You are on page 1of 37

วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2562
ISSN 1906-506X (Print), ISSN xxx-xxxx (Online)

วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ผลงานและทรรศนะทางวิชาการสาขารัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์
และนิติศาสตร์ ตลอดจนสาขาที่เกี่ยวข้อง
2. เป็นแหล่งข้อมูลในการเสนอผลงาน บทความ ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานวิจัย และข้อมูลท้องถิ่น
ภาคตะวันออก รวมทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ
3. เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในการค้นคว้าประกอบการศึกษาในระดับต่างๆ

วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย เป็นวารสารวิชาการด้านการเมือง การบริหาร และ


กฎหมาย ตลอดจนสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีก�ำหนดการตีพิมพ์เผยแพร่ปีละ 3 ฉบับ (มกราคม-เมษายน,
พฤษภาคม-สิงหาคม และกันยายน-ธันวาคม)
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ยินดีรบั พิจารณาบทความวิชาการ บทความวิจยั บทความ
ปริทัศน์ บทวิจารณ์หนังสือ รายงานการสัมมนาด้านรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ และนิติศาสตร์ และสาขา
ที่เกี่ยวข้อง เพื่อตีพิมพ์ในวารสาร ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยส่งต้นฉบับมาที่กองบรรณาธิการ
(โปรดดู ร ายละเอี ย ดการเสนอบทความท้ า ยเล่ ม ) เพื่ อ ให้ ค ณะกรรมการกลั่ น กรองหรื อ ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ
(Peer Review-Double-blind) จ�ำนวน 2 ท่าน ในสาขาที่เกี่ยวข้องพิจารณา

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 3
เจ้าของ
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลแสนสุข
อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131
โทรศัพท์ 038-102369 ต่อ 105 หรือ 038-390243
โทรสาร 038-393475
Homepage : http://polsci-law.buu.ac.th/journal/
ThaiJo : https://www.tci-thaijo.org/index.php/polscilaw_journal
E-mail : polscilawjournal@gmail.com

4 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


กองบรรณาธิการ
ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

บรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ ว่าที่เรือตรี ดร. เอกวิทย์ มณีธร
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

บรรณาธิการบริหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระ กุลสวัสดิ์
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

กองบรรณาธิการ
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร. อนุสรณ์ ลิ่มมณี
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย ยาวะประภาษ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์ ดร. เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์
คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร. ด�ำรงค์ วัฒนา
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร. จิรประภา อัครบวร
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร. อรรถกฤต ปัจฉิมนันท์
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร. ธีระวัฒน์ จันทึก
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ร้อยตรี ดร. ณัฐกริช เปาอินทร์
คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 5
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธีระ กุลสวัสดิ์
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ดร. โชติสา ขาวสนิท
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ดร. อรรัมภา ไวยมุกข์
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
อาจารย์ภารดี ปลื้มโกศล
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
อาจารย์เอกพล ทรงประโคน
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Prof.Dr.Macro Brunazzo
Jean Monet Chair in European Studies University of Trento

ผู้ประสานงานกองบรรณาธิการ
นางสาวธารทิพย์ ภวะวิภาต
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

6 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


Journal of Politics, Administration and Law
Faculty of Political Science and Law,
Burapha University

Objectives
1. To promote and disseminate academic works and viewpoints relating to political
science. Public administration, law and related fields.
2. To be a source of scholarly discussion, research publication, and practical
Viewpoints from local issues in Thailand and worldwide
3. To be a repository of research literature and information for every education level.

Journal of Politics, Administration and Law has a particular interest in the link
between political science, public administration theory and practice, law and a wide range
of relevant themes. The journal also provides a professional forum for reporting on new
experiences, new thinking and new ways of working among students, scholars, practitioners,
policy shapers and socio-political activists. The journal is published three issues a year
(January-April, May-August and September-December)
The Editorial Board welcomes the submission of research articles, review and semi-
nar reports from the field of political science, public administration, law and related fields
for publication from both academic and professional authors. Manuscript in English is also
welcome. The manuscript must be sent to the Editorial Board and the author should consult
notes for contributors appeared at the back cover of each issue. All manuscripts submitted
will be subject to rigorous double-blind reviewing.

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 7
Editorial Advisor
Asst.Prof.Dr.Samrit Yossomsakdi
Faculty of Political Science and Law, Burapha University
Editorial in Chief
Assoc.Prof.Acting Sub Lt.Dr.Ekkawit Maneethorn
Faculty of Political Science and Law, Burapha University

Executive Editor
Asst.Prof.Dr. Teera Kulsawat
Faculty of Political Science and Law, Burapha University

Editorial Board
Prof.Emeritus Dr.Anusorn Limmanee
Faculty of Political Science, ChulalongKorn University
Prof.Dr.Supachai Yavapapas
Faculty of Political Science, ChulalongKorn University
Prof.Dr.Kriengkrai Charoenthanavat
Faculty of Law, ChulalongKorn University
Assoc.Prof.Dr.Damrong Wathana
Faculty of Political Science, Chaula LongKorn University
Assoc.Prof.Dr. Jiraprapha Akaraborworn
National Institute of Development Administration
Assoc.Prof.Dr. Attakrit Patchimnan
Faculty of Political Science, Thammasat University
Assoc.Prof.Dr. Thirawat Chuntuk
Faculty of Management Science, Silpakorn University
Asst.Prof.Second Lt.Dr.Nuttakrit Powintara
Graduate School of Public Administration, National Institute of Development
Administration (NIDA)
Asst.Prof.Dr.Teera Kulsawat
Faculty of Political Science and Law, Burapha University

8 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


Dr.Shotisa Cousnit
Faculty of Political Science and Law, Burapha University
Dr.Awnrumpa Waiyamuk
Faculty of Political Science and Law, Burapha University
Miss Paradee Plumkoson
Faculty of Political Science and Law, Burapha University
Mr. Ekapon Songprakhon
Faculty of Political Science and Law, Burapha University
Prof.Dr.Macro Brunazzo
Jean Monet Chair in European Studies University of Trento

Coordinator
Miss Tharntip Pawavipat
Faculty of Political Science and Law, Burapha University

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 9
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ก�ำหนดเวลา ปีละ 3 ฉบับ (มกราคม-เมษายน, พฤษภาคม-สิงหาคม และกันยายน-ธันวาคม)

การติดต่อ รองศาสตราจารย์ ว่าที่เรือตรี ดร.เอกวิทย์ มณีธร


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
169 ถนนลงหาดบางแสน ต�ำบลเสนสุข อ�ำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131
โทรศัพท์ 038-393475 , 038-102369 ต่อ 105 , 115 โทรสาร ต่อ 102
Homepage : http://polsci-law.buu.ac.th/journal/
E-mail : polscilawjournal@gmail.com

ราคา 350 บาท

อัตราค่าสมาชิก โปรดดูใบสมัครหน้าสุดท้าย

อนึง่ บทความทุกเรือ่ งทีต่ พี มิ พ์ในวารสารฯ จะได้รบั การอ่านและการประเมินโดยผูท้ างคุณวุฒใิ นสาขา


วิชานัน้ ๆ กองบรรณาธิการขอสงวนลิขสิทธิ์ ในการบรรณาธิการ และล�ำดับการตีพมิ พ์กอ่ น-หลัง ทัง้ นี ้ ถ้อยค�ำ
ข้อเขียน ข้อคิดเห็นและข้อสรุปในบทคัดย่อและบทความทุกเรื่อง ถือเป็นผลงานวิชาการของผู้เขียน โดยกอง
บรรณาธิการไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วย

10 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


กรรมการกลั่นกรอง (Peer Review)
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562)

1. รองศาสตราจารย์ ดร.รวิภา ธรรมโชติ


คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

2. รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระวัฒน์ จันทึก


คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

3. รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยากร หวังมหาพร


มหาวิทยาลัยศรีปทุม

4. รองศาสตราจารย์ ดร.สุเมธ เดียวอิศเรศ


ศาลปกครอง

5. รองศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.ประทีป ทับอัตตานนท์


ศาลแพ่ง

6. รองศาสตราจารย์ ดร.จีระ ประทีป


มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี รามนัฎ
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จักรี ไชยพินิจ


คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 11
9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วงพักตร์ ภู่พันธ์ศรี
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พันต�ำรวจโท ดร.ไวพจน์ กุลาชัย


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระ กุลสวัสดิ์


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุรัตน์ อนันทนาธร


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรพงษ์ บัวหล้า


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เขมมารี รักษ์ชูชีพ


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

15. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

16. พันต�ำรวจเอก ดร.คมสัน สุขมาก


สถาบันส่งเสริมงานสอบสวน ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ

17. ดร.สุภานี นวกุล


คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

18. ดร.กาญจนา ปัญญานนท์


ส�ำนักงานศาลปกครอง

12 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


19. ดร.ระชานนท์ ทวีผล
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

20. ดร.ธงชัย ทองมา


มหาวิทยาลัยสวนสุนันทา

21. ดร.อาภรณ์ คุระเอียด


นักวิชาการอิสระ

22. ดร.อมรทิพย์ อมราภิบาล


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

23. ดร.พิมพ์กมล กองโภค


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

24. ดร.ชัยณรงค์ เครือนวน


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

25. ดร.ญาเรศ อัครพัฒนานุกูล


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

26. ดร.พัชราภา ตันตราจิน


คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 13
บรรณาธิการแถลง
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2562) ได้จดั ท�ำ
ขึน้ เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนคณาจารย์ นักวิชาการ และนิสติ รวมถึงผูส้ นใจทัว่ ไปได้เผยแพร่ผลงานวิชาการ
ทางด้านรัฐศาสตร์ นิตศิ าสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ มาเป็นปีที่ 11 แล้ว ผลงานวิชาการในฉบับนี้ ประกอบ
ด้วยบทความวิจยั และบทความวิชาการ จ�ำนวน 27 เรือ่ ง ทีม่ คี วามหลากหลายในองค์ความรู้ ฉบับนีข้ อน�ำเสนอ
บทความแรก เรือ่ ง ปัญหาทางกฎหมายเกีย่ วกับการบังคับโทษปรับทีแ่ จ้งทางไปรษณียล์ งทะเบียนตอบรับ
ตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 โดย รองศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.ประทีป ทับอัตตานนท์
และ ดร.จิดาภา พรยิ่ง ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 ทีต่ อ้ งการให้
ประชาชนผู้ใช้รถใช้ถนนมีระเบียบในการใช้ทางร่วมกัน โดยให้มีโทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการควบคุม
ผู้กระท�ำผิด ซึ่งถือเป็นความผิดที่รัฐบัญญัติว่าผิด (mala prohibita) แต่เนื่องจากโทษทางทางอาญาตาม
กฎหมายดังกล่าว ส่วนใหญ่เป็นความผิดลหุโทษทีม่ แี ต่โทษปรับ ประกอบประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความ
อาญามาตรา 37 ทีก่ ำ� หนดให้โทษทางอาญาทีม่ กี ารเปรียบเทียบปรับแล้ว ให้คดีอาญาเลิกกัน และมาตรา 39(3)
ได้บญ ั ญัตริ บั ว่าหากคดีอาญาเลิกกัน สิทธิในการน�ำคดีอาญาฟ้องให้ระงับไป ดังนัน้ การด�ำเนินคดีตามความผิด
อาญาทีม่ แี ต่โทษปรับในกฎหมายดังกล่าวจึงเป็นกระบวนการทีร่ วบรัด ทีร่ ฐั ไม่ประสงค์ให้คดีขนึ้ สูศ่ าล เว้นแต่
ผูก้ ระท�ำความผิดไม่ยอมเสียค่าปรับ กฎหมายดังกล่าวได้กำ� หนดในมาตรา 140 ว่า หากเจ้าพนักงานจราจรไม่
พบผู้ขับขี่รถที่กระท�ำผิด ให้ผูกใบสั่ง หรือให้ส่งใบสั่งพร้อมพยานหลักฐานโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบ
รับไปยังภูมลิ ำ� เนาของเจ้าของหรือผูค้ รองครองรถ โดยกฎหมายสันนิษฐานว่าผูน้ นั้ เป็นผูข้ บั ขีต่ ามมาตรา 141
วรรคห้า หากผูน้ นั้ ได้รบั ใบสัง่ โดยชอบแล้วก็อาจเลือกใช้ชอ่ งทางในการเสียค่าปรับตามมาตรา 141 (1)(2)(3)
แต่หากเขาไม่เข้ามารายงานตัวต่อพนักงานสอบสวนและเสียค่าปรับ กฎหมายได้บญ ั ญัตใิ นมาตรา 141 ทวิให้
พนักงานสอบสวนออกหมายเรียกผู้นั้นมาเพื่อตักเตือนและเสียค่าปรับ หรือให้เจ้าพนักงานกรมขนส่งทางบก
งดรับช�ำระภาษีประจ�ำปีนนั้ ส�ำหรับรถคันดังกล่าว รูปแบบการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวสร้างปัญหาให้แก่ผปู้ ฏิบตั ิ
ทัง้ เมือ่ ความผิดนัน้ ได้กระท�ำผ่านพ้นไปแล้วหนึง่ ปี ซึง่ เป็นการขาดอายุความตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา
95(5) ก็ไม่อาจบังคับใช้ได้ ทัง้ มาตรา 155 ยังก�ำหนดเป็นความผิดอีกฐานหนึง่ ว่า หากผูน้ นั้ ได้รบั ใบสัง่ โดยชอบ
แล้วไม่เสียค่าปรับ ให้ลงโทษปรับไม่เกินหนึง่ พันบาท การบัญญัตกิ ฎหมายในขัน้ ตอนด�ำเนินการแก่ผกู้ ระท�ำผิด
ตามกฎหมายว่าการจราจรที่มีแต่โทษปรับดังกล่าว ได้สร้างความวุ่นวายยุ่งยากให้แก่ประชาชนและผู้ปฏิบัติ
ตามกฎหมาย ทัง้ ไม่สอดคล้องกับทฤษฎีทางอาญาในเรือ่ งหลักเกณฑ์วา่ ด้วยการจ�ำกัด (Limiting Principles)
หลักอรรถประโยชน์ (Utilltarianism) ของซีซาร์ เบคคาเรีย และหลักเกณฑ์วา่ ด้วยความเป็นไปได้ในทางปฏิบตั ิ
(The pragmatic approach) เมือ่ ค�ำนึงถึงกระบวนการด�ำเนินคดีอาญาในส่วนนี้ ซึง่ เป็นการด�ำเนินกระบวน
พิจารณาแบบรวบรัดแล้ว จึงควรแก้ไขกฎหมายในส่วนการพิจารณาคดีอาญาดังกล่าว โดยให้พนักงานสอบสวน
ส่งส�ำนวนให้พนักงานอัยการสั่งฟ้องโดยไม่ต้องมีตัวผู้กระท�ำผิด และให้ศาลพิจารณาพิพากษาคดีได้หลังจาก
ได้สง่ หมายเรียกให้แก่ผนู้ นั้ และหากผูน้ นั้ ไม่ปรากฏตัวในศาลก็ให้ถอื ว่าผูน้ นั้ ปฏิเสธ ให้ศาลมีคำ� พิพากษาตาม

