You are on page 1of 17

Instructor: Assoc. Prof. Dr.

Sittichai Seangatith
Email: sitichai@sut.ac.th
Tel. 044-224326, 4420-1, and 4750-1
Office: Room D23, Academic Building

Textbook:
1. Lecture Note: 430 331 Theory of Structures, Sittichai Seangatith,
2006
THEORY OF STRUCTURES 2. Structural Analysis; SI Edition, R.C. Hibbeler, Prentice Hall, 2005
Objectives:
By Students successfully completing this course will
1. understand the concept of theories and methods of analyzing two
Assoc. Prof. Dr. Sittichai Seangatith dimensional structures including trusses, beams, frames, arches,
SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING
INSTITUTE OF ENGINEERING and cables,
SURANAREE UNIVERSITY OF TECHNOLOGY 2. recognize the limitations and assumptions used to develop the
theories and methods.

ทําไมตองศึกษาวิชานี้ Chapter Subjects:

1. Types of Structures and loads.


1. ฝกการมองปญหาในชีวิตจริงแบบวิศวกร Analysis of Determinate Structures.
Computer software: GRASP or SUTStructor.
ปญหาจริง Model ทฤษฏี คําตอบ
2. Analysis of Statically Determinate Trusses.
2. ทําใหเกิด Engineering senses 3. Shear and Bending Moment Diagrams.

3. ไดประยุกตใช Engineering judgments 4. Cable and Arch.


5. Influence Lines for Beams Floor Girders and Trusses.
4. เปนวิชาบังคับ กว. ของบางสาขาวิชา Maximum Influence.
6. Deflection: Double Integration Method.
5. อื่นๆ Moment Area Method.
Conduct of Course:
7. Deflection: Conjugate Beam Method. Assignments 10%
Method of Virtual Work for Trusses. Quizzes 10%
Midterm Examination I 20%
8. Deflection: Method of Virtual Work for Beams and Frames. Midterm Examination II 20%
9. Deflection: Castigliano’s Theorem for Trusses, Beams, and Midterm Examination III 20%
Frames. Final Examination 20%
Grading Guides:
10. Introduction to Statically Indeterminate Structures. 80 and above A
Force Method for Beams. 75-79 B+
70-74 B
11. Force Method for Frames, Trusses, and Composite Structures.
65-69 C+
60-64 C
Final Examination.
55-59 D+
50-54 D
below 50 F
The above criteria may be changed at the instructor’s discretion.

Attendance Policy:
1. Class attendance is mandatory. Missing classes more than
80% will receive an automatic grade of “F”.
2. Students attending the lectures must bring the calculator for
Midterm Examination II 20% a quiz and the lecture note.

วันศุกรที่ 12 ตุลาคม 2550 15.00-17.00 น. 3. Homework must be turn in 1 week after assigned or after
finishing each chapter.
Final Examination 20%
4. Cheating on the quizzes, homework, and examinations will
วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน 2550 9.00-12.00 น. get a zero score, and/or be punished according to the rules
of Suranaree University of Technology.
5. No make up quizzes or examinations will be given without a
written Dean's permission. Student who passes the make-up
examinations will be given a maximum grade of “C”.
ขั้นตอนการคํานวณ สิ่งที่นักศึกษาจําเปนตองเตรียมตัวในการศึกษาวิชานี้
z อานโจทยอยางระมัดระวัง และหาความสัมพันธของสถานการณทาง 1. ทบทวนการเขียน FBD ของโครงสราง เชน คาน frame และ truss
กายภาพกับทฤษฎี
2. ทบทวนการใชสมการความสมดุลในการหาแรงปฏิกิริยาและแรงภายใน
z เขียนแผนภาพ (diagrams) หรือรูปภาพตางๆ และทําตารางของขอมูล ของโครงสราง
ทีใ่ หมา 3. ทบทวนการเขียน shear และ moment diagram ของคานและ frame
z ใชทฤษฎีและหลักการทีถ่ ูกตองเหมาะสมในการแกปญ  หา
สิ่งที่นักศึกษาจําเปนตองปฏิบัติในการศึกษาวิชานี้
z แกสมการและตรวจสอบความสอดคลองของหนวย และตอบคําตอบ
โดยมีจํานวน significant figures ไมมากไปกวาจํานวน significant 1. เตรียมเอกสารการเรียนใหครบ
figures ของขอมูลทีใ่ หมา 2. อานเอกสารการเรียนอยางเพียงพอ กอนเขาเรียน
z ศึกษาคําตอบวามีความเปนไปไดหรือไม โดยใช engineering 3. หลังจากเขาเรียน ทบทวนเอกสารการเรียนและทําแบบฝกหัดอยาง
judgment และ common sense สม่ําเสมอ

