ชื่อสถาบันอุดมศึกษา. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วิ

You might also like

You are on page 1of 35

รายละเอียดของหลักสู ตร

หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้


(หลักสู ตรใหม่ พ.ศ. 2559)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา ศู นย์ รังสิต คณะวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์

ข้ อมูลทัว่ ไป
1. ชื่อหลักสู ตร
ภาษาไทย : หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Arts Program in Learning Sciences

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม ศิลปศาสตรบัณฑิต (วิทยาการเรียนรู้)
ชื่อย่ อ ศศ.บ. (วิทยาการเรียนรู้ )
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม Bachelor of Arts (Learning Sciences)
ชื่อย่ อ B.A. (Learning Sciences)
3. วิชาเอก (ถ้ ามี)
-
4. จานวนหน่ วยกิตทีเ่ รียนตลอดหลักสู ตร
จานวนหน่ วยกิตตลอดหลักสู ตร 128 หน่ วยกิต
5. รู ปแบบของหลักสู ตร
5.1 รู ปแบบ
หลักสู ตรระดับปริญญาตรี 4 ปี มีลกั ษณะเป็ นหลักสู ตรพหุวทิ ยาการ
5.2 ภาษาทีใ่ ช้
หลักสู ตรจัดการศึกษาเป็ นภาษาไทย
5.3 การรับเข้ าศึกษา
รับเฉพาะนักศึกษาไทย
5.4 ความร่ วมมือกับสถาบันอืน่
เป็ นหลักสู ตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ ปริญญาแก่ ผ้สู าเร็จการศึกษา
ให้ ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

1
6. สถานภาพของหลักสู ตรและการพิจารณาอนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสู ตร
หลักสู ตรเปิ ดใหม่ พ.ศ. 2559 กาหนดเปิ ดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2559
ได้ พจิ ารณากลัน่ กรองโดยคณะอนุกรรมการสภามหาวิทยาลัยด้ านหลักสู ตรและการจัดการศึกษา
ในการประชุมครั้งที่ 9/2558 เมื่อวันที่ 11 เดือน กันยายน พ.ศ. 2558
ได้ รับอนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสู ตรจากสภามหาวิทยาลัย
ในการประชุมครั้งที่ 9/2558 เมือ่ วันที่ 28 เดือน กันยายน พ.ศ. 2558

7. ความพร้ อมในการเผยแพร่ หลักสู ตรทีม่ คี ุณภาพและมาตรฐาน


หลักสู ตรมีความพร้ อมเผยแพร่ คณ ุ ภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติในปี การศึกษา
2561

8. อาชีพทีส่ ามารถประกอบได้ หลังสาเร็จการศึกษา


8.1 นักฝึ กอบรมและผู้ทที่ างานด้ านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
8.2 กระบวนกรหรือวิทยากรกระบวนการ
8.3 นักเทคโนโลยีการศึกษา
8.4 นักออกแบบสื่อการเรียนการสอน
8.5 นักออกแบบการจัดการเรียนรู้
8.6 นักศิลปะสร้ างสรรค์
8.7 นักพัฒนาชุมชน
8.8 นักวิจยั ด้ านการเรียนรู้ และการศึกษา

