจะช่วยแม่ดูแลบ้านของเรา
RIE
จากนั้นเป็นต้นมาจุ๊บแจงก็เป็นเด็กดี เล่นของเล่นแล้วเก็บที่เดิม คุณแม่ก็ชมเชยจุ๊บแจงว่าจุ๊บแจงเป็นเด็กดี
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (45)

nd
นิทานเรื่อง “น้องส้มมาโรงเรียน”
ไม่ทราบนามผู้แต่ง

น้องส้มเป็นเด็กผู้หญิงที่ชอบถักเปียสองข้าง มาโรงเรียนทุกๆ เช้า น้องส้มจะต้องสวัสดีคุณครูที่หน้าประตูโรงเรียน ก่อนที่จะนากระเป๋ามาเก็บในห้องที่ช่องเก็บของของตัวเอง

aila
เมื่อพบครูประจาชั้นที่ห้อง น้องส้มกล่าวคาว่า “สวัสดีค่ะ” น้องส้มชอบมาโรงเรียน เพราะมีเพื่อนและของเล่นเยอะแยะ น้องส้มและเพื่อนๆ ชอบเล่นของเล่น เมื่อเล่นเสร็จน้องส้มก็
ช่วยกันเก็บของเล่นเข้าที่ คุณครูชมว่าน้องส้มเป็นเด็กดี น้องส้มรักคุณครู เพราะคุณครูใจดี น้องส้มรักโรงเรียนและชอบมาโรงเรียนทุกวัน

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (46)

nd
aila
บันทึกผลหลังการสอน

Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (47)

บันทึกผลหลังการสอน

nd
ผลการสอน ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

aila
Th
CE
RIE
แผนการจัดประสบการณ์ ช่วงอายุ 4 - 5 ปี สัปดาห์ที่ 2 (48)

บันทึกผลหลังการสอน

nd
ผลการสอน ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ

aila
Th
CE
RIE

You might also like