You are on page 1of 4

EGD (Esophagogastroduodenoscopy) คือ การส่องกล้ องเพื่อประเมินบริ เวณ

oropharynx, esophagus, stomach, and proximal duodenum

Indication : 1 เพื่อการวินิจฉัย : -คนไข้ มีอาการ persistent upper abdominal pain หรื อมี
alarm symptoms ร่ วมกับอาการปวดท้ อง ได้ แก่ weight loss, anorexia, dysphagia
-คนไข้ มี Intractable or chronic symptoms of GERD

-ประเมินหลัง caustic ingestion

-Surveillance malignancy ในคนไข้ ที่มี premalignant


condition เช่น Polyposis syndrome, Barrett esophagus

-UGIB

2 เพื่อการรักษา : -Remove foreign body

-Dilation or stenting of strictures

-Esophageal variceal ligation

-Upper GI bleeding control

-Placement of feeding or draining tubes

-Management of achalasia (botulinum toxin or balloon


dilation)

Contraindication :

Absolute Contraindications

Perforated bowel

Peritonitis

Toxic megacolon in an unstable patient

Relative Contraindications

Severe neutropenia

Coagulopathy

Severe thrombocytopenia or impaired platelet function


Increased risk of perforation including connective tissue
disorders, recent bowel surgery or bowel obstruction

อุปกรณ์
Gastroscope : กล้ อง gastroscope ทัว่ ไป มีเส้ นผ่าศูนย์กลาง 10mm และมีช่องใส่ instrument
2.8 mm ในเด็กน้ำหนัก<10 kg ควรใช้ กล้ องเส้ นผ่าศูนย์กลางเล็กกว่า 6 mm กล้ อง gastroscope ที่มีช่อง
ใส่ instrument ใหญ่ 3.8-4.2 mm จะมีประโยชน์ใน severe acute UGIB
อุปกรณ์ เสริม
เช่น Biopsy forcep , rat tooth forcep, alligator forcep, polypectomy snare, overtube of
esophageal and gastric length เป็ นต้ น
การเตรี ยมตัว
อาหาร : ควรงดการกินทางปาก อย่างน้ อย 2 ชัว่ โมงหลังทานของเหลวใส 6 ชัว่ โมงหลังทานของแข็ง
ยา : ยาประจำส่วนใหญ่ทานได้ ปกติโดยทานกับน้ำปริ มาณเล็กน้ อย, ยกเว้ น ยาเบาหวานที่ต้องปรับตาม
การงดอาหาร และยาต้ านการแข็งตัวของเลือดที่ต้องปรับหากผู้ป่วยมีเรื่ อง GI Bleed
การทำให้ หลับและการติดตามสัญญาณชีพ : การให้ ยาให้ หลับจะทำให้ คนไข้ ไม่ทรมานขณะ ส่องกล้ อง
การทำให้ หลับมีตงแต่
ั ้ การให้ ยาทางหลอดเลือด หรื อ ดมยาสลบแล้ วแต่ สภาพผู้ป่วย และควรต้ องมรการ
ติดตามสัญญาณชีพตลอดการส่องกล้ อง
เทคนิคการส่ องกล้ อง
การจับ Endoscope
จับ Endoscope ด้ วยมือซ้ าย ส่วนที่ใช้ ควบคุมควรอยูใ่ นอุ้งมือ ใช้ นิ ้วโป้งคอยปรับหมุนหัวควบคุมตัวใหญ่
ให้ กล้ องขึ ้น-ลง ใช้ นิ ้วชี ้เป็ นตัวควบคุมการดูด และเป่ าลมและน้ำ มือขวาใช่เพื่อใส่ ถอยและ หมุนกล้ อง และ
มือขวาก็ยงั ใช้ ใส่อปุ กรณ์ข้ไปในกล้ องเช่น ใส่ Biopsy forcep เป็ นต้ น
การใส่ กล้ องไปยัง esophagus
ผู้ป่วยจะนอนในท่า left lateral decubitus แล้ วใส่ Bite block ในปาก ก่อนใส่กล้ องเข้ าไปในปาก ใส่กล้ อง
เข้ าปากไปถึงโคนลิ ้น หลัดจากนั ้นปรับหน้ ากล้ องลงจนเป็ น vocal cord หลังจากนันใส่
้ กลังผ่านไปข้ างหลัง
ของ arytenoid cartilage ไปยัง upper esophageal sphincter แล้ วดันให้ ผา่ นเข้ า esophagus
Esophagus and Esophagogastric junction
หลังจากใส่กล้ องเข้ า esophagus แล้ วให้ ดนั กล้ องเข้ าไปตรงๆ และมองดูความผิดปกติของ Esophagus
เช่นมีการอักเสบ, ulcerations, furrowing, varices หรื อการตีบ ควรบอกตำแหน่งของ esophagogastric
junction และ squamocolumnar junction หรื อ Z-line ถ้ า Z-line อยูp่ roximal กว่า
gastroesophageal junction ควรทำ biopsy เพื่อประเมินหา Barrett esophagus
Stomach
หลังจากใส่กล้ องเข้ ากระเพาะแล้ ว หากพบมีสารคัดหลัง่ ให้ ดดู ทิ ้งไป และเป่ าลมเพื่อให้ มองเห็นได้ ดีขึ ้น
หลังจากนันใส่
้ กล้ องเข้ าไปพร้ อมทั ้งบิดหมุนกล้ องไปทางขวา จนเห็น Pylorus พร้ อมทั ้งมองหาความผิด
ปกติของ mucosa ของกระเพาะด้ วย เมื่อจะผ่าน Pylorus ให้ นำกล้ องไปจ่อหน้ า Pylorus พร้ อมทั ้งเป่ าลม
และดันกล้ องเข้ าไป
Duodenum
หลังจากใส่กล้ องผ่าน Pylorus กล้ องจะเข้ าไปยัง Duodenal bulb เราควรตรวจดูสว่ น Duodenal bulb
ขณะใส่กล้ องเข้ ามากกว่าขณะถอยกล้ องออก เพราะหลังจากใส่กล้ องเข้ าไปแล้ วอาจทำให้ mucosa ของ
Duodenal bulb เปลี่ยนไป หลังจากตรวจดู Duodenal bulb ทั ้ง 4 quardrant แล้ วให้ ใส่กล้ องเข้ าไปอีก
ไปยังด้ าน posterior ของ Duodenal bulb ตรงนี ้จะเป็ นตำแหน่งที่ Duodenal บิดขวาลงด้ านล่างอย่าง
อย่างทันที เพื่อที่จะผ่านเข้ า second part of the duodenum เราจะต้ องใส่กล้ องเข้ า พร้ อมทั ้งบิดกล้ องไปทางขวา
และลง แล้ วหลังจากนั ้นหมุนหัวควบคุมให้ กล้ องหันขึ ้น ส่วน lower part of the second portion ของ duodenum
สามารถเข้ าได้ โดย straightening endoscope หรื อ คือการ ดึง scope กลับช้ าๆ และคอยรักษาหน้ ากล้ องให้ เห็น
lumen ตลอด Ampullar of Vater จะเห็นได้ ที่ second portion ของ duodenum ขณะถอยกล้ องออก