10. สถานทีจ่ ดั การเรียนการสอน


คณะวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศู นย์ รังสิต
11. สถานการณ์ ภายนอกหรือการพัฒนาทีจ่ าเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสู ตร
11.1 สถานการณ์ หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การศึกษาของไทยมีการเปลีย่ นแปลงอย่ างมากในทศวรรษทีผ่ ่านมา สื บเนื่องจากการประกาศใช้ พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่ งชาติ พ.ศ.2542 แต่ ผลลัพธ์ ที่คาดหวังกลับเป็ นไปในทางตรงกันข้ าม จากการประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนทั้งในระดับ
นานาชาติหรื อระดับชาติชี้ว่าคุณภาพการศึ กษาของไทยกาลังตกต่าลงโดยลาดับ ปั ญหาของระบบการศึ กษาไทยที่สะท้ อนจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ เช่ น ใช้ ทรัพยากรมากแต่ ขาดประสิ ทธิภาพ โดยใน 10 ปี ที่ผ่านมาประเทศไทยใช้ จ่ายงบประมาณของรัฐเพื่อ
การศึกษาโดยเฉลีย่ คิดเป็ นสัดส่ วนมากกว่ า 1 ใน 4 ของงบประมาณแผ่ นดินรวม โดยงบประมาณการศึกษาของไทยเพิ่มขึน้ ถึง 84%
จาก 262,938 ล้ านบาทในปี 2548 เป็ น 482,788 ล้ านบาท ในปี 2557 หรือเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ 23,155 ล้ านบาท หรือ 7.04% ต่ อปี ด้ วยสัดส่ วน
การลงทุนเพือ่ การศึกษาในระดับนีท้ าให้ ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีสัดส่ วนการลงทุนด้ านการศึกษาเมื่อเทียบกับงบประมาณรวม
ของรัฐบาลมากเป็ นอันดับที่ 2 ของโลก และมีอตั ราเพิม่ ขึน้ ทุกปี
อย่ างไรก็ดคี วามสามารถในการแข่ งขันในด้ านทรัพยากรมนุษย์ ของไทยกลับมีแนวโน้ มตกตา่ ลง โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับใน
ภูมภิ าคอาเซียน โดยมีสาเหตุสาคัญคือปัญหาคุณภาพของการจัดการเรียนรู้ หลักสู ตรและการจัดการเรียนการสอนทีไ่ ม่ สอดคล้ องกับ

2
บริบทพืน้ ทีแ่ ละสังคม ตลอดจนสภาพสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่ งแวดล้ อม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ซึ่งจาเป็ นที่ทุกภาคส่ วน
ต้ องเข้ ามามีส่วนร่ วมในการจัดการเรียนรู้ เพือ่ แก้ ไขปัญหาดังกล่ าว
11.2 สถานการณ์ หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจุบันประเทศไทยกาลังเผชิญวิกฤตความขัดแย้ งทางสังคมและวัฒนธรรมในระดับสู ง สาเหตุของปัญหาส่ วนหนึง่ เกิด
จากความไม่ สามารถเรียนรู้ของประชากรในสังคม เนื่องจากในอดีตทีผ่ ่านมา ระบบ
การศึกษาในประเทศไทยมักมุ่งเน้ นทีก่ ารท่ องจาหนังสื อ โดยปราศจากการลงมือปฏิบัติ และไม่ ได้ เปิ ดโอกาสให้ ผู้เรียนพัฒนาทักษะ
การคิดวิเคราะห์ การประเมิน และตัดสินบนหลักการและเหตุผล ดังนั้น ประชากรส่ วนใหญ่ จึงมักถูกชักจูงไปในทิศทางที่ผู้มีอานาจ
ในสังคมชี้นา ซึ่งสร้ างความแตกแยกภายในสั ง คมดังที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ความเจริญก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยีและการ
สื่ อสารส่ งผลให้ วิถีชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปอย่ างรวดเร็ ว โครงสร้ างของสั งคมมีจานวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น
ในขณะที่ความเป็ นปัจเจกบุคคลและการมีครอบครัวเดี่ยวได้ กลายเป็ นค่ านิยมหลักของสั งคม ซึ่งทาให้ ระบบสั งคมและวัฒนธรรม
ของการเอือ้ เฟื้ อเกือ้ กูลกันลดหายไป ระบบการศึกษาในประเทศไทยที่ผ่านมายังไม่ สามารถจัดการศึกษาให้ เยาวชนของชาติพัฒนา
ทักษะการเรี ยนรู้ และการเผชิ ญต่ อความเปลี่ยนแปลงทางสั งคมและวัฒนธรรมได้ อย่ างเท่ าทัน รวมทั้งเห็นความสาคัญต่ อการ
ดารงชีวติ และการประกอบอาชีพการงานเพือ่ ประโยชน์ ของส่ วนรวม ซึ่งทั้งหมดนีต้ ้ องการการจัดการศึกษาที่อาศัยทุกภาคส่ วนของ
สังคมเข้ ามาร่ วมรับผิดชอบ เพือ่ ให้ กระบวนการเรียนรู้ ของประชากรในสั งคม โดยเฉพาะเยาวชนของชาติ ไม่ ได้ จากัดอยู่แต่ เพียงใน
ชั้นเรียน แต่ อยู่ในบริบททีเ่ ป็ นจริงของชีวติ และสังคม
การทางานในเรื่องดังกล่ าวเป็ นเรื่องที่ท้าทาย และต้ องอาศัยความรับผิดชอบและความร่ วมมือจากทุกภาคส่ วนของสั งคม
ความท้ าทายนั้นไม่ ได้ อยู่เพียงว่ า โรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาใดๆ จะผลิตนักเรี ยน นิสิต นักศึกษา ให้ เป็ นคนที่มีความรู้ ความ
รับผิดชอบ และมีส่วนร่ วมต่ อความเปลีย่ นแปลงและความเป็ นไปของสั งคมแต่ เพียงอย่ างเดียว หากแต่ จะทาอย่ างไรให้ คนในชุ มชน
องค์ กร หรือสังคมหนึ่งๆ สามารถคิด วิเคราะห์ และอยู่ร่วมกับสมาชิกทีม่ คี วามแตกต่ างหลากหลายได้ อย่ างสงบสุ ข ตระหนักและให้
คุณค่ าแก่ การเรียนรู้ ผ่านการพัฒนาปัญญา และการปฏิบัตทิ เี่ ชื่อมร้ อยด้ วยหัวใจของความเป็ นมนุษย์

