You are on page 1of 86

หนังสือเล่มนี้ได้รับการสนับสนุนจาก

ผู้เรียบเรียงซึ่งเป็นวิศวกรเครื่องกล
ไม่ประสงค์ออกนามได้มอบให้กบั
บริษัท Perfect Safety Training and Consulting Co.,Ltd
เพื่อให้ผสู้ นใจดาวน์โหลดนาไปศึกษาและใช้ประกอบการอบรมได้โดยไม่ตอ้ ง
ขออนุญาตแต่ประการใดแต่ไม่อนุญาตให้ตดั ดัดแปลง แก้ไขเอกสารฉบับนี ้

Credit : ภาพบางภาพได้นามาจากเว็ปไซด์และคู่มืออบรมปั้นจั่นชนิดติด
ตัง้ อยู่กบั ที่ซ่งึ เรียบเรียงโดย อ.จักร ศิรภิ กั ดิ์
จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี ้ ทัง้ นีผ้ เู้ รียบเรียงประสงค์เพื่อให้เกิดความรู ้
ความเข้าใจและนาไปสูก่ ารปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่พนักงานและผูท้ ่ี
เกี่ยวข้องเพื่อความปลอดภัยของสังคมไทยโดยรวม
หมายเหตุ กรณีท่ีผใู้ ดพบว่าข้อความใด ภาพใดที่ปรากฏในหนังสือเล่มนีเ้ ป็ น
ลิขสิทธิ์เฉพาะของท่าน กรุณาแจ้งมายัง perfectsafety.psct@gmail.com
0

หลักสู ตรอบรมการทางานเกีย่ วกับปั้นจั่น

1. กฎหมายความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องในการทางานกับปั้ นจัน่ 1-16

- กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร ปั้ นจัน่ และหม้อน้ า พ.ศ. ๒๕๕๒

- ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
เรื่ อง กาหนดรู ปภาพการใช้สัญญาณมือในการสื่ อสารระหว่างผูป้ ฏิบตั ิงานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ พ.ศ. ๒๕๕๓

- ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการ การใช้เชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ. ๒๕๕๓

- ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ พ.ศ. ๒๕๕๔

2. มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย 17-19
3. ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้ นจัน่ และชนิดของปั้ นจัน่ 20-28
4. ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก 29-40
5. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผูบ้ งั คับปั้ นจัน่ ผูใ้ ห้สัญญาณแก่ผบู ้ งั คับปั้ นจัน่ 41-43
6. ความปลอดภัยในการทางาน สาเหตุและกรณี ศึกษาการเกิดอุบตั ิเหตุของปั้ นจัน่ 44-47
7. ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น 48-49
8. ระบบสัญญาณเตือน และ Limit switch 50-51
9. การใช้สัญญาณมือ 52-53
10. การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก 54-64
11. วิธีผกู มัดและการยกเคลื่อนย้าย 65-72
12. การประเมินน้ าหนักสิ่ งของ 73-74
13. การใช้คู่มือการใช้งาน การตรวจสอบ และการบารุ งรักษาตามระยะเวลา 75-84

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
หน้า ๔ 1

เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๓๘ ก ราชกิจจานุ เบกษา ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๒

กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับเครื่ องจักร ปั้นจั่น และหม้ อนา้

พ.ศ. ๒๕๕๒

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๖ และมาตรา ๑๐๓ แห่งพระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงานพ.ศ. ๒๕๔๑


อันเป็ นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบ
กับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัย
อานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ กฎกระทรวงนี้ให้ใช้บงั คับเมื่อพ้นกาหนดเก้าสิ บวันนับแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“เครื่ องจักร” หมายความว่า สิ่ งที่ประกอบด้วยชิ้นส่ วนหลายชิ้นสาหรับก่อกาเนิ ดพลังงาน
เปลี่ยนหรื อแปลงสภาพพลังงาน หรื อส่ งพลังงาน ทั้งนี้ ด้วยกาลังน้ า ไอน้ า เชื้อเพลิง ลม ก๊าซ ไฟฟ้า
หรื อพลังงานอื่น และหมายความรวมถึงเครื่ องอุปกรณ์ ล้อตุนกาลัง รอก สายพาน เพลา เฟื อง
หรื อสิ่ งอื่นที่ทางานสัมพันธ์กนั รวมทั้งเครื่ องมือกล
“เครื่ องป้ องกันอันตรายจากเครื่ องจักร” หมายความว่า ส่ วนประกอบหรื ออุปกรณ์ที่ออกแบบ
หรื อติดตั้งไว้บริ เวณที่อาจเป็ นอันตรายของเครื่ องจักร เพื่อช่วยป้ องกันอันตรายแก่บุคคลที่ควบคุมหรื อ
อยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
หน้า ๕ 2

เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๓๘ ก ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๒


“เครื่ องปั๊ มโลหะ” หมายความว่า เครื่ องจักรที่ใช้สาหรับการปั๊ ม ตัด อัด เฉือน หรื อขึ้นรู ปชิ้นส่ วนโลหะหรื อ
วัสดุอื่น

“รถยก” หมายความว่า รถที่ติดตั้งอุปกรณ์ใช้สาหรับการยกหรื อเคลื่อนย้ายสิ่ งของ

“ปั้ นจัน่ ” หมายความว่า เครื่ องจัก รที่ ใช้ย กสิ่ งของขึ้ นลงตามแนวดิ่ งและเคลื่ อนย้ายสิ่ งของเหล่ านั้น ใน
ลักษณะแขวนลอยไปตามแนวราบ และให้หมายความรวมถึ งเครื่ องจักรประเภทรอกที่ ใช้ยกสิ่ งของขึ้ นลงตาม
แนวดิ่งด้วย

“ลวดสลิ ง” หมายความว่า เชื อกที่ ท าด้วยเส้ นลวดหลายเส้ นที่ ตีเกลี ยวหรื อพันกันรอบแกนชั้นเดี ยวหรื อ
หลายชั้น

“ค่ า ความปลอดภัย ” (Safety Factor) หมายความว่า อัต ราส่ ว นระหว่างแรงดึ ง ที่ ล วดสลิ ง และอุ ป กรณ์
ประกอบการยกรั บ ได้สู ง สุ ดต่ อแรงดึ งของลวดสลิ ง และอุ ป กรณ์ ป ระกอบการยกที่ อ นุ ญ าตให้ ใ ช้ง านได้อย่า ง
ปลอดภัย

“ผูบ้ งั คับปั้ นจัน่ ” หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งมีหน้าที่บงั คับการทางานของปั้ นจัน่ ให้ทางานตามความต้องการ

“หม้อน้ า” หมายความว่า ภาชนะปิ ดที่ผลิตน้ าร้อนหรื อไอน้ าที่มีความดันสู งกว่าบรรยากาศ

โดยใช้ความร้อนจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง หรื อความร้อนจากพลังงานอื่น

“ผูค้ วบคุมหม้อน้ า” หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งนายจ้างจัดให้มีหน้าที่ควบคุมการทางานและการใช้หม้อน้ า

“การตรวจสอบ” หมายความว่า การตรวจพิจารณาความเรี ยบร้อยของชิ้นส่ วนหรื อกลไก

การทางานของเครื่ องจักร ปั้ นจัน่ และหม้อน้ า ตามที่กาหนดไว้ในคู่มือของผูผ้ ลิต

“การทดสอบ” หมายความว่า การตรวจสอบและทดลองใช้งานชิ้นส่ วนอุปกรณ์หรื อกลไก

การทางานของอุปกรณ์เพื่อความถูกต้องโดยวิศวกร

“วิศวกร” หมายความว่า ผูซ้ ่ ึ งได้รับใบอนุ ญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชี พวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วย


วิศวกร

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
3

หมวด ๒

ปั้ นจัน่

ส่ วนที่ ๑

บททัว่ ไป

ข้อ ๔๘ ในการประกอบ การทดสอบ การใช้ การซ่อมบารุ ง และการตรวจสอบปั้ นจัน่ หรื ออุปกรณ์อื่นที่


นามาใช้กบั ปั้ นจัน่ นายจ้างต้องปฏิบตั ิตามรายละเอียดคุณลักษณะหรื อคู่มือการใช้งานที่ผผู ้ ลิตกาหนดไว้ หากไม่มี
รายละเอียดคุณลักษณะหรื อคู่มือการใช้งานดังกล่าว นายจ้างต้องปฏิบตั ิตามรายละเอียดคุณลักษณะหรื อคู่มือการใช้
งานที่วศิ วกรได้กาหนดขึ้นเป็ นหนังสื อ
ข้อ ๔๙ นายจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบและการตรวจสอบการติดตั้งปั้ นจัน่ ตามรายละเอียดคุณลักษณะ
และคู่มือการใช้งานของผูผ้ ลิ ตโดยวิศวกรก่อนการใช้งาน และจัดทารายงานการตรวจสอบและการทดสอบ ซึ่ งมี
ลายมือชื่ อวิศวกรรับรอง เก็บไว้ให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ในกรณี ที่มีการหยุดใช้งานปั้ นจัน่ ตั้งแต่หก
เดือนขึ้นไป ก่อนนามาใช้งานใหม่นายจ้าง ต้องดาเนินการตามวรรคหนึ่ง
ข้อ ๕๐ นายจ้างต้องจัดให้มีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ปี ละไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งครั้งตาม
ประเภทและลักษณะของงาน ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิ บดีประกาศกาหนด
ข้อ ๕๑ ในกรณี ที่นายจ้างให้ลูกจ้างทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ นายจ้างต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) ควบคุมให้มีลวดสลิงเหลืออยูใ่ นม้วนลวดสลิงไม่นอ้ ยกว่าสองรอบ ตลอดเวลาที่ป้ ั นจัน่ ทางาน
(๒) จัดให้มีชุดล็อกป้ องกันลวดสลิ งหลุ ดจากตะขอของปั้ นจัน่ และทาการตรวจสอบให้อยู่ในสภาพที่ใช้
งานได้อย่างปลอดภัย
(๓) จัดให้มีที่ครอบปิ ดหรื อกั้นส่ วนที่ หมุนรอบตัวเอง ส่ วนที่เคลื่ อนไหวได้ หรื อส่ วนที่อาจเป็ นอันตราย
ของปั้ นจัน่ และให้ส่วนที่เคลื่ อนที่ของปั้ นจัน่ หรื อส่ วนที่หมุนได้ของปั้ นจัน่ อยูห่ ่ างจากสิ่ งก่อสร้างหรื อวัตถุอื่นใน
ระยะที่ปลอดภัย
(๔) จัดให้มีบนั ไดพร้อมราวจับและโครงโลหะกันตก สาหรับปั้ นจัน่ ที่มีความสู งเกินสามเมตร
(๕) จัดให้มีพ้ืนชนิ ดกันลื่ น ราวกันตก และแผงกันตกระดับพื้น สาหรับปั้ นจัน่ ชนิ ดที่ ตอ้ งมี การจัดทาพื้น
และทางเดิน
(๖) จัดให้มีเครื่ องดับเพลิงที่เหมาะสมกับชนิดของปั้ นจัน่ และใช้การได้ที่หอ้ งบังคับปั้ นจัน่
(๗) ติดตั้งปั้ นจัน่ บนฐานที่มน่ั คงโดยมีวศิ วกรเป็ นผูร้ ับรอง
ข้อ ๕๒ ในกรณี ที่นายจ้างให้ลูกจ้างทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ ที่ใช้เครื่ องยนต์ นายจ้าง
ต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดให้มีที่ครอบปิ ดหรื อฉนวนหุม้ ท่อไอเสี ย

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
4

(๒) จัดให้มีถงั เก็บเชื้อเพลิงและท่อส่ งเชื้อเพลิงติดตั้งอยูใ่ นลักษณะที่จะไม่เกิดอันตรายเมื่อเชื้ อเพลิงหก ล้น


หรื อรั่วออกมา
(๓) จัดให้มีมาตรการในการเก็บและเคลื่อนย้ายเชื้อเพลิงสารองด้วยความปลอดภัย
ข้อ ๕๓ นายจ้างต้องเคลื่อนย้ายวัตถุไวไฟออกจากบริ เวณที่ ใช้ป้ ั นจัน่ กรณี ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้นายจ้าง
ต้องจัดให้มีมาตรการป้ องกันอันตรายที่เหมาะสมก่อนให้ลูกจ้างปฏิบตั ิงาน
ข้อ ๕๔ ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างใช้ป้ ั นจัน่ ที่ชารุ ดเสี ยหายหรื ออยูใ่ นสภาพที่ไม่ปลอดภัย
ข้อ ๕๕ ห้ามนายจ้างดัดแปลงหรื อแก้ไขส่ วนหนึ่งส่ วนใดของปั้ นจัน่ หรื อยินยอมให้ลูกจ้างหรื อผูอ้ ื่นกระทา
การเช่ นว่านั้น อันอาจก่อให้เกิ ดอันตรายได้ ถ้าจาเป็ นต้องดัดแปลงส่ วนที่เกี่ ยวข้องกับโครงสร้ างที่มีผลต่อการรับ
น้ าหนัก นายจ้างต้องจัดให้มีการคานวณทางวิศวกรรมพร้อมกับการทดสอบ
ข้อ ๕๖ นายจ้างต้องจัดให้มีสัญญาณเสี ยงและแสงไฟเตื อนภัยตลอดเวลาที่ป้ ั นจัน่ ทางานโดยติดตั้งไว้ให้
เห็นได้ชดั เจน
ข้อ ๕๗ ในกรณี ที่มีการซ่ อมบารุ งปั้ นจัน่ นายจ้างต้องติดป้ ายแสดงการซ่ อมบารุ งปั้ นจัน่ โดยใช้เครื่ องหมาย
หรื อข้อความที่เข้าใจง่ายและเห็นได้ชดั เจน รวมทั้งจัดให้มีระบบ วิธีการหรื ออุปกรณ์ป้องกันมิให้ป้ ั นจัน่ นั้นทางาน
และให้แขวนป้ ายแสดงเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์หา้ มเปิ ดสวิตช์ไว้ที่สวิตช์ของปั้ นจัน่ ด้วย
ข้อ ๕๘ นายจ้างต้องจัดให้มีป้ายบอกพิกดั น้ าหนักยกไว้ที่ป้ ั นจัน่ และรอกของตะขอติ ดคาเตือนให้ระวัง
อันตราย และติดตั้งสัญญาณเตือนอันตรายให้ผบู ้ งั คับปั้นจัน่ ทราบ
ข้อ ๕๙ นายจ้างต้องจัดทาเส้นแสดงเขตอันตราย เครื่ องหมายแสดงเขตอันตราย หรื อเครื่ องกั้นเขตอันตราย
ในเส้นทางที่มีการใช้ป้ ั นจัน่ เคลื่อนย้ายสิ่ งของ
ข้อ ๖๐ นายจ้างต้องจัดให้มีคู่มือการใช้สัญญาณสื่ อสารระหว่างผูป้ ฏิ บตั ิงานในกรณี ที่การใช้สัญญาณตาม
วรรคหนึ่ งเป็ นการใช้สัญญาณมื อ นายจ้างต้องจัดให้มีรูปภาพหรื อคู่มือการใช้สัญญาณมื อตามที่ อธิ บดี ประกาศ
กาหนด ติดไว้ที่จุดหรื อตาแหน่งที่ลูกจ้างผูป้ ฏิบตั ิงานเห็นได้ชดั เจน
ข้อ ๖๑ ในกรณี ที่ นายจ้างให้ ลู ก จ้างใช้ป้ ั นจัน่ ใกล้ส ายไฟฟ้ า นายจ้างต้องควบคุ ม ดู แลให้ลู ก จ้างปฏิ บ ัติ
ดังต่อไปนี้
(๑) ในกรณี ที่ใช้ป้ ั นจัน่ ยกวัสดุ ให้ระยะห่างระหว่างสายไฟฟ้ากับส่ วนหนึ่งส่ วนใด
ของปั้ นจัน่ หรื อส่ วนหนึ่งส่ วนใดของวัสดุที่ป้ ั นจัน่ กาลังยก เป็ นดังต่อไปนี้
(ก) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าไม่เกินห้าสิ บกิโลโวลต์ ต้องห่างไม่นอ้ ยกว่าสามเมตร
(ข) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเกินห้าสิ บกิโลโวลต์ ต้องห่างเพิ่มขึ้นจากระยะห่างตาม (ก)
อีกหนึ่งเซนติเมตรต่อแรงดันไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นหนึ่งกิโลโวลต์
(๒) ในกรณี ที่เคลื่อนย้ายปั้ นจัน่ ชนิดเคลื่อนที่ โดยไม่ยกวัสดุและไม่ลดแขนปั้ นจัน่ ลง
ให้ระยะห่างระหว่างส่ วนหนึ่งส่ วนใดของปั้ นจัน่ กับสายไฟฟ้า เป็ นดังต่อไปนี้
(ก) สายไฟฟ้ าที่ มี แรงดัน ไฟฟ้ าไม่ เกิ น ห้ าสิ บ กิ โลโวลต์ ต้องห่ างไม่ น้อยกว่าหนึ่ งเมตรยี่สิ บ ห้า
เซนติเมตร

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
5

(ข) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเกินห้าสิ บกิโลโวลต์ แต่ไม่เกินสามร้อยสี่ สิบห้ากิโลโวลต์


ต้องห่างไม่นอ้ ยกว่าสามเมตร
(ค) สายไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าเกินสามร้อยสี่ สิบห้ากิโลโวลต์ ต้องห่างไม่นอ้ ยกว่าห้าเมตร
ข้อ ๖๒ ในกรณี ที่ มีการติ ดตั้งปั้ นจัน่ หรื อใช้ป้ ั นจัน่ ใกล้เสาส่ งคลื่ นโทรคมนาคม ก่ อนให้ลูก จ้างท างาน
นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจสอบการเกิดประจุไฟฟ้ าเหนี่ ยวนา ถ้าพบว่ามีประจุไฟฟ้ าเหนี่ยวนา ให้นายจ้างต่อสาย
ตัวนากับปั้ นจัน่ หรื อวัสดุที่จะยกเพื่อให้ประจุไฟฟ้าไหลลงดิน ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรม
สถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ข้อ ๖๓ นายจ้างต้องประกาศกาหนดวิธีการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ ของลูกจ้าง ติดไว้บริ เวณที่ลูกจ้างทางาน
โดยอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้งาน การซ่ อมบารุ ง และการใช้อุปกรณ์ คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วน
บุคคล
ข้อ ๖๔ นายจ้างต้องจัดให้มี คู่มือการปฏิ บตั ิ งานเกี่ ยวกับ ปั้ นจัน่ ให้ลูกจ้างได้ศึกษา และปฏิ บ ตั ิเพื่ อความ
ปลอดภัยในการทางาน
ข้อ ๖๕ ในกรณี ที่ผบู ้ งั คับปั้ นจัน่ ไม่สามารถมองเห็นจุดที่ทาการยกสิ่ งของหรื อเคลื่อนย้ายวัสดุ นายจ้างต้อง
จัดให้มีผใู ้ ห้สัญญาณแก่ผบู ้ งั คับปั้ นจัน่ ตลอดระยะเวลาที่มีการใช้งาน
ข้อ ๖๖ นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างซึ่ งเป็ นผูบ้ งั คับปั้ นจัน่ ผูใ้ ห้สัญญาณแก่ผบู ้ งั คับปั้ นจัน่ ผูย้ ึดเกาะวัสดุ หรื อผู ้
ควบคุมการใช้ป้ ั นจัน่ ผ่านการอบรมหลักสู ตรการปฏิบตั ิหน้าที่ดงั กล่าว และต้องจัดให้มีการอบรมหรื อทบทวนการ
ทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิ บดีประกาศกาหนด

ส่ วนที่ ๒
ปั้ นจัน่ เหนื อศีรษะและปั้ นจัน่ ขาสู ง

ข้อ ๖๗ ปั้ นจัน่ ชนิดเคลื่อนที่บนรางหรื อปั้ นจัน่ ที่มีรางล้อเลื่อนที่อยูบ่ นแขนปั้ นจัน่ นายจ้าง
ต้องจัดให้มีสวิตช์หยุดการทางานของปั้ นจัน่ ได้โดยอัตโนมัติ และให้มีกนั ชนหรื อกันกระแทกที่ปลาย
ทั้งสองข้างของรางด้วย
ข้อ ๖๘ นายจ้างต้องควบคุมดูแลไม่ให้มีสิ่งกีดขวางการเลื่อนของล้อหรื อแขนของปั้ นจัน่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
6

ส่ วนที่ ๓
ปั้ นจัน่ หอสู ง

ข้อ ๖๙ ในกรณี ที่ลูกจ้างปฏิบตั ิงานบนแขนปั้ นจัน่ นายจ้างต้องจัดให้มีราวกันตกไว้ณ บริ เวณที่ปฏิบตั ิงาน


ข้อ ๗๐ นายจ้างต้องจัดให้มีตารางการยกสิ่ งของ ซึ่ งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับน้ าหนักสิ่ งของมุมองศา และ
ระยะของแขนที่ทาการยก ติดไว้ในบริ เวณที่ผบู ้ งั คับปั้นจัน่ เห็นได้ชดั เจน
ข้อ ๗๑ ในกรณี ที่นายจ้างให้ลูกจ้างทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ หอสู ง นายจ้างต้องจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันมิให้
แนวของแขนต่อตามที่ผผู ้ ลิตปั้ นจัน่ ออกแบบไว้ เคลื่อนตกจากแนวเดิมเกินกว่าห้าองศา

ส่ วนที่ ๔
ปั้ นจัน่ หอสู ง

ข้อ ๗๒ นายจ้างที่ติดตั้งปั้ นจัน่ บนรถ เรื อ แพ โป๊ ะ หรื อพาหนะลอยน้ าอย่างอื่นต้องปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้
(๑) ยึดปั้ นจัน่ ไว้กบั รถ เรื อ แพ โป๊ ะ หรื อพาหนะลอยน้ าอย่างอื่น ให้มนั่ คง โดยวิศวกรเป็ นผูร้ ับรอง
(๒) จัดให้มีป้ายบอกพิกดั น้ าหนักยกให้ตรงตามความสามารถในการยกสิ่ งของได้โดยปลอดภัย โดย
น้ าหนักของปั้ นจัน่ รวมกับพิกดั น้ าหนักยกจะต้องไม่เกินระวางบรรทุกเต็มที่ของรถ เรื อ แพ โป๊ ะ หรื อพาหนะลอย
น้ าอย่างอื่น
ข้อ ๗๓ ในกรณี ที่นายจ้างให้ลูกจ้างทางานเกี่ยวกับรถปั้ นจัน่ เรื อปั้ นจัน่ หรื อติดตั้งปั้ นจัน่ บนรถ เรื อ แพ
โป๊ ะ หรื อพาหนะลอยน้ าอย่างอื่น นายจ้างต้องจัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันมิให้แนวของแขนต่อตามที่ผผู ้ ลิตปั้ นจัน่
ออกแบบไว้ เคลื่อนตกจากแนวเดิมเกินกว่าห้าองศา
ข้อ ๗๔ นายจ้างต้องจัดให้มีตารางการยกสิ่ งของ ซึ่ งแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับน้ าหนักสิ่ งของ มุมองศา และ
ระยะของแขนที่ทาการยก ติดไว้ในบริ เวณที่ผบู ้ งั คับปั้ นจัน่ เห็นได้ชดั เจน

