You are on page 1of 12

เลเซอร์มาร์กเกอร์

คู่มือแนะน�ำ
การใช้งาน
กระบวนการ
พิมพ์บนโลหะ
ตัวอย่างของกระบวนการ หลักในการพิมพ์ คุณลักษณะของความยาวคลืน่ อัตราการดูดซับของวัสดุ
พิมพ์บนโลหะ บนโลหะ แต่ละชนิด ที่แตกต่างกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างผลิตภัณฑ์โลหะและเลเซอร์มาร์กเกอร์
“การมาร์กโดยตรง” บนผลิตภัณฑ์โลหะ
“การมาร์กโดยตรง” คือวิธีการระบุ ID ของผลิตภัณฑ์หรือเวลาที่จ�ำกัดโดยการมาร์กข้อมูลลงบนผลิตภัณฑ์โดยตรงแทนการติดฉลากหรือป้ายชื่อ แม้จะมีวิธีการมาร์กหลากหลายรูปแบบ
แต่ข้อดีของ “การมาร์กโดยตรง” ด้วยเลเซอร์นั้นได้รับความสนใจอย่างมาก เนื่องจากจ�ำเป็นส�ำหรับการจัดประวัติในการผลิตที่เชื่อถือได้

ตัวอย่างการมาร์กทั่วไป

เครื่องประทับ เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทส�ำหรับอุตสาหกรรม

มาร์กเกอร์ชนิดเข็ม เลเซอร์มาร์กเกอร์

คุณลักษณะของวิธีการมาร์กแต่ละประเภท

การประทับ ฉลาก เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท เลเซอร์มาร์กเกอร์


ไม่เลือนลาง ปกติ ดี ดี ดีเยี่ยม
การมาร์กถาวร
(ไม่หลุดลอก) แย่ ปกติ ปกติ ดีเยี่ยม
ไม่มีผลกระทบจากวัสดุ ดี ดี ดี ปกติ
ความสิ้นเปลืองต�่ำ ดี ปกติ ปกติ ดีเยี่ยม
การมาร์กบนพื้นผิวที่ไม่สม�่ำเสมอ ปกติ ปกติ ดี ดี
ความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนข้อมูล
การมาร์ก แย่ ดี ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
ค่าใช้จ่ายเริ่มต้น ดีเยี่ยม ดี ปกติ ปกติ
ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการ ปกติ แย่ ปกติ ดีเยี่ยม

ข้อดีของเลเซอร์มาร์กเกอร์

การมาร์ก ประหยัดค่าใช้จ่าย การมาร์ก ลดความผิดพลาด


คงทนถาวร ในการด�ำเนินการ มีคุณภาพสูง ในการมาร์ก

2
การพิมพ์และกระบวนการส�ำหรับผลิตภัณฑ์โลหะ
เนื่องจากการมาร์กด้วยเลเซอร์ไม่สามารถท�ำการลบหรือแก้ไขได้และมีค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการต�่ำ จึงกลายเป็นวิธีการส�ำหรับการมาร์กชิ้นงานโดยตรงที่มีการน�ำมาใช้อย่างรวดเร็ว
การมาร์กด้วยเลเซอร์ยังมีการประยุกต์ใช้งานที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่นอุตสาหกรรมด้านยานยนต์ เป็นต้น

เพลาข้อเหวี่ยง แผ่นป้ายระบุ กระจก (การสร้างลายพื้นผิว) แผงวงจร

ใบปัดน�้ำฝน คันเกียร์

เครื่องยนต์ ปุ่มแผงหน้าปัด

ตลับลูกปืน มิเตอร์

น็อต กล่องฟิวส์ เฟรมตัวถังรถยนต์ ฟิลเตอร์กรองอากาศ

ตัวอย่างการมาร์กทั่วไป

การมาร์กโค้ด 2D บนชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูง การมาร์กโค้ด 2D บนพื้นผิวหล่อ การมาร์กด้วยสีบนชิ้นส่วนทรงกระบอก

เครื่องยนต์ เพลาข้อเหวี่ยง หัวฉีด

ด้วยการปล่อยเลเซอร์ผ่านกระจกทนความร้อน ช่วยให้สามารถ รูปแบบการมาร์กโค้ด 2D ที่หลากหลายท�ำให้สามารถเลือกวิธี การควบคุมแบบ 3D ใช้เพื่อท�ำการมาร์กที่สม�่ำเสมอและ


ท�ำการมาร์กลงบนชิ้นงานที่มีอุณหภูมิสูงได้โดยตรงหลังชิ้น การมาร์กที่เหมาะสมที่สุดส�ำหรับสภาพพื้นผิวของชิ้นงานนั้นๆ ปราศจากความผิดเพี้ยนบนรูปร่างทรงกระบอก ด้วยเลเซอร์
งานออกมาจากเครื่องหล่อแบบ การมาร์กโค้ด 2D ที่อ่านง่าย ซึ่งท�ำให้ได้เงื่อนไขการมาร์กที่มีความเร็วสูงและท�ำการอ่านด้วย พัลส์สั้น/แบบก�ำลังสูงสุดในระดับสูง ท�ำให้ชิ้นงานไม่ได้รับ
สามารถท�ำได้โดยไม่ได้รับผลกระทบจากอุณหภูมิของชิ้นงาน เครื่องอ่านโค้ดได้โดยง่าย ผลกระทบจากความร้อนจากการมาร์ก จึงได้ผลิตภัณฑ์
ส�ำเร็จที่สมบูรณ์และมีคุณภาพ ไม่มีรอยไหม้และเสื่อมสภาพ
จากความร้อน