14 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


รูปคดีไป โดยบังคับค่าปรับตามค�ำพิพากษานีไ้ ด้ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 29,29/1,30, 30/1,30/2
ทั้งควรยกเลิกกฎหมายที่บัญญัติในลักษณะฟุ่มเฟือยและขัดกับหลักทฤษฎีทางอาญาเสีย และทั้งนี้ให้น�ำ
มาตรการทางปกครองมาบังคับใช้ โดยก�ำหนดการไม่ชำ� ระค่าปรับตามใบสัง่ ทีส่ ง่ ทางไปรษณียล์ งทะเบียนตอบ
รับให้เป็นเงือ่ นไขในการไม่ตอ่ ใบอนุญาตขับขีแ่ ละน�ำมาตรการทางปกครองในเรือ่ งบันทึกคะแนนในใบอนุญาต
ขับขีแ่ ทนการสัง่ งดรับการช�ำระภาษีประจ�ำปีสำ� หรับรถคันเกิดเหตุนนั้
บทความที่สอง เรื่อง มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการกระท�ำความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ
โดย ดร.รัชนี แตงอ่อน และอาจารย์จิรวัธ ศิริศักดิ์สมบูรณ์ บทความวิจัยนี้เป็นการศึกษามาตรการทาง
กฎหมายเกี่ยวกับการกระท�ำความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ กรณีฉ้อโกงผู้สูงอายุ ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทย
และสหรัฐอเมริกา โดยศึกษาความหมายของค�ำว่า ผูส้ งู อายุ, ความรุนแรงทีก่ ระท�ำต่อผูส้ งู อายุ แนวคิด ทฤษฎี
เกี่ยวกับความผิดเกี่ยวกับการฉ้อโกงผู้สูงอายุรวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับฉ้อโกงผู้สูงอายุในประเทศไทย
และสหรัฐอเมริกาตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายอาญาเรื่องฉ้อโกงผู้สูงอายุและการแสวงหา
ประโยชน์โดยมิชอบจากผูส้ งู อายุ จนได้บทสรุปและข้อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขเพิม่ เติมกฎหมายอาญา
และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับผูส้ งู อายุในประเทศไทย จากการศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ของประเทศไทยและ
สหรัฐอเมริกา พบว่า ทัง้ สองประเทศต่างรับรองความคุม้ ครองสิทธิ การส่งเสริม และสนับสนุนผูส้ งู อายุเป็นไป
ตามหลักการสากลขององค์การสหประชาชาติหลายประการ กรณีประเทศไทยก�ำหนดสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้สูง
อายุพงึ มีตามหลักรัฐธรรมนูญและปฏิญญาผูส้ งู อายุ, การให้ความหมายของ ค�ำว่า “ผูส้ งู อายุ” เหมือนกันคือใช้
เกณฑ์อายุตามปฏิทนิ ซึง่ ประเทศไทยก�ำหนดไว้ทอี่ ายุ 60 ปีขนึ้ ไปตามพระราชบัญญัตผิ สู้ งู อายุ พ.ศ. 2546 ส่วน
กฎหมายอาญาของมลรัฐแคลิฟอร์เนียก�ำหนดไว้ที่อายุ 65 ปีขึ้นไป เช่นเดียวกับกฎหมายอาญาของมลรัฐฟล
อริดา้ การก�ำหนดความรับผิดทางอาญาของผูก้ ระท�ำความผิดกรณีเป็นการทารุณกรรมผูส้ งู อายุของกฎหมาย
สหรัฐอเมริกามีความเฉพาะเจาะจงและคุม้ ครองพิเศษมากกว่าประเทศไทย ตามประมวลกฎหมายอาญาของ
ไทยไม่ให้ความคุ้มครองพิเศษกับผู้เสียหายที่เป็นผู้สูงอายุ โดยหลายมาตราให้ความคุ้มครองไว้เช่นเดียวกับ
บุคคลทั่วไป ส่วนกรณีการฉ้อโกงทรัพย์สินของผู้สูงอายุถือเป็นการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
ซึ่งรัฐบาลกลางของสหรัฐอเมริกาบัญญัติกฎหมายที่ชื่อว่า Elder Abuse Prevention and Prosecution
Act (เรียกย่อว่า EAPPA) ขึน้ ในปี ค.ศ. 2017 เพือ่ ป้องกันและปราบปรามผูก้ ระท�ำความผิดทีม่ งุ่ จะกระท�ำต่อ
เหยื่อที่เป็นผู้สูงอายุ นอกจากนี้ การฉ้อโกงผู้สูงอายุตามกฎหมายอาญาของมลรัฐแคลิฟอร์เนียและมลรัฐฟล
อริดา้ ก�ำหนดรายละเอียดไว้อย่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจงถึงการกระท�ำในลักษณะใดเป็นการฉ้อโกงและการ
แสวงหาประโยชน์ที่มิชอบด้วยกฎหมายที่กระท�ำต่อผู้สูงอายุ เช่น การระบุถึงลักษณะของการกระท�ำฉ้อโกง
และการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายต่อผูส้ งู อายุ ผูก้ ระท�ำความผิดทีแ่ บ่งประเภททัง้ ผูด้ แู ลตาม
กฎหมายเป็นบุคคลในครอบครัว หรือบุคคลทีผ่ สู้ งู อายุให้ความไว้วางใจทางธุรกิจ รวมถึงบทลงโทษจ�ำคุกทาง
อาญาหรือปรับตามความเสียหายทางทรัพย์สนิ ทีผ่ สู้ งู อายุสญ ู เสียไป ทัง้ มีบทลงโทษหนักขึน้ ด้วย เป็นต้น ผูว้ จิ ยั
ได้บทสรุปและข้อเสนอแนะ ดังนี้ การกระท�ำความรุนแรงต่อผูส้ งู อายุกรณีการฉ้อโกงในประเทศสหรัฐอเมริกา

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 15
มีกฎหมายให้ความคุ้มครองเป็นพิเศษแก่ผู้สูงอายุที่ตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมประเภทนี้ซึ่งกฎหมายของ
ประเทศไทยยังไม่ได้บญ ั ญัตคิ มุ้ ครองเป็นพิเศษ ดังนัน้ กรณีการฉ้อโกงผูส้ งู อายุในประเทศไทยควรต้องปรับปรุง
แก้ไขกฎหมายอาญาและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องโดยก�ำหนดบทลงโทษกับผู้กระท�ำความผิดที่เป็นผู้ดูแล และ
บุคคลภายนอกครอบครัวที่มุ่งจะแสวงหาประโยชน์อันมิชอบด้วยกฎหมายที่กระท�ำต่อผู้สูงอายุ เพื่อให้ทัน
สมัยต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย ทั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ปรับปรุงและแก้ไข
กฎหมายอาญากรณีฉอ้ โกงผูส้ งู อายุโดยควรเพิม่ นิยามค�ำว่าผูส้ งู อายุในมาตรา 1, เพิม่ เติมมาตรา 342/1 และ
แก้ไขเพิ่มเติมค�ำว่าผู้สูงอายุ มาตรา 346 รวมถึงเพิ่มเติมความหมายค�ำว่า การแสวงหาประโยชน์ โดยมิชอบ
ด้วยกฎหมายตามประกาศกระทรวงพัฒนาสังคมและมนุษย์ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 เพื่อให้
เกิดความชัดเจนและป้องกันปัญหาการตีความกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับความคุ้มครองเสรีภาพของ
บุคคล สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคุ้มครองป้องกันสิทธิตาม
กฎหมายและตามหลักกฎหมายสากลทีเ่ หมาะสมและเป็นธรรม
บทความที่ ส าม เรื่ อ ง บทบาทพนั ก งานอั ย การในการด� ำ เนิ น คดี ทุ จ ริ ต และประพฤติ มิ ช อบ
โดย นายณัฏฐพงศ์ สุวรรณพาณิชย์, ศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย สุวรรณพานิช และรองศาสตราจารย์ลาวัลย์
หอนพรัตน์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับบทบาทพนักงานอัยการใน
การด�ำเนินคดีทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ (2) ศึกษาบทบาทพนักงานอัยการในการด�ำเนินคดีทจุ ริตและประพฤติ
มิชอบ ของประเทศไทยและต่างประเทศ (3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการด�ำเนินคดีทุจริตและประพฤติ
มิชอบและแนวทางแก้ไขปัญหาของพนักงานอัยการในการด�ำเนินคดีทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ เป็นการท�ำวิจยั
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้วธิ กี ารค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary
Research)โดยศึกษาจากต�ำรากฎหมาย พระราชบัญญัติ บทความ วารสารทางวิชาการ ระเบียบข้อบังคับ
เพือ่ ท�ำการวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา นอกจากนีย้ งั ใช้วธิ กี ารสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth Interview) โดย
สัมภาษณ์บคุ คลผูใ้ ห้ขอ้ มูลเป็นส�ำคัญ (Key Informant) ได้แก่ ผูพ้ พิ ากษา พนักงานอัยการผูฟ้ อ้ งคดีตอ่ ศาลคดี
ทุจริตและประพฤติ มิชอบ และทนายความ ผลการศึกษาพบว่า บทบาทของพนักงานอัยการในการด�ำเนิน
คดีทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ มีมากในขัน้ ตอนการรับส�ำนวนการไต่สวน และส�ำนวนการสอบสวน รวมทัง้ การ
พิจารณาส�ำนวนก่อนมีค�ำสั่งใดๆ รวมทั้งการประชุมร่วมในการพิจารณาข้อไม่สมบูรณ์ และก่อนที่จะด�ำเนิน
การฟ้องผู้ถูกกล่าวหาต่อศาล แต่เมื่อได้ด�ำเนินการฟ้องผู้ถูกกล่าวหาต่อศาลแล้วบทบาทของพนักงานอัยการ
จะลดลง อย่างมากเมือ่ เปรียบเทียบกับการด�ำเนินคดีในศาลอาญาทัว่ ไป เพราะการพิจารณาคดีในศาลคดีทจุ ริต
และประพฤติมชิ อบใช้ระบบไต่สวนนัน้ บทบาทของพนักงานอัยการจะไม่เหมือนกับการด�ำเนินคดีอาญาทัว่ ไป
ทีใ่ ช้ระบบกล่าวหา เพราะบทบาทของพนักงานอัยการจะมีนอ้ ยมาก เนือ่ งจากศาลเป็นผูแ้ สวงหาข้อเท็จจริงด้วย
ตนเอง เมื่อศาลแสวงหาข้อเท็จจริงด้วยตนเอง ศาลจึงไม่สามารถยกเหตุแห่งความสงสัยขึ้นเพื่อยกประโยชน์
แห่งความสงสัยให้กบั จ�ำเลย ดังนัน้ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการด�ำเนินคดี จึงควรทีจ่ ะแก้กฎหมายให้พนักงาน
อัยการเข้าร่วมไต่สวนกับ ป.ป.ช. ตัง้ แต่เริม่ พบการกระท�ำความผิด กระบวนการไต่สวนในศาลควรเปิดโอกาส

