You are on page 1of 14

Instructor: Associate Professor Dr.

Sittichai Seangatith
Email: sitichai@sut.ac.th
Tel. 044-224326, 4420-1, and 4750-1
Office: Room D23, Academic Building
Textbook:
1. Mechanics of Materials; Sittichai Seangatith, SUT, 2006.
MECHANICS OF MATERIALS 2. Mechanics of Materials; Russell C. Hibbeler, 2nd SI Edition
(2005).
By
Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith

SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING


INSTITUTE OF ENGINEERING
SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY

Objectives: (Cont.)
Objectives:
4. Be able to analyze and design basic structural components such as
1. Be able to interpret and apply the stress-strain diagrams and other
beams, shafts, and columns.
relevant properties of the materials, and the concept of the factor
of safety. 5. Be able to formulate and calculate the deformation of the structural
2. Be able to determine and interpret various types of stresses members under axial/ torsional/ and transverse loads.
(normal: axial, bearing, and flexural stresses; and shear: simple,
torsion, and transverses shear stresses) of the structural
components, including the connections.
3. Be able to perform stress analysis (combine and transform the
normal and shear stresses) of beams and shafts under combined
loading.
ทําไมตองศึกษาวิชานี้ Chapter Subjects:
1. Stresses
1. ฝกการมองปญหาในชีวิตจริงแบบวิศวกร 2. Strain
ปญหาจริง Model ทฤษฎี คําตอบ 3. Mechanical Properties of Materials
4. Axial Load
2. ทําใหเกิด Engineering senses 5. Torsion
6. Bending
3. ไดประยุกตใช Engineering judgments 7. Transverse Shear
8. Combined Loadings
9. Stress Transformation
4. เปนวิชาบังคับ กว. ของบางสาขาวิชา
10. (11) Design of Beams and Shafts
5. อื่นๆ เชน เปนวิชา prerequisite ของบางสาขาวิชา 11. (12) Deflection of Beams
12. (13) Buckling of Columns

Conduct of Course:
Assignments and Quizzes 20%
Midterm Examination 35%
Final Examination 45%

Grading Guides: Midterm Examination II 35%


90 and above A
85-89 B+ วันพุธที่ 10 ตุลาคม 2550 9.00-11.00 น.
80-84 B Final Examination 40%
75-79 C+ วันอาทิตยที่ 18 พฤศจิกายน 2550 9.00-12.00 น.
70-74 C
65-69 D+
60-64 D
below 60 F
The above criteria may be changed at the instructor’s discretion.
สถิติที่นาสนใจ (และทาทาย) : Attendance Policy:
1. Class attendance is mandatory. Missing classes more than
80% will receive an automatic grade of “F”.
Trimester 2/2550 2/2549 2/2548 2. Students attending the lectures must bring the calculator for
a quiz and the lecture note.
ลง/ติด F 472/194 539/137 3. Homework must be turn in 1 week after assigned.

GPAX 0.81 1.47 4. Cheating on the quizzes, homework, and examinations will
get a zero score, and/or be punished according to the rules
Class and regulations of Suranaree University of Technology.
5. No make up quizzes or examinations will be given without a
written Dean's permission. Student who passes the make-up
examinations will be given a maximum grade of “C”.