12. ผลกระทบจาก ข้ อ 11.1 และ 11.2 ต่ อการพัฒนาหลักสู ตรและความเกีย่ วข้ องกับพันธกิจของสถาบัน


12.1 การพัฒนาหลักสู ตร
หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณทิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ พัฒนาขึน้ บนพืน้ ฐานการบูรณาการองค์ ความรู้ ของสาขาวิชาต่ าง ๆ
ขึน้ เป็ นสหวิทยาการ (Interdisciplinary) โดยมีคณาจารย์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญครอบคลุมศาสตร์ ด้านการเรียนรู้ ของ
มนุษย์ ในหลากหลายบริบท เพือ่ ช่ วยให้ ผ้เู รียนสามารถสร้ างองค์ ความรู้ ของตนบนฐานการปฏิบัตจิ ริง
การจัดการเรียนการสอนในหลักสู ตรนีม้ ลี กั ษณะเป็ นหน่ วยการเรียนรู้ (Module) ทีม่ ่ งุ ให้ ผ้เู รียนได้ ศึกษาในลักษณะบูรณา
การ การใช้ ทกั ษะต่ าง ๆ ร่ วมกัน โดยผู้เรียนจะได้ เรียนรู้ ทางทฤษฏีและปฏิบัตเิ ชิงวิชาชีพ ผ่านการเรียนการสอนทีผ่ ้เู รียนมีส่วนร่ วม
เป็ นสาคัญ (Active learning) ทั้งในระดับห้ องปฏิบัตกิ าร และกับผู้เชี่ยวชาญหรือหน่ วยงานด้ านการเรียนรู้ โดยไม่ ได้ จากัดอยู่เพียงแต่
ในสถานศึกษา
ในสองปี แรกผู้เรียนจะเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ Start-up learning process เพื่อให้ มีประสบการณ์ เรียนรู้ ในสถานการณ์
ต่ าง ๆ โดยจะเป็ นจุดเริ่มต้ นของการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ของผู้เรียนให้ เปิ ดกว้ าง ก่ อนนาเข้ าสู่ สารัตถะหลักในปี ที่ 3 อาทิ การ
เรียนรู้ ของมนุษย์ องค์ ประกอบทางสังคมและวัฒนธรรมในการเรียนรู้ การออกแบบและการจัดกระบวนการเรียนรู้ และ การวิจยั และ
พัฒนานวัตกรรมการเรี ยนรู้ เป็ นต้ น ในปี สุ ดท้ ายเพื่อให้ ผู้เรียนมีทักษะที่จาเป็ นในการเข้ าสู่ อาชีพ ผู้เรี ยนจะเลือกกลุ่มวิชาที่ตนเอง
สนใจเพื่อสร้ างความเชี่ ยวชาญในเชิ งลึก อาทิ ด้ านการศึ กษา ด้ านศิ ลปะประยุกต์ เพื่อการศึ กษา การออกแบบและจัดกระบวนการ
เรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