ส่ วนที่ ๕
อุปกรณ์ที่ใช้เกี่ยวกับปั้ นจัน่

ข้อ ๗๕ ห้ามนายจ้างใช้ลวดสลิงที่มีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้


(๑) ลวดสลิงที่ลวดเส้นนอกสึ กไปตั้งแต่หนึ่งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นลวด

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
7

(๒) ลวดสลิ งที่ ข มวด ถู ก บดกระแทก แตกเกลี ย วหรื อช ารุ ด ซึ่ งท าให้ป ระสิ ท ธิ ภาพในการใช้งานของ
ลวดสลิงลดลง
(๓) ลวดสลิงมีเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงเกินร้อยละห้าของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม
(๔) ลวดสลิงถูกความร้อนทาลายหรื อเป็ นสนิมมากจนเห็นได้ชดั เจน
(๕) ลวดสลิงถูกกัดกร่ อนชารุ ดมากจนเห็นได้ชดั เจน
(๖) ลวดสลิ งเคลื่ อนที่ที่มีเส้นลวดในหนึ่ งช่ วงเกลี ยว ขาดตั้งแต่สามเส้นขึ้นไปในเกลี ยวเดี ยวกันหรื อขาด
ตั้งแต่หกเส้นขึ้นไปในหลายช่วงเกลียวรวมกัน
(๗) ลวดสลิงยึดโยงที่มีเส้นลวดขาดตรงข้อต่อตั้งแต่สองเส้นขึ้นไปในหนึ่งช่วงเกลียว
ข้อ ๗๖ ห้ามนายจ้างใช้ลวดสลิงที่มีค่าความปลอดภัยน้อยกว่าที่กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้
(๑) ลวดสลิงเคลื่อนที่ ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๖
(๒) ลวดสลิงยึดโยง ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๓.๕
ข้อ ๗๗ ห้ามนายจ้างใช้รอกที่มีอตั ราส่ วนระหว่างเส้นผ่านศูนย์กลางของรอกหรื อล้อใด ๆ
กับเส้นผ่านศูนย์กลางของลวดสลิงที่พนั น้อยกว่าที่กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้
(๑) สิ บแปดต่อหนึ่ง สาหรับรอกปลายแขนปั้ นจัน่
(๒) สิ บหกต่อหนึ่ง สาหรับรอกของตะขอ
(๓) สิ บห้าต่อหนึ่ง สาหรับรอกหลังแขนปั้ นจัน่
ข้อ ๗๘ ห้ามนายจ้างใช้อุปกรณ์สาหรับการผูก มัด หรื อยึดโยงวัสดุที่มีค่าความปลอดภัย
น้อยกว่าที่กาหนดไว้ ดังต่อไปนี้
(๑) ลวดสลิง ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๕
(๒) โซ่ ต้องมีคา่ ความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๔
(๓) เชือก ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๕
(๔) ห่วงหรื อตะขอ ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๓.๕
(๕) อุปกรณ์สาหรับผูก มัด หรื อยึดโยงอื่นนอกเหนื อจากที่กาหนดไว้ใน (๑) ถึง (๔) ต้อง
มีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๓.๕
ข้อ ๗๙ นายจ้างต้องจัดหาวัส ดุ ที่ มี ความทนทานและอ่อนตัวมารองรั บบริ เวณจุ ดที่ มี การสัม ผัสระหว่าง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการผูก มัด หรื อยึดโยง และวัสดุที่ทาการยกเคลื่อนย้าย
ข้อ ๘๐ ในการยกเคลื่ อนย้ายวัส ดุ นายจ้างต้องให้ลูกจ้างผูก มัด หรื อยึดโยงวัส ดุ โดยมี มุ มองศาระหว่าง
อุปกรณ์สาหรับการผูก มัด หรื อยึดโยง และวัสดุที่จะทาการยกไม่นอ้ ยกว่าสี่ สิบห้าองศากรณี ที่มีความจาเป็ นต้องทา
การผูก มัด หรื อยึดโยงด้วยมุมองศาที่นอ้ ยกว่าที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่ ง นายจ้างต้องกาหนดให้มีการคานวณแรงรับ
น้ าหนักของอุปกรณ์สาหรับการผูก มัด หรื อยึดโยงเพื่อให้เกิดความปลอดภัย

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
8

ข้อ ๘๑ ห้ามนายจ้างใช้ตะขอที่มีลกั ษณะอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เว้นแต่นายจ้างได้ทาการซ่อมแซมให้


อยูใ่ นสภาพที่ใช้งานได้ และต้องมีการทดสอบการรับน้ าหนักได้ไม่นอ้ ยกว่าหนึ่ งจุดสองห้าเท่าของน้ าหนักสู งสุ ดที่
อนุญาตให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัยโดยวิศวกร
(๑) มีการบิดตัวของตะขอตั้งแต่สิบองศาขึ้นไป
(๒) มีการถ่างออกของปากเกินร้อยละสิ บห้า
(๓) มีการสึ กหรอที่ทอ้ งตะขอเกินร้อยละสิ บ
(๔) มีการแตกหรื อร้าวส่ วนหนึ่งส่ วนใดของตะขอ
(๕) มีการเสี ยรู ปทรงหรื อสึ กหรอของห่วงตะขอ

หมวด ๔
การคุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคล

ข้อ ๙๖ นายจ้างต้องจัดให้สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการอยูใ่ นลักษณะที่ไม่เป็ น


อันตรายต่อสุ ขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง หากนายจ้างไม่สามารถดาเนินการป้ องกันแก้ไขอันตรายได้
นายจ้างต้องจัดหาอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลที่สามารถป้ องกันอันตรายนั้นให้ลูกจ้างสวมใส่
ข้อ ๙๗ นายจ้างต้องจัดและดูแลให้ลูกจ้างใช้อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลที่ได้มาตรฐานและ
เหมาะสมกับประเภทและชนิ ดของงาน ตลอดเวลาที่ทางาน ดังต่อไปนี้
(๑) งานเชื่ อมหรื อตัดชิ้นงานด้วยไฟฟ้า ก๊าซ หรื อพลังงานอื่น ให้สวมถุงมือผ้าหรื อถุงมือหนังกระบังหน้า
ลดแสงหรื อแว่นตาลดแสง รองเท้านิรภัย และแผ่นปิ ดหน้าอกกันประกายไฟ
(๒) งานลับ ฝน หรื อแต่งผิวโลหะด้วยหิ นเจียระไน ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรื อหน้ากากชนิดใส ถุงมือผ้า
และรองเท้าพื้นยางหุ ม้ ส้น
(๓) งานกลึงโลหะ งานกลึงไม้ งานไสโลหะ งานไสไม้ หรื องานตัดโลหะ ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรื อ
หน้ากากชนิดใส ถุงมือผ้า และรองเท้าพื้นยางหุ ม้ ส้น
(๔) งานปั๊ มโลหะ ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรื อหน้ากากชนิ ดใส ถุงมือผ้า และรองเท้าพื้นยางหุ ม้ ส้น
(๕) งานชุบโลหะ ให้สวมถุงมือยางและรองเท้าพื้นยางหุ ม้ ส้น
(๖) งานพ่นสี ให้สวมที่กรองอากาศสาหรับใช้ครอบจมูกและปากกันสารเคมี ถุงมือผ้าและรองเท้าพื้นยาง
หุม้ ส้น
(๗) งานยก ขนย้าย หรื อติดตั้ง ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือผ้า และรองเท้านิรภัย
(๘) งานควบคุมเครื่ องจักร ให้สวมหมวกนิรภัยและรองเท้าพื้นยางหุ ม้ ส้น

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
9

(๙) งานปั้ นจัน่ ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือผ้าหรื อถุงมือหนัง และรองเท้านิรภัย และในกรณี ป้ ั นจัน่ หอสู ง
ให้สวมใส่ เข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพด้วย
(๑๐) งานหม้อน้ า ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรื อหน้ากากชนิ ดใส ปลัก๊ ลดเสี ยงหรื อครอบหู ลดเสี ยง
ชุดป้ องกันความร้อนหรื ออุปกรณ์ป้องกันความร้อน และรองเท้าพื้นยางหุ ม้ ส้น
นอกจากอุปกรณ์ที่กาหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง ให้นายจ้างจัดอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัย
ส่ วนบุคคลอื่นให้ลูกจ้างตามความเหมาะสมกับลักษณะงานและอันตรายที่อาจเกิดกับลูกจ้างด้วย

ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒


ไพฑูรย์ แก้วทอง
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงแรงงาน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
หน้า ๒๕ 10

เล่ม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๒๕ ง ราชกิจจานุ เบกษา ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๓

รู ปภาพการใช้ สัญญาณมือสื่ อสารระหว่ างผู้ปฏิบัติงานเกีย่ วกับปั้นจั่นท้ายประกาศกรมสวัสดิการและ


คุ้มครองแรงงาน เรื่ อง กาหนดรู ปภาพการใช้ สัญญาณมือในการสื่ อสารระหว่ างผู้ปฏิบัติงานเกีย่ วกับปั้ นจั่น
พ.ศ. ๒๕๕๓

ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้ นจั่นขาสู ง และปั้ นจั่นหอสู ง (ปั้นจั่นชนิดอยู่กบั ที)่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
หน้า ๕๗
11

เล่ม ๑๒๗ ตอนพิเศษ ๑๔๕ ง ราชกิจจานุ เบกษา ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๓

ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการ การใช้เชือก ลวดสลิง และรอก
พ.ศ. ๒๕๕๓

อาศัยอานาจตามความในข้อ ๘๖ แห่ งกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้าน


ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับงานก่อสร้างพ.ศ. ๒๕๕๑ อันเป็ นกฎหมายที่
มี บทบัญญัติบางประการเกี่ ยวกับการจากัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุ คคลซึ่ งมาตรา ๒๙ ประกอบด้วยมาตรา ๓๓
มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมาย อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรี ยกว่า “ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน เรื่ อง หลักเกณฑ์
และวิธีการ การใช้เชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ. ๒๕๕๓”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
ข้อ ๓ ในประกาศนี้
“เชือก” หมายถึง สิ่ งที่มีลกั ษณะเป็ นเส้นทาด้วยวัสดุที่มีคุณสมบัติเหนียวที่ไม่ใช่เส้นลวดหรื อโซ่
เช่ น ด้าย ป่ าน หรื อปอ ที่นามาสาน ถัก มัดฟั่ น หรื อมัดตีเกลียว และให้หมายความรวมถึ งสลิงใยสังเคราะห์ เช่ น
สลิงอ่อน สลิงผ้าใบ หรื อสลิงไนล่อน
“ลวดสลิง” หมายถึง เชือกที่ทาด้วยเส้นลวดหลายเส้นที่ตีเกลียวหรื อพันรอบแกนชั้นเดียว หรื อ หลายชั้น
“รอก” หมายถึง อุปกรณ์ผอ่ นแรงมีลกั ษณะคล้ายล้อเพื่ออานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสิ่ งของ โดย
ร้อยไว้กบั เชือก โซ่ หรื อลวดสลิง

หมวด ๑

บททัว่ ไป

ข้อ ๔ ให้นายจ้างใช้เชือก ลวดสลิง และรอก ให้เป็ นไปตามคุณลักษณะและข้อกาหนดของ


การใช้งาน ที่ผผู ้ ลิตหรื อวิศวกรกาหนด
ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างซึ่ งทางานเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง และรอก ได้ทราบถึงคุณลักษณะและข้อกาหนด
ของการใช้งานของเชือก ลวดสลิง และรอก ตามวรรคหนึ่ง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
12

ข้อ ๕ ให้นายจ้างตรวจสอบเชือก ลวดสลิง รอก และอุปกรณ์ประกอบเบื้องต้นให้อยูใ่ นสภาพปลอดภัย


พร้อมใช้งาน และตรวจตามรายการตามระยะเวลาที่ผผู ้ ลิตหรื อวิศวกรกาหนด
ข้อ ๖ การใช้งานเชือก หรื อลวดสลิงในการยก ดึง ลาก สิ่ งของ นายจ้างต้องจัดให้มีการถักหรื อทาเป็ นบ่วงที่
ปลายเชือกหรื อลวดสลิงโดยการผูก มัด หรื อยึดโยง ให้มน่ั คงแข็งแรงและทดลองยก ดึง ลาก เพื่อตรวจสอบสภาพ
สมดุลย์ก่อนการปฏิบตั ิงานจริ ง
ข้อ ๗ ให้นายจ้างจัดให้มีมาตรการด้านความปลอดภัยในรัศมีการทางานที่อาจได้รับอันตรายจากการใช้
เชือก ลวดสลิง รอก เนื่ องจากการตกหล่น ดีด หรื อกระเด็น และจัดให้มีป้ายเตือนอันตรายดังกล่าว ติดไว้ให้เห็น
ชัดเจน ณ บริ เวณนั้น
ข้อ ๘ ให้นายจ้างควบคุมดูแลมิให้ผใู ้ ดใช้เชือก ลวดสลิง หรื อรอกในการห้อย โหน เกาะขึ้นลงหรื อเคลื่อนที่
จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
ข้อ ๙ ให้นายจ้างจัดให้มีการเก็บและบารุ งรักษาเชือก ลวดสลิง รอก ตามข้อกาหนดชนิ ด ประเภท
วัตถุประสงค์ รายละเอียด และระยะเวลาที่ผผู ้ ลิตหรื อวิศวกรกาหนด

หมวด ๒

เชือก

ข้อ ๑๐ ให้นายจ้างใช้เชือกที่มีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๕ ขณะใช้งาน และต้องควบคุมตรวจสอบมิให้


นาเชือกผุเปื่ อย ยุย่ ชารุ ด สกปรก หรื อพอง อันอาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยมาใช้งานนายจ้างต้องควบคุม
ตรวจสอบเพิม่ เติมมิให้นาสลิงใยสังเคราะห์ที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้ มาใช้งาน
(๑) มีรอยเย็บปริ หรื อขาด
(๒) มีเศษโลหะหรื อสิ่ งอื่นใดฝังตัวอยูใ่ นเส้นใย หรื อเกาะที่ผวิ
(๓) มีรอยเนื่องจากความร้อนหรื อสารเคมี
ข้อ ๑๑ ให้นายจ้างควบคุมดูแลการใช้เชือกสาหรับการยก ดึง ลาก ผูก มัด หรื อยึดโยงมิให้ ถู ลาก กับพื้นดิน
หรื อพื้นผิวขรุ ขระหรื อในขณะใช้งาน
ข้อ ๑๒ ให้นายจ้างจัดให้มีการทาความสะอาดเชือกหลังจากใช้งานเสร็ จสิ้ นแล้ว และเก็บรักษาไว้ใน
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ไม่ให้ถูกความชื้น ความร้อน หรื อสารเคมี

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
13

หมวด ๓

ลวดสลิง

ข้อ ๑๓ ห้ามมิให้นายจ้างนาลวดสลิงที่มีลกั ษณะดังต่อไปนี้ มาใช้งาน


(๑) ถูกกัดกร่ อนชารุ ด หรื อเป็ นสนิมจนเห็นได้ชดั เจน
(๒) มีร่องรอยเนื่ องจากถูกความร้อนทาลาย
(๓) ขมวด (Kink) หรื อแตกเกลียว (Bird Caging)
(๔) เส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงเกินร้อยละห้าของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม
(๕) เส้นลวดในหนึ่งช่วงเกลียว (Lay) ขาดตั้งแต่สามเส้นขึ้นไปในเกลียว (Strand) เดียวกันหรื อขาดตั้งแต่
หกเส้นขึ้นไปในหลายเกลียว (Strands) รวมกัน
ข้อ ๑๔ ลวดสลิงที่นายจ้างนามาใช้สาหรับการผูก มัด หรื อยึดโยงวัสดุ
สิ่ งอื่นใดต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๕
กรณี ใช้ลวดสลิงสาหรับยึดโยงส่ วนใดส่ วนหนึ่งของเครื่ องจักร หรื อปั้ นจัน่
ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๓.๕
กรณี ใช้ลวดสลิงสาหรับเป็ นลวดสลิงวิง่ ต้องมีค่าความปลอดภัยไม่นอ้ ยกว่า ๖
ข้อ ๑๕ กรณี นายจ้างใช้ลวดสลิงสาหรับการผูก มัด หรื อยึดโยงวัสดุ และมีการใช้คลิปตัวยู
เป็ นตัวยึด ต้องจัดให้มีคลิปอย่างน้อยสามอัน โดยให้ดา้ นท้องของคลิปกดอยูก่ บั ปลายลวดสลิงด้านที่รับแรง
ข้อ ๑๖ ให้นายจ้างจัดให้มีการควบคุมดูแลให้มีลวดสลิงเหลืออยูใ่ นม้วนลวดสลิงไม่นอ้ ยกว่า
สองรอบในขณะทางาน
หมวด ๔

รอก

ข้อ ๑๗ ห้ามมิให้นารอก มาใช้งานผิดประเภท เช่น ห้ามนารอกที่ใช้กบั เชือกมาใช้กบั ลวดสลิง


ข้อ ๑๘ นายจ้างต้องใช้รอกที่ผลิตด้วยวัสดุที่แข็งแรงทนทาน เมื่อนารอกมาใช้งาน รอกต้องไม่แตกบิ่น สึ ก
หรอ หรื อชารุ ด
ข้อ ๑๙ ให้นายจ้างปฏิบตั ิเมื่อมีการนารอกมาใช้งาน ดังนี้
(๑) จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ครอบรอก รอกช่วย เพื่อมิให้เชือก ลวดสลิง หลุดจากร่ องรอก
(๒) กาหนดมาตรการสาหรับผูม้ ีหน้าที่เกี่ยวข้องในเขตที่มีการใช้รอกเหนื อระดับพื้นทางเดินและห้ามมิให้
ผูท้ ี่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องเข้าไปในบริ เวณดังกล่าว

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
14

ข้อ ๒๐ ให้นายจ้างควบคุ ม ตรวจสอบการใช้ชุดรอกที่ ใช้แขวนกระเช้านั่งร้ าน (Suspended Scaffold)ให้


เป็ นไปตามคุ ณลักษณะของชุ ดรอก หรื อตามคู่มื อหรื อคาแนะนาการใช้งานของผูผ้ ลิ ตและต้องมี ค วามแข็งแรง
สมบูรณ์สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย

ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓


อัมพร นิติสิริ
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
หน้า ๔๑ 15

เล่ม ๑๒๘ ตอนพิเศษ ๗๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๔


ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
เรื่ อง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่

โดยที่กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชี วอนามัยและ


สภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร ปั้ นจัน่ และหม้อน้ า พ.ศ. ๒๕๕๒ กาหนดให้นายจ้างต้องจัดให้มี
การทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ ของปั้ นจัน่ ปี ละไม่นอ้ ยกว่าหนึ่ งครั้งตามประเภทและลักษณะของงาน ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิ บดีประกาศกาหนด
อาศัยอานาจตามความในข้อ ๕๐ แห่ งกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร ปั้ นจัน่ และหม้อน้ า พ.ศ. ๒๕๕๒
อันเป็ นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการกาจัดสิ ทธิ และเสรี ภาพของบุคคล ซึ่ งมาตรา ๒๙ ประกอบ
กับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ของรัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทยบัญญัติให้กระทาได้โดยอาศัย
อานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายอธิ บดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศนี้เรี ยกว่า “ประกาศกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน เรื่ อง หลักเกณฑ์
และวิธีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
ข้อ ๓ ให้นายจ้างจัดให้มีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ตามประเภท
และลักษณะของงาน ดังนี้
(๑) ปั้ นจัน่ ที่ใช้ในงานก่อสร้าง
(ก) ขนาดพิกดั ยกอย่างปลอดภัยตามที่ผผู ้ ลิตกาหนดไม่เกิน ๓ ตัน ต้องจัดให้มีการ
ทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ทุก ๆ ๖ เดือน
(ข) ขนาดพิกดั ยกมากกว่า ๓ ตันขึ้นไป ต้องจัดให้มีการทดสอบส่ วนประกอบและ
อุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ทุก ๆ ๓ เดือน
(ค) ที่ไม่มีรายละเอียดขนาดพิกดั ยกอย่างปลอดภัยตามที่ผผู ้ ลิตกาหนดในการทดสอบ
ให้นายจ้างทดสอบโดยใช้ขนาดพิกดั ยกตามที่วศิ วกรกาหนด
(๒) ปั้ นจัน่ ที่ใช้งานอื่น ๆ
(ก) ขนาดพิกดั ยกอย่างปลอดภัยตามที่ผผู ้ ลิตกาหนดตั้งแต่ ๑ ตัน แต่ไม่เกิน ๓ ตัน
ต้องจัดให้มีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ปี ละหนึ่งครั้ง
(ข) ขนาดพิกดั ยกมากกว่า ๓ ตัน แต่ไม่เกิน ๕๐ ตัน ต้องจัดให้มีการทดสอบ
ส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ทุก ๆ ๖ เดือน
(ค) ขนาดพิกดั ยกมากกว่า ๕๐ ตันขึ้นไป ต้องจัดให้มีการทดสอบส่ วนประกอบ
และอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ทุก ๆ ๓ เดือน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
16