อิทธิบาท 4: การเรียน สิ่งที่นักศึกษาจําเปนตองเตรียมตัวในการศึกษาวิชานี้


1. ทบทวนการเขียน free-body diagram ของโครงสราง เชน ชิ้นสวนรับแรงใน
ฉันทะ - มีความพอใจ/รักในสิ่งที่เรียน แนวแกน เพลา คาน
วิริยะ - มีความเพียร/พยายาม 2. ทบทวนการใชสมการความสมดุลในการหาแรงปฏิกิริยาและแรงภายในของ
จิตตะ – มีความตั้งใจ/จิตใจจดจอ โครงสราง
วิมังสา - ใชปญญาไตรตรองและคิดหาเหตุผล 3. ทบทวนการเขียน shear และ moment diagram ของคาน
4. ทบทวนการหาจุด centroid และคา moment of inertia ของพื้นที่ประกอบ
ซือ่ ตรง สุภาพ สะอาด ประหยัด คือ จริยวัตรของมทส. สิ่งที่นักศึกษาจําเปนตองปฏิบัติในการศึกษาวิชานี้
1. เตรียมเอกสารการเรียนใหครบ
2. อานเอกสารการเรียนอยางเพียงพอ กอนเขาเรียน: ประมาณ 1 ชม/lecture
3. หลังจากเขาเรียน ทบทวนเอกสารการเรียนและทําแบบฝกหัดอยางสม่ําเสมอ
บทที่ 1
1.1 บทนํา
หนวยแรง (Stress)
วิชาสถิตยศาสตร (statics) และวิชาพลศาสตร (dynamics) ศึกษาเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค
แรงและการเคลื่อนที่ของอนุภาค (particle) และวัตถุแกรง (rigid body)
1. เพื่อทบทวนความรูเรื่องสมดุล (equilibrium) ของวัตถุ
วิชากลศาสตรวัสดุ (mechanics of materials) ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการ
2. เพื่อใหทราบและเขาใจถึงแนวคิดของหนวยแรงตั้งฉาก (normal ตอบสนองภายในและภายนอกของวัตถุแข็ง (solid body) ภายใตการกระทํา
stress) และหนวยแรงเฉือน (shear stress) ของแรง (force) หรือน้ําหนักบรรทุก (load) ตางๆ
3. เพื่อใหสามารถวิเคราะห (analysis) และออกแบบ (design) จุด
เชื่อมตออยางงายไดอยางถูกตอง Mechanics

Rigid Bodies Deformable Bodies


Fluids
(Things that do not change shape) (Things that do change shape)

Statics Dynamics Incompressible Compressible

พฤติกรรมการตอบสนอง: ขั้นตอนหลักในการออกแบบโครงสราง
หนวยแรง (stress)
การเปลี่ยนแปลงรูปราง (deformation) หรือความเครียด (strain)
เสถียรภาพ (stability)

1. ใช FBD และ equilibrium equations หาคาแรงที่เกิดขึ้นภายในชิ้นสวนของ


โครงสราง – เรียนแลวใน statics
2. หาขนาดของชิ้นสวนของโครงสรางที่เหมาะสม [โดยมีกําลัง (strength)
เพียงพอในการรองรับแรงกระทํา โดยไมเกิดการวิบัติ (failure)]
3. ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงรูปราง (deformation) และเสถียรภาพ
(stability) ของชิ้นสวนของโครงสราง
1.2 สมดุลของวัตถุที่เปลี่ยนแปลงรูปรางได (Equilibrium of a Deformable
Body)
แรงภายนอก (External Loads)
Surface force
แรงกระทําเปนจุด
(concentrated force/point load)
แรงแผกระจาย
(distributed load)
Body force เชน น้ําหนักของวัตถุที่เกิด
จากแรงดึงดูดของโลก เปนตน เมื่อ support ปองกันไมใหเกิดการเลื่อน (translation) ในทิศทางใดแลว support นั้นจะ
ทําใหเกิดแรงปฏิกิริยาขึ้นบนองคอาคารของโครงสรางในทิศทางนั้น
ถา support ปองกันไมใหเกิดการหมุน (rotation) รอบแกนใดๆ แลว support นั้นจะทํา
ใหเกิด moment ปฏิกิริยาขึ้นบนองคอาคารของโครงสรางรอบแกนนั้น
สมการความสมดุล (Equations of equilibrium) ใน 3 มิติ
วัตถุใดๆ จะอยูในสภาวะความสมดุลเมื่อวัตถุนั้นมี
สมดุลของแรง (balance of force) เพื่อปองกันการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ
อยางมีความเรง (acceleration)
∑F = 0
สมดุลของโมเมนต (balance of Ay
My

moment) รอบจุดใดๆ เพือ่ ปองกัน


การหมุนของวัตถุ Az
Ax
Mx
∑ MO = 0 Mz

ใน 2 มิติ แรงลัพธภายใน (Internal Resultant Loading)