อิทธิบาท 4: การเรียน
ฉันทะ - มีความพอใจ/รักในสิ่งที่เรียน
วิริยะ - มีความเพียร/พยายาม
จิตตะ – มีความตั้งใจ/จิตใจจดจอ
วิมังสา - ใชปญญาไตรตรองและคิดหาเหตุผล
พระวิศวกรรมมา/พระวิศณุกรรม
เปนเทพแหงชาง เปนผูสรรคสรางใหเกิดการสรรคสรางประดิษฐกรรมตาง ๆ ในโลก
Live as if you were to die tomorrow,
Learn as if you were to live forever. วิศวกรรมศาสตร" หมายถึง "ศาสตรที่มีพระวิศวกรรมา (เทวดาแหงชาง) เปนครู"
บทที่ 1
1.1 บทนํา
โครงสรางและน้ําหนักบรรทุก
วัตถุประสงค โครงสราง (structure) เกิดจากการนํา
องคอาคารหรือชิ้นสวนโครงสราง
1. เพื่อใหทราบและเขาใจถึงประเภทตางๆ ของโครงสราง
(structural members) มาเชื่อมตอกันเพื่อ
2. เพื่อใหทราบและเขาใจถึงประเภทตางๆ ของน้ําหนักบรรทุกและ รองรับแรงกระทําตางๆ (loads) ตาม
สามารถคํานวณหาน้ําหนักบรรทุกทีก่ ระทําตอโครงสรางไดอยาง วัตถุประสงคของโครงสราง
ถูกตอง

ชิ้นสวนโครงสรางถูกนํามากอสรางเปนอาคารตองการ: การวางแผน การ ขั้นตอนการกอสรางโครงสราง


วิเคราะห การออกแบบ และการกอสราง “ที่ถกู ตองตามหลักวิชา การวางแผน
วิศวกรรม” กําหนดจุดประสงคและการใชงาน
เลือกรูปแบบที่เหมาะสม (safe, aesthetic, economic)
เลือกวัสดุ การจัดวางองคอาคาร และขนาดของโครงสรางโดยรวม
การวิเคราะห
การวิเคราะหที่ไมถูกตองจะนําไปสูการออกแบบที่ไมถูกตอง
จําลอง (idealization) โครงสราง
หาขนาดของแรงกระทํา (loads) ทีค่ าดวาจะกระทําตอองคอาคาร
และโครงสราง
หาคาแรงที่เกิดขึ้นภายใน (internal forces) และการเปลีย่ นตําแหนง
(displacements)
การออกแบบ องคอาคารของโครงสราง (Structural Elements)
ทําการออกแบบหาขนาดรูปตัดและจุดเชื่อมตอ (connections) ใหมี Tie Rod
strength มี stability และมี deflection ตามที่ไดกาํ หนดไวในมาตรฐาน เปนองคอาคารของโครงสรางที่ถกู กระทําโดยแรงดึง (tensile force)
และขอกําหนดการออกแบบ (design codes และ specifications)
การกอสราง
การกอสรางจะตองถูกตรวจสอบใหเปนไปตามที่ไดออกแบบไวมาก
ที่สดุ เทาที่จะเปนไปได

1.2 Classifications of Structures


รูปแบบ (form)
การใชงาน (function)

คาน (Beams)
เปนองคอาคารของโครงสรางที่มีลักษณะตรง วางอยูในแนวนอน รับ
น้ําหนักบรรทุก (load) ในแนวดิ่งคานมักจะถูกออกแบบใหตานทาน
โมเมนตดัด (bending moments) และแรงเฉือนเปนหลัก
Wide-Flange Beam
แรงภายในที่ top flange และ bottom
flange จะทําใหเกิดแรงคูควบ (couple)
ตานโมเมนต (moment)
web ของคานทําหนาที่ตานแรงเฉือน
Statically determinate beams
(shear force)
Statically คานคอนกรีตเสริมเหล็ก (reinforced concrete beam)
indeterminate beams คอนกรีตทําหนาที่รับแรงกดอัด เหล็ก
เสริมทําหนาที่รับแรงดึงกอใหเกิดแรงคู
ควบตานโมเมนตภายในหนาตัด
เหล็กปลอกของคานทําหนาที่ตานแรง
เฉือนและ/หรือแรงบิด