16 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


ให้พนักงานอัยการได้ซักถามพยานได้อย่างเต็มที่ หรือมิฉะนั้น ควรใช้ระบบไต่สวนอย่างเต็มที่แบบระบบ
การไต่สวนของประเทศฝรัง่ เศส
บทความที่สี่ เรื่อง มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมอาชีพคนพิการในอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง
โดย นางฐิตริ ตั น์ วิชยั ดิษฐ และผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร บทความนีเ้ ป็นการกล่าว
ถึงกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการในการส่งเสริมอาชีพคนพิการของประเทศในอนุภาคลุม่ น�ำ้ โขง ซึง่ ประกอบด้วย
พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และไทย ซึง่ พบว่ามีการลงนามความร่วมมือในอนุสญ ั ญา ว่าด้วยสิทธิคนพิการเช่น
เดียวกัน แต่มาตรการกฎหมายในระดับประเทศมีความแตกต่างกัน โดยประเทศไทยมีมาตรการทางกฎหมาย
ทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ เพราะมีตวั บทบัญญัตทิ ชี่ ดั เจน ส่งผลให้คนพิการนัน้ ได้รบั โอกาสในการจ้างงานและการมีอาชีพ
อิสระมากกว่าคนพิการคนพิการใน 4 ประเทศดังกล่าว ส่วนในด้านทีแ่ ตกต่างกันอย่างชัดเจนทีส่ ดุ ได้แก่ประเทศ
พม่าเพราะมีปัญหาทางการเมืองติดต่อกันมายาวนานจึงไม่มีกฎหมายเฉพาะส�ำหรับการจ้างคนพิการ โดย
กระบวนการส่งเสริมอาชีพคนพิการของประเทศไทยเน้นการพัฒนาศักยภาพให้คนพิการพึง่ พาตนเองตามฐาน
สิทธิข์ องตนทีม่ อี ยูใ่ นกฎหมาย อย่างไรก็ตาม ประเทศในอนุภาคลุม่ น�ำ้ โขงทัง้ 5 ประเทศมีปญ ั หาร่วมกัน คือ
การบังคับใช้กฎหมายทีย่ งั ขาดความเป็นธรรม และบทความนีไ้ ด้ให้ขอ้ เสนอแนะเพือ่ น�ำไปสูก่ ารเพิม่ มาตรการ
และการบังคับใช้กฎหมายให้มปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้
บทความที่ห้า เรื่อง ความไว้วางใจในหัวหน้างานที่มีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในงาน
ของพนั ก งานระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารเจเนอเรชั่ น วาย กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมยานยนต์ จั ง หวั ด ระยอง โดย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักร์ระภีร์ วรวัฒนะปริญญา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับ
ความไว้วางใจในหัวหน้างาน และระดับความยึดมัน่ ผูกพันในงาน 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยความ
ไว้วางใจในหัวหน้างานทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความยึดมัน่ ผูกพันในงาน และ 3) เพือ่ สร้างสมการพยากรณ์ความยึดมัน่
ผูกพันในงาน โดยกลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั คือพนักงานระดับปฏิบตั กิ ารเจเนอเรชัน่ วาย กลุม่ อุตสาหกรรม
ยานยนต์ จังหวัดระยอง จ�ำนวน 338 คน เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นแบบสอบถาม โดยการค�ำนวณหาค่า
ความเชือ่ มัน่ ของความไว้วางใจในหัวหน้างาน ได้เท่ากับ 0.852 ค�ำนวณหาค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ ได้คา่ อยู่
ระหว่าง 0.455-0.881 ค�ำนวณหาค่าความเชือ่ มัน่ ของความยึดมัน่ ผูกพันในงาน ได้เท่ากับ 0.899 ค�ำนวณหา
ค่าอ�ำนาจจ�ำแนกรายข้อ ได้คา่ อยูร่ ะหว่าง 0.615-0.997 สถิตทิ ใี่ ช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ค่าส่วนเบีย่ งเบน
มาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เพียร์สนั และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคณ ู แบบขัน้ ตอน (stepwise
multiple regression analysis) ผลการวิจยั พบว่า 1. ระดับความไว้วางใจในหัวหน้างานของพนักงานระดับ
ปฏิบตั กิ ารเจเนอเรชัน่ วาย กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์ จังหวัดระยองโดยภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก ( x̄ = 4.07)
ส�ำหรับระดับความยึดมัน่ ผูกพันในงานของพนักงานระดับปฏิบตั กิ ารเจเนอเรชัน่ วาย กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์
จังหวัดระยองโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก (x̄ = 4.05) เมือ่ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยูร่ ะดับมากทุกด้าน
โดยเรียงล�ำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี ้ ด้านความกระตือรือร้น ด้านความรูส้ กึ ว่างานเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ และ
ด้านความเต็มใจอุทศิ ตนให้กบั งาน ตามล�ำดับ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยความไว้วางใจในหัวหน้างานทีม่ ี

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 17
อิทธิพลต่อความยึดมัน่ ผูกพันในงานของพนักงานระดับปฏิบตั กิ ารเจเนอเรชัน่ วาย กลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์
พบว่า มีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สห
สัมพันธ์อยูร่ ะหว่าง 0.522 – 0.596 โดยมีคา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์พหุคณ ู (R) เท่ากับ 0.778 ค่าสัมประสิทธิ์
การตัดสินใจ (R ) พบว่า หัวหน้างานเป็นคนเปิดกว้างและตรงไปตรงมา (X4) หัวหน้างานมีความยุตธิ รรมในการ
2

บริหารงาน (X1) หัวหน้างานเป็นผูท้ มี่ คี วามสามารถในการสร้างแรงจูงใจและตัง้ ใจท�ำงาน (X3) และหัวหน้าเป็น


ผูท้ มี่
ี ความเชีย่ วชาญในการบริหารจัดการและสามารถคาดการณ์สถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่างแม่นย�ำ (X2)
มีอำ� นาจในการพยากรณ์รวมเท่ากับร้อยละ 60.6 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Y = 15.234 + 0.161X4
+ 0.192X1 + 0.144X3 + 0.092X2สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Zr = 0.278Z4 + 0.382Z1 +
0.247Z3 + 0.168Z2
บทความที่หก เรื่อง ขบวนการทางสังคมของคนพิการในการขับเคลื่อนสิทธิด้านการประกอบ
อาชีพและการมีงานท�ำให้เป็นจริง โดย นายสุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ การมีอาชีพมีงานท�ำเป็นหัวใจส�ำคัญ
ที่ท�ำให้คนพิการสามารถด�ำรงชีวิตอิสระ การมีงานท�ำของคนพิการยังเป็นประเด็นที่ท้าทายด้วยรายงานทาง
สถิต ิ แต่ละปีของแต่ละส�ำนัก ล้วนสอดคล้องกันว่าคนพิการส่วนใหญ่ไม่มงี านท�ำ แม้วา่ คนพิการเหล่านัน้ มี
ศักยภาพในการท�ำงาน บทความนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ น�ำเสนอการรวมกลุม่ และการขับเคลือ่ นของคนพิการใน
การท�ำสิทธิด้านการประกอบอาชีพและการมีงานท�ำของคนพิการเป็นจริง เป็นบทเรียนและแนวทางเพื่อการ
ขับเคลือ่ นงานอย่างต่อเนือ่ งต่อไป ผูเ้ ขียนใช้กรอบแนวคิดขบวนการทางสังคมใหม่ (New Social Movement)
ศึกษาการรวมกลุม่ และการขับเคลือ่ นสิทธิคนพิการ น�ำเสนอเชิงประวัตศิ าสตร์ (Historical Approach) ถึงการ
ต่อสูด้ นิ้ รนของคนพิการแต่ละประเภทตัง้ แต่ชว่ งปี 2480 ถึงปี 2550 กลุม่ คนพิการมีการรวมตัวและต่อสูด้ นิ้ รน
แบบแยกส่วน การรวมตัวของคนพิการใช้ยทุ ธศาสตร์มวลชนกดดันเพือ่ ขอโควต้าสลากกินแบ่งรัฐบาลของกลุม่
คนตาบอด บทบาทของสภาคนพิการและองค์กรของคนพิการระดับชาติเน้นยุทธศาสตร์การท�ำงานร่วม เพื่อ
ให้เกิดกฎหมายและการปฏิบตั ติ ามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ขบวนการทางสังคมของคนพิการในการท�ำให้คนพิการ
มีอาชีพและมีงานท�ำนั้นแผ่วเบากว่าการระดับความส�ำคัญของเรื่อง การมีอาชีพมีงานท�ำของคนพิการจึงเป็น
อัตราส่วนทีน่ อ้ ยกว่าอัตราการไม่มงี านท�ำของคนพิการ ขบวนการทางสังคมของคนพิการเกิดขึน้ จากการรวมตัว
และต่อสูด้ นิ้ รนของคนพิการแต่ละประเภท ต่อมามีการรวมกลุม่ เป็นสภาคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทย
ผลักดันให้มกี ฎหมาย นโยบาย และการปฏิบตั เิ พือ่ ให้สทิ ธิ คนพิการเป็นจริง โดยใช้ 3 ยุทธศาสตร์ คือ 1) การ
ท�ำงานร่วม 2) การใช้มวลชนกดดัน และ 3) การใช้ความรูใ้ นระดับสากล การรวมกลุม่ ประสบความส�ำเร็จใน
การผลักดันกฎหมายและนโยบาย แต่การปฏิบัติเพื่อให้คนพิการมีงานท�ำยังเป็นความท้าทายด้วยจ�ำนวนคน
พิการทีม่ งี านท�ำเพียงร้อยละ 13 ของจ�ำนวนคนพิการทัง้ หมด จึงเป็นความท้าทายของผูน้ ำ� คนพิการ กระทรวง
แรงงาน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ควรเรียนรูซ้ งึ่ กันและ
กัน สานพลัง คิดค้นแนวปฏิบตั ิ และขับเคลือ่ นร่วมกันเพือ่ ให้คนพิการได้ประกอบอาชีพและมีงานท�ำ สามารถ
ด�ำรงชีวติ อิสระและเป็นพลเมืองทีส่ ร้างผลผลิตทางเศรษฐกิจได้เต็มศักยภาพน�ำไปสูส่ งั คมทีอ่ ยูเ่ ย็นเป็นสุขร่วมกัน

18 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


บทความทีเ่ จ็ด เรือ่ ง ประชาธิปไตยพัฒนา โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทวิพนั ธ์ พัวสรรเสริญ
บทความวิชาการนี้เป็นการศึกษาประชาธิปไตยแบบไทย ๆ ซึ่งผู้เขียนประสงค์จะชี้ให้เห็นถึงแนวทางในการ
พัฒนาประชาธิปไตยทัง้ ระดับชาติ, องค์การ, การศึกษา จนกระทัง่ การน�ำมาใช้ในชีวติ ประจ�ำวันเพือ่ ให้เกิดความ
เฉลียวฉลาดในการใช้ประชาธิปไตย และการสร้างจิตส�ำนึกประชาธิปไตยให้เกิดขึน้ โดยศึกษาจากวิวฒ ั นาการ
ชองการเปลีย่ นแปลงการปกครองประชาธิปไตยทีย่ งั ไม่ลม้ เหลวมาถึงปัจจุบนั เพือ่ พัฒนาจากระบบครอบครัว,
ชุมชน และสังคม ตลอดจนประเทศชาติเพือ่ เป็นพืน้ ฐานในการสร้างความฉลาดในเรือ่ งประชาธิปไตยทีส่ ะท้อน
มุมมองของปัญหาทีเ่ กิดขึน้ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาประชาธิปไตยอย่างยัง่ ยืน และเป็นการพัฒนาการเมืองอย่างส�ำคัญ
ในการบรรลุถงึ การมีสทิ ธิมเี สียง, เสรีภาพ และความเสมอภาคทางสังคม อันเป็นพืน้ ฐานในการมีสว่ นร่วม
ทางการเมือง ตลอดจนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในการสร้างวัฒนธรรมทงการเมืองทีดี และเป็น
ประโยชน์ต่อประเทศชาติ และมีภาพพจน์ที่ดีต่อนานาชาติ และน�ำไปสู่ประเทศที่มีอารยธรรม ซึ่งบทความนี้
เป็นการมองภาพกว้าง ๆ ในการให้ผอู้ า่ นได้นำ� ไปศึกษาพัฒนาแนวคิดประชาธิปไตยอัจฉริยะในทีส่ ดุ
บทความทีแ่ ปด เรือ่ ง เศรษฐกิจการเลีย้ งเป็ดไล่ทงุ่ ในภาคใต้ โดย ดร.ภาสกร ธรรมโชติ ,
ดร.อารีรตั น์ ทศดี และผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา รัตนวุฒิ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา 1. เศรษฐกิจ
การเลีย้ งเป็ดไล่ทงุ่ ซึง่ ครอบคลุมการวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งเป็ดไล่ทงุ่ ลักษณะ
การผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง 2. ศึกษาปัจจัยเสี่ยงและรูปแบบการปรับตัวต่อปัจจัย
เสี่ยงของเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง โดยการวิจัยเป็นแบบผสมทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยเชิงปริมาณ
ใช้การเก็บข้อมูลกลุม่ ตัวอย่างแบบไม่ทราบความน่าจะเป็นโดยใช้การสุม่ ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงเกษตรกร
ผูเ้ ลีย้ งเป็ดไล่ทงุ่ ในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครศรีธรรมราช พัทลุงและสงขลาจ�ำนวน 124 ครัวเรือนเครือ่ งมือวิจยั ใช้
แบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิดและวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้สถิตพิ รรณนาพืน้ ฐานและสถิตเิ ชิงอ้างอิงและ
การวิจยั เชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนือ้ หาจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และประชุมกลุม่ ย่อยผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักใน
พื้นที่ศึกษาจ�ำนวน 12 คนผลการวิจัยพบว่า ความเสี่ยงหลักที่เกิดขึ้นทางเกษตรกรรมของการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง
เป็นความเสี่ยงทางด้านการผลิต ปัจจัยเสี่ยงหลักที่ส่งผลกระทบต่อการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งและรูปแบบการปรับ
ตัวประกอบด้วย 1. การลดลงของพืน้ ทีน่ าและแหล่งน�ำ ้ 2. ทีน่ าขาดความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร ในส่วนของ
รูปแบบการปรับตัวไม่หลากหลายโดยส่วนใหญ่เป็นการปรับตัวระยะสัน้
บทความทีเ่ ก้า เรือ่ ง การจัดสวัสดิการสังคมส�ำหรับผูส้ งู อายุในระดับต�ำบลอย่างมีสว่ นร่วม โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ บุญวิเศษ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสถานภาพการจัดสวัสดิการสังคม
ส�ำหรับผู้สูงอายุในระดับต�ำบล ของอ�ำเภอในจังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาการจัดสวัสดิการสังคมส�ำหรับผู้สูง
อายุในระดับต�ำบล ของอ�ำเภอในจังหวัดชลบุรี 3) เพือ่ ก�ำหนดรูปแบบการจัดการสวัสดิการสังคมส�ำหรับผูส้ งู
อายุในระดับต�ำบลอย่างมีสว่ นร่วม ประชากรผูส้ งู อายุรวม 1,382,847 คน และก�ำหนดกลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ศกึ ษา
โดยการใช้จำ� นวน 400 คน การศึกษาเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเป็นเครือ่ งมือ ส่วนการศึกษาเชิงคุณภาพใช้
วิธีการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม (Focus Group) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติเชิงพรรณนา

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 19
(Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิง
คุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนือ้ หา (Content Analysis) ผลการศึกษา พบว่า ผูส้ งู อายุทศี่ กึ ษาส่วนใหญ่เป็นเป็น
เพศชาย เมือ่ จ�ำแนกอายุตามช่วงชัน้ มีอายุ 60 - 69 ปี มากทีส่ ดุ สถานภาพการท�ำงานของผูส้ งู อายุ ส่วนใหญ่
ไม่ได้ทำ� งานแล้ว อาการเจ็บป่วยและโรคของผูส้ งู อายุ ทีพ่ บมากทีส่ ดุ คือ โรคความดันโลหิตสูง ความสามารถ
ในการปฏิบตั กิ จิ วัตรประจ�ำวันของผูส้ งู อายุ ผูส้ งู อายุตอ้ งอาศัยอุปกรณ์ชว่ ยเหลือในการด�ำรงชีวติ หลากหลาย
ประเภท ส่วนใหญ่ คือ ใช้แว่นตา สุขภาวะทางจิต และภาวะซึมเศร้าของผูส้ งู อายุในช่วง 2 สัปดาห์ ผลการศึกษา
มีดงั นี้ ผูส้ งู อายุ มีอาการปกติ ไม่มภี าวะซึมเศร้า สัมพันธภาพในครอบครัวของผูส้ งู อายุ สมาชิกในครอบครัวมี
ความสนใจเอาใจใส่ซงึ่ กัน เป็นส่วนใหญ่ สภาวะทางสังคม ด้านการศึกษาการเรียนรู้ ผูส้ งู อายุ จบมัธยมศึกษา
ปีที่ 6 จบประกาศนียบัตร/เทียบเท่า มากทีส่ ดุ การด�ำรงชีวติ ทางสังคม ในด้านการรับรูแ้ หล่งข้อมูล ข่าวสาร
จากสือ่ ต่างๆ ผูส้ งู อายุ ยังมีความสนใจรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารจากโทรทัศน์ มากทีส่ ดุ การประเมินความปลอดภัย
ในทีพ่ กั อาศัยของผูส้ งู อายุ ผลการศึกษามีดงั นี้ สิง่ ทีค่ วรใส่ใจและปรับสภาพแวดล้อมให้เกิดความปลอดภัยแก่
ผูส้ งู อายุมากทีส่ ดุ คือ การเข้าถึงสิทธิตา่ งๆ ของผูส้ งู อายุตาม พรบ. ผูส้ งู อายุ พ.ศ. 2546 (แก้ไข พ.ศ. 2553)
โดยผูส้ งู อายุสว่ นใหญ่ ไม่รสู้ ทิ ธิตามพระราชบัญญัตนิ ี้ เมือ่ สอบถามการเข้าถึงสิทธิตา่ งๆ ของผูส้ งู อายุโดยสิทธิ
และบริการทีผ่ สู้ งู อายุไม่รมู้ ากทีส่ ดุ คือ สิทธิในการเข้าชมอุทยานต่าง ๆ ผูส้ งู อายุมคี วามพึงพอใจในการบริการ
ดี อยูใ่ นระดับมาก คาดหวังต่อบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เอาใจ
ใส่ดแู ล บริการและแนะน�ำด้านต่าง ๆ ให้ดแู ลทัว่ ถึงทุกหมูบ่ า้ น ความคาดหวังต่อบทบาทของสมาชิกในชุมชน
ผูส้ งู อายุจำ� นวนคาดหวังให้สมาชิกในชุมชนช่วยเหลือผูอ้ นื่ ท�ำตัวเป็นแบบอย่างทีด่ /ี เป็นตัวอย่างทีด่ ขี องชุมชน
และคาดหวังให้สมาชิกในชุมชนให้ขา่ วสารทีถ่ กู ต้องและให้คำ� แนะน�ำ ความคาดหวังต่อบทบาทของครอบครัว
ครอบครัว ผู้สูงอายุคาดหวังให้ครอบครัวรักและพอใจในความรักที่มีให้แก่กันและกัน ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง มี
ความอบอุน่ ห่วงใยซึง่ กันและกัน รวมทัง้ คาดหวังให้ลกู หลานเอาใจใส่ดี ดูแลเอาใจใส่ ให้ความส�ำคัญกับผูส้ งู
อายุ และคาดหวังให้คำ� ปรึกษา แนะน�ำ แก่คนในครอบครัวความคาดหวังต่อบทบาทของตัวผูส้ งู อายุ โดยคาด
หวังให้ตวั ของผูส้ งู อายุมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม คาดหวังให้ผสู้ งู อายุเป็นแบบอย่างทีด่ ี เป็นหัวหน้าครอบครัวทีด่ /ี
เป็นทีเ่ คารพของคนในหมูบ่ า้ น
บทความทีส่ บิ เรือ่ ง อิทธิพลของวัฒนธรรมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพชีวติ ในงานทีม่ ตี อ่ ความสุข
ในการท�ำงานของพนักงานวิสาหกิจขนาดย่อมของอุตสาหกรรมเครือ่ งนุง่ ห่มในเขตกรุงเทพมหานคร โดย
ดร.ธัญนันท์ บุญอยู่ การศึกษาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา 1) ระดับของวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ คุณภาพ
ชีวติ ในงาน ความพึงพอใจในงาน พฤติกรรมการเป็นสมาชิกทีด่ ี และความสุขในการท�ำงาน 2) อิทธิพลคัน่ กลาง
ของความพึงพอใจในงานในฐานะปัจจัยทีเ่ ชือ่ มโยงระหว่างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพชีวติ ในงานสู่
ความสุขในการท�ำงาน และ 3) อิทธิพลคั่นกลางของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในฐานะปัจจัยที่เชื่อมโยง
ระหว่างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพชีวติ ในงานสูค่ วามสุขในการท�ำงานของพนักงานวิสาหกิจขนาด
ย่อมของอุตสาหกรรมเครือ่ งนุง่ ห่มในเขตกรุงเทพมหานคร โดยการศึกษาครัง้ นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงปริมาณทีใ่ ช้วธิ ี

20 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


การวิจยั เชิงส�ำรวจกับประชากร กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ พนักงานวิสาหกิจขนาดย่อมของอุตสาหกรรม
เครื่องนุ่งห่มในเขตกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 500 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้
ในการวิจยั คือ การวิเคราะห์คา่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง
โดยใช้โปรแกรม Smart PLS 2 ผลการวิจยั พบว่า 1) วัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้ คุณภาพชีวติ ในงาน ความพึง
พอใจในงาน พฤติกรรมการเป็นสมาชิกทีด่ ี และความสุขในการท�ำงาน มีคา่ เฉลีย่ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก โดย
มีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 3.66, 3.61, 3.55, 3.79 และ 3.72 ตามล�ำดับ 2) ความพึงพอใจในงานเป็นปัจจัยคัน่ กลางที่
เชือ่ มโยงระหว่างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรูแ้ ละคุณภาพชีวติ ในงานสูค่ วามสุขในการท�ำงานของพนักงาน และ
3) พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีเป็นปัจจัยคั่นกลางที่เชื่อมโยงระหว่างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพ
ชีวติ ในงานสูค่ วามสุขในการท�ำงานของพนักงานเช่นกัน
บทความที่สิบเอ็ด เรื่อง ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมและวัฒนธรรมองค์การเชิง
จริยธรรมกับประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหม โดย ดร.ณัฐวัชร จันทโรธรณ์ และ
ดร.ไพโรจน์ ญัตติอคั รวงศ์ การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์ คือ 1) เพือ่ ศึกษาระดับความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ
ผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงเชิงจริยธรรมวัฒนธรรมเชิงจริยธรรมและ ประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขต
สายไหม และ 2) เพือ่ ศึกษาระดับอิทธิพลของภาวะผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงเชิงจริยธรรมและวัฒนธรรมองค์การ
เชิงจริยธรรมทีม่ ตี อ่ ประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหมโดยใช้วธิ กี ารศึกษาเชิงปริมาณด้วย
การวิจยั แบบส�ำรวจ หน่วยทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์คอื โรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหม จ�ำนวน 9 โรงเรียน
ซึ่งได้รับข้อมูลมาวิเคราะห์ในระดับบุคคลได้รับจ�ำนวนแบบสอบถามที่สามารถน�ำมาวิเคราะห์จ�ำนวน 72 ชุด
ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผล
ของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหมในระดับ0.98 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วัฒนธรรม
องค์การเชิงจริยธรรมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหมใน
ระดับ 0.84 อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01เมือ่ พิจารณาค่าสัมประสิทธิถ์ ดถอยพหุคณู มาตรฐานของภาวะ
ผูน้ ำ� การเปลีย่ นแปลงเชิงจริยธรรม มีอทิ ธิพลต่อระดับประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหม
เท่ากับ 0.939 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01และวัฒนธรรมองค์การเชิงจริยธรรมมีอิทธิพลต่อระดับ
ประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหมเท่ากับ 0.546 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
นอกจากนี้ ค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์พหุคณ ู ก�ำลังสอง (R²) มีคา่ เท่ากับ 0.881 หมายความว่าร้อยละ 88.10
ของความแปรปรวนในประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหมถูกท�ำนายได้ดว้ ยภาวะผูน้ ำ� การ
เปลีย่ นแปลงเชิงจริยธรรมและวัฒนธรรมองค์การเชิงจริยธรรม
บทความทีส่ บิ สอง เรือ่ ง รูปแบบการใช้กฎหมายของบุคลากรมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ โดย
นางสาวรพีพรรณ วงศ์ศริ เิ ดช, ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์, รองศาสตราจารย์ ดร. บรรพต
วิรณ ุ ราช และ ดร.ปิยวรรณ สิรปิ ระเสริฐศิลป์ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา รูปแบบ ขัน้ ตอนและวิธปี ฏิบตั ใิ นการ
ใช้กฎหมายของบุคลากรมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล และเพือ่ ศึกษารูปแบบ

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 21
การใช้กฎหมายทีพ่ งึ ประสงค์ของบุคลากรมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ เป็นการวิจยั เชิงคุณภาพ โดยใช้วธิ วี จิ ยั เท
คนิคเดลฟายและการสัมภาษณ์เชิงลึก ทัง้ นีก้ ลุม่ ตัวอย่างเป็นผูท้ รงคุณวุฒเิ ลือกเฉพาะเจาะจงทีเ่ ป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ
ด้านกฎหมาย จ�ำนวน 20 คนและกลุม่ ตัวอย่างในการสัมภาษณ์เชิงลึกจ�ำนวน 6 คน เลือกเฉพาะเจาะจงทีฟ่ อ้ ง
หรือก�ำลังฟ้องคดีกบั มหาวิทยาลัยในก�ำกับ ผลการวิจยั พบว่า เมือ่ บุคลากรของรัฐด้านอาจารย์และพนักงาน
ฝ่ายสนับสนุน เมือ่ มีปญ ั หากับคณะผูบ้ ริหาร และต้องการใช้กฎหมายให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล มีรปู
แบบการใช้ 5 รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบที่ 1 ร้องคณะกรรมการอุทธรณ์รอ้ งทุกข์ของมหาวิทยาลัยแล้วยืน่ ฟ้องศาล
ปกครองหรือศาลยุตธิ รรม (คดีแพ่ง, คดีอาญา) รูปแบบที่ 2 ร้องทุกข์ตอ่ ต�ำรวจท้องทีห่ รือต�ำรวจกองปราบ
ปรามแล้วส่งคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐหรือคณะกรรมการป้องกันและปราบ
ปรามการทุจริตแห่งชาติหรือส�ำนักงานตรวจเงินแผ่นดินเพื่อฟ้องศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบหรือ
ศาลยุตธิ รรมหรือศาลปกครอง รูปแบบที่ 3 ร้องศูนย์ดำ� รงธรรมหรือร้องคณะรักษาความสงบแห่งชาติแล้วส่ง
ฟ้องศาลปกครองหรือศาลยุตธิ รรมหรือศาลอาญาคดีทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ รูปแบบที่ 4 ร้องคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา, ร้องคณะกรรมการการอุดมศึกษา,ร้องกระทรวงศึกษาธิการ,
ฟ้องศาลปกครอง รูปแบบที่ 5 ส�ำนักงานคุม้ ครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุตธิ รรม, ส�ำนักงานอัยการ(พิเศษ)
ฝ่ายคดีปกครอง ด�ำเนินการเจรจาไกล่เกลีย่ ก่อนการฟ้องคดี (กระบวนการยุตธิ รรมเชิงสมานฉันท์)
บทความที่สิบสาม เรื่อง การจัดการความมั่นคงด้านแรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือภาคอุตสาหกรรม
ของประเทศไทย โดย นายสวรรค์นมิ ติ เตชาวงศ์, ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนุรตั น์ อนันทนาธร, ผูช้ ว่ ย
ศาสตราจารย์ ดร.สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ และรองศาสตราจารย์ ดร.จีระ ประทีป การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์
เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับนโยบายและมาตรการกฎหมาย ในการจัดการความมั่นคงด้าน
แรงงานต่างด้าวไร้ฝมี อื ภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย และเพือ่ ศึกษาการด�ำเนินการ ปัญหา ข้อจ�ำกัด และ
เสนอแนวทางในการพัฒนาการจัดการความมัน่ คงด้านแรงงานต่างด้าวไร้ฝมี อื ภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย
รูปแบบการศึกษาใช้ระเบียบวิธวี จิ ยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research)โดยการได้มาของผูใ้ ห้ขอ้ มูลส�ำคัญ คือ
1. การวิจยั เอกสาร และ 2. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผูใ้ ห้ขอ้ มูลทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ส�ำนักจัดหางานจังหวัดชลบุร,ี
เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง, บุคลากรสาธารณะสุขจังหวัดชลบุรี, เจ้าหน้าต�ำรวจสถานีต�ำรวจภูธรจังหวัดชลบุรี,
ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี, นักวิชาการด้านแรงงาน, ผู้ประกอบการในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี,
ลูกจ้างแรงงานต่างด้าว จ�ำนวน 14 ราย การวิเคราะห์ขอ้ มูล จะน�ำข้อมูลทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์
ร่วมกับข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษาเอกสาร วิธกี ารวิเคราะห์ คือ พรรณนาข้อมูลและวิเคราะห์ตคี วามข้อมูลเพือ่
สร้างข้อสรุปเกี่ยวกับแนวทางที่เหมาะสมส�ำหรับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ ผลการวิจัยพบว่า
1. หน่วยงานทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องกับนโยบายและมาตรการในการจัดการความมัน่ คงด้านแรงงานต่างด้าวไร้ฝมี อื
ภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทยนั้นมีส�ำนักบริหารแรงงานต่างด้าว, กรมการจัดหางาน, กระทรวงแรงงาน
ด�ำเนินการเป็นหลัก 2. กฎหมายที่ใช้ในการจัดการความมั่นคงด้านแรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือภาคอุตสาหกรรม
ของประเทศไทย พบว่า มีกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องหลักอยู่ 6 ฉบับ 3. ปัญหาทีส่ ำ� คัญของการจัดการความมัน่ คง