T เมื่อวัตถุอยูในสภาวะสมดุล แรงลัพธภายในที่เกิดขึ้นตรงจุดทีส่ นใจจะหา
y ไดโดยวิธีตัดหนาตัด (method of sections)
70o

Ax คาน

Ay
x 1962 N

ชิ้นสวนที่ถูกกระทําโดยแรงในแนวแกน
ตัวอยางที่ 1-1
จงหาคาแรงและโมเมนตลัพธภายในที่เกิดขึ้นทีห่ นาตัด G ของคานไม
หาแรงปฏิกิริยา
∑M E = 0;
FBC (0.9 m) = 10 kN(3 m) + 4.5 kN(2 m)
FBC = 43.333 kN →

∑F x = 0;
Ex = FBC = 43.333 kN ←

∑F y = 0;

E y = 10 kN + 4.5 kN=14.5 kN ↑

FBD ของชิ้นสวน AG มี unknowns 4 คา ดังนั้น ตองหาแรง FBA กอน


FBD ของชิ้นสวน AG มี unknowns 4 คา ดังนั้น ตองหาแรง FBA กอน ตัวอยางที่ 1-2
จาก FBD ของจุด B จงหาคาแรงและโมเมนตภายในที่หนาตัด B ของทอเหล็ก ซึ่งมีมวล 2 kg/m
4
∑F x = 0; FBA ( ) = 43.333 kN
5
FBA = 54.167 kN

จาก FBD ของชิ้นสวน AG


4
∑F x = 0; N G + 54.167 kN( ) = 0
5
N G = −43.333 kN
3
∑F y = 0; −VG − 10 kN + 54.167 kN( ) = 0
5
VG =22.5 kN แผนภาพ free-body diagram
3 WBD = (2 kg/m)(0.5 m)(9.81 N/kg) = 9.81 N
∑M G = 0; M G − (54.167 lb)( )(0.6 m) + (10 kN)(0.6 m) = 0
5
M G = 13.5 kN-m WAD = (2 kg/m)(1.25 m)(9.81 N/kg) = 24.525 N

Equilibrium Equations 1.3 หนวยแรง (Stress)


∑F x = 0; ( FB ) x = 0 หนวยแรง (stress) ที่จดุ หนึ่งบนวัตถุบงบอกถึงความเขมขน
∑F y = 0; ( FB ) y = 0 (intensity) ของแรงภายใน (internal force) ทีก่ ระทําอยูบ นพื้นที่เล็กๆ
ที่ตดั ผานจุดนั้นและอยูบนระนาบของหนาตัดของวัตถุดังกลาว
∑F z = 0;
( FB ) z − 9.81 N − 24.525 N − 50 N=0 หนวยแรงถูกแบงออกเปน 2 ประเภทตาม
( FB ) z = 84.3 N ทิศทางที่แรงกระทํากับพื้นที่นั้น
∑ (M ) = 0;
B z
(M B ) z = 0
หนวยแรงตั้งฉาก (normal stress)
∑ (M ) = 0;
B y หรือ σ คือความเขมขนของแรงภายในที่
( M B ) y + 24.525 N(0.625 m) + 50 N(1.25 m) = 0 กระทําตั้งฉากกับพืน้ ที่เล็กๆ ∆A
( M B ) y = −77.8 N-m ∆Fn
∑ (M ) = 0;
B x σ = ∆lim
( M B ) x + 70 N-m − 50 N(0.5 m) − 24.525 N(0.5 m) − 9.81 N(0.25 m) = 0
A→0
∆A
( M B ) x = −30.3 N-m
Sigma
หนวยแรงในระบบแกนตั้งฉากรอบจุดใดๆ บนวัตถุ
สัญลักษณ
σz เครื่องหมาย subscript
“z” ระบุถึงดานที่หนวย
แรงตั้งฉากกระทํา
τzx เครื่องหมาย subscript
σ = lim
∆F ตัวแรก (z) ระบุถึงดานที่
z