(ง) ที่ไม่มีรายละเอียดขนาดพิกดั ยกอย่างปลอดภัยตามที่ผผู ้ ลิตกาหนด ในการทดสอบ


ให้นายจ้างทดสอบโดยใช้ขนาดพิกดั ยกตามที่วศิ วกรกาหนด
ข้อ ๔ ปั้ นจัน่ ตามข้อ ๓ ที่หยุดการใช้งานตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป หรื อปั้ นจัน่ ที่มีการซ่ อมแซมที่มีผลต่อความ
ปลอดภัยของปั้ นจัน่ ก่อนนา มาใช้งานใหม่จะต้องจัดให้มีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่
ข้อ ๕ หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้ นจัน่ ให้ดาเนินการดังนี้
(๑) การทดสอบการรับน้ าหนัก
(ก) ปั้ นจัน่ ใหม่ ก่อนจะนามาใช้งานให้ทดสอบการรับน้ าหนักดังนี้
๑) ขนาดไม่เกิน ๒๐ ตัน ให้ทดสอบการรับน้ าหนักที่ ๑ เท่า แต่ไม่เกิน ๑.๒๕ เท่าของพิกดั ยกอย่าง
ปลอดภัย
๒) ขนาดมากกว่า ๒๐ ตัน แต่ไม่เกิน ๕๐ ตัน ให้ทดสอบการรับน้ าหนักเพิ่มอีก ๕ ตัน จากพิกดั ยก
อย่างปลอดภัย
(ข) ปั้ นจัน่ ที่ ใช้งานแล้ว ให้ทดสอบการรับน้ าหนักที่ ๑.๒๕ เท่าของน้ าหนัก ที่ใช้งานจริ งสู งสุ ด
โดยไม่เกิ นพิกดั ยกอย่างปลอดภัยตามที่ผูผ้ ลิ ตกาหนด กรณี ไม่มีพิกดั ยกอย่างปลอดภัยที่ผผู ้ ลิตกาหนด ให้
ทดสอบการรับน้ าหนักตามที่วศิ วกรกาหนด
น้ าหนักที่ใช้ทดสอบการยก อาจใช้การทดสอบด้วยน้ าหนักจริ ง หรื อทดสอบด้วยน้ าหนักจาลอง
(Load Simulation)
(๒) การวัด ขนาดและเส้ น ผ่า นศู น ย์ก ลางให้ ใ ช้เครื่ อ งมื อ ที่ มี ค วามละเอี ย ดในการวัด ไม่ น้ อ ยกว่า ๐.๑
มิลลิเมตร
(๓) การตรวจสอบแนวเชื่อมให้ดาเนินการโดยวิธีตรวจพินิจด้วยสายตา หรื อโดยวิธีอื่นที่เหมาะสม
ข้อ ๖ นายจ้างต้องจัดให้มีเอกสารที่มีขอ้ มูลรายการทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์สาหรับปั้ นจัน่ โดยมี
วิศวกรเครื่ องกลเป็ นผูร้ ับรอง ภาพถ่ ายของวิศวกรขณะทดสอบ และสาเนาใบอนุ ญาตประกอบวิชาชี พวิศวกรรม
ควบคุม และเก็บไว้เป็ นหลักฐานให้พนักงานตรวจแรงงานตรวจสอบได้
ข้อ ๗ นายจ้างต้องปฏิ บตั ิตามคาแนะนา วิธีการแก้ไขข้อบกพร่ องของโครงสร้ างหรื อส่ วนประกอบของ
ปั้ นจัน่ ส่ วนใดส่ วนหนึ่งหรื อทั้งหมดหรื อความไม่สมบูรณ์เชิงวิศวกรรมตามบันทึกของวิศวกรผูท้ ดสอบ

ประกาศ ณ วันที่ ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔


อัมพร นิติสิริ
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
17

2. มาตรฐานสั ญลักษณ์ ความปลอดภัย (Standard Safety Sign)

วัตถุประสงค์ ของป้ ายและสั ญญาลักษณ์ ความปลอดภัย

➢ แสดงให้ทราบถึงอันตรายหรื อความปลอดภัยที่มีอยูใ่ นพื้นที่


➢ ชี้บ่งตาแหน่งหรื อสถานที่ ที่มีอนั ตราย
➢ ชี้แจง – แจ้งให้ทราบถึงคาสัง่ หรื อคาแนะนา
➢ เตือนให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานทราบถึงการสวมใส่ อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัย
➢ แสดงให้ทราบถึงตาแหน่งเครื่ องมือฉุ กเฉิ น เช่น ถังดับเพลิง
➢ แสดงให้ทราบถึงข้อกาหนดที่ตอ้ งปฏิบตั ิ หรื อข้อห้าม

ขอบข่ าย
ใช้กาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับสี ที่ใช้ในการชี้ บ่งความปลอดภัยและหลักการออกแบบเครื่ องหมายเพื่อความ
ปลอดภัยที่ใช้ในสถานที่ทางานและพื้นที่สาธารณะ
มีวตั ถุ ประสงค์ในการเตือนภัย หรื อให้ขอ้ มูลในการป้ องกันอุบตั ิเหตุ อัคคีภยั อันตรายที่เกี่ ยวกับสุ ขภาพ
และอพยพฉุ กเฉิ นรวมถึงใช้เป็ นหลักการพื้นฐานในการจัดทามาตรฐานที่มีเครื่ องหมายเพื่อความปลอดภัย โดยไม่
รวมถึ งเครื่ องหมายที่ใช้ในการควบคุมการจราจร หรื อเครื่ องหมายที่ ใช้โดยมีวตั ถุประสงค์อื่น ๆ ที่ แตกต่างจาก
กฎระเบียบ นอกจากนี้ ยงั มี จุดมุ่งหมายเพื่อกระตุ น้ และสื่ อให้เข้าใจง่ายและรวดเร็ วต่อวัตถุ หรื อสถานการณ์ ใน
ขณะนั้น มี่ มี ผ ลกระทบต่อความปลอดภัยและสุ ขภาพ ทั้งนี้ สี และเครื่ องหมายเพื่ อความปลอดภัย นี้ ต้องใช้เป็ น
ข้อแนะนาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และสุ ขภาพเท่านั้น

สี เพื่อความปลอดภัย (Safety colours) หมายถึง สี ที่มีสมบัติเฉพาะที่สื่อความหมายด้านความปลอดภัย


สี เพื่อความปลอดภัย สี ตดั ความหมาย ตัวอย่างการใช้
สี ขาว ห้าม - ห้ามสู บบุหรี่
สี แดง
อุปกรณ์เกี่ยวกับอัคคีภยั - ห้ามผ่าน
สี ดา - ระวังอันตรายจากกรด
สี เหลือง เตือน
- ระวังอันตรายจากไฟฟ้า
สี ขาว - ต้องสวมอุปกรณ์ปกป้ องตา
สี ฟ้า บังคับให้ตอ้ งปฏิบตั ิ
- ต้องปิ ดสวิตซ์
สี ขาว - ปฐมพยาบาล
สี เขียว แสดงภาวะปลอดภัย
- ทางหนีไฟ

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
18

เครื่ องหมายเพื่อความปลอดภัย (Safety sign) หมายถึง เครื่ องหมายที่ใช้สื่อความหมายด้านความปลอดภัยโดยมี


สี รูปทรงเรขาคณิ ตและสัญลักษณ์ภาพหรื อข้อความแสดงความหมายเพื่อความปลอดภัยเฉพาะอย่าง
รู ปแบบ ความหมาย สี เพื่อความ สี ตดั สี ของ หมายเหตุ
ปลอดภัย สัญลักษณ์ภาพ
พื้นที่ของสี แดงต้องมีอย่างน้อย
ห้าม สี แดง สี ขาว สี ดา ร้อยละ 35 ของพื้นที่ท้ งั หมด
ของเครื่ องหมาย

พื้นที่ของสี ฟ้าต้องมีอย่างน้อย
บังคับให้
สี ฟ้า สี ขาว สี ขาว ร้อยละ 50 ของพื้นที่ท้ งั หมด
ปฏิบตั ิ
ของเครื่ องหมาย

พื้นที่ของสี เหลืองต้องมีอย่าง
เตือน สี เหลือง สี ดา สี ดา น้อย ร้อยละ 50 ของพื้นที่
ทั้งหมดของเครื่ องหมาย

พื้นที่ของสี เขียวต้องมีอย่างน้อย
สภาวะ
สี เขียว สี ขาว สี ขาว ร้อยละ 50 ของพื้นที่ท้ งั หมด
ปลอดภัย
ของเครื่ องหมาย

พื้นที่ของสี แดงต้องมีอย่างน้อย
อุปกรณ์เดี่ยว
สี แดง สี ขาว สี ขาว ร้อยละ 50 ของพื้นที่ท้งั หมด
กับอัคคีภยั
ของเครื่ องหมาย

เครื่ องหมายเสริม (Supplementary sign) หมายถึง เครื่ องหมายที่ช่วยเครื่ องหมายอื่น ให้เกิดความชัดเจนยิง่ ขึ้น
สี ของข้ อมูลเสริม
รู ปทรงเรขาคณิต ความหมาย สี พืน้ สี ตัด
ด้ านความปลอดภัย
สี ขาว สี ดา
ข้อมูลเสริ มหรื อ สี เพื่อความปลอดภัย สี ดา หรื อ สี ขาว สี ใดก็ได้
สี่ เหลี่ยมผืนผ้า ความหมายเสริ ม ของเครื่ องหมายเพื่อ
ความปลอดภัยนั้น

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
19

สั ญลักษณ์ทเี่ กีย่ วข้ องกับการยกเคลื่อนย้ ายวัสดุ


สาหรั บในการยกเคลื่ อนย้ายวัส ดุ โดยใช้ป้ ั นจัน่ เพื่อป้ องกันไม่ให้วสั ดุ เกิ ดความเสี ยหาย ผูท้ ี่ เกี่ ยวข้องจึง
จาเป็ นที่ ต้องทราบสั ญ ลัก ษณ์ ต่าง ๆ ที่ เกี่ ย วกับ การยก ซึ่ งปกติ แล้วสั ญ ลัก ษณ์ จะติ ดไว้บ นหี บ ห่ อของวัส ดุ ที่ ย ก
เคลื่อนย้าย ซึ่งสัญลักษณ์ที่ควรทราบมีดงั นี้

สั ญลักษณ์ ความหมาย
เป็ นสัญลักษณ์แจ้งเพื่อให้ทราบว่า สิ นค้าที่อยูใ่ นกล่องกระดาษ ในหีบห่ อ หรื อกล่องบรรจุ
ภัณฑ์ชนิดนี้ ห้ามวางซ้อนหรื อวางทับกันเพราะอาจจะทาให้สิ่งของด้านในเสี ยหายได้

เป็ นสัญลักษณ์แจ้งเพื่อให้ทราบว่าสิ นค้าที่อยูใ่ นกล่องบรรจุภณ


ั ฑ์ เป็ นสิ นค้าที่เสี ยหายง่าย
และกล่องกระดาษไม่หนามากนัก ควรระมัดระวังในการเคลื่อนย้ายห้ามเหยียบหรื อวาง
ซ้อนกัน
สัญ ลัก ษณ์ ห้ามใช้ตะขอในการเคลื่ อนย้าย เนื่ องจากอาจจะก่ อให้เกิ ดความเสี ยหายกับ
แพคเกจ หี บห่ อ หรื อบรรจุภณั ฑ์ รวมถึงสิ นค้าในบรรจุภณ ั ฑ์น้ นั ๆ ได้ สัญลักษณ์น้ ี มกั จะ
ระบุไว้บนก่องบรรจุภณั ฑ์ที่มีขนาดใหญ่ และมีน้ าหนักมาก
สัญลักษณ์ ห้ามโยนสิ นค้า แสดงให้ทราบว่าควรขนย้ายสิ นค้าอย่างระมัดระวัง ห้ามโยน
สิ นค้าเนื่องจากกอาจจะทาให้สินค้าด้านในกล่องบรรจุภณั ฑ์เสี ยหายได้

สัญลักษณ์ กล่องบรรจุภณ
ั ฑ์น้ ี แสดงให้เห็นว่าสามารถวางซ้อนหรื อทับกันได้ แต่มกั จะมี
จานวนน้ าหนักที่สามารถรับได้แจ้งไว้ดว้ ยทุกครั้งเพื่อป้องกันความเสี ยหาย
สัญลักษณ์ น้ ี นนั่ หมายความว่าสิ นค้าชนิ ดนี้ มีน้ าหนักมาก ไม่สามารถขน หรื อเคลื่อนย้าย
ด้วยการยกหรื อใส่ ลอ้ เข็น ดังนั้นจึงต้องใช้รถยกในการขนย้ายสิ นค้าเป็ นต้น
ทิศทางยกวัสดุ หรื ออุปกรณ์ การยกเคลื่อนย้ายและการวางวัสดุให้ทาตามลู กศรชี้ ข้ ึน โดย
ลูกศรชี้บนเสมอ ตัวอย่างสิ นค้าได้แก่ ตูเ้ ย็น โทรทัศน์

เนื่ องจากเครื่ องหมายเพื่อความปลอดภัยเป็ นการสื่ อสารโดยไม่ใช้ภาษา หรื อ อวัจนภาษา รวมทั้งเป็ นการ


สื่ อสารแบบทางเดียว ดังนั้น เพื่อให้พนักงานทุกคนที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจในความหมายของเครื่ องหมายเพื่อความ
ปลอดภัยอย่างถู ก ต้อง จึ งควรจัดการฝึ กอบรมให้ค รอบคลุ ม พนัก งานทุ กคนที่ เกี่ ยวข้อง พร้ อมทั้งจัดท าเอกสาร
(Handbook) หรื อคู่มือสาหรับพนักงานใหม่ เพื่อให้ทุกคนในสถานที่ทางานสามารถเข้าใจความหมายของรู ปทรง
และสัญลักษณ์ ต่าง ๆ พร้ อมทั้งปฏิ บตั ิตามคาสั่งที่ระบุในสัญลักษณ์ และเครื่ องหมายต่าง ๆ ได้ ซึ่ งจะนาไปสู่ การ
ป้ องกันอันตรายและแก้ไขเหตุฉุกเฉิ นได้อย่างถูกต้องต่อไป และนอกจากนั้นควรจะมีการจัดฝึ กอบรมซ้ าเมื่อมีการ
ปรับเปลี่ยนเครื่ องหมาย

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
20

3. ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับปั้นจั่นและชนิดของปั้นจั่น

ปั้นจั่น (Crane) หมายถึง

เครื่ องจักรที่ ใช้ยกสิ่ งของขึ้ นลงตามแนวดิ่ งและเคลื่ อนย้ายสิ่ งของเหล่ านั้นในลักษณะแขวนลอยไปตาม


แนวราบ และให้หมายความรวมถึงเครื่ องจักรประเภทรอกที่ใช้ยกสิ่ งของขึ้นลงตามแนวดิ่งด้วย
(กฎกระทรวง : กาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร ปั้นจัน่ และหม้อน้ า พ.ศ. 2552)

ชนิดของปั้นจั่น (แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่)
หมายความว่า
ปั้ นจัน่ ที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุม และเครื่ องต้นกาลังอยูใ่ นตัวซึ่ งติดตั้งบน
ปั้นจัน่ ชนิด เคลือ่ นที่
ยานพาหนะที่ขบั เคลื่อนในตัว

หมายความว่า
ปั้ นจัน่ ที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุม และเครื่ องต้นกาลังอยูใ่ นตัวซึ่ งติดตั้งอยู่
ปั้นจัน่ ชนิด อยู่กบั ที่
บนหอสู ง ขาตั้ง หรื อบนล้อเลื่อน

ปั้นจัน่ ชนิด เคลือ่ นที่

ปั้นจั่นตีนตะขาบ (Crawler Crane) ปั้นจั่นตีนตะขาบ (Rough Terrain Crane)

ปั้นจั่นตีนตะขาบ (All Terrain Crane) ปั้นจั่นเรือ (Ship Crane)

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
21

ปั้นจั่นชนิด อยู่กบั ที่


ปั้นจั่นเหนือศีรษะแบบคานเดี่ยว Overhead Cranes (Single Girder)
มีเครนข้าง (End Carriage) วิง่ อยูเ่ หนือรางวิง่ ยาว

คุณสมบัติ
・ปั้ นจัน่ ติดตั้งอยูเ่ หนือรางวิง่
・นิยมใช้กบั ปั้ นจัน่ มีน้ าหนักยกปานกลาง
・สามารถใช้ระยะยกได้สูง
・ขอบเขตการเคลื่อนที่แนวขวางแคบ

ปั้นจั่นเหนือศีรษะแขวนวิง่ ใต้ ราง (Low-Head Crane)


มีเครนข้าง (End Carriage) แขวนและวิง่ อยูใ่ ต้รางวิง่ ยาว

คุณสมบัติ
・ปั้ นจัน่ ติดตั้งแขวนไว้ใต้รางวิง่
・นิยมใช้กบั ปั้ นจัน่ มีน้ าหนักยกปานกลาง
・ขอบเขตการเคลื่อนที่ในแนวขวางกว้าง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
22

ปั้นจั่นเหนือศีรษะแบบคานคู่ Overhead Cranes (Double Girder)


มีคานขวาง (Girder) 2 อัน มีตวั รอกพร้อมชุดขับเคลื่อนแนวขวางวิง่ อยูด่ า้ นบน Girder

คุณสมบัติ
・มักใช้กบั เครนที่มีน้ าหนักยกมาก
・สามารถใช้ระยะยกได้สูงสุ ด
・ขอบเขตการเคลื่อนที่ในแนวขวางแคบ

ปั้นจั่นขาสู ง (Gantry Crane)


ปั้ นจัน่ ที่วง่ิ บนรางวิง่ ยาวที่ติดตั้งอยูบ่ นพื้น

คุณสมบัติ
・นิยมใช้กบั งานภายนอกอาคาร

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
23

ปั้นจั่นขาสู งแบบผสม (semi gantry crane)


ปั้ นจัน่ ที่ดา้ นหนึ่งวิง่ บนรางวิง่ ยาวที่ติดตั้งอยูบ่ นพื้น และอีกด้านวิง่ บนรางวิง่ ยาวที่ติดตั้งอยูด่ า้ นบน

คุณสมบัติ
・นิยมใช้กบั งานภายนอก และ ภายในอาคาร
・ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง สามารถแบ่งระดับใช้ร่วมงานกับปั้ นจัน่ เหนือศีรษะได้

ปั้นจั่นวิง่ รางเดี่ยว (Mono Rail)


ปั้ นจัน่ ที่มีการเคลื่อนที่เฉพาะในแนวขวาง (Traversing) และขึ้น-ลง (Up-Down)
ไม่มีการเคลื่อนในแนวยาว (Traveling)

คุณสมบัติ
・ ใช้ระยะเวลาในการติดตั้งน้อย
・ สามารถใช้งานกับรางโค้งได้

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
24

ปั้นจั่นตั้งเสายื่นแขนหมุน (Pillar Jib Crane)


เป็ นปั้ นจัน่ แบบตั้งเสาโดยมีแขนหมุน (Jib) ยืน่ ออกไป

คุณสมบัติ
・เหมาะสาหรับติดตั้งในที่ที่มีพ้นื ที่การใช้งานจากัด
・สามารถใช้คู่กบั Overhead Crane ได้
・ใช้ระยะเวลาในการติดตั้งน้อย

ปั้นจั่นติดผนังยื่นแขนหมุน Wall Jib Crane


เป็ นปั้ นจัน่ แบบแขวนผนังโดยมีแขนหมุน (Jib) ยืน่ ออกไป

คุณสมบัติ
・สามารถติดตั้งกับเสาหรื อผนังที่มีอยูแ่ ล้วได้
・ใช้ระยะเวลาในการติดตั้งน้อย

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
25

โครงสร้ างของปั้นจั่น

1. คานขวาง (Crane Girder) 5. มอเตอร์ขบั เคลื่อนเครน (Crane traveling motor)


2. รอก (Hoist) 6. ตูไ้ ฟ (Crane Control box)

➢ รอกโซ่ (Chain hoist) 7. รางตัวซี สาหรับสายไฟของรอก (Traveling cable support)


8. รางวิง่ (Crane traveling rail)
➢ รอกสลิง(Wire rope hoist)
9. ห้องบังคับ (Cabin)
3. หัววิง่ (Trolley)
10. บันไดทางเดิน (Ladder)
4. เครนข้าง (End Carriage)
11. ทางเดินสาหรับ ซ่อมบารุ ง (Walk way)

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
26

คาศัพท์เกีย่ วกับปั้นจั่น

พิกดั นา้ หนักยก


น้ าหนักสู งสุ ดที่สามารถยกได้ = น้ าหนักของวัสดุที่ยก + น้ าหนักอุปกรณ์ช่วยยก

พิกดั ความเร็ว
ความเร็ วสู งสุ ดในการเคลื่อนย้ายวัสดุ
・ ความเร็ วในการยกขึ้น – ลง (HOIST) (Lifting Speed)
・ ความเร็ วในการวิง่ แนวขวาง (TROLLEY) (Traversing Speed)
・ ความเร็ วในการวิง่ แนวยาว (END CARRIAGE) (Traveling Speed)

Span(Double Girder)
ระยะห่างของรางวิง่ ทั้งสองข้าง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
27

ระยะยก (Lifting)
ระยะการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของตะขอจากระดับบนสุ ดถึงล่างสุ ด

การยึดเกาะวัสดุ
การใช้ลวดสลิง โซ่ หรื ออุปกรณ์ช่วยยกอื่น ๆ แขวนวัสดุเข้ากับตะขอ

Up-Down
การยกวัสดุข้ ึนด้านบน = Up
การยกวัตถุลงด้านล่าง = Down

Traversing - Traveling
Traversing = การเคลื่อนที่ของหัววิง่ Trolley ตามแนวของ Girder
Traveling = การเคลื่อนที่ของเครนข้าง (End Carriage) ตามแนวของ Runway

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
28

ขอบเขตการทางาน (พืน้ ทีก่ ารทางานของตะขอ)


ขอบเขตที่ป้ ั นจัน่ สามารถใช้เคลื่อนย้ายวัสดุได้

จุดหมุน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
29

4. ความรู้ เบื้องต้ นเกีย่ วกับเชื อก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ ยก

อุ ป กรณ์ ก ารยก (Lifting Gear) หมายถึ ง วัส ดุ , อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ต่ อ พ่ ว งจากตะขอของปั้ นจัน่ ไปยัง วัส ดุ ที่
ต้อ งการยก-ย้าย เช่ น เชื อ กลวดเหล็ ก กล้า (Wire Rope Sling), สลิ ง โซ่ (Chain Sling), สลิ งผ้าเส้ น ใยสั งเคราะห์
(Synthetic Sling), ห่ วงใส่ ส ลัก (Shackles) เป็ นต้น อุ ป กรณ์ ท้ งั หลายเหล่ านี้ ล้วนแล้วแต่ จะต้องรั บ น้ าหนัก เต็ม ที่
ขณะที่ กาลังยก-ย้าย วัสดุ ดังนั้นจึงมี ความจาเป็ นต้องมีการตรวจสอบสภาพของอุ ปกรณ์ ต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพที่
สมบูรณ์ ไม่ชารุ ด เพื่อป้ องกันไม่ให้วสั ดุที่กาลังทาการยก-ย้าย ตกหล่นลงมาด้านล่างอันเนื่ องมาจากการขาด หลุ ด
ของอุปกรณ์ต่าง ๆ

ค่าความปลอดภัย (Safety Factor) คือ อัตราส่ วนระหว่างแรงดึงที่ลวดสลิงและอุปกรณ์ ประกอบการยกรับ


ได้สูงสุ ดต่อแรงดึงของลวดสลิงและอุปกรณ์ประกอบการยกที่อนุญาตให้ใช้งานได้อย่างปลอดภัย