3
กลไกในกระบวนการมาร์กโลหะ
การสะท้อน การดูดซับ และการส่งผ่าน
แสง เมื่อได้รับแสง วัตถุทุกชิ้นจะมี “การสะท้อน” การดูดซับ” และ “การส่งผ่าน” การสะท้อน + อัตราการดูดซับ +
การสะท้อนแสง ความสัมพันธ์นี้เป็นปัจจัยที่มีความส�ำคัญอย่างมากในกระบวนการมาร์กและ การส่งผ่าน = 1
กระบวนการที่ใช้พลังงานเลเซอร์ อัตราส่วนของ “การสะท้อน” “การดูดซับ”
ชิ้นงาน และ “การส่งผ่าน” ของแสงที่ได้รับ ท�ำให้เกิดความสัมพันธ์ดังนี้ หากไม่เพิ่มอุณหภูมิของวัตถุ กระบวนการจะมีความยาก
การดูดซับ ล�ำบากขึ้นเนื่องจากมี “การสะท้อน” และ “การส่งผ่าน”
ที่สูงขึ้น ประสิทธิภาพของกระบวนการจะดีขึ้นเมื่อมี
การส่งผ่าน
“การดูดซับ” ที่สูงขึ้น

ประเภทหลักของการมาร์ก

1. การมาร์กสีด�ำ (ออกซิเดชัน)

หลักการ
เมื่อฉายแสงเลเซอร์ลงบนชิ้นงานเพื่อท�ำการมาร์ก จุดโฟกัสจะขยับและมีเพียงความร้อนเท่านั้นที่
ถูกส่งผ่าน ฟิล์มออกซิไดซ์นั้นสร้างขึ้นโดยการให้ความร้อนอย่างสม�่ำเสมอด้วยการขูด ซึ่งท�ำให้
ฟิล์มออกซิไดซ์ของการมาร์กปรากฏเป็นสีด�ำ

2. การมาร์กแบบกัดสลักสีขาว

หลักการ
ฉายแสงเลเซอร์ไปยังจุดโฟกัสบนชิ้นงานเพื่อท�ำการมาร์ก
พื้นผิวโลหะจะถูกกัดสลักอย่างละเอียด ท�ำให้ได้พื้นผิวที่ขรุขระ ซึ่งพื้นผิวนี้มีการสะท้อนแสงที่ไม่สม�่ำเสมอ
ท�ำให้รอยมาร์กปรากฏเป็นสีขาว

3. การมาร์กแบบท�ำร่อง

หลักการ
ฉายแสงเลเซอร์ไปยังจุดโฟกัสและกัดพื้นผิวของชิ้นงานเพื่อท�ำการมาร์ก ซึ่งสามารถสร้างร่องที่มี
ความลึกมากขึ้นได้โดยการเพิ่มอัตราการฉายแสงเลเซอร์

4. การลอกพื้นผิว

เลเซอร์ หลักการ
ใช้การฉายแสงเลเซอร์เพื่อลอกพื้นผิวโดยการน�ำผิวชุบด้วยไฟฟ้าของชิ้นงานออกเพื่อท�ำการมาร์ก
สิ่งนี้ท�ำให้มองเห็นวัสดุตั้งต้น และท�ำให้การมาร์กเด่นชัด
วัสดุพื้นฐาน

ออสซิลเลชันแบบคลื่นต่อเนื่อง (CW) และแบบพัลส์ เลเซอร์ออสซิลเลชันมีอยู่ด้วยกันสองวิธีการดังนี้

ออสซิลเลชันแบบคลื่นต่อเนื่อง (CW) ออสซิลเลชันแบบพัลส์


ปล่อยล�ำแสงเลเซอร์ต่อเนื่องเพื่อให้ความร้อนอย่างสม�่ำเสมอ เปลี่ยนความถี่ซ�้ำๆ เพื่อปรับพลังงานพัลส์
ล�ำแสงเลเซอร์จะถูกปล่อย ล�ำแสงเลเซอร์จะถูกเก็บไว้และ
ออกมาอย่างสม�่ำเสมอ ปล่อยออกมา
● การใช้งานหลัก: การเชื่อมและการมาร์กบนบรรจุภัณฑ์ IC ● การใช้งานหลัก: การลอก, การให้สี

 เ ลเซอร์มาร์กเกอร์ของ KEYENCE สามารถสลับระหว่างออสซิลเลชันแบบคลื่นต่อเนื่อง (CW) และออสซิลเลชันแบบพัลส์ได้ ท�ำให้สามารถใช้กับวัสดุโลหะได้ทุกชนิด

4
กระบวนการหลัก
เทคโนโลยีที่ใช้การฉายแสงเลเซอร์ที่มีความเข้มของพลังงานสูงเพื่อท�ำให้ชิ้นงานละลายและระเหยด้วยพลังงานความร้อน เรียกว่า กระบวนการที่ใช้พลังงานเลเซอร์ ซึ่งต่อไปนี้คือกระบวนการที่ใช้พลังงานเลเซอร์ทั่วๆ ไป

1. ตัด

โฟกัสแสงเลเซอร์โดยเลเซอร์ออสซิลเลเตอร์และฉายแสงไปยังจุดที่ก�ำหนดจากยูนิตฉายแสงเพื่อละลายชิ้นงาน เนื่องจากไม่มีการสัมผัส จึงไม่ท�ำให้เกิดปฏิกริยากับชิ้นงาน


ที่ผ่านกระบวนการ การแตกและการเสียรูปจะเกิดขึ้นน้อยที่สุด ท�ำให้สามารถตัดวัสดุที่มีความบาง เช่นหนังหรือผ้าได้อย่างง่าย นอกจากนี้ การที่สามารถก�ำหนดพื้นที่
ท�ำงานได้อย่างละเอียด ท�ำให้สามารถเจาะรูเฉพาะบริเวณ หรือท�ำการตัดในจุดที่เครื่องมือตัดเข้าไม่ถึงได้

2. ตัวกั้นการบัดกรี

แสงเลเซอร์ เนื่องจากอุปกรณ์มีแนวโน้มที่จะเล็กและบางยิ่งขึ้น ขั้วคอนเนคเตอร์บางชนิดจะมีตัวกั้นการบัดกรี (ตัวกั้นท�ำจาก Nickel) เพื่อควบคุมไม่ให้การบัดกรีล้นออกมา โดยทั่วไป