หลังจากตรวจดู duodenum, pylorus, และ antrum กล้ องจะโดนปุ่ มควบคุมหมุนลงสุดเป็ น retroflexed เพื่อดู
CARDIA และ fundus หลังจากดูเรี ยบร้ อยก็หมุนกล้ องกลับตำแหน่ง neutral หลังจากดูสว่ นอื่นๆ เรี ยบร้ อยหมดแล้ ว
และได้ ทำ biopsy แล้ ว ให้ ถอยกล้ องออกพร้ อมกับดูดลมออก

Complication
อัตราการเกิด Complication จาก EGD ค่อนข้ างน้ อย และ mortality rate น้ อยกว่า 0.01% complication
ที่พบบ่อยๆ ได้ แก่ Cardiac complication, Respiratory complication, Perforation and bleeding และ
Infection
Cardiac complication : Arrhythmias
Respiratory complication : hypoventilation, apnea, และ aspiration มักสัมพันธ์กบั
Premedication
Perforation and bleeding : ตำแหน่งที่พบ perforation ได้ บอ่ ยเรี ยงตามลำดับจากมากไปน้ อย
ตามนี ้ esophagus, hypopharynx, duodenum, และ stomach โดยปั จจัยที่ทำให้ เกิด perforation ได้ แก่
diverticula, severe cervical spondylosis, การทำ endoscopic interventions เช่น dilation, การใส่
prosthesis และ laser therapy

You might also like