ข้อพิจารณา ค่าความปลอดภัยที่จาเป็ นจะต้องมีเนื่องจากเหตุผลต่าง ๆ ดังนี้

➢ เพื่อลดน้ าหนักยกของลวดสลิงให้ต่ากว่าค่าแรงดึงถึงจุดลวดสลิงขาด ซึ่ งสาเหตุอาจเกิดจากการสึ กหรอ ความ


ล้า การกัดกร่ อน การใช้งานผิดมาตรฐาน ขนาดเล็กลงโครงสร้างเสี ยหายตลอดจนคุณภาพของลวดสลิงไม่ดี
➢ จุดต่อปลายลวดสลิงรวมถึงข้อต่อลวดสลิงต่าง ๆ มีประสิ ทธิ ภาพต่าไม่แข็งแรงเพียงพอ
➢ น้ าหนักที่เพิ่มขึ้นในขณะยกวัสดุเคลื่อนย้ายจากอัตราเร่ งขณะยกขึ้น แรงเฉื่ อยเมื่อวัสดุเคลื่อนที่(Shock load)
➢ แรงดึงลวดสลิงเพิ่มขึ้นเนื่องจากความฝื ด สนิม จุดต่าง ๆ ของลวดสลิงและรอก เป็ นต้น
➢ การยึดเกาะวัสดุเอียงไม่สมดุลขณะทาการยก
➢ ความแข็งแรงของลวดสลิงลดลง เนื่องจากปัจจัยสภาวะแวดล้อม

ผูใ้ ห้สัญ ญาณแก่ ผูบ้ งั คับ ปั้ นจัน่ และผูย้ ึดเกาะวัสดุ ต้องเป็ นผูต้ รวจสอบสภาพของอุ ป กรณ์ การยกต่าง ๆ
ก่อนที่จะนามาใช้งาน เพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น ดังนั้นผูใ้ ห้สัญญาณแก่ผบู ้ งั คับปั้ นจัน่ และผูย้ ดึ เกาะวัสดุ
ต้องรู ้วิธีการในการที่จะตรวจสภาพของอุปกรณ์ ที่จะนามาใช้ในการยก ไม่ว่าจะเป็ นสภาพที่ ดี พร้ อมใช้งานและ
สภาพการชารุ ด ห้ามใช้งาน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
30

เชื อก (Rope)
คุณลักษณะ ชนิดและประเภทของเชื อก
เชือก ทามาจาก ใยเยือ่ ของต้นมะนิลา, ต้นซีแซล, ต้นปอ, กาบมะพร้าว, ฝ้าย และวัตถุสังเคราะห์
มีส่วนประกอบคือ 1. เส้นใย 2. เส้นเข็ด, 3. เกลียวเข็ด ตามรู ป

ชนิดของเชื อกมี 5 ชนิด


1. เชือกมะนิลา ทาจากเยือ่ ในมะนิลา มีสีขาวอมเหลืองจนถึงสี น้ าตาล ใช้ในกิจการทัว่ ไป
2. เชือกซี แซล ทาจากเยือ่ ซี แซลหรื อต้นใบยาคา สี น้ าตาลอ่อนถึงสี น้ าตาลเข้มตามคุณภาพ นิยมใช้ในน้ าทะเลได้ดีมี
ความแข็งแรง 80 เปอร์เซ็นต์ ของเชือกมะนิลา
3. เชือกมาลีน ทา จากเชือกปอ และอาบน้ ามันดินไว้ป้องกันเสื่ อมคุณภาพ
4. เชื อกกาบมะพร้ าวและเชื อกฝ้ าย ท าจากเยื่อกาบมะพร้ าวมี ค วามหยุ่นตัวมาก น้ าหนักเบาลอยน้ าได้ มี ความ
แข็งแรงเพียง 25 เปอร์เซ็นต์ ของเชือกมาลีน
5. เชือกไนล่อน ทาจากใยสังเคราะห์ทางเคมี มีความแข็งแรง 2 เท่าของเชือกมะนิลา เมื่อมีขนาดเท่ากัน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
31

ขีดค่ าความสามารถ ขนาด และนา้ หนัก

ข้ อควรระลึกถึง
1) ไม่ควรออกแรงดึงเกินกว่า 2 เท่าของ SWL ของเชือก
2) เชือกมีเงื่อนอยู่ ขณะใช้งาน จะลดความแข็งแรงลง 30 เปอร์เซ็นต์
3) เชือกนาบกับขอบเหลี่ยมคม จะลดความแข็งแรงลง 50 เปอร์เซ็นต์
4) เชือกอยูก่ ลางแจ้งถูกความร้อนหรื อไอน้ าจะลดความแข็งแรงลง 20 เปอร์เซ็นต์
5) เชือกใช้งานมามากแล้ว หรื อสงสัย ให้ลดความแข็งแรงลง 50 เปอร์เซ็นต์
การระวังรักษาเชื อก
เชื อกจะมี อายุส้ ันและลดความแข็งแรงไป โดยเร็ วเนื่ องจากการเก็บไม่ถูกต้อง การปล่อยให้ถูกความชื้ น หรื อสิ่ ง
ทาลายเกลียวเข็ดของเชือกปลายเชือกที่คลายเกลียวควรผูกปมไว้เสมอให้พนั เข้า 2 แห่ ง ห่ างกันประมาณ 1 - 2 นิ้ ว
ด้วยเงื่อนมัดปลอกให้มีความยาวรอยพัน 1 - 1 1/2 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ของเชือกแล้วจึงทา การตัดเป็ น
วิธีการที่ถูกต้อง
ข้ อระมัดระวังในการรักษาเชื อก
✓ ไม่เก็บเชือกไว้ในที่เปี ยกชื้น ✓ ล้างเชือกที่เปื้ อนโคลนด้วยน้ า
✓ ตากให้แห้งก่อนเก็บ ✓ หลีกเลี่ ยงการลากเชื อกผ่านดิ น,ทราย,ฝุ่ น หรื อ
✓ เก็ บ เชื อ กไว้บ นพื้ น โปร่ ง หรื อ เป็ นตารางให้ ดึงเชือกผ่านวัตถุมีเหลี่ยมคม
อากาศผ่านเข้าออกได้ในตัวขดเชือก ✓ ไม่ ค วรขึ ง เชื อ กไว้ในบริ เวณที่ มี ค วามร้ อนสู ง
✓ ผ่อนเชือกให้หย่อน เมื่อจะถูกฝนหรื อความชื้น และได้รับไอระเหยของสารเคมี
✓ อย่าห่ อหรื อคลุมเชื อกถ้าไม่จา เป็ น จะเกิดไอน้ า ✓ ซ่อมเกลียวเชือกที่ชา รุ ด หรื อขาดโดยเร็ วที่สุด
กลัน่ ตัวขึ้นมาก

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
32

เชื อกลวดเหล็กกล้า (Wire Rope Sling)


ลวดสลิ ง เป็ นอุ ป กรณ์ ช่ วยยกชนิ ดหนึ่ งที่ ใช้งานร่ วมกับ ปั้ นจัน่ เนื่ องจากระดับ ความแข็งแรงขึ้ น อยู่ก ับ
โครงสร้างของลวดสลิง จึงควรเลือกใช้ลวดสลิงให้เหมาะสมกับลักษณะการใช้งาน
ลวดสลิง (Wire Rope) ลักษณะเป็ นเชือกซึ่ งมีเส้นใยทาด้วยโลหะ(เส้นเกลียว)หลายๆกลุ่มพันรอบไส้กลาง
แต่ ล ะเส้ นเกลี ยวประกอบด้วยเส้ นลวด(Wire) หลายๆเส้ นซึ่ งจานวนเส้ น นี้ ข้ ึ น กับ ชนิ ดและขนาดของสลิ งซึ่ ง มี
โครงสร้างดังนี้

สาหรับแกนของเชือกลวดเหล็กกล้า จะทาหน้าที่รักษารู ปทรงของเชือกลวดเหล็กกล้าให้กลม และรักษาให้


ลวดตีเกลียวอยูใ่ นตาแหน่งที่เหมาะสมในระหว่างการใช้งาน ซึ่ งส่ วนใหญ่แกนที่เลือกใช้จะมีอยูด่ ว้ ยกัน 3 แบบ คือ

แกนที่เป็ นเชื อกลวดเหล็กกล้า (Independent wire rope core : IWRC)


แกนที่เป็ นเชือกลวดเหล็กกล้าจะเพิ่มความแข็งแรง ช่วยต้านทานต่อการกระแทก และต้านทาน
ต่อความร้อนได้สูงที่สุด ซึ่ งการใช้งาน IWRC จะใช้เป็ นแกนขนาดเล็ก สาหรับผลิตเชือกลวด
เหล็กกล้าขนาดใหญ่

แกนที่เป็ นลวดตีเกลียว (Wire strand core : WSC)


จะมีความต้านทานต่อความร้อนมากกว่าแกนที่เป็ นไฟเบอร์ และเพิ่มความแข็งแรงให้กบั เชื อก
ลวดประมาณ 15% แต่ทาให้มีความยืดหยุน่ ที่นอ้ ยกว่าแกนที่เป็ นไฟเบอร์

แกนทีเ่ ป็ นไฟเบอร์ (Fiber core : FC)


ส่ วนใหญ่ใช้เป็ น polypropylene (PP) หรื อ polyvinylchloride (PVC) ซึ่งมีขอ้ ได้เปรี ยบคือเพิ่ม
ให้ความยืดหยุ่น (flexibility) ให้สูงขึ้น และช่ วยรองรับแรงค่าความเค้นที่เกิ ดจาก shock loads
นอกจากนี้ ยงั ป้ องกันความเสี ยหายจากการกัดกร่ อน(เนื่ องจากไม่ดูดซับความชื้ น) ผุ (rot) และ
ทนต่อสภาพกรดหรื อด่างอ่อนๆ ได้

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
33

คุณสมบัติของเชื อกลวดเหล็กกล้ า (Wire Rope Sling)


คุณสมบัติของเชือกลวดเหล็กกล้าทนต่อการโค้ง หักงอ บิดตัว คืนตัวสภาพเดิมโดยไม่ลา้ ทนต่อการเสี ยดสี สึกหรอ
ได้ ทนต่อการเสี ยหายจากแรงกระแทก แตกร้ าวได้ดี เมื่อรับน้ าหนักเกลียวลวดต้องต้านทานการหมุนของวัสดุได้
โดยไม่คลายเกลียว ทนต่อการกัดกร่ อนได้ดี

ลวดสลิงสาหรับผูกมัด = 5
ค่ าความปลอดภัย (Safety Factor) ลวดสลิงสาหรับโยงยึดอยูก่ บั ที่ = 3.5
ลวดสลิงวิง่ หรื อเคลื่อนที่ =6.0

การตัดขดลวดสลิง
- มัดลวดสลิงทั้ง 2 จุด โดยให้ปลายของลวดที่มดั ห่างจากกัน
เท่ากับระยะขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดสลิง
- เก็บปลายลวดที่มดั ให้เรี ยบร้อย
- ทาการตัดขดลวดสลิงที่ก่ ึงกลาง ระหว่างที่มดั ลวดทั้งสองด้าน
- เก็บมุมที่คมที่เกิดจากการตัด

สลิงที่ตดั โดยไม่มีการมัดปลายสลิงด้วยลวด ปลายสลิงจะแตกออกจากกลุ่ม


ลวด ถ้าเกิดลักษณะเช่นนี้ให้ใช้ลวดมัดตรงส่วนที่ยงั ไม่มี การแตกตัวของ
กลุ่มลวดและทาการตัดปลายลวดส่วนที่แตกออกจากขดลวด

วิธีการต่ อเชื อกลวดเหล็กกล้า (ลวดสลิง) ให้ ปลอดภัย


ห้ามไม่ให้ต่อเชือกลวดเหล็กกล้าสาหรับการยกน้ าหนักโดยตรง
หรื อโดยการต่อทาบเป็ นอันขาด ต้องใช้ห่วงนิ รภัยสาหรับการต่อ
เชือกลวดเหล็กกล้าโดยเฉพาะเท่านั้น เนื่อง่จากขณะที่กาลังทาการ
ยกวัสดุที่มีน้ าหนัก เชือกลวดเหล็กกล้าที่อยูใ่ นลักษณะต่อทาง
อาจจะรู ดหลุดออกจากกันได้

ระยะต่อทาบของเชื อกลวดเหล็กกล้าต้องไม่น้อยกว่า 40 เท่า ของ Ø และ U-Clip ตัวที่สองต้อง


ติดตั้งให้ชิดห่ วงนิ รภัยมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ จากนั้นจึงค่อยติดตั้งคลิ๊ ปตัวต่อ ๆ ไป โดยให้มีระยะห่ าง
ระหว่างคลิ๊ปไม่เกิน 6 เท่าของ Ø เชือกลวดเหล็กกล้า
คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
34

การทาการถัก หรื อทาเป็ นห่ วงด้ านปลายของลวดสลิง

ห่ วงชนิด Flemish Eye หรื อ Eye Splice


เป็ นการขึ้นรู ปห่ วง โดยทาการแยกขดลวดเป็ นสองกลุ่มแล้วถักพันกลับเข้าเป็ นห่วง แล้วใช้ปลอกเหล็ก รู ป
ทรงกระบอกหุ ม้ ข้อไว้ จากนั้นใช้เครื่ องมือกลในการรัดให้แน่นกับลวด

ห่ วงชนิด Turnback
เป็ นการขึ้นรู ปห่ วง โดยการม้วนสลิงกลับมาทบกัน แล้วใช้ปลอก
เหล็ก รู ปทรงกระบอกหุม้ ข้อไว้ จากนั้นใช้เครื่ องมือกลในการรัด
ให้แน่นกับลวด

อุปกรณ์ ทใี่ ช้ ป้องกัน ลวดสลิง เสี ยหาย (ห่ วงวงรี หรื อ ห่ วงหัวใจ Thimbles กับการใช้ งาน)
ห่วงวงรี ถูกออกแบบมาเพื่อป้ องกัน ลวดสลิง ไม่ให้ถูกขูดขาดหรื อแตกเกลียวจากการเสี ยดสี ที่เกิดขั้นในขณะใช้ยก
อุปกรณ์ร่วมกับ ตะขอยก Hook และ สเก็น Shackle เมื่อลวดสลิงถูกม้วนเป็ นห่วงปลายนั้น มีโอกาสที่ลวดสลิง
อาจจะถูกบิดแน่นเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อห่วงนั้นต่อกับอุปกรณ์ที่กระจายน้ าหนักกระทากับพื้นที่เล็ก ๆ ของ
ลวดสลิง ดังนั้นห่วงหัวใจจะถูกใส่ เข้าไปในห่วงปลาย
เพือ่ จะรักษารู ปทรงของห่วงและป้ องกันสายลวดสลิง
เสี ยหายจากแรงกดภายในห่วง การใช้ห่วงหัวใจนั้นเป็ น
วิธีการที่ดีที่สุด Best Practice ซึ่ งช่วยป้ องกันแรงกระทา
ต่อหน้าสัมผัสกับลวดสลิงโดยตรง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
35

โซ่ ยก (Chain Sling)


โซ่ เป็ นอุปกรณ์ ประกอบการยกอีกชนิ ดหนึ่ งที่ใช้กนั มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะใช้กบั การเกาะยึดวัสดุหรื อ
ชิ้นงานต่าง ๆ โดยปกติโซ่จะมีความแข็งแรงสามารถทนแรงดึงได้มากกว่าลวดสลิงในขนาดความโตเท่ากัน

ค่ าความปลอดภัย (Safety Factor) โซ่สาหรับยกน้ าหนัก (รับแรงดึง) = 4

ขนาดของโซ่
หมายถึง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ นนิ้วของข้างใดข้างหนึ่งเท่านั้น โซ่จะยืดออกเมื่อได้รับน้าหนักเกิน
ความสามารถ ดังนั้นแต่ละห่วงจึงงอหรื อโค้งเล็กน้อยลักษณะการโค้งของห่วงเป็ นสิ่ งที่เตือนว่าโซ่เคยใช้งานเกิน
ความสามารถแล้ว การเสี ยหายอาจเกิดขึ้นในไม่ชา้ ถ้านา ไปใช้ยกของหนัก โซ่เส้นใดมีขอประกอบติดอยูด่ ว้ ยตัวขอ
นั้นควรจะเกิดเสี ยหายขึ้นก่อน อันเป็ นสิ่ งชี้บอกว่าโซ่เส้นนั้นกาลังรับน้าหนักเกินขีดความสามารถ โซ่มีความ
ทนทานต่อการสึ กหรอหรื อผุกร่ อนมากกว่าเชื อกลวดมากทีเดียว
ประเภทของโซ่ ถูกแบ่งประเภทกันตามลักษณะของการใช้งานเพราะมีคุณสมบัติของโซ่ ที่ต่างกัน โดย
หลักถูกแบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ได้แก่
1. ประเภทเกรดธรรมดา : เกรดโซ่ประเภทนี้ มักนิยมนามาใช้กบั งาน อาทิเช่น งานลากเรื อ หรื องานลากซุ ง
งานรัดสิ นค้าบนรถบรรทุก หรื องานล็อกลังบรรจุสิ่งของ
2. ประเภทเกรดพิเศษ : เกรดโซ่ประเภทนี้ มักนิยมใช้ในงานลาเลียงวัสดุในงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ
3. ประเภทตามมาตรฐานสากล : จะมีการแบ่งเกรดของโซ่ สาหรับการใช้งานประเภทต่าง ๆ
ประเภท เกรด 30 : เกรดโซ่ ประเภทนี้ เป็ นโซ่ที่มีวสั ดุเป็ นลวดคาร์ บอนต่า นิยมนามาใช้ในงานรัดสิ่ งของทัว่ ไป
ประเภท เกรด 43 : เกรดโซ่ ประเภทนี้ เหมาะสาหรับในงานลากรถยนต์ งานชักลากไม้ งานรัดสิ นค้าบนรถบรรทุก
ประเภท เกรด 70 : เกรดโซ่ ประเภทนี้ เหมาะสาหรับงานที่ตอ้ งการความทนทานต่อแรงเสี ยดทานได้ สามารถใช้ใน
งานลาเลียงวัสดุได้ ห้ามใช้ในงานยกสิ่ งของโดยเด็ดขาด
ประเภท เกรด 80 : เกรดโซ่ ประเภทนี้ เป็ นเกรดโซ่ อลั ลอย ที่ทนต่ อแรงเสี ยดทานได้ สามารถเพิม่ ความแข็งของผิว
ด้ วย วิธี Carburizing เพื่อปรับรู ปทรง ขนาด และระยะต่ าง ๆ ได้ เหมาะสาหรับใช้ ในงานยก
ของหนักขึน้ ทีส่ ู งได้
ประเภท เกรด 100 : เกรดโซ่ ประเภทนี้ เป็ นเกรดโซ่ รับนา้ หนักได้ มากกว่า เกรด80 ประมาณ 25% เหมาะสาหรับใช้
ในงานยกของหนักขึน้ ทีส่ ู งได้

หมายเหตุ : เกรดโซ่ ทใี่ ช้ ในงานรับแรง หรื อใช้ งานปั้นจั่นต้ องเป็ นประเภทเกรด 80 ขึน้ ไปเท่ านั้น

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
36

ส่ วนประกอบ ชุดโซ่ ยกแบบขาเดียว (One leg chain sling)

• มาสเตอร์ ลิงค์ master link : ชุดโซ่ยกแบบขาเดียวดังภาพ ให้เลือกใช้มาสเตอร์ ลิงค์ หากเป็ นชุดโซ่ยกสองขา


สามขาและสี่ ขา ต้องใช้ม าสเตอร์ ลิงค์ แอสแซมบลีย ์ (master link assembly) ลิ งค์แอสแซมบลี ยแ์ ต่ละห่ วง
ติดตั้งโซ่ได้ไม่เกิน 2 เส้น
• ป้ า ยทะเบี ย นแท็ ก sling tag : ชุ ดยก 1 ชุ ด ต้องมี เพี ย งหนึ่ งป้ า ยทะเบี ย นแท็ ก เท่ า นั้น เนื่ อ งจากการผลิ ต
อุ ป กรณ์ แต่ ล ะชิ้ น จะผลิ ตที่ ค่ ารั บ โหลดไม่ เท่ ากัน เมื่ อน ามาประกอบเป็ นชุ ดยก ให้ ใช้ค่ ารั บ โหลดของ
อุปกรณ์ ที่มีค่าน้อยที่สุดเป็ นค่ารับโหลดของชุ ดโซ่ ยก ค่ารับโหลดของชุ ดโซ่ ยก หมายความว่าค่ารับโหลด
สู งสุ ดของชุดยกเมื่อเทียบกับแนวดิ่ง
ตัวอย่างเช่น มาสเตอร์ลิงค์ WLL 3.5 ตัน, แฮมเมอร์ล็อค WLL 3 ตัน, โซ่ WLL 3 ตัน
และตะขอยก WLL 3.5 ตัน = ป้ ายทะเบียนแท็ก ต้ องระบุ WLL 3 ตัน
• อุปกรณ์ เชื่ อมต่อชิ้นล่างสุ ด : การเลือกอุปกรณ์ ชิ้นล่างสุ ดของชุ ดยก ให้พิจารณาว่าจะใช้ชุดโซ่ ยกไปใช้ยึด
เกาะชิ้นงานอะไร แล้วให้เลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสม ตัวอย่างอุปกรณ์ที่เลือกใช้เช่น ตะขอยก แช็คเคิลแบบ
โบว์ เพลทแคลมป์ ฯลฯ หรื ออุปกรณ์ที่สร้างขึ้นตามความเหมาะสมใช้งาน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
37

สลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ (Synthetic Sling)

สลิงผ้าเส้นใยสังเคราะห์ มีอยู่ 2 ประเภทด้วยกัน คือ ประเภทที่ทาจากไนล่อน และโพลิเอสเทอร์ ซึ่ ง


แต่ละชนิ ดก็มีประโยชน์ในการใช้งานต่างกัน คือ สลิงผ้าเส้นใยสังเคราะห์ประเภทไนล่อนมีการป้ องกันแอลคาไล
ได้เป็ นอย่างดี ส่ วนสลิงผ้าเส้นใยสังเคราะห์โพลิเอสเทอร์ ก็จะสามารถป้ องกันกรดที่จะมากัดกร่ อนเนื้ อของผ้าเส้น
ใยสังเคราะห์ ดังนั้นการใช้งานควรเลือกประเภทให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน และน้ าหนักของวัสดุที่ตอ้ งการ
ยก โดยการดูรายละเอียดจากโรงงานผูผ้ ลิต

ค่ าความปลอดภัย (Safety Factor) เชือก(สลิงผ้าใยสังเคราะห์)สาหรับรับน้ าหนัก = 5

ประเภทของสลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ (Synthetic Sling)


1. สลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ แบบแบน (Webbing Sling)

2. สลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ แบบกลม (Round Sling)

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
38

ห่ วงใส่ สลัก (Shackles)