22 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


ด้านแรงงานต่างด้าว ได้แก่ 1) ด้านความมั่นคง คือ ปัญหาด้านนโยบายแรงงานแรงงานต่างด้าวมีลักษณะ
ระยะสัน้ แบบปีตอ่ ปี ไม่ชดั เจน ไร้ทศิ ทาง ไม่แน่นอน การขาดการประสานงาน และบูรณาการร่วมกันระหว่าง
หน่วยงาน รวมถึงความโปร่งใสในการท�ำงานของเจ้าหน้าที ่ 2) ปัญหาด้านเศรษฐกิจ พบว่าระเบียบในการ
ขออนุญาตท�ำงาน และการต่อใบอนุญาตท�ำงานนัน้ มีความยุง่ ยากและซับซ้อน ไม่สะดวกต่อผูว้ า่ จ้าง และตัว
แรงงานต่างด้าว 3) ปัญหาด้านสังคม/สาธารณสุข พบว่า มีปญ ั หาชุมชนแออัดอัน ปัญหาความแตกต่างทาง
ด้านภาษา วัฒนธรรม และ 4) ด้านสิทธิมนุษยชน มีปญ ั หาด้านการค้ามนุษย์ และการเข้าถึงการบริการภาครัฐ
ขัน้ พืน้ ฐาน ของแรงงานต่างด้าวเว้น 8
บทความที่สิบสี่ เรื่อง การส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐอินโดนีเซียที่มีต่อนักลงทุนไทย โดย
นายธีระพงษ์ ภูรปิ าณิก และผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บรรพต วิรณ ุ ราช การวิจยั นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา
ปัญหา และอุปสรรค ของนักลงทุนไทยในการลงทุนธุรกิจในสาธารณรัฐอินโดนีเซีย และเพือ่ ศึกษาแนวทางการ
พัฒนาในการส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐอินโดนีเซียทีม่ ตี อ่ นักลงทุนไทย ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพรวมนัก
ลงทุนมีปญ ั หา และอุปสรรคด้านการลงทุนทางตรงระหว่างประเทศในสาธารณรัฐอินโดนีเซีย อยูใ่ นระดับปาน
กลาง 4 ด้านดังนี้ 1) ด้านกายภาพ ประเด็นทีน่ กั ลงทุนมี ปัญหาและอุปสรรคเป็นล�ำดับคือ ความสะดวกของ
การขนส่งโลจิสติกส์ภายในประเทศ 2) ด้านกฎระเบียบ ประเด็นทีน่ กั ลงทุนมีปญ ั หาและอุปสรรคเป็นล�ำดับ
แรกคือ การใช้กฎหมายแรงงานที่เป็นสากล 3) ด้านเศรษฐกิจ ประเด็นที่นักลงทุนมีปัญหาและอุปสรรคเป็น
ล�ำดับแรกคือ เสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ 4) ด้านอื่น ๆ ประเด็นที่นักลงทุนมี
ปัญหาและอุปสรรคเป็นล�ำดับแรกคือ การเข้าร่วมเป็นภาคีของกลุม่ อุตสาหกรรมหรือนักลงทุนภายในประเทศ
ส่วนด้านสังคม นักลงทุนมีปญ ั หาและอุปสรรคอยูใ่ นระดับน้อย ประเด็นทีน่ กั ลงทุนมีปญ ั หาและอุปสรรคเป็น
ล�ำดับแรกคือ ความเป็นชาตินยิ มของชาวอินโดนีเซีย ส่วนปัญหาและอุปสรรคด้านระบบราชการของสาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย ด้านระบบคุณธรรม ด้านความรับผิดชอบและตรวจสอบได้ และด้านความโปร่งใส โดยภาพรวมนัก
ลงทุนมีปัญหาและอุปสรรคอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านความเป็นมืออาชีพ และด้านความเท่าเทียมในการเข้า
ถึง โดยภาพรวมนักลงทุน มีปัญหาและอุปสรรคอยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการส่งเสริมให้นักลงทุนไทยไปลงในประเทศสาธารณรัฐ
อินโดนีเซีย ดังนี้ 1) นักลงทุนไทยควรมีการเลือกใช้การขนส่งทางรางที่แม่นย�ำหรือหาสถานที่ตั้งโรงงานใน
ท�ำเลทีใ่ กล้แหล่งวัตถุดบิ 2) นักลงทุนไทยควรมีการอบรมเจ้าหน้าทีใ่ ห้มคี วามเข้าใจวัฒนธรรม ประเพณีของคน
มุสลิม 3) รัฐบาลอินโดนีเซียควรมีการปรับแก้กฎหมายการลงทุนและกฎหมายแรงงานให้มคี วามทันสมัยเป็น
มาตรฐาน 4) นักลงทุนไทยควรมีฐานข้อมูลค่าครองชีพของแต่ละประเทศเพือ่ ก�ำหนดค่าจ้างของแรงงานในต่าง
ประเทศ 5) นักลงทุนไทยควรมีการน�ำเทคโนโลยีทที่ นั สมัยมาประยุกต์ใช้แทนแรงงานคนในอนาคต 6) รัฐบาล
อินโดนีเซียควรมีระบบการสรรหาบุคลากรที่เป็นระบบตามที่กฎหมายก�ำหนดและเป็นมาตรฐานเดียวกัน 7)
รัฐบาลอินโดนีเซียควรปรับปรุงและสร้างโครงสร้างทีท่ ำ� ให้เกิดการรายงานผลแก่นกั ลงทุน 8) รัฐบาลอินโดนีเซีย
ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้นกั ลงทุนส่งหลักฐานการทุจริตคอรัปชัน่ สายตรงถึงประธานาธิบดี 9) นักลงทุนไทย

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 23
ควรมีการพัฒนาความสามารถและทักษะในการท�ำงาน เช่น การใช้ภาษา และความสามารถในการสือ่ สาร และ
10) รัฐบาลอินโดนีเซียควรเพิม่ ช่องทางการเข้าถึง โดยการตัง้ ศูนย์การให้ขอ้ มูลทัง้ ในประเทศไทยและอินโดนีเซีย
บทความที่สิบห้า เรื่อง การพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อรองรับการขยายตัวของการท่องเที่ยวใน
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกพื้นที่จังหวัดระยอง โดย ดร.ศิริญญา วิรุณราช และนายสมชาย โต
ศุกลวรรณ์ การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาข้อมูลประเด็นส�ำคัญในการพัฒนาสภาพแวดล้อมการท่อง
เทีย่ วจังหวัดระยองทีเ่ ป็นปัญหาและเป็นจุดเด่นในการดึงดูดนักท่องเทีย่ ว โดยใช้การวิจยั ด้วยเทคนิคเดลฟาย 3
รอบ โดยรอบแรกเป็นการสัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญจ�ำนวน 17 คน รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นการยืนยันค�ำตอบ
จากผูเ้ ชีย่ วชาญชุดเดิม โดยข้อค�ำถามเป็นแบบ rating scale 5 อันดับซึง่ ผลการศึกษา ได้ปจั จัยหรือรูปแบบ
ทีส่ ง่ ผลการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพือ่ รองรับการขยายตัวของการท่องเทีย่ วในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง จ�ำนวน 20 ด้าน ดังนี้ ประกอบด้วย ด้านรถโดยสารสาธารณะ ด้านร้านอาหารส�ำหรับ
นักท่องเที่ยวในจังหวัดระยอง ด้านที่พักโรงแรมมุ่งเน้นการพัฒนาโรงแรมขนาดเล็ก เพื่อรองรับตลาดนักท่อง
เทีย่ วทีช่ อบท่องเทีย่ วด้วยตนเอง ด้านสถานพยาบาล ด้านเส้นทางสถานทีท่ อ่ งเที่ยว ด้านสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว
ธรรมชาติของชุมชนทีส่ ร้างขึน้ ด้านการจัดการขยะของเสียถูกหลักสาธารณสุข ด้านการปลูกต้นไม้เสริมต้นไม้
ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ด้านกิจกรรมเสริมจากการชมธรรมชาติของแหล่งท่องเที่ยว ด้านร้านจ�ำหน่ายของที่
ระลึก ด้านแหล่งน�ำ้ อุปโภคบริโภค ด้านวัฒนธรรม ประเพณีและงานเทศกาล ด้านธนาคาร ธนาคารต้องน�ำ
แนวคิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนในด้านเศรษฐกิจ ด้านหน่วยงานการท่องเทีย่ ว ด้านบริการน�ำเทีย่ วและมัคคุเทศก์
ด้านร้านของทีร่ ะลึก ด้านการอ�ำนวยความสะดวกในการเข้าออกประเทศ ด้านระเบียบพิธกี ารศุลกากร ด้าน
การจัดการความปลอดภัยในแหล่งท่องเทีย่ ว ด้านการจัดการข้อมูลข่าวสารทางการท่องเทีย่ ว ซึง่ ปัจจัยทัง้ 20
ด้าน สามารถน�ำมาสร้างรูปแบบ การพัฒนาสภาพแวดล้อมเพือ่ รองรับการท่องเทีย่ ว แบ่งออกเป็น 4 กลุม่ คือ
กลุม่ โครงสร้างพืน้ ฐาน กลุม่ ปัจจัยสนับสนุนการท่องเทีย่ ว กลุม่ ปัจจัยทางด้านการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว และ
กลุม่ ปัจจัยในการด�ำเนินการของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
บทความที่สิบหก เรื่อง การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ
ของส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจตามแนวคิดการบริหารจัดการที่ยั่งยืน โดย นายกฤดา
กฤติยาโชติปกรณ์ และรองศาสตราจารย์ ดร.วิรัช วิรัชนิภาวรรณ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษา 1) ปัญหาเกีย่ วกับการบริหารจัดการเพือ่ ส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐของส�ำนักงาน
คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจตามแนวคิดการบริหารจัดการทีย่ งั่ ยืน 2) แนวทางการปรับปรุงการบริหาร
จัดการเพื่อส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐของส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
ตามแนวคิดการบริหารจัดการที่ยั่งยืน และ 3) ยุทธศาสตร์ของแนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อ
ส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐของส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจตามแนวคิด
การบริหารจัดการทีย่ ง่ั ยืน ทัง้ นี้ ได้นำ� แนวคิดการบริหารจัดการทีย่ งั่ ยืน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความเจริญก้าวหน้า
เทคโนโลยี ส่วนรวม สิง่ แวดล้อม และคุณภาพชีวติ มาปรับใช้เป็นกรอบแนวคิดของการศึกษาครัง้ นี้ ระเบียบ

24 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


วิธวี จิ ยั ของการศึกษาครัง้ นี้ ได้ออกแบบรูปแบบการวิจยั ให้เป็นวิธกี ารวิจยั แบบผสมโดยเน้นการวิจยั เชิงปริมาณ
เป็นหลักและใช้การวิจยั เชิงคุณภาพเป็นข้อมูลเสริม การวิจยั เชิงปริมาณเป็นการวิจยั เชิงส�ำรวจเพือ่ ให้ได้ขอ้ มูล
จากกลุ่มตัวอย่างเป็นจ�ำนวนมาก โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม
นั้นได้ผ่านการทดสอบเพื่อหาค่าความเที่ยงตรง ได้ค่าเท่ากับ 0.90 และผ่านการหาค่าความเชื่อถือได้ที่ระดับ
0.98 ประชากร คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐของส�ำนักงาน
คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจทั้งหมดในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 1,125 คน ส่วนกลุ่มตัวอย่าง
คือ ประชากรทัง้ หมดดังกล่าว การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามด�ำเนินการระหว่างวันที่ 1-31 ตุลาคม 2561 เก็บ
รวบรวมแบบสอบถามที่สมบูรณ์กลับคืนมาได้จ�ำนวน 935 ชุด คิดเป็นร้อยละ 83.11 ของประชากรทั้งหมด
1,125 คน วิธวี เิ คราะห์ขอ้ มูล เป็นการวิเคราะห์ในรูปตาราง รวมทัง้ ใช้รปู แบบการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ส�ำหรับ
สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็นสถิตเิ ชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ใน
ส่วนของการวิจยั เชิงคุณภาพ เป็นการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผูเ้ ชีย่ วชาญ จ�ำนวน 9 คน ซึง่ ได้มาจากการสุม่
ตัวอย่างตามแนวคิดสโนว์บอลล์ และเป็นการสัมภาษณ์แบบ ตัวต่อตัว ทีละคน ๆ ละไม่นอ้ ยกว่า 60 นาที ด้วย
แบบสัมภาษณ์แนวลึกทีม่ โี ครงสร้าง ผลการศึกษาปรากฏว่า 1) ปัญหาเกีย่ วกับการบริหารจัดการทีส่ ำ� คัญ คือ
ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจประสานงานกับหน่วยงานอืน่ เพือ่ ส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุน
ในกิจการของรัฐในทิศทางทีค่ ำ� นึงถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศเพียงพอหรือไม่ 2) แนวทางการปรับปรุง
การบริหารจัดการทีส่ ำ� คัญ คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจควรประสานงานกับหน่วยงานอืน่
เพือ่ ส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐในทิศทางทีค่ ำ� นึงถึงความเจริญก้าวหน้าของประเทศ และ
สนับสนุนค่าใช้จา่ ยเพิม่ มากขึน้ ด้วย และ 3) ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจควรก�ำหนดและน�ำ
ยุทธศาสตร์ของแนวทางการปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ
ตามแนวคิดการบริหารจัดการทีย่ งั่ ยืนไปปรับใช้เป็นกลุม่ ตัวชีว้ ดั ส�ำคัญของการปฏิบตั งิ าน และการน�ำไปสูก่ าร
ปฏิบตั จิ ริง โดยยุทธศาสตร์ดงั กล่าวควรประกอบด้วย 5 ด้าน เรียงตามล�ำดับความส�ำคัญจากมากไปน้อย ดังนี้
ด้านความเจริญก้าวหน้า เทคโนโลยี ส่วนรวม สิง่ แวดล้อม และคุณภาพชีวติ
บทความทีส่ บิ เจ็ด เรือ่ ง การมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมความเป็นพลเมืองของกรรมการศูนย์สง่ เสริม
พัฒนาประชาธิปไตยต�ำบลในเขตภาคเหนือของประเทศไทย โดย นางสาวรัชตา ค�ำเสมานันทน์ โดยมี
วัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษา 1) ระดับความเป็นพลเมือง และระดับการมีสว่ นร่วมของกรรมการศูนย์สง่ เสริมพัฒนา
ประชาธิปไตยต�ำบล 2) เปรียบเทียบของความเป็นพลเมืองจ�ำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของกรรมการศูนย์สง่
เสริมพัฒนาประชาธิปไตยต�ำบล 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นพลเมืองกับการมีสว่ นร่วมของกรรมการศูนย์
ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยต�ำบล 4) ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมความเป็นพลเมือง และ 5)
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความเป็นพลเมืองของกรรมการศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยต�ำบลในเขต
ภาคเหนือของประเทศไทย การวิจยั เชิงปริมาณกลุม่ ตัวอย่างได้แก่ กรรมการศูนย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตย
ต�ำบลจ�ำนวน 346 ตัวอย่าง ก�ำหนดขนาดของกลุม่ ตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Krecjcie & Morgan เก็บรวบรวม