แผ่นบังบัดกรีจะถูกใช้ในบริเวณที่ไม่จ�ำเป็นต้องเคลือบผิวชุบไฟฟ้า แต่การน�ำวัสดุบังบัดกรีออกนั้นสิ้นเปลืองเวลาและแรงงาน ซึ่งการลอกพื้นผิวโดยใช้แสงเลเซอร์มี
ประสิทธิภาพสูงในกรณีนี้
ชั้นตัวกั้น Ni
ผิวเคลือบ Au
ผิวเคลือบ Ni
วัสดุ

3. การเชื่อม

การเชื่อมด้วยเลเซอร์คือวิธีการที่ใช้แสงเลเซอร์บนชิ้นงานเพื่อท�ำการเชื่อมด้วยการละลายและท�ำให้โลหะแข็งตัว การใช้พลังงานที่มีความเข้มสูงเพื่อฉายแสงลงบนจุด
อย่างแม่นย�ำสามารถท�ำให้เสร็จกระบวนเชื่อมด้วยความเร็วสูงได้ ซึ่งการเสียรูปจากความร้อนของวัสดุยังเกิดขึ้นน้อยอีกด้วย ในอดีต การเสียรูปเกิดขึ้นได้ง่าย แต่ใน
ปัจจุบัน แม้วัสดุที่บางก็สามารถท�ำการเชื่อมได้

4. การบัดกรี

ความร้อนจากแสงเลเซอร์จะละลายตะกั่วบัดกรีเพื่อเชื่อมโลหะ
แสงเลเซอร์
ทั้งยังเหมาะสมกับชิ้นส่วนขนาดเล็ก เนื่องจากสามารถฉายแสงเลเซอร์เฉพาะจุดได้ นอกจากนี้ เมื่อเทียบกับวิธีการโฟลว์ซึ่งเพิ่มความร้อนให้กับทั้งชิ้นส่วนแล้ว สามารถ
ลดโหลดที่เกิดขึ้นจากความร้อนบนชิ้นงานได้

การควบคุมรอยตัด ทั่วไป การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตามความกว้างในการตัด

การตัดทั่วไปจะขยับแสงเลเซอร์ตามแนวการตัด ซึ่งการตัดจะเกิดขึ้นจากการ เป็นเรื่องยากในการรักษาความเข้มของพลังงานขณะที่


เคลื่อนแสงเลเซอร์ไปมา วิธีการควบคุมนี้ท�ำให้การโฟกัสพลังงานเลเซอร์ เลเซอร์เคลื่อนที่กลับไปกลับมาทั่วทั้งพื้นที่
มีความล�ำบาก และจะสูญเสียพลังงานเพิ่มขึ้นตามความกว้างในการตัด ความกว้างในการตัด
เลเซอร์มาร์กเกอร์ของ KEYENCE สามารถควบคุมการตัดตามความกว้างที่
ต้องการในขณะที่เคลื่อนที่ไปมาได้อย่างแม่นย�ำ และการสูญเสียพลังงาน
จะถูกควบคุมเมื่อเทียบกับเลเซอร์ทั่วไป ท�ำให้ใช้เวลาในการตัดน้อยลง ฟังก์ชันใหม่ การควบคุมรอยตัด
ด�ำเนินการโดยเคลื่อนล�ำแสงเลเซอร์กลับไปกลับมาเป็นระยะทาง
ที่สั้นลง ท�ำให้เป็นไปได้ที่จะโฟกัสพลังงาน ซึ่งน�ำไปสู่การด�ำเนินการ
ความกว้างในการตัด ที่ใช้เวลาน้อยลง

5
ผลที่ได้จากความยาวคลื่นแต่ละชนิด
การจ�ำแนกประเภทเลเซอร์มาร์กเกอร์ตามความยาวคลื่น

เลเซอร์มาร์กเกอร์ในอุตสาหกรรมถูกแบ่งเป็นสี่ชนิดตามความยาวคลื่น
เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบ CO2 ความยาวคลื่น: 10600 nm ของล�ำแสง: CO2 เลเซอร์มาร์กเกอร์, YVO4 เลเซอร์มาร์กเกอร์ เลเซอร์
มาร์กเกอร์แบบไฟเบอร์ และ เลเซอร์มาร์กเกอร์ SHG (สีเขียว)
โดยทั่วไป พลังงานของแสงเลเซอร์จะสูงขึ้นตามความยาวคลื่นที่สั้นลง
เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบ YVO4 และจะมีอัตราส่วนการดูดซับไปยังวัตถุสูงขึ้น วัสดุที่เหมาะสมใน
ความยาวคลื่น: 1064 nm การมาร์ก/กระบวนการ ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นชองแสงเลเซอร์
(ความยาวคลื่นพื้นฐาน) ในส่วนต่อไปนี้จะอธิบายถึงคุณสมบัติของความยาวคลื่นแต่ละชนิด
เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบไฟเบอร์* * เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบไฟเบอร์ 1090 nm

เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบ SHG ความยาวคลื่น: 532 nm


(ความยาวคลื่น SHG)

ความยาวคลื่น: 10600 nm เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบ CO2


สเปคตรัมที่มองไม่เห็น (UV) อุลตร้าไวโอเลต
สเปกตรัมที่มองเห็นได้ สเปกตรัมที่มองไม่เห็น (IR) อินฟราเรด
(nm) 300 380 400 500 532 600 700 780 800 1064 1090 10600