Shackles เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับประกอบกับลวดสลิง,สลิงอ่อนและโซ่ ซึ่ งห่วงสลักนี้ทาจากโลหะขึ้นรู ป


Forged Steel กับ สลักอัลลอย

ค่ าความปลอดภัย (Safety Factor) ห่วงใส่ สลัก (Shackles),อายโบลท์ (Eyebolts) = 3.5

ประเภทของห่ วงใส่ สลัก (Shackles) มี 3 แบบ

ประเภทของแกนสลักทีใ่ ช้ มี 3 แบบ

Screw Pin ชนิดที่ปลายสลักด้านหนึ่งเป็ นเกลียวเพื่อขันยึดเข้ากับตัวห่วง

Bolt Pin ชนิ ดที่สลักเป็ นเกลียวและมีน็อตประกอบที่ปลายด้านหนึ่งและใส่ ปริ้ นล็อคที่ดา้ น


ปลายของสลัก

Round Pin ชนิดที่เป็ นสลัก ปลายด้านหนึ่งมีรูสาหรับใส่ ปริ้ นล็อค

วิธีการใช้ ห่วงใส่ สลัก (Shackles)

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
39

อายโบลท์ (Eyebolts)
อายโบลท์ เป็ นสกรู ชนิ ดหนึ่ งที่ มีหัวเป็ นห่ วงกลม มี ลาตัวเป็ นเกลี ยว โดยส่ วนเกลี ยวนั้นจะฝั งเข้าไปใน
ชิ้นงาน และส่ วนที่เป็ นห่ วงนั้นไว้ร้อยและมัดสายเคเบิ้ล เชื อก ลวดสลิง การใช้งานของอายโบลท์จะหลากหลายไป
ตามการประยุกต์ใช้ของแต่ละงาน โดยหน้าที่หลักคือจะเป็ นตัวช่ วยในการยกเพื่อเคลื่ อนย้ายชิ้ นงาน สิ นค้า หรื อ
ของที่มีน้ าหนักมาก ๆ อายโบลท์ถูกออกแบบให้ยกในแนวดิ่ง และมุมไม่เกิน 45˚

แบ่ งออกเป็ น 3 แบบตามลักษณะใช้ งาน


• Regular Eyebolts แบบก้านสลักเกลียวขวา
• Machinery Eyebolts แบบเกลียวตลอด
• Shoulder Eyebolts แบบก้านสลัก

Multi Eye Bolt


เป็ นอุปกรณ์ช่วยยกที่แข็งแรงและทนทาน ส่ วนที่เป็ นห่วงสามารถหมุนได้ 180 องศาจากแนวระนาบ และหมุนได้
โดยรอบ 360 องศารอบแกนหูหวิ้ เมื่อขันเกลียวอายโบลท์ดว้ ยค่าแรงขันที่ระบุไว้ จะสามารถใช้ยกได้ดว้ ยความ
ปลอดภัยทุกทิศทาง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
40

ตัวดึงเร่ งเกลียว (Turn Buckles)


ตัวดึ งเร่ งเกลี ยว (Turn Buckles) หรื อข้อต่อยืดชนิ ดสกรู นิ ยมนามาใช้ในการการปรั บความตึ งหรื อความ
หย่อนของลวดสลิง สายเคเบิล เชือก หรื อโซ่ ซึ่ งเราสามารถปรับระดับได้ โดยวิธีการหมุนเกลียวเร่ งให้อยูใ่ นระดับ
ที่เราต้องการได้ใช้งาน เช่น งานทารั้วกั้น ใช้ยึดโครงเสางานก่อสร้าง ใช้ทาสะพานแขวน หรื อการใช้ยึดสิ่ งของที่มี
น้ าหนักมาก เป็ นต้น
แบ่ งตามลักษณะการใช้ งานออกได้ เป็ น 5 ประเภท
• เร่ งเกลียวแบบปลายห่วงและตะขอ (Hook-Eye)
• แบบห่วงสองข้าง (Eye-Eye)
• แบบตะขอสองข้าง (Hook-Hook)
• แบบขาล็อคและห่วง (Jaw-Eye)
• เร่ งเกลียวแบบขาล็อคสองข้าง (Jaw-Jaw)

Turnbuckle Body สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน ได้แก่ ตัวตรงกลาง ปลายข้างขวา และ ปลายข้างซ้าย ซึ่งมี


ลักษณะเป็ นข้อต่อสายลวด มีหวั เป็ นเกลียวตัวผูแ้ ละเกลียวตัวเมีย ใช้สาหรับเร่ งสายลวดหรื อเชือกให้ตึงและแน่น ใช้
สาหรับงานดึง ขึง ให้ลวดสลิงหรื อเชือกต่าง ๆ ให้ตรึ งตามความต้องการในการใช้งาน โดยเราสามารถปรับความตึง
ได้โดยการหมุนกลับกัน ปั จจุบนั เกลียวเร่ งมีหลายรู ปแบบให้เราเลือกใช้ได้ตามรู ปแบบที่เหมาะสมกับงานนั้น ๆ มี
ทั้งที่ผลิตจากเหล็กและสแตนเลส อีกทั้งยังมีหวั และปลายที่เหมือนกันและต่างชนิดกันเพื่อให้ผใู ้ ช้สามารถเลือกใช้
ให้ตรงตามวัตถุประสงค์

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
41

5. บทบาทหน้ าทีค่ วามรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้ สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น

องค์ประกอบหลัก เพื่อให้การปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ เกิดความปลอดภัยและเกิ ดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดนั้นเกิดจาก
แนวทางการทางานดังต่อไปนี้

ระบบการจัดการ
องค์กรต้องจัดให้มีระบบการจัดการเพื่อให้สามารถใช้งานปั้ นจัน่ ด้วยความปลอดภัยและเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดได้
โดยให้ปฏิ บ ตั ิ ตามหลักการใช้งานอย่างปลอดภัย และการบ ารุ งรัก ษาปั้ นจัน่ จากคู่มือควบคุ มการใช้ป้ ั นจัน่ (การ
เคลื่อนย้าย ความปลอดภัย และการบารุ งรักษา)
• การจัดการด้านความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (มาตรฐานความปลอดภัยในการทางาน)
• การจัดการบารุ งรักษาอุปกรณ์ป้ ั นจัน่ (มาตรฐานการบารุ งรักษาและการตรวจสอบ)

การให้ ความรู้ แก่ ผ้ บู ังคับปั่นจั่น และผู้ให้ สัญญาณ


องค์ ก รต่ า ง ๆ จะต้อ งให้ ค วามรู ้ แ ก่ ผู ้ที่ ป ฏิ บ ัติ ง านเพื่ อ สามารถใช้ ง านปั้ นจั่น ด้ว ยความปลอดภัย และเกิ ด
ประสิ ทธิภาพสู งสุ ดได้ โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
• มีความรู ้เกี่ยวกับวิธีบงั คับใช้ป้ ั นจัน่ อย่างถูกต้อง
• มีความเข้าใจในข้อพึงปฏิบตั ิและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปั้ นจัน่
• มีความรู ้เกี่ยวกับลักษณะของปั้นจัน่
• มีจิตสานึกในฐานะที่เป็ นผูบ้ งั คับปั้ นจัน่ และผูใ้ ห้สัญญาณแก่ผบู ้ งั คับปั้ นจัน่
• ยกระดับฝี มือการทางานให้ดีข้ ึน

พนักงานทีม่ ีหน้ าทีท่ างานเกีย่ วกับปั้นจั่นต้ องมีคุณสมบัติดังนี้


✓ พนักงานที่มีหน้าที่การปฏิบตั ิงานได้ ต้องได้รับมอบหมายและมีหนังสื อแต่งตั้งให้เป็ นผูค้ วบคุม
ผูบ้ งั คับ ปั้ นจัน่ ในการปฏิบตั ิงานเท่านั้น
✓ พนักงานที่มีหน้าที่การปฏิบตั ิงานผูค้ วบคุม ผูบ้ งั คับปั้ นจัน่ ต้องผ่านการอบรมตามกฎหมายกาหนด
(กฎกระทรวง : กาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร ปั้นจัน่ และหม้อน้ า พ.ศ. 2552)

คุณสมบัติของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้ สัญญาณ เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน


✓ มีสุขภาพแข็งแรงไม่เป็ นโรคความดันสู งตรวจสุ ขภาพเป็ นประจา
✓ สายตาปกติ ตาไม่บอดสี
✓ สมรรถภาพในการได้ยนิ (หู ไม่หนวก)
✓ มีความรู ้ความเข้าใจ รู ้ถึงประสิ ทธิภาพ เกี่ยวกับการใช้ป้ ั นจัน่ ชนิดนั้น ๆ เป็ นอย่างดี
✓ สามารถใช้ปุ่ม สวิทซ์ ต่าง ๆ ในการควบคุมปั้ นจัน่ ได้อย่างถูกต้อง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
42

หลักสาคัญพืน้ ฐานของผู้บังคับปั้นจั่น
• เข้าใจถึงการทางานและประสิ ทธิ ภาพของปั้นจัน่ เป็ นอย่างดี
• คานึงถึงความปลอดภัยในขณะปฏิบตั ิงานอยูเ่ สมอ
• เข้าใจถึงลักษณะของพื้นที่การทางานเป็ นอย่างดี
• เข้าใจในกฎระเบียบความปลอดภัยของพื้นที่การทางานและปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัด
• ไม่ประมาทหรื อเชื่อมัน่ จนเกินไป ระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นอยูเ่ สมอ
• แต่งกายให้ถูกต้องเหมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน

หลักสำคัญพืน้ ฐำนของผู้ให้ สัญญำณ


• ก่อนที่จะมีการยกของนั้นควรได้มีการตรวจสอบสภาพของการจับยึด
• ให้สัญญาณเพื่อควบคุมทิศทางของที่ทาการยกเคลื่อนย้าย
• การจับยึดของที่จะยกต้องมีความแน่นหนาและเหมาะสม เพื่อไม่ให้เกิดการร่ วงหล่นขณะที่มีการยกของขึ้น
ที่สูง
• ต้องแจ้งให้ที่ผทู ้ ี่ไม่เกี่ยวข้องกับการทางานออกจากพื้นที่ทางานก่อนที่จะมีการยก
• ห้ามคนนัง่ หรื อขึ้นไปกับของที่จะยกเด็ดขาด เนื่องจากสลิงอาจขาดได้ทุกเมื่อ
• ก่อนหมุนเคลื่อนที่ หรื อหมุนของที่ยก ผูค้ วบคุมหน้างานต้องดูรัศมีที่จะหมุนไปไม่มีอะไรมากีดขวาง หรื อ
เป็ นอันตรายต่อผูท้ ี่ทางาน เพราะคนบังคับปั้ นจัน่ อาจมองเห็นไม่ชดั เจน
• ห้ามคนทางานใต้ของที่ทาการยก
• ตรวจสอบของที่จะยกจะต้องไม่ถูกยึดติดกับอะไร หรื อถูกสิ่ งอื่นทับอยู่ และสลิงทุกเส้นต้องได้รับแรง
เท่ากัน โดยดูได้จากความตึงของสลิง และใช้สลิงที่ยาวเท่ากัน
• ต้องระวังไม่ให้สลิงพันกัน เพราะจะทาให้สลิงขาด และเกิดอันตรายได้
• ห้ามใช้ป้ ั นจัน่ ในการลาก ดึง สิ่ งของโดยเด็ดขาด เพราะอาจทาให้ป้ ั นจัน่ ล้มได้
• ให้สัญญาณถูกต้องชัดเจน

หลักสำคัญพืน้ ฐำนของผู้ควบคุมการใช้ งานปั้นจั่น


• ต้องทาการประเมินความเสี่ ยงก่อนเริ่ มงานทุกครั้ง
• จัดทาแผนงานยกเคลื่อนย้ายวัสดุ และตรวจสอบความถูกต้อง
• ขอใบอนุญาตทางานกับผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
• ตรวจสอบจุดผูกรัด และวัสดุที่นามาผูกรัด
• ตรวจสอบปั้ นจัน่ ก่อนใช้งาน
• ตรวจสอบคุณสมบัติผทู ้ ี่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับปั้ นจัน่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
43

การแต่ งกายในการทางานเกีย่ วกับปั้นจั่น


การทางานกับปั้ นจัน่ ต้องมีอุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลและเครื่ องแต่งกายที่ใช้ในการทางาน
เมื่อสวมใส่ แล้วจะต้องทาให้ผสู ้ วมใส่ เกิดความคล่องตัวในการทางาน และสามารถปกป้ องร่ างกายของผูป้ ฏิบตั ิงาน
ให้พน้ จากอันตรายต่าง ๆ ได้ ดังนั้น ในการทางานทุกครั้ง สิ่ งสาคัญต้องควรปฏิ บตั ิ คือ ให้สวมหมวกนิ รภัย ถุงมือ
ผ้าหรื อถุงมือหนัง และรองเท้านิรภัย และใน กรณี ป้ ั นจัน่ หอสู งให้สวมใส่ เข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพด้วย

• นายจ้างต้องจัดให้สภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบกิจการอยูใ่ นลักษณะที่ไม่เป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง


หากนายจ้างไม่สามารถดาเนิ นการป้องกันแก้ไขอันตรายได้ นายจ้างต้องจัดหาอุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลที่สามารถป้องกันอันตรายนั้นให้ลูกจ้าง
สวมใส่
• นายจ้างต้องจัดและดูแลให้ลูกจ้างใช้อุปกรณ์คมุ ้ ครองความปลอดภัยส่ วนบุคคลที่ได้มาตรฐานและเหมาะสมกับประเภทและชนิดของงาน ตลอดเวลา
ที่ทางาน ดังต่อไปนี้
(๙) งานปั้ นจัน่ ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือผ้าหรื อถุงมือหนัง และรองเท้านิรภัย และในกรณี ป้ ั นจัน่ หอสู ง ให้สวมใส่ เข็มขัดนิรภัยและสายชูชีพด้วย

(กฎกระทรวง : กาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร ปั้นจัน่ และหม้อน้ า พ.ศ. 2552)

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
44

6. ความปลอดภัยในการทางาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น

อุบตั ิเหตุ เป็ นเหตุการณ์ ที่ไม่สามารถคาดเดาได้ ซึ่ งมักส่ งผลให้เกิ ดความเสี ยหายต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน ผูท้ ี่อยู่ในบริ เวณ
พื้นที่ การทางาน ทรัพย์สิน รวมถึ งชี วิต แนวทางการปฏิบตั ิเหล่านี้ จึงถือเป็ นแนวทางหนึ งซึ่ งช่ วยลดอัตราการเกิ ด
อุบตั ิเหตุจากการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ และส่ งผลให้การปฏิบตั ิงานนั้นเกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ดได้

การใช้ งานปั้นจั่นอย่างปลอดภัย

ข้ อควรปฏิบัติก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
ตรวจสอบพื้นที่การทางาน
• ตรวจสอบกาหนดการและรายละเอียดการทางานในวันนั้น
• เมื่อมีปัญหาควรแจ้งให้ทราบทันที
• จัดวางเส้นทางในการเคลื่อนย้าย และพื้นที่ปฏิบตั ิงานให้เรี ยบร้อย
• ตรวจสอบลักษณะของพื้นที่ใช้จะปฏิบตั ิงานและเส้นทางในการเคลื่อนย้าย
- ตรวจสอบว่ามีลกั ษณะที่ทาให้ลื่นง่าย เช่น มีน้ า น้ ามันหรื อไม่
- ตรวจสอบว่าพื้นมีความต่างระดับหรื อไม่
- ตรวจสอบว่ามีสิ่งกีดขวางหรื อไม่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
45

การตรวจสอบปั้ นจัน่ ก่อนเริ่ มปฏิบตั ิงาน (การตรวจสอบด้วยตาเปล่าก่อนที่จะจ่ายไฟเข้าปั้ นจัน่ )


• ตรวจเช็คว่าไม่มีส่ิ งกีดขวางบนรางวิง่ Runway และรางวิง่ ทางขวาง
• ตรวจดูวา่ ไม่มีความผิดปกติที่ลวดสลิง หรื อ โซ่
• ตรวจดูสภาพภายนอกของสวิตซ์ปุ่มกดและสายไฟว่าไม่มีความผิดปกติ
• ตรวจเช็คสภาพภายนอกของรอกว่าไม่มีส่ิ งผิดปกติ
• ตรวจดูลกั ษณะภายนอกของอุปกรณ์ไฟฟ้าว่าไม่มีส่ิ งผิดปกติ
• ตรวจเช็คสภาพภายนอกของตะขอว่าไม่มีความผิดปกติ
การตรวจสอบก่อนเริ่ มปฏิบตั ิงาน (การตรวจสอบเมื่อต่อไฟเข้าปั้ นจัน่ แล้ว)
• ตรวจสอบว่าปั้ นจัน่ ทางานได้ตรงตามสัญลักษณ์ของปุ่ มควบคุมปั้ นจัน่
• ตรวจสอบว่าไม่มีเสี ยงหรื อการสั่นที่ผดิ ปกติขณะเดินเครื่ อง
• ตรวจสอบการทางานของ Limit Switch
• ตรวจสอบดูวา่ สัญญาณเตือนทางานเป็ นปกติ
• ตรวจดูวา่ ตะขอสามารถทางานขึ้นลงได้อย่างราบรื่ น
• ตรวจสอบดูวา่ เบรกทางานได้เป็ นปกติ

ข้ อควรปฏิบัติขณะบังคับใช้ ป้ ันจั่น
• ผูท้ ี่ทาหน้าที่บงั คับปั้ นจัน่ และยึดเกาะวัสดุจะต้องมีใบอนุญาต
• ไม่ใช้งานปั้ นจัน่ ที่ไม่ได้รับการตรวจสอบตามที่กาหนด
• ไม่ยกวัสดุที่มีน้ าหนักเกินพิกดั ที่กาหนด
• ไม่ปลีกตัวไปที่อื่นขณะที่กาลังยกชิ้นงานค้างไว้
• จะต้องบังคับปั้ นจัน่ ตามคาสัง่ ของผูใ้ ห้สัญญาณมือ
• ไม่ข้ ึนไปบนชิ้นงานที่ยกแขวนอยู่
• ไม่ปฏิบตั ิงานอยูใ่ ต้ชิ้นงานที่ยก
• ไม่ใช้ป้ ั นจัน่ ในขณะที่มีคนปฏิบตั ิงานอยูบ่ นปั้ นจัน่ เช่น กาลังตรวจเช็คปั้ นจัน่ อยู่

ข้ อควรปฏิบัติหลังเลิกใช้ งานปั้นจั่น
• ถอดอุปกรณ์ช่วยยกเก็บเข้าที่
• ยกตะขอขึ้นให้สูงพอที่จะไม่กีดขวางรถหรื อคนอื่น
• จอดปั้ นจัน่ ไว้ตรงจุดที่กาหนด แล้วจึงปิ ดสวิตซ์
• หากพบว่ามีความผิดปกติขณะใช้งานปั้ นจัน่ ต้องแจ้งผูท้ ี่รับผิดชอบหรื อเจ้าหน้าที่ซ่อมบารุ งทันที
• ตรวจสอบพื้นที่ปฏิบตั ิงานอีกครั้งว่าไม่มีส่ิ งผิดปกติ
• รายงานสภาพของปั้ นจัน่ ให้ผทู ้ ี่จะปฏิบตั ิงานต่อทราบ

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
46

กรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น
1. ของหล่ นลงมาทับเสี ยชีวติ
ใช้ Overhead Crane พิกดั น้ าหนักยก 1ตัน ยกถุงทรายน้ าหนัก 530 kg. พนักงานปี นขึ้นไป

ควำมเสี ยหำย
- ผูป้ ฏิบตั ิงานเสี ยชีวติ

สำเหตุ
- ปฏิบตั ิงานอยูใ่ ต้ชิ้นงานที่ยก
- มีการแจ้งจากผูใ้ ช้งานว่า เบรกมีความผิดปกติ แต่ไม่มีการซ่อมบารุ งเลย
- ติดตั้งปั้ นจัน่ มามากกว่า 5 ปี แล้ว แต่ยงั ไม่เคยมีการตรวจเช็คปั้นจัน่ ตามระยะที่คู่มือได้ระบุไว้ ทา
ให้ไม่ทราบสภาพการสึ กหรอกของผ้าเบรกรวมไปถึงสภาพการชารุ ดของอุปกรณ์ตวั อื่นๆ
- ใช้งานปั้ นจัน่ ที่อยูใ่ นสภาพชารุ ดเสี ยหายหรื ออยูใ่ นสภาพที่ไม่ปลอดภัย

แนวทำงกำรป้ องกัน
- ไม่ควรปฏิบตั ิงานอยูใ่ ต้ชิ้นงานที่ยก
- ควรมีการตรวจสอบและทดสอบปั้ นจัน่ ตามที่กฎหมายและคู่มือผูผ้ ลิตกาหนดไว้
- หยุดใช้งานทันทีหากพบความผิดปกติขณะใช้งานปั้นจัน่
การบารุ งรักษาเชิงป้ องกัน (Preventive Maintenance) เป็ นการตรวจสภาพ ดูแลรักษาเครื่ องจักรเพื่อป้องกันและ
ลดสภาพการเสื่ อมสภาพของเครื่ องจักร หลีกเลี่ยงการเกิดการขัดข้องอย่างทันทีซ่ ึ งส่ งผลให้งานต้องหยุดชะงักและ
อาจเพิ่มความเสี่ ยงต่อการปฏิบตั ิงานนั้น ๆได้

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
47

2. อุบัติเหตุเมื่อปั้นจั่นเคลื่อนทีท่ าให้ เกิดการชนกันของวัสดุ


ขณะที่ใช้ Overhead Crane ยกชิ้นงานเคลื่อนไปยังตาแหน่งที่ตอ้ งการเมื่อปล่อยปุ่ มกดแล้วปั้นจัน่
ไม่ยอมหยุดและยังคงเคลื่อนที่ต่อ จนชิ้นงานไปกระแทกกับเครื่ องจักรที่วางอยู่ จึงต้องรี บไปปิ ดสวิตซ์ที่
Main Power เพื่อให้ป้ ั นจัน่ หยุดทางาน

ควำมเสี ยหำย
- วัสดุและตัวเครื่ องจักรเกิดความเสี ยหายเนื่องจากการชน

สำเหตุ
- ไม่มีการตรวจสอบสภาพอุปกรณ์ก่อนใช้งาน
- สายไฟที่ส่งสัญญาณควบคุมปั้นจัน่ อยูใ่ นสภาพชารุ ด เป็ นเหตุให้เกิดการลัดวงจรเนื่องจากน้ า
หรื อน้ ามันเข้าไปในวงจรควบคุม เมื่อปล่อยปุ่ ม ปั้นจัน่ จึงไม่หยุดการเคลื่อนที่