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 25
ข้อมูลด้วยแบบสอบถามซึง่ มีคา่ ความเชือ่ มัน่ ทัง้ ฉบับเท่ากับ 0.99 วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการใช้ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ ง
เบนมาตรฐาน สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และการการถดถอยแบบ
พหุคูณเชิงเส้นตรง ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารหรือผู้แทนจากส�ำนักงานคณะ
กรรมการการเลือกตัง้ และผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการมีสว่ นร่วมเป็นพลเมือง รวมทัง้ สิน้ 11 คน ใช้วธิ เี ก็บข้อมูลจาก
แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการวิเคราะห์เนือ้ หา ผลการวิจยั พบว่า ผลการวิจยั พบว่า ระดับความเป็น
พลเมือง และระดับการมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมความเป็นพลเมืองโดยรวม อยูใ่ นระดับมาก ในขณะทีก่ รรมการ
ศูนย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยต�ำบลทีม่ เี พศ ระดับการศึกษา อาชีพ และการเป็นสมาชิกพรรคการเมืองต่าง
กัน มีระดับความเป็นพลเมืองโดยรวมแตกต่างกัน ความเป็นพลเมืองโดยรวมกับการมีสว่ นร่วมในการส่งเสริม
ความเป็นพลเมือง มีความสัมพันธ์ระหว่างกันในระดับสูงมาก โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
เท่ากับ 0.81 (R = 0.81) ปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อการมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมความเป็นพลเมือง มีจำ� นวน 6 ปัจจัย
ดังนี้ ปัจจัยการก�ำหนดกิจกรรม ปัจจัยภายในบุคคล ปัจจัยการก�ำหนดเวลาทีแ่ น่ชดั ปัจจัยทีเ่ ป็นส่วนประกอบ
ปัจจัยทีม่ าจากทางราชการ และปัจจัยการเปิดโอกาสในการเข้าร่วม ส่วนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความ
เป็นพลเมืองให้กบั กรรมการศูนย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยต�ำบลในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ประกอบ
ด้วย แนวทางส่งเสริมความเป็นพลเมืองใน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านความรูท้ างการเมืองและประชาธิปไตย ด้านความ
เข้าใจในความเป็นพลเมือง ด้านการมีคณ ุ ธรรมและจริยธรม ด้านการมีสว่ นร่วมในนโยบาย ด้านความชัดเจน
ของนโยบาย และด้านความเพียงพอของทรัพยากรในการด�ำเนินงาน
บทความที่สิบแปด เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรนักเรียนนายร้อยต�ำรวจสู่ต�ำรวจอาเซียน โดย
พันต�ำรวจโทพีรพล เสลารัตน์ และดร.ทักษญา สง่าโยธิน การวิจยั ครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาถึงเนือ้ หา
หลักสูตรพร้อมพัฒนาหลักสูตรของโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจและวิธีการศึกษาของนักเรียนนายร้อยต�ำรวจให้
เป็นต�ำรวจของอาเซียน จากการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่มีความรู้ความสามารถด้านการศึกษา พบว่า กลุ่มวิชาการเรียนในโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ ที่สอดคล้องกับ
การปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจไทยและกลุม่ ประเทศในอาเซียนประกอบด้วยกลุม่ รายวิชา 8 ด้าน ดังนีค้ อื
ด้านกฎหมาย ด้านวิชาการ ด้านการสืบสวนอาชญากรรมสมัยใหม่และอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ การตรวจ
สถานทีเ่ กิดเหตุ ด้านงานพิสจู น์หลักฐาน ด้านงานบริหารแบบมนุษยสัมพันธ์โดยการมีสว่ นร่วมของชุมชน ด้าน
การบริหารแบบระบบ และด้านภาษาและวัฒนธรรม ในการเรียนการสอนควรมีการปรับด้านสภาพแวดล้อม
ทางการเรียนโดยการจ�ำลองการฝึกให้นักเรียนนายร้อยต�ำรวจได้ปฏิบัติเสมือนจริง และควรมีการพัฒนาการ
เรียนการสอนแบบออนไลน์ สามารถเสริมข้อมูลและความรูใ้ หม่ ในการเรียนการสอนเพือ่ ให้เกิดความต่อเนือ่ ง
ในกิจกรรมการเรียนของนักเรียนนายร้อยต�ำรวจและมีการบูรณความรูร้ ะหว่างครูกบั นักเรียนอย่างต่อเนือ่ ง
บทความที่สิบเก้า เรื่อง การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ง
อันดามันตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาวจริน เอกา ระเบียบวิธวี จิ ยั ของการศึกษาครัง้
นี้ ใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมผสานโดยเน้นการวิจัยเชิงปริมาณเป็นหลักและใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเป็น

26 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


ข้อมูลเสริม การวิจัยเชิงปริมาณเป็นการวิจัยเชิงส�ำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลจากประชากรเป็นจ�ำนวนมาก โดยใช้
แบบสอบถามเป็นเครือ่ งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามได้ผา่ นการทดสอบเพือ่ หาค่า ความ
เทีย่ งตรง ได้คา่ เท่ากับ 0.892 และผ่านการหาค่าความเชือ่ ถือได้ ทีร่ ะดับ 0.88 ประชากร คือ ประชาชนทัง้ หมด
ทีอ่ ยูใ่ นเขตพืน้ ทีก่ ารท่องเทีย่ วของกลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อันดามัน 5 จังหวัด ได้แก่ 1) ภูเก็ต 2) พังงา 3) กระบี่
4) ตรัง และ 5) ระนอง รวมจ�ำนวน 1,793,242 คน กลุม่ ตัวอย่างทัง้ หมด มีจำ� นวน 1,111 คน ซึง่ ได้มาจาก
การค�ำนวณเพือ่ หาขนาดของกลุม่ ตัวอย่างตามสูตรของทาโร่ ยามาเน่ การเก็บรวบรวมข้อมูลสนามด�ำเนินการ
ระหว่างวันที่ 2 มิถนุ ายน 2559 ถึง วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 รวม 50 วัน เก็บรวบรวมแบบสอบถามทีส่ มบูรณ์
กลับคืนมาได้จำ� นวน 979 คน คิดเป็นร้อยละ 88.12 ของกลุม่ ตัวอย่างทัง้ หมด 1,111 คน วิธวี เิ คราะห์ขอ้ มูล
เป็นการวิเคราะห์ในรูปตาราง รวมทั้งใช้รูปแบบการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ส�ำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลีย่ ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ค่าการถดถอยพหุคณ ู และการหาค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ของ
เพียร์สัน ในส่วนของการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ให้ข้อมูลหลัก
จ�ำนวน 10 คน ซึง่ สุม่ ตัวอย่างตามแนวคิดสโนบอล ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัญหาเกีย่ วกับการบริหารจัดการที่
ส�ำคัญคือ กลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อันดามันใช้งบประมาณในการบริหารจัดการเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เช่น ใช้
ในการเพิม่ ขยาย หรือกระจายเส้นทางคมนาคมขนส่งไปยังแหล่งท่องเทีย่ วต่าง ๆ ทีไ่ ม่เหมาะสม หรือใช้นอ้ ย
เกินไป 2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการทีส่ ำ� คัญคือ กลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อันดามันควรบริหารจัดการ
เพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วในเรือ่ งการเพิม่ ขยาย หรือกระจายเส้นทางคมนาคมขนส่งไปยังแหล่งท่องเทีย่ วต่าง
ๆ โดยขอความร่วมมือจากเครือข่าย เช่น ภาคประชาชน กลุม่ นักธุรกิจ กลุม่ นักลงทุน และนักพัฒนาเอกชน
พร้อมทัง้ ควรประชาสัมพันธ์ หรือชีแ้ จงให้ประชาชนทราบและเข้าใจเรือ่ งดังกล่าวโดยผ่านเครือข่าย หรือการ
สือ่ สารของกลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝง่ั อันดามันด้วย 3) ยุทธศาสตร์ของแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการทีส่ ำ� คัญ
คือ การมียทุ ธศาสตร์ทสี่ ง่ เสริมการท่องเทีย่ วในเรือ่ งการเพิม่ ขยาย หรือกระจายเส้นทางคมนาคมขนส่งไปยัง
แหล่งท่องเทีย่ วต่าง ๆ ของกลุม่ จังหวัดภาคใต้อนั ดามันตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทีไ่ ด้มาตรฐานสากล
และ4) ตัวแบบการบริหารจัดการ คือ การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ง
อันดามันตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเรียงล�ำดับความส�ำคัญจากมากไปน้อย ได้ดงั นี้ 1) การบริหาร
จัดการทีเ่ กีย่ วข้องกับสังคม 2) การบริหารจัดการอ�ำนาจหน้าที่ 3) การบริหารจัดการนโยบาย 4) การอ�ำนวย
การ และ 5) การบริหารจัดการคุณธรรม
บทความที่ยี่สิบ เรื่อง การบริหารจัดการการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ชุมชนของจังหวัด
นครนายก ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นายศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์ และดร.สัมพันธ์ พลภักดิ์
การศึกษาครั้งนี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัญหาการบริหารจัดการการส่งเสริมเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ชุมชน
ของจังหวัดนครนายกตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการพัฒนา การบริหารจัดการการส่งเสริม
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ชมุ ชนของจังหวัดนครนายกตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และปัจจัยทีม่ สี ว่ นส�ำคัญ
ท�ำให้แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการการส่ง เสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ชมุ ชนของจังหวัดนครนายกตาม