3
12.2 ความเกีย่ วข้ องกับพันธกิจของสถาบัน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในฐานะที่เป็ นสถาบันทางการศึ กษาที่ได้ มีส่วนร่ วมในการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ สั งคม และ
การเมืองมาตลอดระยะเวลา 80 ปี ของการก่ อตั้ง เห็นความสาคัญของการผลิตบัณฑิตในสาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ เพือ่ สนับสนุนการ
ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึ กษาของประเทศไทย และยกระดับคุณภาพทรั พยากรมนุ ษย์ ของชาติ ตามปรั ชญาและปณิธานของ
มหาวิทยาลัย คือการเป็ นมหาวิทยาลัยเพือ่ ประชาชน โดยมุ่งหวังในการสร้ างบุคลากรทางการศึกษาให้ เป็ นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม
มีจติ วิญญาณความเป็ นธรรมศาสตร์ เป็ นผู้นาแห่ งการเปลีย่ นแปลงด้ านการเรียนรู้ มีจติ วิญญาณในการพัฒนาชุมชนและสั งคม สร้ าง
งานวิจยั และพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ เพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน

13. ความสัมพันธ์ กบั หลักสู ตรอืน่ ทีเ่ ปิ ดสอนในวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชาอืน่


หลักสู ตรวิชาศึกษาทัว่ ไป
13.1 รายวิชาในหลักสู ตรทีเ่ ปิ ดสอนโดยวิทยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสู ตรอืน่
มธ. 050 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3 หน่ วยกิต
มธ. 100 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่ อสังคม 3 หน่ วยกิต
มธ. 101 โลก อาเซียน และไทย 3 หน่ วยกิต
มธ. 102 ทักษะชีวติ ทางสังคม 3 หน่ วยกิต
มธ. 103 ชีวติ กับความยัง่ ยืน 3 หน่ วยกิต
มธ. 104 การคิด อ่ าน และเขียนอย่ างมีวจิ ารณญาณ 3 หน่ วยกิต
มธ. 105 ทักษะการสื่อสารด้ วยภาษาอังกฤษ 3 หน่ วยกิต
มธ. 106 ความคิดสร้ างสรรค์ และการสื่อสาร 3 หน่ วยกิต
เปิ ดสอนโดยคณะทีเ่ ป็ นผู้รับผิดชอบวิชาในหมวดศึกษาทัว่ ไปของแต่ ละวิชา
13.2 รายวิชาในหลักสู ตรทีเ่ ปิ ดสอนให้ วทิ ยาลัย/คณะ/ภาควิชา/หลักสู ตรอืน่ ต้องมาเรียน
วรศ. 101 การเรียนรู้ของมนุษย์ 3 หน่ วยกิต
วรศ. 102 การบ่ มเพาะทักษะการเรียนรู้ 3 หน่ วยกิต
วรศ. 103 มุมมองการศึกษาโลก 3 หน่ วยกิต
13.3 การบริหารจัดการ
คณะกรรมการหลักสู ตรมีหน้ าทีด่ ูแล ติดตาม และประเมินผลรายวิชาทีเ่ ปิ ดสอน ข้ อ 13.1 และรายวิชาทีเ่ ปิ ดสอนให้ กบั
หลักสู ตรอืน่ ๆ คณะกรรมการหลักสู ตรของคณะวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์ ประชุมเพือ่ พิจารณาอาจารย์ ผ้สู อน และเนือ้ หาการ
สอนให้ เหมาะสมกับหลักสู ตรนั้น ๆ