เสา (Columns)
ถาเสาถูกกระทําโดยแรงอัดในแนวแกนและโมเมนตดัด ซึ่งกอใหเกิด
เปนองคอาคารที่อยูในแนวดิ่งและรับแรงอัดในแนวแกน (axial หนวยแรงดึงในหนาตัดเสา เสาแบบนี้จะมีพฤติกรรมแบบ beam-
compressive loads) ซึ่งกอใหเกิดหนวยแรงกดอัด (compressive stress) column
กระทําตอหนาตัดของเสา
โครงสราง (Structures)
โครงขอหมุน (Trusses) เหมาะสมในกรณีที่โครงสรางมี span ที่ยาวมากและความลึกของ
โครงขอหมุนไมเปนปจจัยสําคัญในการออกแบบและกอสราง
มีพฤติกรรมเหมือนกับคานขนาดใหญ โดยที่โมเมนตดัดทีเ่ กิดขึน้
ในโครงขอหมุนจะถูกเปลี่ยนเปนแรงดึงและแรงอัดในชิ้นสวนของ
โครงขอหมุน

Roof truss
Bridge truss
ประกอบดวยชิ้นสวนรับแรงดึงและแรงอัด ซึ่งถูกจัดเรียงในลักษณะ
ของสามเหลี่ยมตอเนื่องกันไป

Cables และ Arches


Cables
เปนโครงสรางที่ดดั ไปมาไดงาย (flexible) และรองรับแรงกระทําโดย
การพัฒนาแรงดึงในตัว cable

มีความไดเปรียบเหนือคานและโครงขอหมุนเมื่อ span ของโครงสราง


cable มีความยาวมากกวา 45 m
Arches Frame (โครงขอแข็ง)
เปนโครงสรางที่ตานทานแรงกระทําโดยการพัฒนาแรงอัด เปนโครงสรางที่ไดมาจากการนําคานและเสามาเชื่อมตอกันดวย pinned
(compression forces) ขึ้นภายในตัว arch เปนหลัก joint หรือ rigid joint

ตองมีความแกรง (rigidity) เพื่อรักษารูปรางภายใตแรงกด ซึ่งกอใหเกิด


แรงเฉือน (shear) และโมเมนตดัด (bending moment) ขึ้นภายในตัว arch
มักเปนโครงสรางแบบ statically indeterminate structure

Surface Structures
เปนโครงสรางที่มีพื้นผิวอยูใน 3 มิติและถูกสรางโดยใชวัสดุที่มีขนาด
บาง เมื่อเปรียบเทียบกับความกวางและความยาวของโครงสรางโดยรวม

statically determinate frame statically indeterminate frame


1.3 น้ําหนักบรรทุก (Loads)
Loads ทีใ่ ชในการออกแบบโครงสรางถูกกําหนดโดยมาตรฐานตางๆ คือ มาตรฐานการออกแบบ (design code)
มาตรฐานอาคาร (building code) ขอกําหนดมาตรฐานของรายละเอียดทางเทคนิคในการออกแบบ
ขอกําหนดที่องคกรของรัฐบาลบัญญัติขึ้นมาเพื่อกําหนดคาต่ําสุด โครงสราง
ของแรงหรือน้ําหนักบรรทุกทีจ่ ะใชในการออกแบบโครงสราง มาตรฐาน ว.ส.ท. ของวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย
(minimum design loads) และมาตรฐานต่ําสุดทีจ่ ะใชในการ ACI Code
กอสรางโครงสรางนั้น
AASHTO Specifications for Highway Bridges
ขอบัญญัติกรุงเทพมหานครของกรุงเทพมหานคร
AISC Manual of Steel Construction
Uniform Building Code (UBC)
American National Standard Building Code (ANSI)