แนวทำงกำรป้ องกัน
- ควรมีการตรวจสอบก่อนการใช้งาน
- หากพบสภาพชารุ ด ไม่ปลอดภัย ควรหยุดการใช้งานทันที
การตรวจเช็คเป็ นก้าวแรกของความปลอดภัย ผูป้ ฏิบตั ิงานควรเริ่ มจากการตรวจเช็คประจาวันและปฏิบตั ิตามกฎการ
ตรวจเช็คอย่างเคร่ งครัด

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
48

7. ระบบไฟฟ้ าเบื้องต้ น

“ไฟฟ้ า” เป็ นพลังงานรู ปแบบหนึ่ งที่ทาให้เครื่ องจักรเกิ ดการก่อกาเนิ ดพลังงาน เปลี่ยน แปลงสภาพพลังงานใน
รู ปแบบต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุ ษย์ การทางานของปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่โดยทัว่ ไปแล้วก็เกิดจาก
การจ่ายระบบไฟผ่านอุปกรณ์ส่วนต่าง ๆ เพื่อให้เกิดการเคลื่อนที่ กาลัง การตอบสนองในรู ปแบบต่าง ๆ และยังรวม
ไปถึงระบบที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทางานของปั้ นจัน่ อีกด้วย

กระแสไฟฟ้ า โดยทัว่ ไปแบ่ งเป็ น 2 ประเภท


1. ไฟฟ้ ากระแสตรง (DC)
ไฟฟ้ากระแสตรง เป็ นกระแสไฟที่มาจากถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่

แรงดันไฟฟ้าจะคงที่ แบ่งเป็ นขั้วบวก ( + ) และขั้วลบ ( - )

2. ไฟฟ้ ากระแสสลับ (AC)


นิยมใช้ทว่ั ไปในบ้านเรื อนและโรงงาน โดยค่าแรงดันและกระแสจะมีการสลับไปมาตลอดเวลา

ความถี่ คือ จานวน Curve ของกระแสไฟฟ้ าที่เคลื่ อนที่สลับไปมาใน 1 วินาทีใน 1 cycle มีหน่ วยเป็ น
เฮิรตซ์ (HZ) ในไทยใช้ความถี่เป็ น 50 Hz

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
49

ระบบไฟของปั้นจั่น
กระแสไฟจะจ่ายเข้าสู่ อุปกรณ์ ระบบไฟปั้ นจัน่ แล้วจึงจะเข้าสู่ อุปกรณ์ ไฟฟ้ าต่าง ๆ ซึ่ งปั้ นจัน่ จะใช้อุปกรณ์ ไฟฟ้ า
หลายชนิด เพื่อทาให้ป้ ันจัน่ สามารถเคลื่อนที่ หยุดทางาน หรื อเปลี่ยนระดับความเร็ วได้

เป็ นแหล่งตัด – จ่ายไฟฟ้าให้กบั ปั้นจัน่ (เบรกเกอร์ ) ถ้ากระแสไฟเกิน เบรกเกอร์


Crane Main Power Box
จะทาหน้าที่ตดั การจ่ายไฟ
อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่จ่ายกระแสไฟให้กบั ปั้นจัน่ โดยกระแสไฟจะไหลไปตามราง
ระบบไฟของปั้นจั่น Main ไฟ ผ่านแปลงถ่านของสะพานไฟ แล้วจึงจะเข้าสู่ ตวั ปั้นจัน่ ต้องระวัง
ไฟช็อตขณะทาการตรวจเช็ค
ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของมอเตอร์ในการขับเคลื่อนปั้นจัน่ มีแบบ
Crane Control Box
Inverter Control และ Magnetic Control
อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่จ่ายกระแสไฟไปยังตัวรอกและหัววิง่ Trolley ในปั้ นจัน่ ขนาด
ระบบไฟของรอก เล็กนิยมใช้เป็ นสายเคเบิ้ล ต้องระวังไฟช็อตขณะตรวจเช็ค
ราง Mainไฟ (จาเป็ นต้องตัดกระแสไฟขณะทาการตรวจเช็ค)
แผงควบคุมในตัวรอก ทาหน้าที่ควบคุมมอเตอร์ แต่ละตัวสาหรับการยกขึ้นลง
Hoist Control Box
และวิง่ แนวขวาง มีแบบ Inverter Control และ Magnetic Control

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
50

8. ระบบสั ญญาณเตือน และ Limit switch

ระบบสัญ ญาณเตือน และ Limit switch เป็ นอุ ปกรณ์ ที่ ช่ วยป้ องกันไม่ ให้เกิ ดอุ บ ตั ิ เหตุ ระหว่างการปฏิ บ ตั ิ งานได้
ผูผ้ ลิ ต นายจ้าง หรื อวิศ วกร ควรมี การควบคุ ม ดู แลให้ มี การติ ดตั้งอุ ป กรณ์ เหล่ านี้ ตามคู่ มื อของผูผ้ ลิ ต หรื อ ตาม
กฎหมายกาหนดไว้ที่ป้ ั นจัน่

ข้อ ๕๖ นายจ้างต้องจัดให้มีสัญญาณเสี ยงและแสงไฟเตือนภัยตลอดเวลาที่ป้ ั นจัน่ ทางานโดยติดตั้งไว้ให้


เห็นได้ชดั เจน
ข้อ ๖๗ ปั้ นจัน่ ชนิดเคลื่อนที่บนรางหรื อปั้ นจัน่ ที่มีรางล้อเลื่อนที่อยูบ่ นแขนปั้ นจัน่ นายจ้าง
ต้องจัดให้มีสวิตช์หยุดการทางานของปั้ นจัน่ ได้โดยอัตโนมัติ และให้มีกนั ชนหรื อกันกระแทกที่ปลาย
ทั้งสองข้างของรางด้วย
(กฎกระทรวง : กาหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับเครื่ องจักร ปั้นจัน่ และหม้อน้ า พ.ศ. 2552)

อุปกรณ์ สัญญาณเตือนทีต่ ัวปั้นจั่น

❖ สั ญญาณเตือน Buzzer ในห้ องควบคุมปั้นจั่น

ปั้ นจัน่ ที่ มีห้องควบคุ ม จะต้องมี อุป กรณ์ ส่งสัญญาณเตื อนจากห้องควบคุ มลักษณะเดี ยวกับแตรรถยนต์ เพื่ อให้ผู ้
บังคับปั้ นจัน่ สามารถเตือนอันตรายผูอ้ ื่นได้ ในกรณี ที่สัญญาณเตือนปั้นจัน่ ไม่ทางาน

❖ สั ญญาณเสี ยง ขณะทีป่ ้ ันจั่นทางาน (Buzzer)

การติดสัญญาณเสี ยงเตือนแบบอัตโนมัติไว้ที่ป้ ั นจัน่ เพื่อให้พนักงานที่อยูบ่ ริ เวณโดยรอบรู ้วา่ ปั้ นจัน่ กาลังทางานอยู่

❖ สั ญญาณแสง ขณะทีป่ ้ ันจั่นทางาน (Lamp)

การติดสัญญาณแสงไฟเตือนให้กระพริ บโดยอัตโนมัติไว้ที่ป้ ันจัน่ เพื่อให้พนักงานที่อยูไ่ กลจากตัวปั้ นจัน่ รู ้วา่ ปั้ นจัน่


กาลังทางานอยู่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
51

อุปกรณ์ ตัดการทางานได้ โดยอัตโนมัติ (Limit Switch)

❖ Upper Limit Switch

อุปกรณ์ ใช้หยุดการทางานอัตโนมัติที่ติดอยู่กบั ตัวรอก เพื่อป้ องกันอุปกรณ์ ยกชนกับตัวรอกในกรณี ที่มีการยกสู ง


เกินไป และป้ องกันไม่ให้ลวดสลิงหรื อโซ่ขาด

❖ Traversing Limit Switch & Stopper

ต้องจัดให้ มี อุป กรณ์ ที่ ห ยุดการท างานของหัววิ่ง Trolley ได้โดยอัต โนมัติ เพื่ อ ป้ อ งกัน หัว Trolley กระแทกกับ
Stopper ที่ อยู่ปลายราง การติด Stopper ที่ปลายราง เพื่อป้ องกันหัววิ่ง Trolley ตกจากรางวิ่ง กรณี ที่ Limit Switch
ไม่ตดั การทางานอัตโนมัติดว้ ย

❖ Traveling Limit Switch & Stopper

ต้องจัดให้มีอุปกรณ์ที่หยุดการทางานของปั้ นจัน่ ได้โดยอัตโนมัติ เพื่อป้ องกันปั้ นจัน่ กระแทก Stopper ที่อยูป่ ลายราง
การติด Stopper ที่ปลายราง เพื่อป้ องกันปั้ นจัน่ ตกจากรางวิง่ กรณี ที่ Limit Switch ไม่ตดั การทางานอัตโนมัติดว้ ย

อุปกรณ์ ด้านความปลอดภัย และสั ญญาณเตือนอื่น ๆ

❖ Overload Limit Switch

อุปกรณ์ ที่ใช้หยุดการทางานหรื อให้สัญญาณเตือนดังแบบอัตโนมัติ ในกรณี ที่มีการยกแขวนน้ าหนักเกิ นพิกดั ที่


กาหนด โดยเฉพาะ Jib Crane ที่จาเป็ นต้องมี เนื่ องจากเสี่ ยงต่อการพลิกคว่าหากมีการยกน้ าหนักเกิน ซึ่ งรวมทั้ง
ปั้ นจัน่ ชนิดอื่น ๆ ด้วย

❖ แคมป์ ล๊ อค หรื อ Anchor

ปั้ นจัน่ ที่ ใช้งานภายนอกอาคาร (ปั้ นจัน่ ขาสู ง : Gantry Crane ,Semi gantry crane) ต้องจัดให้มี แคมป์ ล็อคปั้ นจัน่
เพื่อให้ป้ ั นจัน่ อยูก่ บั ที่ ป้ องกันแรงลม มาทาให้ป้ ั นจัน่ เคลื่อนที่ได้

❖ อุปกรณ์ กนั กระแทก


กรณี ที่มีป้ ั นจัน่ มากกว่า 1 ตัววิ่งอยูบ่ นรางเดียวกัน ต้องจัดให้มีอุปกรณ์หยุดการทางานได้โดยอัตโนมัติเมื่อปั้ นจัน่ 2
ตัวเข้าใกล้กนั ถึงระยะที่กาหนด เพื่อป้ องกันปั้ นจัน่ ชนกัน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
52

9. การใช้ สัญญาณมือ
วัตถุประสงค์ และข้ อควรระวังของการให้ สัญญาณ

โดยทัว่ ไปการให้สัญญาณจะใช้สัญญาณมือเป็ นส่ วนใหญ่ แต่ก็สามารถใช้สัญลักษณ์อย่างอื่นในการให้สัญญาณได้


เช่น ธง นกหวีด รี โมท เพื่อเป็ นการสื่ อสารไปยังผูบ้ งั คับปั้ นจัน่ ในการให้สัญญาณ

หลักพืน้ ฐานในการให้ สัญญาณ


・ ผู้บังคับปั้นจั่น ต้องรับสัญญาณจากผู้ให้สัญญาณเพียงผู้เดียว
・ ผู้ให้สัญญาณนอกจากจะรู้เรื่องสัญญาณแล้วต้องเชี่ยวชาญเรื่องการยึดเกาะด้วย และต้องประเมินพิกัดยก ทิศ
ทางการเคลื่อนที่ของปั้นจั่นอย่างปลอดภัย เข้าใจความสามารถในการทางานของปั้นจั่น และการบังคับปั้นจั่นได้
เป็นอย่างดี
・ ผู้ให้สัญญาณต้องอยู่ในที่ที่ปลอดภัย และผู้บังคับปั้นจั่นสามารถมองเห็นได้ง่าย และต้องอยู่ในที่ที่มองเห็นการ
ทางานได้อย่างชัดเจน
・ ผู้ให้สัญญาณต้องมีวิธีในการส่งสัญญาณที่เข้าใจง่ายแก่ผู้บังคับปั้นจั่น
・ ยกชิ้นงานให้อยู่ศูนย์กลาง ห้ามยกเฉียง และให้ศูนย์กลางของตะขอยกขึ้นในแนวตรง
・ เมื่อทาการยึดเกาะ และมีการตรวจสอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ยึดโยงให้สัญญาณ แล้วจึงยกขึ้น
・ ในการยก เมื่อสลิงช่วยยกถูกดึงจนตึง ให้หยุดการทางานก่อน และตรวจสอบความเรียบร้อยดูว่าปลอดภัยแล้ว
จึงค่อยให้สัญญาณในการยกต่อไป
・ กาหนดทิศทาง และตาแหน่งวางชิ้นงานไว้ล่วงหน้า
・ ในการยกวาง เมื่อชิ้นงานใกล้สัมผัสพื้น เพื่อความปลอดภัยให้หยุดก่อน 1 ครั้ง จัดให้เรียบร้อย ก่อนให้สัญญาณ
และวางให้นิ่งที่สุด
・หลังจากสิ้นสุดการยก และยึดเกาะแล้ว ให้นาตะขอรอกขึ้นจากพื้ นมากกว่า 2 เมตร ให้ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ ให้
สัญญาณ ตรวจสอบความปลอดภัยก่อนเลิกใช้งาน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
53

รู ปภาพการใช้ สัญญาณมือสื่ อสารระหว่ างผู้ปฏิบัติงานเกีย่ วกับปั้นจั่นท้ ายประกาศกรมสวัสดิการและ


คุ้มครองแรงงาน เรื่ อง กาหนดรู ปภาพการใช้ สัญญาณมือในการสื่ อสารระหว่ างผู้ปฏิบัติงานเกีย่ วกับปั้นจั่น
พ.ศ. ๒๕๕๓

ประเภทปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้ นจั่นขาสู ง และปั้ นจั่นหอสู ง (ปั้นจั่นชนิดอยู่กบั ที)่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
54

10. การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ ยก


ข้ อปฏิบัติในการเลือกใช้ อุปกรณ์ ช่วยยก

・ ในการยกวัสดุ ควรเลือกใช้อุปกรณ์ให้เหมาะสม
・ควรเลือกใช้อุปกรณ์ในการช่วยยกให้เหมาะสมกับรู ปร่ างและขนาดของวัสดุที่จะทาการยก
・ ในการใช้ง านแต่ ล ะครั้ ง จ าเป็ นต้อ งให้ ค วามส าคัญ ในการเลื อ กใช้ง านอุ ป กรณ์ โดยตรวจสอบต าแหน่ ง
จุดศูนย์ถ่วง จานวนขายกของอุปกรณ์ช่วยยก มุมองศาในการยกให้เหมาะสม
・ในกรณี ที่วสั ดุมีรูปร่ างลักษณะพิเศษ ให้ใช้อุปกรณ์ที่ออกแบบมาเฉพาะงานเท่านั้น

ในการยกวัสดุทุกครั้งต้องคานึงถึงปั จจัยหลายอย่าง เช่น


1.น้ าหนักของวัสดุ
2.ชนิ ดของอุปกรณ์ช่วยยก
3.สภาพของอุปกรณ์ช่วยยก
4.ความยาวของอุปกรณ์ช่วยยก
5.จานวนจุดยึดและจานวนขาของอุปกรณ์ช่วยยก

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
55

สลิงเชื อกลวดเหล็กกล้า (Wire Rope Sling)

วิธีการใช้ ลวดสลิง (Wire Rope Sling) ให้ ปลอดภัย


1. ลวดสลิงที่ใช้เหมาะสม ผ่านการทดสอบ และรับรองค่าความปลอดภัยตามมาตรฐาน
2. ไม่ยกวัสดุน้ าาหนักเกินพิกดั ที่กาหนด
3. ขณะยกไม่ให้เกิดแรงกระตุก
4. ใช้ลวดสลิงเส้นใหญ่กว่าปกติ กรณี งานที่มีความเสี่ ยงสู ง
- ขณะยกอาจเกิดแรงกระตุก (Chock Lode) ได้ทุกขณะ
- พื้นที่เสี่ ยงอันตรายสู ง
- งานที่อาจเกิดผลร้ายกับคนโดยตรง
5. ป้ องกันลวดสลิงจากมุมคมของวัสดุที่ยก
6. ลวดสลิงที่ใช้ยก ห้ามลากจูง
7. ห้ามใช้ลวดสลิงฉุ ด หรื อกลิ้งวัสดุน้ าหนักมาก
8. จัดเก็บลวดสลิงไว้ในที่สะอาด และไม่มีความชื้น
9. ห้ามใช้ลวดสลิงที่ชารุ ด
10. ใช้ตามที่คู่มือผูผ้ ลิตกาหนด

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
56

วิธีการตรวจสอบลวดสลิง (Wire Rope Sling)


1. ลวดสลิงเคลื่อนที่ที่มีเส้นลวดในหนึ่งช่วงเกลียว ขาดตั้งแต่ 3 เส้นขึ้นไปในเกลียวเดียวกัน หรื อขาดตั้งแต่
6 เส้นขึ้นไปในหลายเกลียวรวมกัน ห้ามนามาใช้งาน
2. ขนาดสลิงต้องไม่เล็กลงเกินร้อยละ 5 ของเส้นผ่าศูนย์กลางเดิม
3. ต้องไม่มีรอยถูก กระแทก แตกเกลียว หรื อ ภายในเส้นเกลียวมีเศษวัสดุฝังอยูภ่ ายใน
4. ต้องไม่หงิกงอ ขมวดเป็ นปม
5. ต้องไม่โป่ งออกของกลุ่มเส้นลวด
6. ต้องไม่เป็ นสนิมผุกร่ อน หรื อถูกสะเก็ดลวดเชื่อมไฟฟ้า
7. ลวดสลิงที่ลวดเส้นนอกสึ กไปตั้งแต่หนึ่งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นลวด ห้ามนามาใช้งาน
8. ตรวจพบสลิงขาดมากกว่า 10% ใน 1 เกลียว
9. สภาพการสึ กหรอ (น้อยลงกว่า 5% ของเส้นผ่านศูนย์กลาง)
10. บางส่ วนของสลิงหงิกงอ
11. สลิงมีการผิดรู ปหรื อเป็ นสนิม
12. พบความผิดปกติของปลอกย้าหัวสลิง

หากตรวจพบสิ่ งผิดปกติตามทีก่ ล่าวข้ างต้ น และการแตกของสลิง ควรรีบเปลีย่ นทันที หรื อหากพบการคลาย


ตัวการสึ กหรอ ลวดสลิงขาดด้ านใน เกินค่ าทีก่ าหนด ห้ ามใช้ และให้ ทงิ้ ทันที

ตัวอย่าง : ลักษณะสลิงที่หา้ มนามาใช้งาน

เส้นลวดของสลิงหลุดออกมา เกลียวลวดสลิงหลุดออกมา

แกนลวดสลิงหลุดออกมา ลวดสลิงคตงอ

ลวดสลิงเบียดทับกัน ลวดสลิงคลายเกลียว

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
57

วิธีเก็บรักษาลวดสลิง (Wire Rope Sling) ให้ ใช้ งานได้ ยาวนาน


1. ในการขนย้ายลวดสลิงควรกระทาอย่างระมัดระวัง โดยหลีกเลี่ยงการนาลวดสลิงไปสัมผัสกับของมีคม
หรื อกระทบกับมุมหรื อขอบต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อป้ องกันการชารุ ดเสี ยหายของลวดสลิง
2. ควรเก็บรักษาลวดสลิงในสถานที่ที่สะอาด และแห้งหรื อมีความชื้นต่าที่สุด เพื่อป้ องกันการเกิดสนิม
3. ควรจัดเก็บลวดสลิงโดยใช้ลอ้ หรื อ รอกเก็บลวดสลิงที่มีขนาดพอดีกบั ขนาดของลวดสลิง
4. หลีกเลี่ยงการหักมุมลวดสลิง เนื่องจากจะทาให้ลวดสลิงเกิดการปริ และชารุ ดเสี ยหายได้
5. ควรทาความสะอาดลวดสลิงอยูเ่ สมอ โดยใช้น้ ามัน เนื่องจากคุณสมบัติของสารหล่อลื่นประเภทน้ ามัน
จะช่วยชะล้างทาความสะอาด ขจัดเศษวัสดุแปลกปลอม ให้ออกจากลวดสลิงได้โดยง่าย
6. ควรทาให้ลวดสลิงมีสารหล่อลื่นอยูเ่ สมอด้วยการใช้จาระบี Asphaltic (สารคล้ายยางมะตอย) หรื อ น้ ามัน
ชโลมลวดสลิงให้ทวั่ เพื่อช่วยลดแรงเสี ยดทานระหว่างเกลียวลวดสลิง ลวดสลิง และที่บรรจุลวดสลิง อีกทั้ง
ช่วยป้ องกันการกัดกร่ อน และการเกิดสนิมอีกด้วย

อย่างไรก็ตามต้ องตรวจสอบลวดสลิงทุกครั้งทั้งก่ อนและหลังการใช้ งาน เพื่อป้ องกันความเสี ยหายทีอ่ าจจะ


เกิดขึน้ หากใช้ ลวดสลิง ทีช่ ารุ ด และควรเก็บรักษาลวดสลิงให้ ถูกวิธีตามทีไ่ ด้ กล่าวมาข้ างต้ นนี้ เพื่อให้ สามารถใช้ งาน
ลวดสลิงได้ อย่างยาวนาน มีประสิ ทธิภาพ และปลอดภัย

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
58

โซ่ ยก (Chain Sling)

วิธีการใช้ โซ่ ยก (Chain Sling) ให้ ปลอดภัย


1. โซ่ที่ใช้มีความแข็งแรง ผ่านการทดสอบ และรับรองค่าความปลอดภัยตามมาตรฐาน
2. ไม่สึกหรอ ชารุ ด หรื อมีรอยแยกออก
3. ก่อนทาการยกต้องรู ้น้ าหนักของวัสดุและขนาดความสามารถการรับน้ าหนักของโซ่
4. ทาการยกโดยไม่ให้เกิดการกระตุก
5. ในการใช้งานห้ามบิด พัน หรื อขดโซ่
6. ใช้วสั ดุรองมุมคมของวัสดุ ป้ องกันโซ่คต บิดงอหรื อขาด
7. ห้ามยกวัสดุขณะห่วงโซ่ถูกยึดแน่น หรื อขัดตัวไม่เป็ นอิสระ
8. ห้ามใช้คอ้ นทุบหรื อแรงอัดกระแทกโซ่
9. ห้ามใช้ปลายตะขอยกวัสดุ
10. ห้ามเชื่อมโซ่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
59

วิธีการตรวจสอบโซ่ ยก (Chain Sling)