4
ข้ อมูลเฉพาะของหลักสู ตร

1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร


1.1 ปรัชญา
มุ่งผลิตบุคลากรทางด้ านการเรียนรู้ ของมนุษย์ ทมี่ คี วามเข้ าใจในทฤษฎีการเรียนรู้ บนฐานสหวิทยาการอย่ างถ่ องแท้ มีทกั ษะ
การคิดวิเคราะห์ ทั้งในเชิงวิพากษ์ และในเชิงสร้ างสรรค์ มีทกั ษะในการวิเคราะห์ ออกแบบ จัดกระบวนการ และประเมินการเรียนรู้ ใน
บริ บทต่ างๆ และสามารถบู รณาการองค์ ความรู้ ทักษะ และการปฏิบัติไ ปประยุกต์ ใช้ ในการแก้ ไขปั ญหาต่ าง ๆ เพื่อนาไปสู่ การ
ขับเคลือ่ นการเรียนรู้ ในสังคมไทย บัณฑิตของหลักสู ตรนีจ้ ะเป็ นบุคลากรด้ านการเรียนรู้ และการศึกษาทีส่ ามารถทางานได้ ในทุกภาค
ส่ วนของสังคม
1.2 ความสาคัญ
หลักสู ตรศิ ลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาการเรี ยนรู้ มีลักษณะพหุวิทยาการซึ่ งเป็ นการรวมองค์ ความรู้ จากหลากหลาย
ศาสตร์ ได้ แก่ ศึกษาศาสตร์ (40%) สังคมศาสตร์ (20%) วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (20%) และศิลปศาสตร์ (20%) ผ่านวิชาบังคับ
และวิชาเลือก โดยมีปณิธานทีจ่ ะสร้ างสังคมแห่ งการเรียนรู้ และเติบโตร่ วมกัน โดยผลักดันให้ สังคมเกิดความตระหนักและเห็นคุณค่ า
ของการเรียนรู้ ของมนุษย์ ที่แตกต่ างหลากหลายบนฐานปัญญาและการปฏิบัติที่เชื่อมโยงกับคุณภาพความเป็ นมนุษย์ ขณะเดียวกัน
คณะยังมีเป้ าหมายที่จะสร้ างองค์ ความรู้ เชิงสหวิทยาการ เพื่อรวบรวม ต่ อยอด และบูรณาการศาสตร์ และศิลป์ ของการเรียนรู้ และ
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ให้ เป็ นทีป่ ระจักษ์ ท้งั ในประเทศ และเป็ นทีย่ อมรับในระดับนานาชาติ
การจัดการศึกษาของหลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ให้ ความสาคัญกับกระบวนการพัฒนาผู้เรียน
อย่ างรอบด้ าน ทั้งในด้ านองค์ ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ในเชิงวิชาชีพ รวมทั้งมีคุณสมบัตคิ วามเป็ นมนุษย์ ทเี่ คารพความคิดตนเอง
และความคิดผู้อื่น เข้ าใจเพื่อนมนุษย์ เข้ าใจความต้ องการของผู้เรี ยนและสมาชิ กของชุ มชน องค์ กร และสั งคมที่มีความแตกต่ าง
หลากหลาย เข้ าใจข้ อจากัดของบริบทการเรียนรู้ และการศึกษา และสามารถปรับตัวเข้ ากับบริบทดังกล่าวได้ อย่ างรู้ เท่ าทัน มีความเป็ น
มิตรและเป็ นธรรมต่ อผู้เรียนทีแ่ ตกต่ าง นาความรู้ และประสบการณ์ ไปพัฒนาเป็ นองค์ ความรู้ ใหม่ ด้านวิทยาการเรียนรู้ ผ่านการสืบค้ น
และการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
1.3 วัตถุประสงค์ ของหลักสู ตร
เพือ่ ให้ บัณฑิตทีส่ าเร็จการศึกษาในหลักสู ตรมีลกั ษณะดังนี้
1. มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการวิเคราะห์ ออกแบบ จัดกระบวนการ และประเมินการเรี ยนรู้ บน
ฐานสหวิทยาการในบริบทต่ างๆ ได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
2. เป็ นผู้ น าการเปลี่ย นแปลงได้ อ ย่ า งเหมาะสมกับ โอกาสและสถานการณ์ เพื่อ เพิ่ม พู น ประสิ ท ธิ ภ าพและ
ประสิทธิผลของสถาบันหรือองค์ กร
3. มีคุ ณธรรม จริ ย ธรรม จิตวิญญาณความเป็ นครู แ ละนัก การศึ กษาที่ม่ ุ งเน้ น ผู้เ รี ยนเป็ นส าคัญ มี
อุดมการณ์ และภูมคิ ้ มุ กันการถูกครอบงาด้ วยแนวปฏิบัตหิ รือวัฒนธรรมขององค์ กร
4. มีความสามารถในการพัฒนาผู้เรียนให้ เป็ นนักคิด วิเคราะห์ และเรียนรู้ ด้วยตนเอง
5. มีความสามารถในการวิจยั เพือ่ สร้ างองค์ ความรู้ ด้านการเรียนรู้ ทีจ่ ะนาไปใช้ ในการพัฒนาและปฏิรูปการศึกษา
ทั้งในระดับสถาบัน องค์ กร ชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ

5
ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้ างของหลักสู ตร

1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ใช้ ระบบการศึกษาแบบทวิภาคโดย 1 ปี การศึกษาแบ่ งออกเป็ น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมี
ระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่ า 16 สัปดาห์ และอาจเปิ ดภาคฤดูร้อนได้ โดยใช้ เวลาการศึกษาไม่ น้อยกว่ า 6 สัปดาห์ แต่ ให้ เพิม่ ชั่วโมง
การศึกษาในแต่ละรายวิชาให้ เท่ ากับภาคปกติ

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ในการเรียนชั้นปี ที่ 3 ภาคละ 6 สัปดาห์
วิชา วรศ. 399 การฝึ กปฏิบัตงิ าน 6 หน่ วยกิต
1.3 การเทียบเคียงหน่ วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่ มี

2. การดาเนินการหลักสู ตร
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
วัน – เวลาราชการปกติ
ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนสิงหาคม - ธันวาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม - พฤษภาคม
ภาคฤดูร้อน เดือนมิถุนายน - สิงหาคม
2.2 คุณสมบัตขิ องผู้เข้ าศึกษา
คุณสมบัตขิ องผู้เข้ าศึกษาต้ องเป็ นไปตามข้ อบังคับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่ าด้ วยการศึกษาชั้นปริญญาตรี
พ.ศ. 2540 (แก้ ไขเพิม่ เติมถึงปัจจุบัน ฉบับที่ 3 พ.ศ.2555) ข้ อ 7
การคัดเลือกผู้เข้ าศึกษา
การคัดเลือกผู้เข้ าศึ กษาให้ เป็ นไปตามระเบียบการคัดเลือกเพื่อเข้ าศึ กษาในสถาบันการศึ กษาขั้นอุดมศึกษาของ
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือการคัดเลือกตามวิธีการทีม่ หาวิทยาลัยกาหนดโดยความเห็นชอบของสภามหาวิทยาลัย