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 27
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประสบผลส�ำเร็จ ท�ำการวิจัยแบบผสมผสาน โดยเน้นการวิจัยเชิงคุณภาพเป็น
หลัก และใช้การวิจยั เชิงปริมาณเป็นข้อมูลเสริม การวิจยั เชิงคุณภาพ มีการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผูเ้ ชีย่ วชาญ
จ�ำนวน 5 คน และการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะผูเ้ ชีย่ วชาญระดับปฏิบตั ิ จ�ำนวน 13 คน มีโครงสร้าง การวิจยั
เชิงปริมาณ เป็นการวิจยั เชิงส�ำรวจ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลจากประชากรเป็นจ�ำนวนมาก โดยใช้แบบสอบถามทีผ่ า่ น
การหาค่าความ เทีย่ งตรงทีร่ ะดับ 0.86 และมีคา่ ความเชือ่ ถือทีร่ ะดับ 0.89 เป็นเครือ่ งมือ ประชากร คือ สมาชิก
ของกลุม่ วิสาหกิจชุมชนทัง้ หมดในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครนายก วิธวี เิ คราะห์ขอ้ มูล เป็นการวิเคราะห์ในรูปตาราง รวม
ทัง้ ใช้รปู แบบวิเคราะห์ เชิงพรรณนา ส�ำหรับสถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่
และค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัญหาเกีย่ วกับการบริหารจัดการทีส่ ำ� คัญ คือ จังหวัดไม่ได้
บริหารจัดการด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์มากเท่าที่ควรทั้งในด้านบุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ การ
ถ่ายทอดความรูใ้ ห้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง นอกจากนั้นยังขาดงบประมาณที่เพียงพอ
และขาดการท�ำงานแบบบูรณาการของหน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้อง 2) แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการ
ที่ส�ำคัญ คือ จังหวัดควรบริหารจัดการด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ ทั้งในด้านบุคลากร เครื่องมือ/
อุปกรณ์ และถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั กลุม่ วิสาหกิจชุมชน อย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง 3) ปัจจัยทีม่ สี ว่ นส�ำคัญท�ำให้
แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการประสบ ผลส�ำเร็จที่ส�ำคัญ คือ การที่รัฐบาลมีนโยบายด้านการส่งเสริม
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ชุมชนที่ชัดเจนต่อเนื่อง ผู้บริหารของจังหวัดควรมีวิสัยทัศน์ที่ดี รวมถึงให้การสนับสนุน
ด้านงบประมาณอย่าง เพียงพอและการท�ำงานแบบบูรณาการ
บทความที่ยี่สิบเอ็ด เรื่อง ตัวแบบบริหารเชิงกลยุทธ์แบบโฮราเครซี่เพื่อพัฒนาศักยภาพทางการ
แข่งขันของพนักงานขายในธุรกิจเครือ่ งส�ำอางค์ โดย นางสาวปวีณา กลกิจชัยวรรณ, รองศาสตราจารย์
ดร.ธีระวัฒน์ จันทึก และรองศาสตราจารย์ ดร.พิทกั ษ์ ศิรวิ งศ์ งานวิจยั ฉบับนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของดุษฏีนพิ นธ์
เรือ่ งตัวแบบบริหารเชิงกลยุทธ์แบบโฮราเครซีเ่ พือ่ พัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันพนักงานขายในธุรกิจเครือ่ งส�ำ
อางค์การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมทางการการตลาดและการแข่งขันในธุรกิจเครือ่ งส�ำอางค์ในศตวรรษ
ที่ 21 รุนแรงขึน้ ทัง้ การออกนวัตกรรมใหม่ การตลาดแนวรุก องค์การในธุรกิจเครือ่ งส�ำอางค์เผชิญกับวิกฤต
ทางการจัดการมากมาย การเปลีย่ นแปลงผูบ้ ริโภค การแข่งขันทางตลาดการออกนวัตกรรมใหม่ มีเพิม่ ขึน้ การ
จัดการองค์การทั้งด้านวิธีกลยุทธ์ พนักงานขายต้องพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขัน ที่มีความรวดเร็ว ความ
ยืดหยุน่ คล่องตัว และสามารถปรับตัวให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลง ผูว้ จิ ยั ได้พฒ ั นาตัวแบบบริหารเชิงกลยุทธ์แบบ
โฮราเครซี่ เพือ่ พัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันของพนักงานขายในธุรกิจเครือ่ งส�ำอางค์ ในการปรับตัวจัดการ
ความเปลีย่ นแปลง และเพิม่ ความยืดหยุน่ ในการแข่งขัน ในธุรกิจเครือ่ งส�ำอางค์มกี ารออกนวัตกรรมใหม่ 6-7
แคมเปญต่อปี ใน 1 แคมเปญมีการออกสินค้าใหม่ถงึ 150-200 รายการ พนักงานขายจ�ำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพ
ในการจัดการเพือ่ การแข่งขันกับเวลาและช่วงชิงพืน้ ทีท่ างการแข่งขันและยอดขายทีร่ วดเร็ว วัตถุประสงค์ของ
งานวิจยั นี้ เพือ่ ศึกษาแนวโน้มขององค์ประกอบ ตัวแบบบริหารเชิงกลยุทธ์แบบโฮราเครซีเ่ พือ่ พัฒนาศักยภาพ
ทางการแข่งขันของพนักงานขายในธุรกิจเครือ่ งส�ำอางค์ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ใน

28 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


งานวิจยั เชิงคุณภาพ และวิธวี ทิ ยาการวัดองค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) ของตัว
ชีว้ ดั ผลการวิจยั เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ คือ PLACSEEK Model ซึง่ ประกอบด้วย การก�ำกับดูแลอย่าง
มีเมตตา (Kind Governance) แรงจูงใจทีม่ เี ป้าหมาย (Purposive Motivation) กระบวนการคิดเชิงสาเหตุ
(Logical Thinking) ภาวะผู้น�ำแบบมุ่งมั่นรับผิดชอบ (Accountability Leadership) การมุ่งลูกค้า และ
การสื่อสารแบบยืดหยุ่น (Customer Mania & Effective Communication) จิตวิญญาณของผู้ประกอบ
การ (Spirit of Entrepreneurship) การกระจายอ�ำนาจอย่างยืดหยุน่ (Elasticity Authority) บุคลิกภาพที่
ดี (Ergonomically Personality)
บทความที่ยี่สิบสอง เรื่อง การสะสมทุนของเครือธุรกิจครอบครัวและความขัดแย้งในการพัฒนา
อุตสาหกรรมภาคตะวันออก : กรณีศกึ ษา บริษทั ทีพไี อ จ�ำกัด (มหาชน) โดย นายศรายุทธ สรีระพร
และ รองศาสตราจารย์ ดร.สุธี ประศาสน์เศรษฐ การศึกษาวิจยั เรือ่ งนีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาพัฒนาการ
การสะสมทุนของธุรกิจครอบครัว ความขัดแย้งและปัจจัยทีท่ ำ� ให้เกิดความขัดแย้งในการสะสมทุน รวมถึงผลก
ระทบที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้ง กรณีศึกษาบริษัททีพีไอ จ�ำกัด (มหาชน) วิธีวิทยาในการศึกษาจะใช้วิจัยเชิง
คุณภาพแนวประวัติศาสตร์ การรวบรวมข้อมูลหลากหลายรูปแบบเชิงประสมประสาน เช่น การวิจยั เอกสาร
การสัมภาษณ์ การมีสว่ นร่วม ซึง่ ผลจากการศึกษาพบว่า ในการสะสมทุนครอบครัว ตระกูลเลีย่ วไพรัตน์แบ่งออก
เป็น สามช่วง ช่วงการสะสมทุนของธุรกิจครอบครัว พ.ศ. 2459 – 2502 ช่วงการสะสมทุนโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2503 – 2536 ช่วงการพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมี พ.ศ.2537 – 2545 โดยเริม่ ท�ำการค้าแบบซือ้ มา
และขายไป การบริหารจัดการแบบกงสี ต่อมาได้มีความสัมพันธ์อันดีกับกลุ่มทุนที่มีอ�ำนาจ ได้รับโอกาสช่วย
เหลือจากกลุ่มทุนดังกล่าว จึงมีการขยายธุรกิจเพิ่มมากขึ้น โดยอาศัยทุนจากการค้ามาเป็นทุนอุตสาหกรรม
และทุนการเงิน ทัง้ นีใ้ นการขยายทุนอุตสาหกรรมได้กเู้ งินมาลงทุนจากทัง้ ในประเทศและต่างประเทศมาพัฒนา
อุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึง่ เป็นรายแรกของประเทศไทยและใหญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตัง้ อยูจ่ งั หวัด
ระยอง ในขณะทีม่ กี ารขยายกิจการ การก่อสร้างและกระบวนการผลิตท�ำให้เกิดมลพิษทางเสียง อากาศ และน�ำ้
ขึน้ ท�ำให้เกิดความขัดแย้งกับประชาชนในชุมชนรอบโรงงานอุตสาหกรรมทีพไี อ ต่อมาเกิดวิกฤติทางการเงินปี
2540 ในประเทศไทย ทีพไี อต้องเข้าสูแ่ ผนฟืน้ ฟูและเกิดความขัดแย้งในการแย่งอ�ำนาจการบริหารแผนฟืน้ ฟู
ระหว่างกลุม่ ทุนข้ามชาติ (เจ้าหนี)้ กับเจ้าของกิจการเดิมและกลุม่ ทุนรัฐวิสาหกิจจนสุดท้ายกลุม่ ทุนรัฐวิสาหกิจ
เข้ามาบริหารแผนและยังเกิดความขัดแย้งอีกระหว่างผู้บริหารแผนกับเจ้าของกิจการเดิมและสหภาพแรงงาน
ทีพไี อมีการฟ้องร้องกันไปมาหลายคดีจนในทีส่ ดุ ได้เจรจากันตกลงกันได้ ความขัดแย้งต่าง ๆ สิน้ สุดไป ผูว้ จิ ยั
พบว่า ในการสะสมทุนธุรกิจครอบครัวตระกูลเลี่ยวไพรัตน์ ที่ประสพผลส�ำเร็จได้นั้น มีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ
เช่นการบริหารจัดการที่เป็นสากลใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และทั่วโลกยอมรับ ต้องบริหารจัดการให้เกิดการ
หมุนเวียนของทุนให้ครบทัง้ สามทุนประกอบไปด้วยทุนการค้า ทุนการเงินและทุนอุตสาหกรรม โดยมี Techno
structure ผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ อี งค์ความรูแ้ ละความสามารถในด้านต่างๆเข้ามาช่วยบริหารจัดการ มีความสัมพันธ์
อันดีกับผู้มีอ�ำนาจเป็นเกราะป้องกันและสนับสนุน ทั้งนี้ต้องมีงบประมาณเพียงพอในการลงทุน โดยกู้ยืมเงิน

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 29
จากแหล่งเงินทุนอื่น ๆ และในการลงทุนทางโรงงานอุตสาหกรรมนั้นมีผลกระทบในด้านมลพิษชีวอนามัยสิ่ง
แวดล้อมและระบบนิเวศน์ ส่วนปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นสามารถแก้ปัญหาโดยการเจรจาและแบ่งปันผล
ประโยชน์ให้เท่าเทียมกันจึงยุตคิ วามขัดแย้งได้
บทความที่ยี่สิบสาม เรื่อง การจัดการความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่เมืองพัทยา
โดย นางสาวจุฬาลักษณ์ พันธัง บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบและแนวทางการจัดการ
ความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิผลส�ำหรับเขตพื้นที่เมืองพัทยา โดยการด�ำเนินการวิจัยได้ใช้วิธี
การแบบเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้เครือ่ งมือแนวค�ำถามการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth
interview) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลส�ำคัญ (Key Informants) ในกลุม่ ผูบ้ ริหารจ�ำนวน 18
คน ผลศึกษาพบว่า รูปแบบและแนวทางการจัดการความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยวที่มีประสิทธิผลส�ำหรับ
เขตพืน้ ทีเ่ มืองพัทยา มี 4 มาตรการ คือ มาตรการที่ 1 ด้านการเฝ้าระวังความปลอดภัย มาตรการที่ 2 ด้าน
การให้ความช่วยเหลือนักท่องเที่ยวเมื่อประสบปัญหาด้านความปลอดภัย มาตรการที่ 3 ด้านการเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ และ มาตรการที่ 4 ด้านการปราบปราม ส�ำหรับแนวทางการจัดการความปลอดภัยด้านการ
ท่องเที่ยวในเขตพื้นที่มีประสิทธิผลส�ำหรับเขตพื้นที่เมืองพัทยา มีดังนี้ 1. บริหารอัตราก�ำลังให้เหมาะสม 2.
ผูบ้ ริหารให้ความส�ำคัญ สนับสนุน ส่งเสริมผลักดันให้เกิดการปฏิบตั งิ านในเชิงนามธรรม 3. จัดฝึกอบรมและ
ประเมินผลบุคลากร 4. บริหารงบประมาณทีม่ มี อี ยูใ่ ห้เต็มประสิทธิภาพ 5. จัดซือ้ วัสดุอปุ กรณ์ เครือ่ งมือเครือ่ ง
ใช้ในการปฏิบตั งิ านโดยพิจารณาเรือ่ งส�ำคัญและเร่งด่วนล�ำดับแรก 6. สร้างความรูค้ วามเข้าใจอย่าง ถ่องแท้
เกีย่ วกับนโยบาย แผนงาน และการด�ำเนินงานในการจัดการความปลอดภัยด้านการท่องเทีย่ วในเขตพืน้ ทีเ่ มือง
พัทยาในหน่วยงานของตน 7. บูรณาการการท�ำงานระหว่างหน่วยงาน 8. ปรับปรุงแก้ไขข้อจ�ำกัดด้านกฎหมาย
9. ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภาครัฐและเอกชนและ ภาคประชาชน และ10. ติดตามและประเมิน
ผลการท�ำงานอย่างต่อเนือ่ ง
บทความที่ยี่สิบสี่ เรื่อง การน�ำนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปปฏิบัติรอบสถานศึกษา
โดย นางสาวกฤตติกา เศวตอมรกุล การน�ำนโยบายควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ไปปฏิบตั ริ อบสถานศึกษา
มีวัตถุประสงค์ คือ 1) ศึกษาพัฒนาการของนโยบายที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย 2)
ศึกษากระบวนการของการน�ำนโยบายควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ไปปฏิบตั ริ อบสถานศึกษา และ 3) ศึกษา
การตอบสนองต่อนโยบายควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์รอบสถานศึกษา การวิจยั นีเ้ ป็นการวิจยั แบบผสมผสาน
บนพื้นฐานของปรากฎการณ์วิทยาโดย ใช้การวิจัยเชิงปริมาณ แก่ นักศึกษา และการสัมภาษณ์เชิงลึกแก่ผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียกับนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผลการวิจัยพบว่า การน�ำนโยบายควบคุมเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ไปปฏิบัติรอบสถานศึกษาไม่สามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างยั่งยืน เนื่องจากการบริหารนโยบายมี
ลักษณะทับซ้อนเชิงอ�ำนาจของหน่วยงานรัฐ ขาดการสือ่ สารนโยบายทีช่ ดั เจน และขาดระบบติดตามตรวจสอบ
ผลสัมฤทธิใ์ นการบังคับใช้กฎหมาย
บทความที่ยี่สิบห้า เรื่อง ผลกระทบของการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐต่อความเหลื่อมล�้ำทาง