เลเซอร์ CO2 มีความยาวคลื่นที่ยาวกว่าของเลเซอร์ YAG, YVO4 หรือไฟเบอร์เลเซอร์ถึง 10 เท่า นี่เป็นความยาวคลื่นที่ยาวที่สุดในกลุ่มเลเซอร์ที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม ตามที่ชื่อบ่งบอก เลเซอร์ CO2 สร้างแสงเลเซอร์
โดยจากเร่งประจุของก๊าซ CO2 นอกจากสามารถมาร์กกระดาษหรือเรซินได้แล้ว ยังสามารถมาร์กวัสดุโปร่งใส เช่นแก้ว หรือ PET (Polyethylene terephthalate) ได้อีกด้วย แต่ท�ำการมาร์กโลหะได้ล�ำบาก เนื่องจาก
ปฏิกริยาของแสงเลเซอร์ (ไม่มีการดูดซับ)

ความยาวคลื่น: 1064 nm YVO4/ไฟเบอร์เลเซอร์มาร์กเกอร์


สเปคตรัมที่มองไม่เห็น (UV) อุลตร้าไวโอเลต
สเปกตรัมที่มองเห็นได้ สเปกตรัมที่มองไม่เห็น (IR) อินฟราเรด
(nm) 300 380 400 500 532 600 700 780 800 1064 1090 10600

ความยาวคลื่น IR (ย่อจากรังสีอินฟราเรด (Infrared Ray) เป็นความยาวคลื่นแสงที่ใช้กันมากที่สุดใน


กระบวนการที่ใช้พลังงานเลเซอร์ ตามที่ชื่อบ่งบอก IR คือความยาวคลื่นที่ยาวกว่าแสงสีแดงของสเปคตรัม   เครื่องยนต์   ตลับลูกปืน
ที่มองเห็นได้ ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาของมนุษย์ (ยาวกว่า 780 nm)

คุณสมบัติทั่วไปของเลเซอร์ที่มีช่วงความยาวคลื่น 1064 nm
• สามารถประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย ตั้งแต่เรซินจนถึงโลหะต่างๆ
• ไม่สามารถใช้งานกับวัตถุโปร่งใสเช่นแก้วได้ เนื่องจากเลเซอร์จะส่องทะลุผ่านวัตถุนั้นไป
• สร้างความเปรียบต่างสูงบนเรซินได้ง่าย

ความยาวคลื่น: 532 nm เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบ SHG


สเปกตรัมที่มองไม่เห็น (UV) อุลตร้าไวโอเลต
สเปกตรัมที่มองเห็นได้ สเปกตรัมที่มองไม่เห็น (IR) อินฟราเรด
(nm) 300 380 400 500 532 600 700 780 800 1064 1090 10600

Second Harmonic Generation (SHG) ใช้ความยาวคลื่นขนาดครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่น 1064 nm


ที่ใช้กันทั่วไป 532 nm อยู่ในช่วงสเปกตรัมที่มองเห็นได้ และมีสีเป็นสีเขียว ความยาวคลื่นนี้สร้างขึ้นโดยการ   ลีดเฟรมทองแดง   บรรจุภัณฑ์ชุบโลหะ
ส่งความยาวคลื่น 1064 nm ผ่านผลึกชนิด Nonlinear ที่จะลดความยาวคลื่นลงครึ่งหนึ่ง โดยทั่วไปจะใช้
เลเซอร์ YVO4 เนื่องจากล�ำแสงมีคุณสมบัติที่เหมาะกับงานที่ต้องการความประณีต

คุณสมบัติทั่วไปของเลเซอร์ที่มีช่วงความยาวคลื่น 532 nm
• มีอัตราการดูดซับสูงในวัสดุที่มีปฏิกิริยาน้อยกับความยาวคลื่น IR ทั่วไป และที่สะท้อนแสง IR เช่น ทอง
และทองแดง
• สามารถใช้ในกระบวนการที่ต้องการความประณีตเนื่องจากมีล�ำแสงเล็กกว่าของเลเซอร์ IR
• โดยทั่วไปจะใช้ไม่ได้กับวัตถุโปร่งใส

6
ก�ำลังสูงสุดและระยะเวลาพัลส์
ก�ำลังสูงสุด คุณลักษณะเอาต์พุตของเลเซอร์ YVO4 และเลเซอร์แบบไฟเบอร์
200 200 kW คุณลักษณะเอาต์พุตของเลเซอร์แตกต่างกันอย่างมาก ขึ้นอยู่กับสื่อกระตุ้นเลเซอร์ ความแตกต่างหลักๆ
เลเซอร์ YVO4 (ค่าทั่วไป)
ระหว่างเลเซอร์ YVO4 และเลเซอร์แบบไฟเบอร์คือ ก�ำลังสูงสุดและความกว้างของพัลส์ ก�ำลังสูงสุดคือ
150 ความเข้มของแสง และระยะเวลาพัลส์คือระยะเวลาในการส่องแสง เลเซอร์ YVO4 ถูกสร้างขึ้นด้วย
วิธีการกระตุ้นบนพื้นฐานแบบ End-pump ซึ่งท�ำให้สามารถโฟกัสล�ำแสงเลเซอร์ได้โดยง่ายและสร้าง
100 ล�ำแสงเลเซอร์ที่มีคุณภาพสูงที่มีพัลส์สั้นและก�ำลังสูงสุดในระดับสูง ในทางกลับกัน เลเซอร์แบบ
ไฟเบอร์มีเอาต์พุตที่สูงและก�ำลังสูงสุดที่ต�่ำ เมื่อเทียบกับเลเซอร์ YVO4
50
10 kW
เลเซอร์แบบไฟเบอร์ (ค่าทั่วไป)
0
4 ns
100 ns
ระยะเวลาพัลส์

ความแตกต่างระหว่างเลเซอร์ YVO4 และเลเซอร์ชนิดไฟเบอร์

เลเซอร์ YVO4 (วิธีการแบบ End-pump)