น้ําหนักบรรทุกคงที่ (Dead Loads) EXAMPLE


เปนน้ําหนักของโครงสรางหรือเปนน้ําหนักของวัตถุใดๆ ที่วางอยูบน จงหา dead load ของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
โครงสรางอยางถาวร
คอนกรีตเสริมเหล็ก 23.6 kN/m3
เหล็ก 77.0 kN/m3
อิฐ 18.9 kN/m3
ไม 6.0 kN/m3
วัสดุมุงหลังคา 50-180 kN/m2
โครงหลังคาไม 100-200 kN/m2 จากหนาตัดของคาน ปริมาตรของคานตอความยาว 1 m มีคาเทากับ
ฝาเพดาน 140-250 N/m2 0.1 m(0.55 m)+0.15 m(0.40 m) = 0.115 m3
กําแพงอิฐมอญ 1.8-3.5 kN/m2
กําแพงอิฐบล็อก 1.0-2.0 kN/m2 จากตาราง น้ําหนักของคานตอความยาวคาน 1 m มีคาเทากับ
ฝาไม ไมอัด รวมเครา 120-300 N/m2 0.115 m3 (23.6 kN/m3) = 2.714 kN
พื้นไม รวมตง 300 N/m2
w0 = 2.71 kN/m
EXAMPLE น้ําหนักบรรทุกจร (Live loads)
จงหา dead load ทีก่ ระทําตอคาน 1 m เมื่อ เปนน้ําหนักบรรทุกที่มกี ารเปลีย่ นแปลงทั้งขนาดและตําแหนงตามเวลา
คอนกรีตเสริมเหล็ก 23.6 kN/m3 หรือเปนน้ําหนักของวัตถุที่วางอยูบนโครงสรางแบบชัว่ คราว หรือแรง
กระทําที่เกิดจากธรรมชาติ เชน แรงลมและแรงแผนดินไหว เปนตน
อิฐ 18.9 kN/m3
น้ําหนักบรรทุกจรบนอาคาร (Building loads)
ฝาเพดาน 0.2 kN/m2
สมมุติใหมีการกระจายสม่ําเสมอและขึ้นอยูกบั ลักษณะการใชงานน
อาคาร
หลังคา 0.5 kN/m2
Concrete slab: 23.6 kN/m3(2 m)(0.1m)(1 m) = 4.72 kN
กันสาด 1.0 kN/m2
Plaster ceiling: 0.2 kN/m2(2 m)(1 m) = 0.40 kN
ที่พักอาศัย โรงเรียนอนุบาล หองน้ํา หองสวม 1.5 kN/m2
Block wall: 18.9 kN/m3(2.5 m)(0.30 m)(1 m) = 14.20 kN อาคารชุด หอพัก โรงแรม 2.0 kN/m2
dead load ทีก่ ระทําตอคาน = 19.32 kN สํานักงาน ธนาคาร 2.5 kN/m2
w = 19.32 kN/m อาคารพาณิชย มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน 3.0 kN/m2

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2522 กําหนดใหมีการลดขนาดของคา


ต่ําสุดของน้ําหนักบรรทุกจรแบบกระจายสม่ําเสมอที่กระทําอยูบ นพื้น เพื่อ
ใชในการคํานวณหาน้ําหนักที่ถา ยลงเสาและฐานราก ในโครงสราง ยกเวน ลดลงไดรอ ยละ0
โรงมหรสพ หอประชุม หอสมุด พิพิธภัณฑ อัฒจันทร คลังสินคา โรงงาน ลดลงไดรอ ยละ0
ลดลงไดรอ ยละ0
อุตสาหกรรม อาคารจอดรถยนตหรือเก็บรถยนต ดังตอไปนี้ ลดลงไดรอ ยละ10
หลังคาหรือดาดฟา ลดลงไดรอยละ0 ลดลงไดรอ ยละ20
ลดลงไดรอ ยละ30
ชั้นที่ 1 ถัดจากหลังคาหรือดาดฟา ลดลงไดรอยละ0 ลดลงไดรอ ยละ40
ชั้นที่ 2 ถัดจากหลังคาหรือดาดฟา ลดลงไดรอยละ0 ลดลงไดรอ ยละ50
ชั้นที่ 3 ถัดจากหลังคาหรือดาดฟา ลดลงไดรอยละ10 ลดลงไดรอ ยละ50
ลดลงไดรอ ยละ50
ชั้นที่ 4 ถัดจากหลังคาหรือดาดฟา ลดลงไดรอยละ20 ลดลงไดรอ ยละ50
ชั้นที่ 5 ถัดจากหลังคาหรือดาดฟา ลดลงไดรอยละ30 ลดลงไดรอ ยละ50
ชั้นที่ 6 ถัดจากหลังคาหรือดาดฟา ลดลงไดรอยละ40
ชั้นที่ 7 ถัดจากหลังคาหรือดาดฟา และชั้นตอลงไป ลดลงไดรอยละ50
น้ําหนักบรรทุกจรบนสะพาน (Bridge Loads)
มาตรฐานสะพานบนทางหลวง (Standard Specifications for
Highway Bridges) ของ AASHTO ไดกาํ หนดน้ําหนักบรรทุกจร
ของรถบรรทุกที่จะใชในการออกแบบสะพาน