2.7 ระบบการศึกษา
 แบบชั้นเรียน
 แบบทางไกลผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ เป็ นหลัก
 แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ ภาพและเสียงเป็ นสื่อหลัก
 แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นสื่อหลัก (E-learning)
 แบบทางไกลทางอินเตอร์ เน็ต
 อืน่ ๆ (ระบุ) แบบผ่านการลงพืน้ ทีแ่ ละประสบการณ์ ภาคสนาม

6
2.8 การเทียบโอนหน่ วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนข้ ามมหาวิทยาลัย
1) การเทียบโอนหน่ วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนข้ ามมหาวิทยาลัย ให้ เป็ นไปตามข้ อบังคับ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่ าด้ วยการศึกษาชั้นปริญญาตรี พ.ศ. 2540 (แก้ ไขเพิม่ เติมถึงปัจจุบัน ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2555) ข้ อ 10.10 และ
ข้ อ 15
2) หลักเกณฑ์ การลงทะเบียนเรียนข้ ามมหาวิทยาลัย ให้ เป็ นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรื่อง หลักเกณฑ์
และเงือ่ นไขการจดทะเบียนศึกษารายวิชาข้ ามโครงการและการจดทะเบียนศึกษารายวิชาข้ ามสถาบันอุดมศึกษาในหลักสู ตรระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ. 2552

3. หลักสู ตรและอาจารย์ ผ้สู อน


3.1 หลักสู ตร
3.1.1 จานวนหน่ วยกิตรวมและระยะเวลาศึกษา
จานวนหน่ วยกิตรวมตลอดหลักสู ตร 128 หน่ วยกิต
ระยะเวลาศึกษา เป็ นหลักสู ตรแบบศึกษาเต็มเวลา นักศึกษาต้ องใช้ ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสู ตร อย่ างน้ อย
7 ภาคการศึกษาปกติ และอย่ างมากไม่ เกิน 14 ภาคการศึกษาปกติ
3.1.2 โครงสร้ างหลักสู ตร
นักศึกษาจะต้ องจดทะเบียนศึกษารายวิชา รวมไม่ น้อยกว่ า 128 หน่ วยกิต โดยศึกษารายวิชาต่ างๆ ครบตาม
โครงสร้ างองค์ ประกอบ และข้ อกาหนดของหลักสู ตรดังนี้
1) วิชาศึกษาทัว่ ไป 30 หน่ วยกิต
2) วิชาเฉพาะ 92 หน่ วยกิต
2.1) วิชาพืน้ ฐานคณะ 30 หน่ วยกิต
2.2) วิชาพืน้ ฐานสาขาวิชา 38 หน่ วยกิต
2.2.1) วิชาบังคับ 23 หน่ วยกิต
2.2.2) วิชาเลือก 15 หน่ วยกิต
2.3) วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น 24 หน่ วยกิต
2.3.1) วิชาในกลุ่มมุ่งเน้ น 12 หน่ วยกิต
2.3.2) วิชานอกกลุ่มมุ่งเน้ น 12 หน่ วยกิต
3) วิชาเลือกเสรี 6 หน่ วยกิต

3.1.3 รายวิชาในหลักสู ตร
3.1.3.1 รหัสวิชา
รายวิชาในหลักสู ตรประกอบด้ วย อักษรย่ อ 3 ตัว และเลขรหัส 3 ตัว โดยมีความหมาย
ดังนี้
อักษรย่ อ วรศ./ LSE หมายถึง อักษรย่ อของสาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้
ตัวเลข มีความหมาย ดังนี้