30 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


เศรษฐกิจของไทย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์ และนายเบญจพล เรียบร้อย
มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ว่าการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลมีส่วนช่วยลดความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจ
มากน้อยเพียงใด รวมทัง้ เพือ่ วิเคราะห์วา่ ความเป็นประชาธิปไตยของรัฐบาล การกระจายอ�ำนาจในการบริหาร
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และความโปร่งใสในการบริหารงานภาครัฐส่งผลต่อการลดความเหลื่อมล�้ำ
ทางเศรษฐกิจของไทยหรือไม่ อย่างไร โดยอาศัยการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ในช่วง
ระยะเวลา 16 ปี ตัง้ แต่ พ.ศ. 2543 - 2558 โดยใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคณ ู (Multiple Regression
Analysis) ซึง่ เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวแปรตามทีม่ ตี วั แปรอิสระ 2 ตัวแปรขึน้ ไป ผลการศึกษา
พบว่า 1) ตัวแปรทีส่ ง่ ผลให้ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ ได้แก่ งบประมาณรายจ่ายด้านการสาธารณสุข
งบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา งบประมาณรายจ่ายทีจ่ ดั สรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ความเป็น
ประชาธิปไตยของรัฐบาล และดัชนีภาพลักษณ์คอร์รปั ชัน่ 2) ตัวแปรทีส่ ง่ ผลให้ความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจ
ลดลง ได้แก่ งบประมาณรายจ่ายด้านเคหะและชุมชน งบประมาณรายจ่ายด้านการสาธารณสุข งบประมาณ
รายจ่ายด้านการสังคมสงเคราะห์ และดัชนีภาพลักษณ์คอร์รปั ชัน และ3) ตัวแปรทีส่ ง่ ผลให้ความเหลือ่ มล�ำ้ ทาง
เศรษฐกิจทัง้ เพิม่ ขึน้ และลดลง ได้แก่ งบประมาณรายจ่ายด้านการสาธารณสุข และดัชนีภาพลักษณ์คอร์รปั ชัน
จากผลการศึกษาดังกล่าวน�ำมาสูข่ อ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย ดังนี้ 1) รัฐบาลควรเพิม่ สัดส่วนงบประมาณรายจ่าย
ด้านเคหะและชุมชน ด้านการสาธารณสุข และด้านการสังคมสงเคราะห์ให้สูงขึ้น เพื่อลดความเหลื่อมล�้ำทาง
เศรษฐกิจ 2) รัฐบาลควรบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) เพือ่ ปราบปรามการทุจริตอย่างเข้มงวด รวม
ทัง้ ควรส่งเสริม สนับสนุนกลไกการตรวจสอบการทุจริตของภาคประชาสังคม (Civil Society) อย่างเต็มที่ 3)
รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษาไปยังกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในสังคมให้มากขึ้นผ่านมาตรการ
ด้านการงบประมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา การจัดทุนการศึกษา รวมทั้งการ
อุดหนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ ด�ำเนินการด้านการศึกษา เป็นต้น 4) รัฐบาลควรตรวจสอบการใช้จา่ ย
เงินงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อย่างเข้มงวดผ่านกลไกต่าง ๆ โดยไม่ปล่อยให้การใช้จา่ ยเงินงบ
ประมาณรัว่ ไหลไปในทางมิชอบ มีการใช้จา่ ยเงินงบประมาณผิดวัตถุประสงค์ หรือมีการทุจริตการใช้จา่ ยเงินงบ
ประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และ 5) ภาคประชาชนควรเรียกร้องให้รฐั บาลก�ำหนดนโยบายทีช่ ว่ ย
ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการจัดเก็บภาษีมรดก นโยบายการจัดเก็บภาษีทดี่ นิ นโยบายการ
ขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ผดู้ อ้ ยโอกาสในสังคม นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เป็นต้น นอกจากนี้
ยังควรติดตาม ตรวจสอบการน�ำนโยบายดังกล่าวไปสูก่ ารปฏิบตั อิ ย่างใกล้ชดิ อีกด้วย
บทความที่ ยี่ สิ บ หก เรื่ อ ง การน� ำ เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ ใ นการพั ฒ นาการให้ บ ริ ก าร
ประชาชน: กรณีศึกษาระบบสารสนเทศที่ดินของกรมที่ดิน โดย นางสาวรุ่งทิวา เงินปัน การวิจัยครั้ง
นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมและการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ดินในการให้บริการ
ประชาชนของเจ้าหน้าที่กรมที่ดิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยคือ เจ้าหน้าที่กรมที่ดินที่ใช้ระบบงานใน
ส�ำนักงานที่ดิน ตามโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศที่ดิน ระยะที่ 1 จ�ำนวน 73 แห่ง เครื่องมือวิจัยใช้

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 31
เก็บข้อมูลคือแบบสอบถามที่ได้ประยุกต์มาจากทฤษฎีการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance
Model) จ�ำนวน 306 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยง
เบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพลด้วยโปรแกรม AMOS
ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างปัจจัยความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์กับ
งานระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ ดิ น ส่ ง ผลต่ อ การยอมรั บ เทคโนโลยี ข องสารสนเทศของ
เจ้ า หน้ า ที่ ก รมที่ ดิ น มี ค วามสอดคล้ อ งกลมกลื น กั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ (= 100.228, = 98,
P-value = .419, /=1.023, CFI = .999, GFI = .964, AGFI = .943, RMR=.010,
RMSEA = .009) 2. ความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดินมีความ
สัมพันธ์อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตติ อ่ การรับรูค้ วามง่ายของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีด่ นิ 3. การรับรูค้ วาม
ง่ายของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดินมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับการรับรู้ประโยชน์ของ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดิน 4. การรับรู้ประโยชน์ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดินมีความสัมพันธ์
อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับทัศนคติที่มีต่อการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดินและพฤติกรรมในการ
ตัง้ ใจใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีด่ นิ 5. ทัศนคติทมี่ ตี อ่ การใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีด่ นิ มีความ
สัมพันธ์อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตกิ บั พฤติกรรมในการตัง้ ใจใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีด่ นิ 6. พฤติกรรม
ในการตั้งใจใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดินมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับการใช้งานระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศทีด่ นิ
บทความทีย่ สี่ บิ เจ็ด เรือ่ ง เครือ่ งมือเชิงนโยบายกับการส่งเสริมเกษตรอินทรียบ์ นเกาะพะงัน จังหวัด
สุราษฎร์ธานี โดย นายณัฐวจี เขียวลือ บทความชิน้ นีก้ ล่าวถึงเครือ่ งมือเชิงนโยบายของรัฐและท้องถิน่ ใน
การส่งเสริมเกษตรอินทรียบ์ นพืน้ ทีเ่ กาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยต้องการวิเคราะห์สาเหตุของความไม่
ประสบผลส�ำเร็จในการส่งเสริมเกษตรอินทรียบ์ นพืน้ ทีเ่ กาะพะงันทีผ่ า่ นมารวมถึงเสนอแนะแนวทางเพือ่ การส่ง
เสริมทีย่ งั่ ยืน โดยผูใ้ ห้ขอ้ มูลส�ำคัญ ได้แก่ เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐในส่วนภูมภิ าคและท้องถิน่ เกษตรกรและผูป้ ระกอบ
การบนพืน้ ทีเ่ กาะพะงัน โดยใช้เครือ่ งมือเชิงนโยบายสาธารณะ Sticks, Carrots และ Sermons ร่วมกับแนวคิด
Communitarianism เป็นกรอบในการศึกษา ซึง่ พบว่าวิธกี ารของภาครัฐทีผ่ า่ นมามีลกั ษณะของการจัดฝึกอบรม
ให้ความรูเ้ ป็นหลักโดยไม่ได้มกี ารใช้เครือ่ งมือด้านการบังคับใช้กฎหมายและหลักชุมชนนิยมร่วมด้วย ความไม่
สมบูรณ์ของการใช้เครื่องมือเชิงนโยบายนี้อาจมีส่วนท�ำให้การส่งเสริมการท�ำเกษตรอินทรีย์บนเกาะพะงันไม่
ประสบผลส�ำเร็จ จึงควรเริม่ จากการให้เกษตรกรด�ำเนินการจัดการภายในด้วยตัวเองควบคูไ่ ปกับการจัดโครงการ
อบรมให้ความรู้หลังจากเกษตรกรรวมกลุ่มเข้มแข็งแล้วจึงให้การสนับสนุนปัจจัยการผลิตและทรัพยากรอื่นๆ
เพื่อเป็นการดึงดูดเกษตรกรรายใหม่ให้หันมาสนใจการท�ำเกษตรอินทรีย์มากขึ้น ท้ายที่สุดคือการใช้กฎหมาย
ควบคุมมาตรฐานสินค้าและสภาพแวดล้อมบนเกาะให้เอือ้ อ�ำนวยกับการส่งเสริมการท�ำเกษตรอินทรีย์

32 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


สารบัญ
ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562)
Chapter 1
ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังคับโทษปรับที่แจ้งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับตามพระราช
บัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
ประทีป ทับอัตตานนท์
จิดาภา พรยิ่ง

Chapter 2
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการกระท�ำความรุนแรงต่อผู้สูงอายุ
รัชนี แตงอ่อน
จิรวัธ ศิริศักดิ์สมบูรณ์

Chapter 3
บทบาทพนักงานอัยการในการด�ำเนินคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
ณัฏฐพงศ์ สุวรรณพาณิชย์
ธวัชชัย สุวรรณพานิช
ลาวัลย์ หอนพรัตน์

Chapter 4
มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมอาชีพคนพิการในอนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง
ฐิติรัตน์ วิชัยดิษฐ
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร

Chapter 5
ความไว้วางใจในหัวหน้างานที่มีอิทธิพลต่อความยึดมั่นผูกพันในงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ
เจเนอเรชั่นวาย กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ จังหวัดระยอง
ศักร์ระภีร์ วรวัฒนะปริญญา

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 33
Chapter 6
ขบวนการทางสังคมของคนพิการในการขับเคลื่อนสิทธิด้านการประกอบอาชีพและการมีงานท�ำ
ให้เป็นจริง
สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์

Chapter 7
ประชาธิปไตยพัฒนา
ทวิพันธ์ พัวสรรเสริญ

Chapter 8
เศรษฐกิจการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่งในภาคใต้
ภาสกร ธรรมโชติ
อารีรัตน์ ทศดี
เจษฎา รัตนวุฒิ

Chapter 9
การจัดสวัสดิการสังคมส�ำหรับผู้สูงอายุในระดับต�ำบลอย่างมีส่วนร่วม
สุพจน์ บุญวิเศษ

Chapter 10
อิทธิพลของวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพชีวิตในงานที่มีต่อความสุขในการท�ำงานของ
พนักงานวิสาหกิจขนาดย่อมของอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มในเขตกรุงเทพมหานคร
ธัญนันท์ บุญอยู่

Chapter 11
ภาวะผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงเชิงจริยธรรมและวัฒนธรรมองค์การเชิงจริยธรรมกับประสิทธิผลของ
โรงเรียนในสังกัดส�ำนักงานเขตสายไหม
ณัฐวัชร จันทโรธรณ์
ไพโรจน์ ญัตติอัครวงศ์

34 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


Chapter 12
รูปแบบการใช้กฎหมายของบุคลากรมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ
รพีพรรณ วงศ์ศิริเดช
ศรัณยา เลิศพุทธรักษ์
บรรพต วิรุณราช
ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์

Chapter 13
การจัดการความมั่นคงด้านแรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย
สวรรค์นิมิต เตชาวงศ์
อนุรัตน์ อนันทนาธร
สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์
จีระ ประทีป

Chapter 14
การส่งเสริมการลงทุนของภาครัฐอินโดนีเซียที่มีต่อนักลงทุนไทย
ธีระพงษ์ ภูริปาณิก
บรรพต วิรุณราช

Chapter 15
การพัฒนาสภาพแวดล้อมเพือ่ รองรับการขยายตัวของการท่องเทีย่ วในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พื้นที่จังหวัดระยอง
ศิริญญา วิรุณราช
สมชาย โตศุกลวรรณ์

Chapter 16
การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐของส�ำนักงานคณะกรรมการ
นโยบายรัฐวิสาหกิจตามแนวคิดการบริหารจัดการที่ยั่งยืน
กฤดา กฤติยาโชติปกรณ์
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 35
Chapter 17
การมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมความเป็นพลเมืองของกรรมการศูนย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตยต�ำบล
ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
รัชตา ค�ำเสมานันทน์

Chapter 18
การพัฒนาหลักสูตรนักเรียนนายร้อยต�ำรวจสู่ต�ำรวจอาเซียน
พีรพล เสลารัตน์
ทักษญา สง่าโยธิน

Chapter 19
การบริหารจัดการเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
จริน เอกา

Chapter 20
การบริหารจัดการการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ชุมชนของจังหวัดนครนายก ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ศิริพงษ์ อุ่นทรพันธุ์
สัมพันธ์ พลภักดิ์

Chapter 21
ตัวแบบบริหารเชิงกลยุทธ์แบบโฮราเครซีเ่ พือ่ พัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันของพนักงานขายในธุรกิจ
เครื่องส�ำอางค์
ปวีณา กลกิจชัยวรรณ
ธีระวัฒน์ จันทึก
พิทักษ์ ศิริวงศ์

36 วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย ปีที่ 11 ฉบับที่ 2


Chapter 22
การสะสมทุนของเครือธุรกิจครอบครัวและความขัดแย้งในการพัฒนาอุตสาหกรรมภาคตะวันออก :
กรณีศึกษา บริษัท ทีพีไอ จ�ำกัด (มหาชน)
ศรายุทธ สรีระพร
สุธี ประศาสน์เศรษฐ

Chapter 23
การจัดการความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่เมืองพัทยา
จุฬาลักษณ์ พันธัง

Chapter 24
การน�ำนโยบายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไปปฏิบัติรอบสถานศึกษา
กฤตติกา เศวตอมรกุล

Chapter 25
ผลกระทบของการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐต่อความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจของไทย
มนตรี โสคติยานุรักษ์
เบญจพล เรียบร้อย

Chapter 26
การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาการให้บริการประชาชน : กรณีศกึ ษาระบบสารสนเทศ
ที่ดินของกรมที่ดิน
รุ่งทิวา เงินปัน

Chapter 27
เครื่องมือเชิงนโยบายกับการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์บนเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ณัฐวจี เขียวลือ

คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 37

You might also like