คริสตัล YVO4 เลเซอร์ YVO4 ที่ใช้วิธีการ End-pump เป็นเลเซอร์ชนิด Solid state ที่ใช้ผลึก YVO4 เป็นตัวกลาง YVO4
คือผลึก Yttrium Vanadate ที่เจือกับ Nd (Neodymium) ในลักษณะเดียวกับเลเซอร์ YAG วิธีการนี้
แสงที่ถูกปั๊มเข้ามาทางปลายด้านหนึ่งของผลึก YVO4 ส�ำหรับตัวสะท้อนนั้นจะประกอบไปด้วยกระจก
หนึ่งคู่ โดยมีผลึกและ Q-switch วางอยู่ระหว่างกระจกทั้งคู่
นอกจากนี้ ระดับการขยายที่ศูนย์กลางของผลึกจะมีมาก และแสงเลเซอร์ที่เกิดขึ้นเป็นแบบโหมดเดี่ยว
คับเปลอร์เอาต์พุต ซึ่งท�ำให้ได้เลเซอร์ที่มีคุณภาพสูง
เลเซอร์ไดโอดปั๊ม สถานะพื้น สถานะถูกกระตุ้น สถานะการปล่อยแสง
กระจกสะท้อนกลับหมด โดยการถูกกระตุ้น Q-switch

ไฟเบอร์เลเซอร์
แอมพลิฟายเออร์ แอมพลิฟายเออร์หลัก เลเซอร์แบบไฟเบอร์จะใช้ไฟเบอร์เป็นตัวกลาง และมีเทคโนโลยีการขยายรีเลย์การสื่อสารระยะไกลซึ่ง
เบื้องต้น ได้รับการพัฒนามาเพื่อให้ได้เลเซอร์เอาต์พุตสูง ใยแก้วน�ำแสงเหล่านี้จะประกอบด้วยแกนที่แผ่ขยาย
Seed LD ตัวแยก
แสงไปตามศูนย์กลางของไฟเบอร์และวัสดุหุ้มที่หุ้มแกนกลาง ซึ่งไฟเบอร์เลเซอร์จะใช้แกนนี้เป็นตัวกลาง
เลเซอร์เพื่อเพิ่มจ�ำนวนแสง ทั้งนี้ แกนจะเจือด้วย Yb (Ytteribum)

เลเซอร์ไดโอดปั๊ม เลเซอร์ไดโอดปั๊ม

ไฮบริดเลเซอร์ (เทคโนโลยีต้นแบบจาก KEYENCE)


ไฟเบอร์ ไฮบริดเลเซอร์มาร์กเกอร์ของ KEYENCE ใช้เลเซอร์ออสซิลเลเตอร์รุ่นใหม่ที่ผสานคุณภาพและความเข้มที่สูงของเลเซอร์ YVO4
พร้อมอายุการใช้งานที่ยาวนานและคุณลักษณะการแผ่รังสีที่ยอดเยี่ยมของเลเซอร์แบบไฟเบอร์ คุณลักษณะหนึ่งที่มีเฉพาะใน
ไฮบริดเลเซอร์มาร์กเกอร์คือ โครงสร้างแบบสองระดับ ซึ่งใช้เลเซอร์ออสซิลเลเตอร์ YVO4 (ออสซิลเลเตอร์หลัก) ในการสร้าง
พัลส์ จากนั้นจึงใช้แอมพลิฟายเออร์ YVO4 ในการเพิ่มจ�ำนวน ซึ่งวิธีนี้ช่วยให้สามารถขยายพัลส์ที่เกิดจากออสซิลเลเตอร์หลัก
Q-switch
ขณะเดียวกันก็รักษาก�ำลังสูงสุดในระดับสูงและคุณภาพสูงของพัลส์เอาไว้ได้ นอกจากนี้ยังมีการใช้เลเซอร์ไดโอดตัวยิงล�ำแสง
เดี่ยวที่เป็นข้อดีของไฟเบอร์เลเซอร์อีกด้วย โดยจะมีความหนาแน่นของความร้อนน้อยกว่าเลเซอร์ไดโอดตัวยิงล�ำแสงหลายตัว
คับเปลอร์ (เลเซอร์ไดโอดที่มีพื้นผิวปล่อยแสงหลายพื้นผิวในชิปเซมิคอนดักเตอร์เดียว) ของเลเซอร์แบบ Solid state ซึ่งท�ำให้
YVO4 เอาต์พุต YVO4
ออสซิลเลชัน การเพิ่มจ�ำนวน ไฮบริดเลเซอร์มาร์กเกอร์ของ KEYENCE มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน แม้จะเป็นเลเซอร์แบบ Solid state
กระจกหลัง

เลเซอร์ไดโอดปั๊ม ออสซิลเลเตอร์หลัก แอมพลิฟายเออร์


(ตัวยิงล�ำแสงเดี่ยว)

7
ผลที่ได้บนโลหะ 1 มีความแตกต่างในการมาร์กร่องลึกระหว่างเลเซอร์ YVO4 และเลเซอร์แบบไฟเบอร์
ความแตกต่างในการมาร์กร่องลึกระหว่างเลเซอร์ YVO4 และเลเซอร์แบบไฟเบอร์

  เลเซอร์มาร์กเกอร์ YVO4 ของ KEYENCE


เลเซอร์แบบไฟเบอร์สามารถท�ำการสลักและการมาร์กร่องลึกได้เหนือกว่า
เมื่อท�ำการมาร์กร่องลึกบนพื้นผิวโลหะโดยใช้เวลาที่เท่ากัน เลเซอร์แบบไฟเบอร์สามารถท�ำร่อง
ได้ลึก 320 μm และเลเซอร์ YVO4 ท�ำร่องได้ลึก 210 μm พัลส์ของเลเซอร์ YVO4 ปล่อยล�ำแสง
เลเซอร์ที่มีความเข้มสูงไปยังวัสดุในเวลาสั้นๆ บริเวณที่เป็นร่องตื้นๆ ที่ชั้นพื้นผิวจะถูกท�ำให้ร้อน
อย่างรวดเร็ว และเย็นลงในทันที เนื่องจากการแผ่รังสีเลเซอร์หยุดก่อนที่จะมีการถ่ายเทความ
ร้อน ผลกระทบจากความร้อนที่เกิดขึ้นกับบริเวณใกล้เคียงจึงมีน้อย ในทางกลับกัน พัลส์ของ
ความลึก: 210 μm เลเซอร์ชนิดไฟเบอร์จะปล่อยล�ำแสงเลเซอร์ที่มีความเข้มต�่ำเป็นเวลานาน อุณหภูมิของวัสดุจะเพิ่ม
ขึ้นอย่างช้าๆ และการกลายเป็นของเหลวหรือการระเหยจะด�ำเนินอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน
  เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบไฟเบอร์ของ KEYENCE ท�ำให้เลเซอร์แบบไฟเบอร์เหมาะสมกับการมาร์กจ�ำนวนมาก