หนวยแรงเฉือน (shear stress) หรือ τ คือความเขมขนของแรงภายในที่ z


∆A
∆A→0
หนวยแรงเฉือนกระทํา
กระทําขนานกับพื้นที่ ∆A ∆F และเครื่องหมาย subscript
τ = lim x

∆A
zx
∆Ft ∆A → 0
ตัวที่สอง (x) ระบุถึง
τ = ∆lim
A→0
∆A ∆F ทิศทางของหนวยแรง
Tau τ = lim y

∆A
zy
∆A → 0
เฉือนที่อยูบ นดานนั้น
ขอกําหนดของความสมดุลของสภาวะหนวยแรง 1.4 คาเฉลี่ยของหนวยแรงตั้งฉากบนแทงวัตถุทถี่ ูกกระทําโดยแรงในแนวแกน
ถาหนวยแรง 9 หนวยแรงทีก่ ระทําอยูบ น cubic volume element รอบๆ
แรงในแนวแกน (axial load) คือแรงตั้ง
จุดที่เรากําลังพิจารณาอยูมีคาคงที่แลว หนวยแรงบางสวนจะมีคาเทากัน ซึ่ง
ฉากชนิดหนึ่งซึ่งมีทิศทางไปตามแนวแกน
จะทําใหหนวยแรงทั้งหมดลดลงเหลือ 6 หนวยแรง
ของแทงวัตถุใดๆ ซึ่งกอใหเกิดการดึง
“complementary property of shear” (tension) หรือการกดอัด (compression)
ในแทงวัตถุ
τ xy = τ yx
ชิ้นสวนโครงสรางที่ถกู กระทําโดยแรงใน
τ yz = τ zy แนวแกน (axially loaded bar) มักจะมี
τ xz = τ zx ลักษณะยาวเรียว และมีหนาตัดที่คงที่
ตลอดความยาว เชน ชิ้นสวนของโครงขอ
หมุน (truss members) เปนตน

การกระจายของคาเฉลี่ยของหนวยแรงตั้งฉาก
ขอสมมุติฐาน
แรงในแนวแกนกระทําผานจุด centroid ของหนาตัดของแทงวัตถุ
แทงวัตถุมีลักษณะตรงทั้งกอนและหลังจากที่ถกู กระทําโดยแรง
หนาตัดของแทงวัตถุยังคงเปนระนาบที่มีลักษณะเหมือนเดิม

dF = σ dA

∫ dF = ∫ σ dA
A

P
σ =
A
เมื่อวัสดุของแทงวัตถุเปนวัสดุเนื้อเดียว (homogenous material) และมี คาเฉลีย่ ของหนวยแรงตัง้ ฉากทีม่ คี า มากทีส่ ุด
คุณสมบัติเหมือนกันทุกทิศทาง (isotropic material) เชน steel และ ขั้นตอน
aluminum เปนตน แลว
1. เขียน axial หรือ normal force diagram ซึ่ง
P แสดงการเปลี่ยนแปลงของแรง P เทียบกับ
σ =
A
ระยะ x ไปตามแนวแกนของแทงวัตถุ โดย
กําหนดใหแรงดึงมีคาเปน + และแรงกดอัด
มีคาเปน -
2. หาคาหนวยแรงจาก P/A ของแตละสวนของ
แทงวัตถุ และเลือกคาสูงสุด (maximum) ไป
ใชงาน

ตัวอยางที่ 1-3
จงหาคาหนวยแรงตั้งฉากเฉลี่ยสูงสุดที่เกิดขึ้นในแทงเหล็กหนา 10 mm
1. หา Internal Loading σ BC =
PBC
=
30(103 )N
= 85.7 MPa
- เขียน FBD ของ A (0.035 m)(0.010 m)
ชิ้นสวนของแทงเหล็ก
- สมการความสมดุล