ในการออกแบบโครงสรางสะพาน AASHTO กําหนดใหสมการที่ใชในการ แรงลม (Wind Loads)


คํานวณหาแรงกระแทกในรูป
15
I= ≤ 0.30
L + 38

เมื่อ L = ความยาวของ spans ที่ถกู กระทําโดยน้ําหนักบรรทุกจรมีหนวยเปน m


ถาสะพานสั้นกวา 22 m แลว I = 0.3 เมื่อโครงสรางถูกกระทําโดยลม ความดันของลมเฉลี่ย (mean wind
แรงกระทําตามความยาวของสะพานเนื่องจากการเบรกยานพาหนะมีคาเทากับ pressure) ทีก่ ระทําตอโครงสรางหามาไดจาก
1
0.1 x (น้ําหนักบรรทุกจร) q= ρ v2
2
หลังจากที่แปลงหนวยตาง ๆ แลว
q (psf) = 0.00256 [v (mph )]2
q (N/m 2 ) = 0.04724 [v (km/h )]2

q (kg/m 2 ) = 0.04816 [v (km/h )]2


UBC ไดคํานึงถึงคาสัมประสิทธิ์ตางๆ ในการหาแรงลมในรูป
p = Ce C q I w (q)

โดยที่ Ce = Combined height, exposure, and gust factor coefficient


Cq = Pressure coefficient
Iw = Important factor

Ce = Combined height, exposure, and gust factor coefficient Iw = Important factor


ลักษณะการใชงาน Importance factor
ระดับความสูงเฉลี่ยเหนือพื้นดิน (m) Exposure D Exposure C Exposure B
0-4.6 1.39 1.06 0.62
I. Essential facilities 1.15
6.0 1.45 1.13 0.67 II. Hazardous facilities 1.15
7.6 1.50 1.19 0.72 III. Special occupancy 1.00
9.1 1.54 1.23 0.76 structures
12.2 1.62 1.31 0.84 IV. Standard occupancy 1.00
18.3 1.73 1.43 0.95 structures
24.4 1.81 1.53 1.04
30.5 1.88 1.61 1.13
Cq = Pressure coefficient
36.6 1.93 1.67 1.20
48.8 2.02 1.79 1.31
61.0 2.10 1.87 1.42
91.4 2.23 2.05 1.63
122.0 2.34 2.19 1.80
รายละเอียดของโครงสราง คาสัมประสิทธิ์ กรุงเทพมหานครไดออกขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2522 สําหรับ
ผนัง ใชคํานวณออกแบบโครงอาคารเนื่องจากแรงลมดังตอไปนี้
- ผนังดานรับลม (Windward wall) 0.8 inward ที่สูงไมเกิน 10 เมตร 0.5 kN/m2 100 km/h
- ผนังดานทายลม (Leeward wall) 0.5 outward
ที่สูงกวา 10 เมตร แตไมเกิน 20 เมตร 0.8 kN/m2 130 km/h
หลังคา
ที่สูงกวา 20 เมตร แตไมเกิน 40 เมตร 1.2 kN/m2 160 km/h
ลมพัดในทิศทางตั้งฉากกับแนวสันหลังคา (Ridge) 0.7 outward
- หลังคาดานทายลม (Leeward roof) หรือหลังคา ที่สูงกวา 40 เมตร 1.6 kN/m2 180 km/h
แบบแบนราบ (Flat roof) 0.7 outward
- หลังคาดานรับลม (Windward roof)
ความชันหลังคานอยกวา 1:6 0.9 outward หรือ
ความชันหลังคามีคา 1:6 แตนอ ยกวา 3:4 0.3 inward
ความชันหลังคามีคา 3:4 ถึง 1:1 0.4 inward
ความชันหลังคามีคามากกวา 1:1 0.7 inward
ลมพัดในทิศทางขนานกับแนวสันหลังคา (Ridge) และ
แบบแบนราบ (Flat roof) 0.7 outward