1. ตรวจการการยืดของโซ่ ไม่เกิน 5 % จากเดิม
2. รอยสึ กหรอเข้าเนื้ อโซ่ไม่เกิน 10% จากเดิม
3. ตรวจการบิดตัว คดงอหรื อความเสี ยหาย
4. ตรวจการแตกร้าวของข้อโซ่
5. รอยเจาะลึกเข้าในเนื้ อโซ่
6. รอยเว้า รอยถูกทุบจนยุบ
7. รอยการกัดกร่ อนผิวโซ่อย่างรุ นแรง
8. ต้องทาการตรวจสอบโซ่ทุกข้อเพื่อดูการสึ กหรอ รอยบาก รอยเซาะการยืดตัว การบิดตัว งอ หรื อขาด

ยืดไม่เกิน
5% สึก ไม่เกินและเสียรูป
ไม่เกิน10 %

หากตรวจพบสิ่ งผิดปกติตามทีก่ ล่าวข้ างต้ น และการแตกร้ าวของโซ่ ควรรีบเปลีย่ นทันที

วิธีเก็บรักษาโซ่ ยก (Chain Sling) ให้ ใช้ งานได้ ยาวนาน


เนื่ องจากโซ่ มีหลากหลายประเภทและมีวสั ดุที่ใช้ในการผลิ ตที่แตกต่าง การเก็บรักษาควรเก็บในพื้นที่ที่
เหมาะสม ไม่ควรเก็บโซ่ในพื้นที่ที่มีความชื้ นและควรมีการชโลมโซ่ดว้ ยน้ ามันหล่อลื่อหรื อสารป้องกันสนิมทุกครั้ง
หลังจากการใช้งานตามคู่มือผูผ้ ลิ ตกาหนด เพื่อให้โซ่ จะได้มีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น มีความปลอดภัย และ
เหมาะสมในการใช้งานต่อไป

อย่ างไรก็ตามต้ องตรวจสอบโซ่ ทุกครั้ งทั้งก่อนและหลังการใช้ งาน เพื่อป้ องกันความเสี ยหายที่อาจจะเกิดขึน้


และควรเก็ บ รั ก ษาโซ่ ให้ ถู ก วิ ธี ต ามที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น นี้ เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ งานโซ่ ได้ อ ย่ า งยาวนานอย่ า งมี
ประสิ ทธิภาพ และปลอดภัย

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
60

สลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ (Synthetic Sling)

วิธีการใช้ สลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ (Synthetic Sling) ให้ ปลอดภัย


1. สลิงผ้าใยสังเคราะห์ที่ใช้เหมาะสม ผ่านการทดสอบ และรับรองค่าความปลอดภัยตามมาตรฐาน
2. เลือกใช้สลิงผ้าใยสังเคราะห์ให้ถูกประเภท
3. ไม่ยกวัสดุน้ าาหนักเกินพิกดั ที่กาหนด
4. ขณะยกไม่ให้เกิดแรงกระตุก
5. ไม่นาไปในงานที่มีความร้อนสู ง
6. ห้ามสัมผัสความร้อน หรื อสารเคมีที่ทาสลิงผ้าใยสังเคราะห์มีการเปลี่ยนแปลงจนไม่สามารถยกของได้
7. ป้ องกันสลิงผ้าใยสังเคราะห์จากมุมคมของวัสดุที่ยก และใช้อุปกรณ์ป้องกันกันลื่นไถลระหว่างผิวสัมผัส
ระหว่างสลิงกับผิวชิ้นงาน
8. สลิงผ้าใยสังเคราะห์ที่ใช้ยก ห้ามลากจูง
9. ห้ามใช้สลิงผ้าใยสังเคราะห์ฉุด หรื อกลิ้งวัสดุน้ าหนักมาก
10. จัดเก็บสลิงผ้าใยสังเคราะห์ไว้ในที่สะอาด และไม่มีความร้อนความชื้น
11. ห้ามใช้สลิงผ้าใยสังเคราะห์ที่ชารุ ด หรื อหมดอายุการใช้งาน (อายุการใช้งานนับจากวันที่ผลิต)
12. ใช้ตามที่คู่มือผูผ้ ลิตกาหนด

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
61

วิธีการตรวจสอบสลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ (Synthetic Sling)


1. ตรวจพบมีรอยถลอกหรื อชารุ ดเกินกว่า 15 % ของความหนาของสลิง ให้ยกเลิกการใช้งาน
2. ตรวจพบมีรอยถลอกหรื อชารุ ดปรากฎทั้ง 2 ด้านของสลิง และเมื่อรวมรอยถลอกบนทั้งสองด้าน
เกิน 15% ของความหนา ให้ยกเลิกการใช้งาน
3. ตรวจพบมีรอยตะเข็บชารุ ดถึง 50% ของความยาวของสลิง หรื อ ¼ ของความกว้างสลิง หรื อชารุ ด
มากกว่า ¼ ที่ส่วนต่อปลายห่ วงของสลิง ให้ยกเลิกการใช้งาน
4. ต้องไม่มีส่วนใด ๆของสลิงถูกทาลาย มีรอยไหม้ เปื่ อย หรื อได้รับการชารุ ดโดยกรดหรื อที่กดั อย่างด่าง
5. ตะเข็บที่รอยต่อระหว่างห่วงและเส้นสลิง ต้องไม่ชารุ ดหรื อสึ กหรอ
6. ต้องไม่มีการมัดเป็ นปุ่ ม ปม ของสลิง หรื อมีรอยตัด รอยปริ ฉีก หรื อเศษโลหะฝั งตัวอยู่
7. มีการชารุ ด ฉี กขาดที่บริ เวณห่วงให้ยกเลิกการใช้งาน
8. ห้ามใช้งานสลิงที่แผ่นป้ ายความปลอดภัย เลอะเลือน สึ กหรอจนไม่สามารถอ่านข้อความได้
9. ตรวจเช็คอายุการใช้งาน ( เช่น ภายในอาคาร 7 ปี ภายนอกอาคาร 3 ปี )

วิธีเก็บรักษาสลิงผ้าเส้ นใยสั งเคราะห์ (Synthetic Sling) ให้ ใช้ งานได้ ยาวนาน


การเก็บรักษาควรเก็บในพื้นที่ ที่เหมาะสม ไม่ควรเก็บในพื้นที่ ที่มีความร้ อนความชื้ นและควรมีการดูแล
ตรวจเช็คหลังจากใช้งานตามคู่มือผูผ้ ลิตกาหนด เพื่อให้สลิงผ้าจะได้มีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น มีความปลอดภัย
และเหมาะสมในการใช้งานต่อไป

อย่ างไรก็ตามต้ องตรวจสอบทุกครั้ งทั้งก่ อนและหลังการใช้ งาน เพื่ อป้ องกันความเสี ยหายที่อาจจะเกิดขึ้น
และควรเก็บรั กษาให้ ถูกวิธีตามที่ได้ กล่ าวมาข้ างต้ นนี้ เพื่อให้ สามารถใช้ งานได้ อย่ างยาวนานอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
และปลอดภัย

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
62

ตะขอปั้นจั่น
สภาพโดยทัว่ ไป
➢ ตัวตะขอต้องไม่มีรอยชารุ ด หมุนได้ 360˚ ไม่ติดขัด
➢ การทางานของลิ้นนิรภัยเป็ นปกติ ไม่เลยออกไปจากปลายตะขอ

การตรวจสภาพตะขอ
1. ตรวจสอบรอยแตกร้าวหรื อรอยสึ กแหว่ง
2. แผ่นกันสลิงตกและสภาพการทางาน
3. ตะขอบิดเสี ยรู ปเกิน 10 องศา เมื่อเทียบกับขนาดเดิม
4. ปากตะขอถ่างออกเกิน 15 % เมื่อเทียบกับขนาดเดิม
5. ตรวจสอบการสึ กที่ทอ้ งตะขอ ห่วงตะขอหรื อสลักรับแรง ต้องไม่เกิน 10%

มีการเสี ยรู ปทรง หรื อ


สึ กหรอของห่วงตะขอ
มีการถ่างออกของปากเกิน 15 %

มีการแตกหรื อร้าวส่ วน มีการบิดตัวของตะขอตั้งแต่


หนึ่งส่ วนใดของตะขอ
10 องศา ขึ้นไป

มีการสึ กหรอที่ทอ้ งตะขอเกิน 10 %

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
63

ห่ วงใส่ สลัก (Shackles)

สภาพโดยทัว่ ไป
➢ ตัวสลักและแกนสลักต้องอยูใ่ นสภาพปกติไม่มีการดัดแปลง
➢ สภาพเกลียวต้องปกติ เมื่อใส่ แกนสลักต้องไม่หลวมคลอนเกลียวต้องไม่รูด

การตรวจสภาพห่ วงใส่ สลัก (Shackles)


1. ตรวจสอบความโก่งงอ การบิดเบี้ยวเสี ยรู ปและการยืดตัว
2. วัดระยะความถ่างออกของปากห่วง หากถ่างออกหรื อเสี ยรู ปไปจากเดิม 10 เปอร์ เซ็นต์ ให้ทาลาย ยกเลิก
การใช้งาน
3. ตรวจสอบพื้นผิว โดยตรวจสอบการสึ กหรอ รอยกัดแกว่ง เป็ นตามด เป็ นหลุม รอยแตกหรื อเกิดสนิม
รุ นแรง
4. แกนสลัก สภาพเกลียวต้องปกติ ไม่ถูกบี้กระแทกหรื อปี นเกลียว สามารถใช้งานหมุนเกลียวเข้าออกได้
โดยสะดวก
5. ข้อความบนห่ วงใส่ สลักหรื ออักษรนูนบอกค่าความสามารถในการยกบนอุปกรณ์ อ่านได้ชดั เจน
(WLL – Working Load Limit)
6. ห้ามใช้วสั ดุอื่น ๆ เป็ นสลักแกนของห่วงสลักโดยเด็ดขาด
7. แกนของห่วงสลักต้องสามารถใส่ และถอด ได้ง่ายไม่บิดเบี้ยว
8. ตัวอักษรที่ประทับบนห่ วงใส่ สลักต้องไม่เลอะเลือน สามารถอ่านได้อย่างชัดเจน

ตรวจสอบสภาพรอยสึกที่จุดสัมผัสสลิง
ตัวอักษรที่ประทับบนห่วง
สามารถอ่านได้อย่างชัดเจน
ตรวจสอบสภาพรอยสึก
และการโก่งงอเสี ยรู ป
ตรวจสอบสภาพสลักต้องขัน
ได้สุด ไม่ปีนเกลียว

ตรวจสอบสภาพความถ่างของปากห่วง
คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
64

อายโบลท์ (Eyebolts)

สภาพโดยทัว่ ไป
➢ ตัวตะขอต้องไม่มีรอยชารุ ด หมุนได้ 360˚ ไม่ติดขัด
➢ การทางานของลิ้นนิรภัยเป็ นปกติ ไม่เลยออกไปจากปลายตะขอ

การตรวจสภาพอายโบลท์ (Eyebolts)
1. การบิดเบี้ยว เสี ยรู ป (Interior Diameter) วัดขอบในถึงขอบในของช่องห่วง ทั้งแนวนอนหรื อแนวดิ่ง,
หากขนาดดังกล่าวถูกแบ่งออก 110 % หรื อบีบแคบลงถึง 10 % ให้ยกเลิกการใช้งาน
2. สภาพเกลียว (Thread Condition) สภาพเกลียวต้องปกติ ไม่ถูกบี้กระแทกหรื อปี นเกลียว สามารถใช้งาน
หมุนเกลียวเข้าออกได้โดยสะดวก
3. ตัวอักษรหรื อข้อความบนห่ วง (Identified Stamp) ตัวอักษรนูนบอกค่าความสามารถในการยกบนอุปกรณ์
อ่านได้ชดั เจน
4. รอยตาหนิ รอยแตกร้าว (Nicks, Gouges and Cracks) ตรวจสอบด้วยสายตาและยืนยันว่าที่ตวั อายโบลท์
ต้องไม่มีรอยกัดแหว่ง รอยแตก รอยร้าว ต่าง ๆ ปรากฎให้เห็น
5. รอยเชื่ อมซ่อมหรื อการแปลงสภาพ ต้องไม่นาอุปกรณ์ที่เชื่อมซ่อมหรื อแปลงสภาพมาใช้งาน ทั้งนี้
เนื่องจาก ค่าการรับแรงของอุปกรณ์ถูกเปลี่ยนไป

ตรวจสอบรอยตาหนิ แตกร้าว ตัวอายโบลท์

ตรวจสอบการบิดเบี้ยว เสี ยรู ป ตัวอายโบลท์ ตรวจสอบสภาพเกลียวต้องปกติ

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
65

11. วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้ าย

การยึดเกาะวัสดุ คือ การนาลวดสลิง โซ่ หรื ออุปกรณ์ช่วยยกมาใช้ร่วมในการยึดเกาะวัสดุ เพื่อให้วสั ดุที่ถูก


ยก แขวนลอยไปกับชุดตะขอของปั้ นจัน่

ผู้ที่ทาหน้ าที่ยึดเกาะวัสดุ หมายความว่า ผูท้ าหน้าที่ผูก มัด หรื อเกี่ ยววัสดุที่ให้ป้ ั นจัน่ ยก ดังนั้นจะต้อง
ตระหนักให้ความสาคัญเกี่ ยวกับการผูกมัดสิ่ งของที่ จะทาการยก เพราะการผูกมัดสิ่ งของหรื อวัสดุ ที่จะทาการยก
เคลื่อนย้ายชิ้นงานมีลกั ษณะการยึดเกาะที่หลากหลายซึ่ งส่ งผลต่อความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่

คุณสมบัติพืน้ ฐานสาหรับการยึดเกาะวัสดุ
➢ สามารถประเมินน้าหนักของวัสดุที่จะทาการยก
➢ เลือกใช้อุปกรณ์ในการยกที่เหมาะสม
➢ ตรวจสอบจุดศูนย์ถ่วงที่จะทาการยก
➢ ระวังองศาในการยก และอุปกรณ์ช่วยยกในการรับน้าหนักควรให้สมดุลกัน

วิธีการผูกมัดทีใ่ ช้ ในการยกวัสดุ
ข้อปฏิบตั ิในการผูกมัดวัสดุ
1. ตรวจสอบขนาด รู ปร่ าง น้ าหนัก
2. ตรวจสอบและเลือกอุปกรณ์ช่วยยกให้เหมาะสม
3. ประกอบอุปกรณ์ช่วยยกให้ถูกต้อง
4. ป้ องกันอุปกรณ์ช่วยยกไม่ให้เกิดความเสี ยหายจากขอบหรื อสันของวัสดุ
5. ป้ องกันอย่าให้วสั ดุที่ยกเกิดความเสี ยหาย
6. ทราบถึงมุมการยกและค่าความสู ญเสี ย
7. เกี่ยวมัดสิ่ งของให้แน่นตามตาแหน่งที่ถูกต้องและให้สมดุล

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
66

มุมของสลิงทีต่ ่ างกัน ทาให้ ประสิ ทธิภาพในการยกของสลิงต่ างกัน

จ าก ภ า พ เป็ น ก าร ป ร ะ เมิ น
ความสามารถในการรับน้ าหนักของสลิ ง
ที่จะแตกต่างออกไปตามองศาของสลิงกับ
ระดับพื้น เราจะเห็ นได้วา่ ยิ่งสลิ งกางออก
มาก (มุ ม ภายในระหว่างสลิ ง กับ พื้ นเป็ น
มุ ม ต่ า ) เท่ า ไร ความสามารถในการรั บ
น้ าหนักของสลิงก็จะลดลง

การยกโดยใช้ สลิง 2 เส้ น


ปรับความยาวสลิง
โดยการใช้ Turnbuckle

หมายเหตุ : ควรใช้อุปรกณ์ปรับความตึงของสลิง ในกรณี ที่จุดศูนย์ถ่วงของน้ ากนักวัสดุไม่อยูต่ รงจุดกึ่งกลางวัสดุ

การยกโดยใช้ สลิง 3 เส้ น

หมายเหตุ : ระวังน้ าหนักที่ยก บางทีจะอยูท่ ี่สลิง 2 เส้นเท่านั้น ถ้าสลิงเส้นที่ 3 ไม่อยูใ่ นลักษณะสมดุล

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
67

การยกโดยใช้ สลิง 4 เส้ น

หมายเหตุ : ระวังน้ าหนักที่ยก บางทีจะอยูท่ ี่สลิง 2 เส้นเท่านั้น ถ้าสลิงเส้นที่ 3,4 ไม่อยูใ่ นลักษณะสมดุล

การยกโดยใช้ สลิงเส้ นเดียวคล้องกับวัสดุโดยตรง

การยกโดยใช้สลิงรองรับวัสดุ
โดยตรง

หมายเหตุ : มุมของสลิงที่ใช้ในการยก จะมีผลกระทบต่อความสามารถในการยกน้ าหนักที่แตกต่าง

การยกโดยใช้ สลิง 2 เส้ น คล้องวัสดุโดยตรง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
68

การยกโดยใช้ สลิง 2 เส้ นพันรอบวัสดุ 2 รอบ

วิธีการผูกมัดเพื่อป้ องกันการเลื่อนไหลของวัสดุ การยกโดยใช้สลิงเส้นเดียวพันรอบวัสดุ 2 รอบ

การยกโดยใช้สลิง 2 เส้นพันรอบวัสดุ 2 รอบ การผูกมัดไม่สามารถป้องกันวัสดุไม่ให้


เพื่อป้ องกันการเลื่อนไหลของวัสดุ เลื่อนไหลหรื อหลุดออกได้

วิธีการผูกมัดเพื่อป้ องกันการเลื่อนไหลของวัตถุ

การยกโดยใช้สลิง 2 เส้นพันรอบวัตถุ 2 รอบ เพื่อป้องกันการเลื่อนไหลของวัตถุ

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
69

การผูกมัดวัสดุโดยใช้ สลิงวงแหวนหรื อโซ่ วงแหวน (Endless Slings or Grommet Slings)

การผูกมัดสลิงชนิดวงแหวนหรื อห่วง สลิงชนิดวงแหวนหรื อห่วงในการยกแนวดิ่ง

การใช้สลิงชนิดวงแหวนหรื อห่วง 2 เส้นในการยกวัสดุ

สลิงชนิดวงแหวนหรื อห่วงในการยกแบบ 2 จุด

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
70

ข้ อควรระวังในการผููกมัด

1. ห้ามสอดมือหรื อนิ้วเข้าไประหว่างสลิงและของที่กาลังยกโดยเด็ดขาด และระหว่างการยก ไม่ควรผลักหรื อ


ดึงของที่กาลังยกอยูด่ ว้ ยมือ ต้องใช้เชือกผูกดึงนาทาง (Tag lines)

2. ก่อนที่จะทาการยก เคลื่อนย้ายวัสดุ ต้องตรวจสอบเส้นทางและสถานที่ ที่จะทาการยกเคลื่อนย้าย ให้


สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก ไม่มีสิ่งกีดขวาง รวมถึงพื้นที่ในการวางวัสดุลง

3. ห้ามลากอุปกรณ์ยก หรื ออุปกรณ์ประกอบการยกอื่นใดไปกับพื้น

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
71

4. ห้ามใช้สลิงเส้นเดียวยกวัสดุที่มีความยาว เพราะรักษาสมดุลได้ยาก และถ้าของมีลกั ษณะเป็ นแท่งยาวจะ


ไหล - เลื่อนหลุดออกได้

5. การยกของที่มีมุมหรื อขอบ ต้องมีการจัดหาที่รองสลิง เพื่อป้ องกันการฉี กขาดหรื อชารุ ดของสลิง

6. ระมัดระวังโซ่ที่ใช้ในการยก ห้ามไม่ให้โซ่มีการพันหรื อขมวดเป็ นปมโดยเด็ดขาด

7. ระวังอย่าให้อุปกรณ์การยกสัมผัสกับสารเคมีหรื ออุณหภูมิที่สูง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
72

การกาหนดตาแหน่ งจุดศูนย์ ถ่วงของวัสดุ

เนื่ องจากวัสดุ ที่จะทาการยกโดยปั้ นจัน่ มีหลายรู ปแบบแตกต่างกันไม่ว่าจะเป็ นรู ปทรงกลม


แท่ง กล่อง หรื อรู ปแบบต่างๆ ดังนั้นก่อนที่จะทาการยกวัสดุจะต้องทาการหาตาแหน่ งจุดศูนย์ถ่วง
ของวัสดุเสี ยก่อน เวลาที่ทาการยกวัสดุข้ ึนจะได้ไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ งหรื อเกิดการแกว่งตัวของ
วัสดุ โดยปกติแล้วการบกวัสดุจะต้องยกในแนวดิ่งเท่านั้นห้ามมิให้ยกโดยการลากหรื อดึง เพราะจะทา
ให้เกิดความเสี ยสมดุลของปั้นจัน่ ซึ่งจะก่อให้เกิดอุบตั ิเหตุป้ ันจัน่ ล้มหรื อแขนเครนชารุ ดเสี ยหายได้

ยกแบบไม่ปลอดภัย ตะขอไม่อยูใ่ นแนวเดียวกับจุดศูนย์ถ่วง

จุ ดศู นย์ ถ่ วงของวัส ดุ คื อ ตาแหน่ งที่ มี น้ าหนัก


โดยรอบเท่ากัน ขณะที่ทาการยกวัสดุถา้ จุดยกไม่
อยู่ใ นต าแหน่ ง จุ ด ศู น ย์ถ่ ว ง จะท าให้ ว สั ดุ น้ ั น
เอียงไปด้านที่มีน้ าหนักมากกว่า ซึ่ งจะก่อให้เกิ ด
การแกว่งตัวของวัสดุ ดังนั้นทุกครั้งที่ทาก่อนที่จะ
ท าการยกวัส ดุ ต้อ งใช้ ต ะขอของปั้ นจั่น อยู่ใ น
แนวดิ่งตรงกับจุดศูนย์ถ่วงของวัสดุเสมอ

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
73

12. การประเมินนา้ หนักสิ่ งของ


ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องประเมินน้าหนักที่จะยกว่าตรงกับป้ายที่แสดงไว้ และใช้อุปกรณ์ช่วยยกเหมาะสมกับน้าหนักที่จะ
ยก ถ้าประเมินน้ าหนักผิดพลาดจะทาให้เกิดอุบตั ิเหตุร้ายแรงได้ เช่น
การยกน้ าหนักเกินอาจทาให้ป้ ั นจัน่ เสี ยหาย
อุปกรณ์ช่วยยกเสี ยหายทาให้วสั ดุตกลงมา
วัสดุเกิดความเสี ยหาย

ข้ อควรปฏิบัติในการประเมินนา้ หนัก
1. ขณะปฏิบตั ิงาน ต้องตรวจสอบป้ ายแสดงน้ าหนักที่ติดไว้
2. สอบถามผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
3. ตรวจสอบตามแบบ
4. ตรวจสอบจากป้าย หรื อแท็ก
5. คานวนน้ าหนักโดยการวัดขนาดชิ้นงานจริ ง (เพราะการประเมินด้วยตาเปล่าจะทาให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย)
➢ ตรวจวัด ขนาด และ รู ปทรง
➢ ตรวจสอบชนิ ดของวัสดุ
➢ คานวณน้ าหนักของวัสดุ

การประเมินนา้ หนักด้ วยวิธีการคานวณ

น้ าหนักวัสดุ = ปริ มาตร (𝑚3) x ค่าความถ่วงจาเพาะของวัสดุ (𝑘𝑔/𝑚3 )

วิธีการนี้มีวตั ถุประสงค์เพื่อหาน้ าหนักของชิ้นงานโดยค่าที่ได้จะใกล้เคียงกับน้ าหนักจริ งมากที่สุด


ซึ่งอ้างอิงจากปริ มาตรและชนิดของวัสดุ ซึ่งวัสดุแต่ละชนิดมีค่าความหนาแน่น ดังนี้

วัสดุ ค่ าความหนาแน่ นของวัสดุ (𝒌𝒈/𝒎𝟑)


ทองคา 19,300
ปรอท 13,570
ตะกัว่ 11,370
ทองแดง 8,910
เหล็ก 7,800
ไทเทเนี่ยม 3,080
อลูมิเนียม 2,690
คอนกรี ต 2,400

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
74

ตัวอย่างการคานวณ
จงหาน้ าหนักของชิ้นงานดังต่อไปนี้ (กาหนดวัสดุเป็ นเหล็ก)

ปริ มาตรก้อน A = 1.2 m x 2.0 m x 0.2 m = 0.48 𝑚3


ปริ มาตรก้อน B = 1.5 m x 2.0 m x 0.2 m = 0.60 𝑚3

ก้อน A + ก้อน B = 1.08 𝑚3

หมายเหตุ ค่าความหนาแน่นของเหล็ก = 7,800 𝑘𝑔/𝑚3

น้ าหนักวัสดุ = ปริ มาตร (𝑚3 ) x ความหนาแน่นของวัสดุ (𝑘𝑔/𝑚3)


น้ าหนักวัสดุ = 1.08 𝑚3 x 7,800 𝑘𝑔/𝑚3
น้ าหนักวัสดุ = 8,424 kg.