- เขียน axial force


diagram
สรุป: แรงในแนวแกน
สูงสุดมีคา 30 kN เกิดขึ้น
ในชวง BC
ตัวอยางที่ 1-4 หา Internal Loading: สมการความสมดุล
โคมไฟมีน้ําหนัก 80 kg ถากําหนดให rod AB และ BC มีเสนผานศูนยกลาง 4
∑F x = 0; FBC ( ) − FBA cos 60o = 0
5
10 mm และ 8 mm จงหาหนวยแรงตั้งฉากเฉลี่ยที่เกิดขึ้นใน rod ทัง้ สอง
∑F y = 0;
หา Internal Loading 3
FBC ( ) + FBA sin 60o − 784.8 N=0
เขียน FBD 5
FBC = 395.2 N
FBA = 632.4 N

หา Average Normal Stress


FBC 395.2 N
σ BC = = = 7.86 MPa
ABC π (0.004 m) 2

FAB 632.4 N
σ AB = = = 8.05 MPa
AAB π (0.005 m) 2

632.4 N 395.2 N
ทบทวน
10 mm
8 mm
สมการความสมดุล (Equations of equilibrium) ใน 2 มิติ
วัตถุใดๆ อยูในสภาวะความสมดุลเมื่อวัตถุนั้นมี T
¾ สมดุลของแรง (balance of force) เพื่อปองกันการเคลื่อนที่ของวัตถุ y
70o
อยางมีความเรง (acceleration)
∑F = 0
Ax

¾ สมดุลของโมเมนต (balance of Ay
moment) รอบจุดใดๆ เพือ่ ปองกัน x 1962 N

การหมุนของวัตถุ
∑M O =0

แรงลัพธภายใน (Internal Resultant Loading)


เมื่อวัตถุอยูในสภาวะสมดุล แรงลัพธภายในทีเ่ กิดขึ้นตรงจุดที่สนใจจะหาได
โดยวิธีตัดหนาตัด (method of sections)

คาน

เมื่อ support ปองกันไมใหเกิดการเลื่อน (translation) เกิดขึ้นในทิศทางใดแลว support


นั้นจะทําใหเกิดแรงปฏิกิริยาขึ้นบนองคอาคารของโครงสรางในทิศทางนั้น
ถา support ปองกันไมใหเกิดการหมุน (rotation) รอบแกนใดๆ แลว support นั้นจะทํา ชิ้นสวนที่ถูกกระทําโดยแรงในแนวแกน
ใหเกิด moment ปฏิกิริยาขึ้นบนองคอาคารของโครงสรางรอบแกนนั้น
หนวยแรง (stress) ที่จดุ หนึ่งบนวัตถุบงบอกถึงความเขมขน
(intensity) ของแรงภายใน (internal force) ทีก่ ระทําอยูบ นพื้นที่เล็กๆ
ที่ตดั ผานจุดนั้นและอยูบนระนาบของหนาตัดของวัตถุดังกลาว
หนวยแรงถูกแบงออกเปน 2 ประเภทตาม
ทิศทางที่แรงกระทํากับพื้นที่นั้น
หนวยแรงตั้งฉาก (normal stress)
หนวยแรงเฉือน (shear stress) หรือ τ คือความเขมขนของแรงภายในที่
หรือ σ คือความเขมขนของแรงภายในที่
กระทําขนานกับพื้นที่ ∆A
กระทําตั้งฉากกับพืน้ ที่เล็กๆ ∆A
∆Ft
τ = ∆lim
∆Fn A→0
∆A
σ = ∆lim
A→0
∆A

การกระจายของคาเฉลี่ยของหนวยแรงตั้งฉาก
ขอสมมุติฐาน
แรงในแนวแกนกระทําผานจุด centroid ของหนาตัดของแทงวัตถุ
แทงวัตถุมีลักษณะตรงทั้งกอนและหลังจากที่ถกู กระทําโดยแรง
หนาตัดของแทงวัตถุยังคงเปนระนาบที่มีลักษณะเหมือนเดิม

dF = σ dA

∫ dF = ∫ σ dA
A

P
σ =
A

You might also like