ความลึก: 320 μm

*ผลที่ได้จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการมาร์กหรือวัสดุ

การควบคุมการมาร์กร่องลึก
ในการมาร์กร่องลึก จุดโฟกัสจะค่อยๆ คลาดเคลื่อนไปทางขวาในขณะที่ด�ำเนินการมาร์ก การคลาด
เคลื่อนที่เกิดขึ้นนี้ท�ำให้มีความต้องการมาร์กที่ลึกขึ้นแม้จะต้องใช้เวลามากกว่าเดิม ซึ่งการมาร์กนั้นไม่ได้ลึก
ทั่วไป ระยะโฟกัสคงที่
ตามที่ต้องการ และจะใช้เวลานานขึ้นตามความลึก
เลเซอร์มาร์กเกอร์ของ KEYENCE สามารถเปลี่ยนจุดโฟกัสขณะท�ำการมาร์กร่องลึกได้ คุณสมบัตินี้จะ ขณะที่ชิ้นงานถูกมาร์ก พื้นผิวที่ถูกด�ำเนินการ
เปลี่ยนระยะโฟกัสโดยอัตโนมัติเพื่อป้องกันการสูญเสียพลังงานและยังใช้เวลาน้อยในการมาร์กร่องลึก จะค่อยๆ เคลื่อนที่ห่างออกไปจากจุดโฟกัส
อีกด้วย ท�ำให้เป็นไปไม่ได้ที่จะปรับใช้ระดับพลังงาน
ที่มีความเหมาะสม

ฟังก์ชันใหม่ การมาร์กร่องที่ลึก

ระยะโฟกัสจะถูกเปลี่ยนหลังการผ่านแต่ละครั้ง ซึ่งท�ำให้
สามารถด�ำเนินการด้วยพลังงานที่มีความหนาแน่นสูงสุด
ได้ตลอดเวลา

ความแข็งของโลหะและความลึกในการมาร์ก
ในการมาร์กร่องลึก ความยากง่ายในการมาร์กจะเปลี่ยนไปตามความแข็งของโลหะ ตารางทางด้านขวาจะแสดง ความแข็งของโลหะและความลึกในการมาร์ก
การเปรียบเทียบด้านความแข็งของวัสดุและความลึกในการมาร์ก หากวัสดุมีความแข็งน้อย การมาร์กก็จะยิ่งง่าย ความลึก (μm) ความแข็ง (HV)
500 200
ความลึกจะแตกต่างกัน แม้มีเงื่อนไขการมาร์กเดียวกัน อะลูมิเนียมมีความแข็งที่น้อยเมื่อเทียบกับเหล็กหรือ
สเตนเลส SUS เนื่องจากท�ำการมาร์กได้ง่าย จึงมีปริมาณในการมาร์กสูงกว่า
ความแข็งเป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของสสารและวัสดุ ซึ่งแสดงถึงระดับความทนทานต่อการเสียรูปหรือรอย 150
375
ขีดข่วน มีวิธีการทดลองหลายอย่างส�ำหรับทดสอบความแข็ง ซึ่งเราใช้ค่า Vickers Hardness (HV) ในที่นี้

250 100

125 50

ความแข็ง (HV)
ความลึก (μm)
0 0
อะลูมิเนียม เหล็ก SUS

*ใช้อะลูมิเนียม (A5052) เหล็ก (SPCC) และ สเตนเลส SUS (304)


*ผลที่ได้จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการมาร์กหรือวัสดุ

8
การเปรียบเทียบคุณภาพของการมาร์ก

ระยะโฟกัสชัดลึก
เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบไฟเบอร์ของ KEYENCE ผลิตภัณฑ์เลเซอร์มาร์กเกอร์ YVO4 ของ KEYENCE

Z = 4 มม. Z = 4 มม.
อัตราส่วนเดิม410% อ่านไม่ได้ อัตราส่วนเดิม283% อ่านไม่ได้

Z = 3 มม. Z = 3 มม.
อัตราส่วนเดิม320% อ่านไม่ได้ อัตราส่วนเดิม225% เกรด: B

Z = 2 มม. Z = 2 มม.
230% อ่านไม่ได้ อัตราส่วนเดิม166% เกรด: A

Z = 1 มม. Z = 1 มม.
อัตราส่วนเดิม140% เกรด: A อัตราส่วนเดิม108% เกรด: A

Z = 0.0 มม. เกรด: A Z = 0.0 มม. เกรด: A

Z = -1 มม. เกรด: A Z = -1 มม. เกรด: A


อัตราส่วนเดิม140% อัตราส่วนเดิม108%

Z = -2 มม. อ่านไม่ได้ Z = -2 มม. เกรด: A


อัตราส่วนเดิม230% อัตราส่วนเดิม166%

Z = -3 มม. อ่านไม่ได้ Z = -3 มม. เกรด: B


อัตราส่วนเดิม320% อัตราส่วนเดิม225%

Z = -4 มม. อ่านไม่ได้ Z = -4 มม. อ่านไม่ได้


อัตราส่วนเดิม410% อัตราส่วนเดิม283%

ผลของมุมตกกระทบ
เลเซอร์มาร์กเกอร์แบบไฟเบอร์ของ KEYENCE ผลิตภัณฑ์เลเซอร์มาร์กเกอร์ YVO4 ของ KEYENCE