น้ าหนักวัสดุชิ้นงานนี้หนัก = 8,424 kg. #

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
75

13. การใช้ คู่มือการใช้ งาน การตรวจสอบ และการบารุงรักษาตามระยะเวลา


การบารุ งรักษาและหน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ
การใช้งานปั้ นจัน่ เหนื อศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสู งและปั้ นจัน่ ชนิ ดอยู่กบั ที่ ต้องได้รับการตรวจสอบความ
ถู กต้องของอุปกรณ์ ที่ใช้ในการทางานทั้งหมด ตามระยะเวลาที่ กาหนดไว้ในคู่มือของบริ ษทั ผูผ้ ลิ ต ไม่ว่าจะเป็ น
ก่อนเริ่ มงานในแต่ละวัน การตรวจสอบรายเดือน หรื อตามระยะเวลาที่กาหนด

วัตถุประสงค์ ของการตรวจสอบ
✓ ป้ องกันการเกิดอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นจากการทางาน
✓ ป้ องกันอุบตั ิเหตุที่ทาให้เกิดความเสี ยหายต่อร่ างกายและทรัพย์สินอันเนื่องมาจากปั้ นจัน่ ชารุ ด
✓ ทาให้พ้นื ที่การทางานในไลน์กระบวนการผลิตที่มีการใช้ป้ ั นจัน่ ดาเนินไปได้ราบรื่ น ไม่ติดขัด
✓ ป้ องกันปั ญหาการหยุดการทางานอันเนื่องมาจากปั้ นจัน่ เกิดการชารุ ด
✓ รักษาประสิ ทธิ ภาพและโครงสร้างส่ วนประกอบของปั้ นจัน่
✓ ช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่ องจักรปั้ นจัน่

ประเภทของการตรวจสอบปั้นจั่น

✓ ผูใ้ ช้งานปั้ นจัน่ ต้องทาการตรวจสอบก่อนเริ่ มปฏิบตั ิงานทุกครั้ง


1. การตรวจสอบประจาวัน
✓ ตรวจเช็ ค ลั ก ษณะภายนอกด้ ว ยการใช้ ส ายตาเปล่ า ในการ
ตรวจสอบ

✓ ต้องตรวจสอบตามระยะเวลาที่คู่มือผูผ้ ลิตได้กาหนดเอาไว้
✓ ระยะเวลาในการตรวจสอบที่เหมาะสมควรเป็ นไปตามความถี่
และสภาพแวดล้อมในการใช้งานปั้นจัน่
2. การตรวจสอบตามระยะกาหนด ✓ หัวข้อที่ใช้ในการตรวจสอบต้องกาหนดตามความรู ้เฉพาะทาง
เทคนิค
✓ บัน ทึ ก ผลการตรวจสอบจะต้อ งได้รั บ การเซ็ น ต์รั บ รองจาก
วิศวกร และเก็บเป็ นเอกสารไว้ในสถานประกอบการเพื่อเรี ยก
ตรวจสอบได้

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
76

หัวข้ อและวิธีการตรวจสอบตามระยะกาหนด
การตรวจสอบรางวิง่ และส่ วนประกอบ
ลูกล้อ (Wheel) และลูกปื นลูกล้อ (Flange)
1. เส้นผ่านศุนย์กลางลูกล้อสึ กหรอได้ไม่เกิน 3% ของความโตที่ออกแบบไว้
2. ขนาดความโตล้อวิง่ บนราง มีค่าแตกต่างกันดังนี้
➢ ล้อขับทั้งสองล้อ ความโตแตกต่างกันได้ไม่เกิน 0.2 %
➢ ล้อตามทั้งสองล้อ ความโตแตกต่างกันได้ไม่เกิน 0.5%
➢ ความเอียงของปี กลูกล้อ เอียงได้ไม่เกิน 20%
➢ การสึ กหรอของปี กลูกล้อ ความหนาลดลงไม่เกิน 50%
3. จุดต่อราง แผ่นต่อ น๊อตสกรู ยดึ จุดต่อรางเป็ นไปตามข้อกาหนด ดังนี้
➢ ความสู งแตกต่างกันไม่เกิน 0.5%
➢ แนวต่อปลายรางเยื้องได้ไม่เกิน 0.5%
➢ ความสึ กหรอด้านข้างของรางไม่เกิน 10%
➢ ระยะห่างของรางต่อ ได้ไม่เกิน 3 มม.

การตรวจสอบคานขวาง (Girder) และส่ วนทีเ่ คลื่อนที่


➢ ตรวจสลักเกลียวยึดมอเตอร์ขบั เคลื่อน ที่คานขวาง
➢ ตรวจสอบการหล่อลื่นของเพลาขับ
➢ ตรวจเพลา สลัก ข้อต่อระหว่างเพลาและเฟื องทด
➢ ความหนาของฟันเฟื อง ถ้าสึ กมากกว่า 10 เปอร์ เซ็นต์ ขึ้นไป ต้องเปลี่ยนทันที

การตรวจสอบคานขวาง และการแอ่นตัว
➢ สลักเกลียวที่ติดตั้งบนอานแท่นล้อเลื่อนของคานขวางไม่คลายตัว
➢ สลักเกลียวของคานขวาง (Girder) ไม่คลายตัว แนวเชื่อมไม่แตก
➢ ตัวกันกระแทกคานขวางไม่เปลี่ยนรู ป (Stopper )
➢ สภาพของล้อ หน้าสัมผัสไม่มีรอยแตกร้าว ชารุ ด
➢ สภาพการหล่อลื่นที่พ้นื ผิวที่สัมผัสกับเฟื องล้อ
➢ ตรวจการใช้หมุดย้าในส่ วนหลัก
➢ สลักเกลียวยึดบนตัวกันคานขวาง ไม่หลวมคลอน กันเลย(Stopper)ไม่แตก

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
77

การตรวจสอบส่ วนควบคุม สวิตช์ ชนิดปุ่ มกด


➢ สายไฟมีฉนวนหุ ม้ อุปกรณ์ตดั ไฟอยูใ่ นตาแหน่งใช้งานง่าย
➢ ไม่ควรใช้ปุ่มกดบังคับ บน ล่าง ในเวลาเดียวกัน
➢ ตรวจสอบหน้าสัมผัสของสวิตช์ไฟหลัก
➢ สายไฟทั้งหมดไม่หลวม
➢ กล่องสวิตช์ และฉนวนป้ องกัน ไม่ควรถูกกระแทก

การตรวจสอบ Limit Switch


1. Hoist Limit Switch
➢ ท าการกดรี โมทบังคับ เครนเลื่ อนขึ้ นให้ สู งสุ ด ขอตะขอ ( Hook ) จะต้องตัดหยุด ห่ างจาก Hoist
อย่างน้อย 30 ซม.
➢ ทาการกดรี โมทบังคับเครนเลื่อนลงให้สูงสุ ดขอตะขอ ( Hook ) จะต้องตัดหยุดห่ างจากพื้นอย่าง
น้อย 10 ซม. และต้องเหลือลวดสลิงในม้วนสลิงอย่างน้อย 2 รอบ
2. Trolley Limit Switch
➢ ทาการกดรี โมทบังคับเครนเลื่อนเดินซ้ายให้สุดจะต้องตัดหยุดไม่ชนกันชน
➢ ทาการกดรี โมทบังคับเครนเลื่อนเดินขวาให้สุดจะต้องตัดหยุดไม่ชนกันชน
3. End Carriage Limit Switch
➢ ทาการกดรี โมทบังคับเครนเลื่อนเดินหน้าให้สุดจะต้องตัดหยุดไม่ชนกันชน
➢ ทาการกดรี โมทบังคับเครนเลื่อนเดินหลังให้สุดจะต้องตัดหยุดไม่ชนกันชน

การตรวจสอบระบบเบรก ชนิดแม่ เหล็กไฟฟ้ า


➢ ระยะเคลื่อนที่ของแกนเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าต้องเป็ นไปตามที่ผผู ้ ลิตกาหนด
➢ ปรับระยะเลื่อนของแต่ละแกนเหนี่ยวนาให้ถูกต้อง
➢ การสึ กหรอของผ้าเบรก
➢ เมื่อผ้าเบรกสึ กหรอมาก ต้องปรับระยะให้ได้ตามมาตรฐานที่ผผู ้ ลิตกาหนด

การตรวจสอบโซ่
➢ การยืดตัวของโซ่ไม่ควรเกิน 5% ของความยาวที่ระบุ (ความยาวของ 5 ห่วงโซ่)
➢ ข้อโซ่เล็ก (ขนาดไม่เกิน 10 มม.) จะมีการวัดการยืดตัวของโซ่ อยูท่ ี่ 5 ข้อโซ่
➢ ข้อโซ่ใหญ่ (ขนาดเกิน 10 มม. ขึ้นไป) จะมีการวัดการยืดตัวของโซ่ อยูท่ ี่ 3 ข้อโซ่

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
78

การตรวจสอบลวดสลิง
➢ ไม่มีรอยบากกินลึกเข้าเนื้อในลวดสลิง
➢ เส้นลวดเล็กขาดมากกว่า 10 % ขึ้นไปของเกลี ยวเดียวกัน ให้เปลี่ยนทันที (จากความยาวทั้งหมด
ของเส้น)
➢ เส้นลวดสลิงในระยะ 1 ช่วงเกลียว หากขาด 3 เส้นขึ้นไปในเกลียวเดียว หรื อ ขาด 6 เส้นขึ้นไปใน
หลายเกลียวรวมกันให้เปลี่ยนทันที
➢ ลวดสลิงสึ กหรอจนเส้นผ่านศูนย์กลางเล็กลงกว่า 5 % ห้ามนามาใช้งาน
➢ ลวดสลิงหงิกงอ โดยเฉพาะที่งอหักไม่ควรนากลับมาใช้
➢ ตาแหน่งกับสัมผัสกับรอยยกวัสดุ
➢ วัตถุที่มีฤทธิ์ กดั กร่ อนไม่ควรใส่ ลงในน้ ามันหล่อลื่น

การตรวจสอบชุ ดตะขอเกีย่ วและอุปกรณ์ ประกอบ


➢ ตะขอหมุนได้อย่างคล่องตัวไม่ติดขัด
➢ ลิ้นนิรภัยอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ พร้อมใช้งาน
➢ ตรวจสอบหมุด สลัก หรื อปริ้ น และการหมุนของล้อ
➢ เพลา และแบริ่ งลูกรอกสลิงอยูใ่ นสภาพที่ดี

การตรวจสอบโครงและชุ ดตะขอ
ชุดตะขอของตัวรอกไม่ควรผิดรู ป หรื อมีรอยกระแทก
สาเหตุของรอยแตกร้าวที่จะเกิดขึ้นให้พบเห็น
➢ น้ าหนักเกิดจากแรงดึงด้านข้าง (การยกเอียงยกเฉียง)
➢ น้ าหนักเกินชัว่ ขณะ จากการดึงรั้งไว้กบั วัสดุ (เกิดการสั่นสะเทือนของชิ้นงาน)
➢ แรงกระแทกกับชุดตะขอของตัวรอก สวิตช์ควบคุมสู งสุ ดไม่ทางาน
(Upper limit switch ไม่ทางาน)

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
79

ตารางการตรวจสอบปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสู งและปั้นจั่นชนิดอยู่กบั ที่

รายการทีต่ ้ องตรวจสอบ ทุกวัน 1 เดือน 3เดือน 6เดือน


การตรวจสอบรายวัน ก่อนเริ่มงาน
ระบบไฟฟ้าควบคุมการทางานเป็ นปกติ ✓
สภาพเครื่ องควบคุมปั้ นจัน่ ✓
สภาพตะขอยกเป็ นปกติ ✓
การเคลื่อนตัวของปั้ นจัน่ ในด้านขวาง ✓
ปกติ
การเคลื่อนตัวของปั้ นจัน่ ในแนวยาว ✓
ปกติ
สัญญาณเตือนขณะปั้นจัน่ เคลื่อนที่ ✓
ทางาน
เครื่ องหยุดอัตโนมัติปลายรางทางาน ✓
ปกติ
เสี ยงของมอเตอราหห้าทางานปกติ ✓
ปุ่ มหยุดฉุกเฉิ นทางานปกติ ✓
ระบบระยะเวลาการตรวจสอบ
ส่วนประกอบหรื อระบบที่เกี่ยวกับ ✓
ความปลอดภัย
ส่วนประกอบหรื อระบบที่ก่อเกิดการ ✓
เปลี่ยนแปลงเช่น สึ กหรอแตกร้าว
ส่วนประกอบหรื อระบบเกี่ยวกับกลไก ✓
การซ่อมบารุ งทางวิศวกรรม

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
80

ตารางการตรวจสอบปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสู งและปั้นจั่นชนิดอยู่กบั ที่

รายการทีต่ ้ องตรวจสอบ ทุกวัน 1 เดือน 3เดือน 6เดือน


การตรวจสอบรางวิง่ และส่ วนประกอบ
มีสิ่งกีดขวาง หรื อสิ่ งผิดปกติแนว ✓
เส้นทางการเคลื่อนที่
สภาพโดยทัว่ ไปของส่วนที่รับน้ าหนัก ✓
และรางวิง่ โค้งงอ ไม่เรี ยบหรื อผิดรู ป
สภาพน็อตสกรู ยึดแท่นรางวิง่ ทั้งหมด ✓
การตรวจสอบส่ วนควบคุม Switch Control
ความผผิดปกติภายนอก ✓
สายเคเบิลที่เชื่อมต่อ ✓
สลักเกลียวยึดสายไฟ ไม่หลวม ✓
ขณะทางาน การเชื่อมโยงของสวิทช์ ✓

การตรวจสอบส่ วนควบคุม
จุดหน้าสัมผัส ไม่มีการเสี ยหาย หรื อ ✓
เป็ นรอย
สกรู ยดึ สายไฟไม่หลวม ✓
ระบบทางานทุกส่วนอยูใ่ นสภาพที่ ✓
เหมาะสม

การตรวจสอบส่ วนควบคุมสวทช์ ควบคุมระดับยกสู งสุ ด Limit Switch


การทางานที่เหมาะของคานลิมิตสวิทช์ ✓
สภาพของจุดหน้าสัมผัสวงจรไฟฟ้า ✓
ทดสอบยกสูงสุดลิมิตสวิทช์ตดั วงจร ✓
ตะขอจะเลื่อนขึ้นอีกได้ไม่เกิน 50 มม.
สกรู ยดึ สายไฟไม่หลวม ✓

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
81

ตารางการตรวจสอบปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสู งและปั้นจั่นชนิดอยู่กบั ที่

รายการทีต่ ้ องตรวจสอบ ทุกวัน 1 เดือน 3เดือน 6เดือน


การตรวจสอบคานขวาง และการแอ่นตัว
ตรวจสอบจุ ด ยึด น็ อ ต สกรู ข องแท่ น ✓
ต่าง ๆ ไม่หลวมคลอนและคานขวางได้
ระดับตรงไม่แอ่นตัว
สภาพแท่นรองรับต่าง ๆ ของส่วนวิง่ บน ✓
รางขวางอยูใ่ นสภาพดีไม่มีสิ่งผิดปกติ
Stopper ทั้งสองด้านของคานขวางปกติ ✓
การหล่ อ ลื่ น ลู ก ล้อ เฟื อง หรื อ ส่ ว นที่ ✓
เคลื่อนไหว
การสึ ก หรอส่ ว นที่ เสี ย ดสี และน้ ามัน ✓
หยด
ทดสอบการแอ่ น ตัวของคานขวางเมื่ อ ✓
รับน้ าหนัก

การตรวจสอบคานขวาง ส่ วนทีเ่ คลื่อนที่


ตรวจสอบจุดหลวมของสลักเกลียวยึด ✓
ของมอเตอร์ขบั เคลื่อนและเฟื องทดรอบ
ตรวจสอบจุดหลวมของโซ่หรื อ ✓
สายพาน
ตรวจสอบจุดหลวมของสลักเกลียวยึด ✓
ของอุปกรณ์เพลาขับเคลื่อน
ตรวจสอบการหล่อลื่นเพลาขับเคลื่อน ✓
ตรวจสอบจุดหลวม หรื อรอยเสี ยดสี ✓
ของข้อต่อเพลาขับเคลื่อน

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
82

ตารางการตรวจสอบปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสู งและปั้นจั่นชนิดอยู่กบั ที่

รายการทีต่ ้ องตรวจสอบ ทุกวัน 1 เดือน 3เดือน 6เดือน


การตรวจสอบระบบเบรก ชนิดแม่ เหล็กไฟฟ้ า
ระยะเคลื่ อ น ที่ ของแกน เห นี่ ยวน า ✓
แม่เหล็กไฟฟ้ าต้องเป็ นไปตามที่ ผูผ้ ลิ ต
กาหนด
ปรับระยะเลื่อนของแต่ละแกน ✓
เหนี่ยวนาให้ถูกต้อง
การสึ กหรอของผ้าเบรก ✓
การสึ กหรอของกลไกระบบเบรก ✓
สกรู น็อต ต่าง ๆหลวมคลอน หรื อไม่ ✓

การตรวจสอบลวดสลิง
เกลียวฟั่นลวดสลิงแตกร้าว น้อยกว่า ✓
10% ของลวดสลิงทั้งหมดใน หนึ่ง
เกลียวฟั่น
สภาพการสึ กหรอ น้อยกว่า 7% ของ ✓
เส้นผ่านศูนย์กลางมาตรฐานเดิม
ลวดสลิงหงิกงอเนื่องจากการใช้งานไม่ ✓
ถูกต้อง
การผิดรู ป หรื อการกัดกร่ อนของ ✓
ลวดสลิงอย่างมาก
ความผิดปกติของส่วนปลายของ ✓
ลวดสลิง
การหล่อลื่นอย่างเหมาะสม ✓

การตรวจสอบโซ่
การยืดตัว ✓
การผิดรู ปและแตกร้าว ✓

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
83

ตารางการตรวจสอบปั้นจั่นเหนือศีรษะ ปั้นจั่นขาสู งและปั้นจั่นชนิดอยู่กบั ที่

รายการทีต่ ้ องตรวจสอบ ทุกวัน 1 เดือน 3เดือน 6เดือน


การตรวจสอบชุ ดตะขอเกีย่ วและอุปกรณ์ ประกอบ
สภาพหมุนรอบของแบริ่ งรับแรง ✓ 4.
แนวแกน
สภาพน็อตล็อคตะขอ ✓ 5.
การเสี ยหายของรอกสลิง ✓ 6.
รอยสึ กกร่ อนของเพลา ✓ 7.
การสึ กหรอที่ผิดปกติ เห็นได้ดว้ ย ✓ 8.
สายตา
การผิดรู ปตะขอ และการบิดงอ ปาก ✓ 9.
ตะของ้างออก

การตรวจสอบชุ ดตะขอและส่ วนประกอบ


รอยสึ กหรอที่ผิดปกติ เห็นได้ดว้ ย ✓
สายตา
รอยแตกร้าว ✓
การผิดรู ปของตะขอ และการบิดงอ ✓
ปากตะขออ้า
สภาพการหมุนรบตัวเอง ✓
แท่นรองรับตะขอ ✓
การตรวจสอบล้อเลื่อน
การหลวมของแกนเพลาโครงล้อเลื่อน ✓
สลัก
รอยสึ กหรอส่วนโค้ง และหน้าสัมผัส ✓
ของลูกล้อ

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)
84

จัดให้ มีการทดสอบส่
ส สวนประกอบและอุปุ กรณ์
ณของปั้ นจั่นตามประเภท ดังั นี้

ขนาดพิกดั ยกอย่าง ทดสอบส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น ทุกๆ


ปลอดภัย 3 เดือน 6 เดือน 12เดือน
1 ตัน แต่ไม่เกิน 3ตัน ✓
3 ตัน แต่ไม่เกิน 50 ตัน ✓
มากกว่า 50 ตัน ✓

หมายเหตุ :
ผูค้ วบคุมปั้นจัน่ ต้องตรวจสอบปั้ นจัน่ ก่อนเริ่ มใช้งานทุกวัน หากพบสิ่ งผิดปกติตอ้ งรี บแจ้งให้
หัวหน้างานมราบเพื่อทาการแก้ไขก่อนนาปั้ นจัน่ ไปใช้งาน
หัวหน้างานต้องตรวจสอบ แบบตรวจสอบปั้ นจัน่ เหนือศีรษะประจาวัน ทุกวัน แล้วนาส่ งให้
ฝ่ ายปลอดภัยทราบ และต้องจัดเก็บเอกสารและต้องสุ่ มตรวจให้ถูกต้องตามความเป็ นจริ ง

คู่มืออบรมหลักสูตรการทางานเกี่ยวกับปั้ นจัน่ (ชนิดปั้ นจัน่ เหนือศีรษะ ปั้ นจัน่ ขาสูง และปั้ นจัน่ ชนิดอยูก่ บั ที่ชนิดอื่น)

You might also like