แรงเนื่องจากแผนดินไหว (Earthquake Loads)

1.2 kN/m2

ถาเสามีความแกรงสูงและ block มีมวลนอยแลว คาบของการสั่นของ


0.8 kN/m2 block จะสั้นและ block จะมีความเรงและการเคลื่อนที่เกือบเทากับ
พื้นดิน ซึ่งจะทําใหคาความแตกตางของการเปลี่ยนตําแหนงของ block
0.5 kN/m2 กับพืน้ ดินที่นอยมาก และหนวยแรงที่เกิดขึ้นในองคอาคารจะมีคานอย
ถาเสามีความความแกรงนอยและ block มีมวลมากแลว การเคลื่อนที่
จะกอใหเกิดความเรงบนตัว block เพียงเล็กนอย แตจะกอใหเกิดการ
เปลี่ยนตําแหนงสัมพัทธระหวาง block กับพื้นดินสูง ซึ่งจะทําใหเกิด
หนวยแรงในโครงสรางที่มีคาสูงมาก
ANSI A58.1-1992 กําหนดสมการที่จะใชในการคํานวณหาคาแรงเฉือน
ที่เกิดขึ้นที่ฐานราก (base shear ) โครงสรางเนื่องจากแผนดินไหวอยูในรูป
V = ZIKCSW

โดยทีค่ า factor ตางๆ เหลานี้จะหาไดจากตารางใน ANSI code ซึ่ง


Z ขึ้นอยูก ับ earthquake zone
I ขึ้นอยูก ับความสําคัญของอาคารในแงของการใชงาน
K ขึ้นอยูก ับรูปรางของโครงสรางของอาคาร
C ขึ้นอยูก ับ vibrational characteristics ของโครงสรางของอาคาร
S ขึ้นอยูก ับชนิดของดินที่รองรับโครงสราง
W ขึ้นอยูก ับน้ําหนักของโครงสราง

แรงดันน้ําสถิตและแรงดันของดิน (Hydrostatic and Soil Pressure) Load Combinations


แรงดันเหลานี้หาไดโดยใชหลักทาง hydrostatic และกลศาสตรของดิน ใชหาคาแรงวิกฤติและใกลเคียงกับความเปนจริงที่สดุ ทีก่ ระทําอยูบ น
โครงสราง โดยรูปแบบการรวมของแรงตางๆ โดยพิจารณาจากความ
เปนไปไดทแี่ รงเหลานั้นจะกระทําตอโครงสรางในเวลาเดียวกัน
กฎกระทรวงฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527
ในการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กโดยใช ultimate strength
design
1. สําหรับสวนของอาคารที่ไมคิดแรงลม: 1.7D + 2.0L
แรงอื่นๆ 2. สําหรับสวนของอาคารที่ไมคิดแรงลม:
ขึ้นอยูกบั ที่ตงั้ และการใชงานของโครงสราง เชน แรงที่เกิดจากการ 0.75 [1.7D + 2.0L + 2.0W] หรือ 0.9D + 1.3W
ระเบิด การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และการทรุดตัวที่ไมเทากันของฐาน โดยใหใชคาน้ําหนักประลัยที่มากกวา ทั้งนี้ตองไมนอยกวาในกรณีไม
ราก เปนตน คิดแรงลม
Load and Resistance Factor Design (LRFD) or Ultimate Strength Load and Resistance Factor Design (LRFD) or Ultimate Strength
Design (USD) Design (USD)
สําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
สําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก: 1.) 1.4D
1.) 1.4D + 1.7L 2.) 1.2D + 1.6L + 0.5(roof live load)
2.) 0.75 [1.4D + 1.7L + 1.7W] 3.) 1.2D + 0.5L (หรือ 0.8W) + 1.6(roof live load)
3.) 0.9D + 1.3W 4.) 1.2D + 0.5L + 0.5(roof live load) + 1.3W
4.) 1.4D + 1.7L + 1.7(soil pressure) 5.) 1.2D + 0.5L + 1.5E
5.) 0.75 [1.4D + 1.7(temperature load) + 1.7L] 6.) 0.9D-1.3W (หรือ 1.5E)
6.) 1.4(D + temperature load)
Allowable Stress Design (ASD)
1.) D + L + [roof live load]
2.) D + L + [W หรือ E]
End of Chapter 1

You might also like