ABC ABC

การเปรียบเทียบคุณภาพการพิมพ์ของเลเซอร์ YVO4 และเลเซอร์แบบไฟเบอร์ เลเซอร์ YVO4 มีพัลส์สั้นและ


ก�ำลังสูงสุดในระดับสูง คุณภาพการมาร์กมีความเสถียรแม้อยู่ภายใต้เงื่อนไขในการด�ำเนินการที่ยาก เช่น
หากโฟกัสเคลื่อน หรือมีมุมเลี้ยวเบนที่กว้าง เนื่องจากกระบวนการฉายแสงมีการจ่ายพลังงานอย่างเหมาะ
สมและสร้างพลังงานเลเซอร์ได้ในเวลาไม่นาน การเปรียบเทียบ
การจ่ายพลังงาน
ของล�ำแสง

เลเซอร์ YVO ไฟเบอร์เลเซอร์


(วิธีการแบบ End-pump)

ฟังก์ชันโฟกัสอัตโนมัติ มีฟังก์ชันโฟกัสอัตโนมัติ
กล้องที่มีอยู่ในตัวเครื่องของเราท�ำให้เครื่องสามารถท�ำการโฟกัสอัตโนมัติได้โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ภายนอก
ใดๆ ซึ่งสามารถท�ำได้แม้ว่าชิ้นงานอาจไม่วางอยู่ในระยะความยาวโฟกัสจากเลเซอร์พอดี จึงไม่จ�ำเป็นต้องใช้
เครื่องมือภายนอก เป็นการควบคุมต้นทุนการผลิตส่วนเพิ่มให้น้อยที่สุด ขณะเดียวกันก็เพิ่มประสิทธิภาพและ
อัตราการผลิต ผลการวัด
ตัวชี้เลเซอร์
*กล้องในตัวใช้เพื่อการตรวจสอบระยะโฟกัสโดยใช้เลเซอร์พอยน์เตอร์ การท�ำโฟกัสอัตโนมัติจะท�ำโดยการค�ำนวณระยะโฟกัสจาก วัดความยาว
ต�ำแหน่งพอยน์เตอร์ การวัดนี้อาจท�ำไม่ได้ในบางกรณีเนื่องจากชนิดวัสดุ รูปร่าง และพื้นผิวของชิ้นงาน 21 มม.

±0

-21 มม.

9
ผลที่ได้บนโลหะ 2 ความแตกต่างระหว่างเลเซอร์สีเขียวและเลเซอร์ช่วงคลื่นพื้นฐาน
หลักการออสซิลเลชันของเลเซอร์สีเขียว

เลเซอร์สีเขียวคือค�ำทั่วไปที่ใช้เรียกเลเซอร์ที่มีความยาวคลื่น 532 nm มันถูกเรียกว่า “เลเซอร์สีเขียว” เนื่องจากความยาวคลื่นที่มองเห็นมีแสงสีเขียว

แสงกระตุ้น ความยาวคลื่นมาตรฐาน ความยาวคลื่น SHG แสงที่มีความยาวคลื่น 1064-nm (ความยาวคลื่นมาตรฐาน) ถูกสร้างขึ้นโดยผลึกตัวกลาง


YVO4 ซึ่งถูกเปลี่ยนเป็นแสงที่มีความยาวคลื่น 532-nm ด้วยผลึก Nonlinear Optical (ผลึกแปลง
ความยาวคลื่น) เลเซอร์สีเขียวมีอีกชื่อหนึ่งคือเลเซอร์ SHG (Second Harmonic Generation)
เลเซอร์ YAG ที่สร้างแสงด้วยกระบวนการ SHG เรียกว่า “เลเซอร์ SHG: YAG” และเลเซอร์ YVO4 ที่
สร้างแสงด้วยกระบวนการ SHG เรียกว่า “เลเซอร์ SHG: YVO4

คริสตัล YVO4 Nonlinear optical crystal

ความแตกต่างของเส้นผ่านศูนย์กลางล�ำแสงของเลเซอร์สีเขียวและเลเซอร์ทั่วไป
ยิ่งเลเซอร์มาร์กเกอร์มีความยาวคลื่นที่สั้นเท่าไร เส้นผ่านศูนย์กลาง
ล�ำแสงที่สามารถตั้งค่าได้ก็มีขนาดเล็กขึ้นเท่านั้น เส้นผ่านศูนย์กลาง λ : ความยาวคลื่น
ล�ำแสงเลเซอร์จะถูกก�ำหนดโดยการค�ำนวณทางด้านขวา 4 × λ × M2 × f M2 : M ยกกำ�ลัง
เส้นผ่านศูนย์กลางล�ำแสง = f : ระยะโฟกัส
π×D D : เส้นผ่านศูนย์กลางลำ�แสงตกกระทบ

ตัวอย่างของการมาร์กขนาดเล็กด้วยเลเซอร์มาร์กเกอร์แสงสีเขียว
เลเซอร์สีเขียวมีความยาวคลื่นเพียงครึ่งเดียวของเลเซอร์ทั่วไป ท�ำให้
สามารถโฟกัสล�ำแสงที่มีขนาดเพียงครึ่งเดียวของแบบปกติได้ สิ่งนี้
แสดงให้เห็นว่าเลเซอร์สีเขียวมีประสิทธิภาพสูงกว่าในการประยุกต์ใช้งาน การมาร์ก 0.1 × 0.1 มม. การมาร์ก 0.04 × 0.04 มม.
ที่ต้องการการมาร์กและกระบวนการขนาดเล็ก เช่นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
ที่ลดขนาด

การมาร์กที่ปราศจากการบิดเบี้ยวแม้ตัวอักษรจะมีขนาด 0.1 มม. หรือเล็กกว่า

ประเด็นในการจัดต�ำแหน่งการมาร์กที่แม่นย�ำ
ชิ้นงานที่ต้องการการมาร์กและกระบวนการขนาดเล็กต้องท�ำการจัดต�ำแหน่งอย่างแม่นย�ำเพื่อท�ำการมาร์กในพื้นที่จ�ำกัด KEYENCE
น�ำเสนอฟังก์ชัน “ช่องมองภาพ” ซึ่งแสดงภาพที่จับในแกนเดียวกันกับเลเซอร์บนจอภาพได้ ซึ่งสามารถท�ำการปรับต�ำแหน่งได้อย่าง
แม่นย�ำและมีเสถียรภาพส�ำหรับการมาร์กและกระบวนการต่างๆ แม้เป็นพื้นที่ขนาดเล็กมากซึ่งไม่สามารถท�ำการปรับแนวด้วย
ตาเปล่าได้ สิ่งนี้ยังช่วยลดการทิ้งชิ้นงานและเวลาท�ำงานที่ต้องการเพื่อเดินระบบส�ำหรับใช้งานอีกด้วย

10
อัตราการดูดซับของโลหะ

70
532 nm 1064 nm กราฟทางด้านซ้ายแสดงให้เห็นถึงอัตราการดูดซับของวัสดุโลหะที่แตกต่างกันระหว่างเลเซอร์
60 àÅà«ÍÏÊÕà¢ÕÂÇ ¤Å×è¹Áҵðҹ สีเขียว (532 nm) และเลเซอร์พื้นฐาน (1064 nm) ไม่มีความเปลี่ยนแปลงในอัตราการดูดซับของ
ÍѵÃÒ¡Òôٴ«Ñº [%]

เหล็ก (Fe) นิกเกิล (Ni) หรืออะลูมิเนียม (Al) เมื่อเปลี่ยนความยาวคลื่น อย่างไรก็ตาม อัตรา


50
การดูดซับของทอง (Au) และทองแดง (Cu) ได้รับผลกระทบอย่างมากเมื่อเปลี่ยนความยาวคลื่น
40 อัตราการดูดซับของทอง (Au) ส�ำหรับความยาวคลื่น 532 nm อยู่ที่ 30% โดยประมาณ
แต่ความยาวคลื่นพื้นฐานที่ 1064 nm มีอัตราการดูดซับน้อยกว่า 10% ซึ่งทองแดงมีอัตรา
30
การดูดซับที่ 40% ส�ำหรับความยาวคลื่น 532 nm ในขณะที่อัตราการดูดซับที่ความยาวคลื่น
20 1064 nm น้อยกว่า 10%
10

0
450 550 650 750 850 950 1050 1150
¤ÇÒÁÂÒǤÅ×è¹ [nm]
Cu Au Ni Fe Al
(·Í§á´§) (·Í§) (¹Ô¡à¡ÔÅ) (àËÅç¡) (ÍÐÅÙÁÔà¹ÕÂÁ)

ความแตกต่างในคุณภาพการมาร์กและกระบวนการระหว่างเลเซอร์สีเขียวและเลเซอร์พื้นฐาน
ดูที่การเปรียบเทียบการมาร์กบนทองแดง ที่ความยาวคลื่นปกติ มีเขม่าสีด�ำเกิดขึ้นจากความร้อน
เลเซอร์พื้นฐาน เลเซอร์สีเขียว ซึ่งตรงกันข้ามกับเลเซอร์สีเขียวซึ่งมีอัตราการดูดซับในวัสดุที่สูง จึงท�ำให้สามารถรับมือกับแรง
เครียดจากความร้อนได้ นอกจากนี้ เลเซอร์สีเขียวยังสามารถโฟกัสเส้นผ่านศูนย์กลางล�ำแสง
ลีดเฟรมทองแดง ได้ดีกว่าความยาวคลื่นมาตรฐานในการมาร์กโค้ด 2 มิติบนวัสดุอะลูมิเนียม จึงท�ำให้การมาร์ก
ไม่สึกหรอแม่ชิ้นส่วนจะมีความบางก็ตาม

วัสดุอะลูมิเนียม

0.3 มม.

0.67 มม.

จะหาเงื่อนไขที่เหมาะสมส�ำหรับโลหะชนิดต่างๆ ได้อย่างไร
ฟังก์ชันตัวอย่างการสลัก
เมื่อท�ำการพิมพ์บนโลหะ สีจะมีความเปลี่ยนแปลงอย่างมากตามคุณภาพของชิ้นงานที่ท�ำการมาร์ก หรือ
เงื่อนไขในการพิมพ์ของเลเซอร์มาร์กเกอร์
ฟังก์ชันตัวอย่างการมาร์กใช้ซอฟต์แวร์เพื่อหาเงื่อนไขโดยอัตโนมัติเพียงท�ำการเลือกวัสดุ ผู้ใช้สามารถ
รับรู้เงื่อนไขที่เหมาะสมได้จากการดูผลการมาร์กเท่านั้น โดยปกติ สามารถตั้งเงื่อนไขในการมาร์กที่
ต้องการการทดลองได้อย่างรวดเร็ว

เลือกวัสดุ หาการตั้งค่าที่เหมาะสมได้อย่างรวดเร็ว

11
ทดลองการมาร์ก/การใช้งานเลเซอร์ได้ฟรี
ส่งชิ้นงานที่ต้องการทดสอบมาให้
ทีมงานผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางของเรา
ส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดติดต่อเราผ่านโฮมเพจของบริษัท
หรือส�ำนักงาน KEYENCE ที่คุณสะดวกที่สุด

ก่อนด�ำเนินการ หลังดำ�เนินการ

การใช้งานการมาร์ก การใช้งานเลเซอร์

www.keyence.co.th
E-mail : info@keyence.co.th

Copyright (c) 2017 KEYENCE CORPORATION. All rights reserved. MDXMetalMarktext-KT-C-TH 1037-1 633713

You might also like