7
เลขหลักหน่ วย (ระบุรายละเอียดตามลักษณะของแต่ ละหลักสู ตร)
เลข 0 หมายถึง วิชาบังคับ
เลข 1-9 หมายถึง วิชาเลือก
เลขหลักสิบและหลักร้ อย (ระบุรายละเอียดตามลักษณะของแต่ ละหลักสู ตร)
เลข 10X หมายถึง วิชาในหมวดวิชาพืน้ ฐานทีจ่ ดั สอนในหลักสู ตรชั้นปี ที่ 1
เลข 20X หมายถึง วิชาในหมวดพืน้ ฐานคณะ
เลข 30X หมายถึง วิชาในหมวดสะท้ อนการเรียนรู้
เลข 31X หมายถึง วิชาในหมวดการเรียนรู้ และการรื้อถอนการเรียนรู้
เลข 32X หมายถึง วิชาในหมวดการคิดเชิงวิทยาศาสตร์
เลข 33X หมายถึง วิชาในหมวดการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้
เลข 34X หมายถึง วิชาในหมวดการวิจยั และวัดประเมินการเรียนรู้
เลข 40X หมายถึง วิชาประมวลผลการเรียนรู้
เลข 41X หมายถึง วิชาในหมวดวิชาสะเต็มศึกษา
เลข 42X หมายถึง วิชาในหมวดวิชาวิจยั และบริหารการศึกษา
เลข 43X หมายถึง วิชาในหมวดวิชาการอานวยการเรียนรู้
เลข 44X หมายถึง วิชาในหมวดวิชาเทคโนโลยี การออกแบบและนวัตกรรม
เลข 46X-49X หมายถึง วิชาเลือกทัว่ ไป

3.1.3.2 รายวิชาและข้ อกาหนดของหลักสู ตร


1) วิชาศึกษาทัว่ ไป 30 หน่ วยกิต
นักศึกษาจะต้ องศึกษารายวิชาในหลักสู ตรวิชาศึกษาทัว่ ไป รวมแล้วไม่ น้อยกว่ า 30 หน่ วยกิต ตามโครงสร้ างและ
องค์ ประกอบของหลักสู ตรวิชาศึกษาทัว่ ไป ซึ่งแบ่ งเป็ น 2 ส่ วน คือ
ส่ วนที่ 1 : เป็ นหลักสู ตรกลางของมหาวิทยาลัยทีก่ าหนดให้ นักศึกษาทุกคนต้ องเรียน จานวน 21 หน่ วยกิต ดังต่ อไปนี้

รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่ วยกิต


(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้ วยตนเอง)
มธ. 050 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)
TU 050 English Skill Development (ไม่ นับหน่ วยกิต)
มธ. 100 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม 3 (3-0-6)
TU 100 Civic Education
มธ. 101 โลก อาเซียน และไทย 3 (3-0-6)
TU 101 Thailand, ASEAN, and the World
มธ. 102 ทักษะชีวติ ทางสังคม 3 (3-0-6)
TU 102 Social Life Skills

8
มธ. 103 ชีวติ กับความยัง่ ยืน 3 (3-0-6)
TU 103 Life and Sustainability
มธ. 104 การคิด อ่ าน และเขียนอย่ างมีวจิ ารณญาณ 3 (3-0-6)
TU 104 Critical Thinking, Reading, and Writing
มธ. 105 ทักษะการสื่อสารด้ วยภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)
TU 105 Communication Skills in English
มธ. 106 ความคิดสร้ างสรรค์ และการสื่อสาร 3 (3-0-6)
TU 106 Creativity and Communication

ส่ วนที่ 2 : นักศึกษาจะต้ องศึกษารายวิชาต่ างๆ ตามเงือ่ นไขรายวิชาทีค่ ณะฯ กาหนดไว้ ดงั นี้ คือ
วรศ. 101 การเรียนรู้ ของมนุษย์ 3 (3-0-6)
LSE 101 Human Learning
วรศ. 102 การบ่ มเพาะทักษะการเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 102 Fostering Learning Skills
วรศ. 103 มุมมองการศึกษาโลก 3 (3-0-6)
LSE 103 Education across the World

2) วิชาเฉพาะ 92 หน่ วยกิต


2.1) วิชาพืน้ ฐานคณะ 30 หน่ วยกิต
วรศ. 201 การประมวลการเรียนรู้ 1 3 (0-6-3)
LSE 201 Learning Portfolio 1
วรศ. 202 การประมวลการเรียนรู้ 2 3 (0-6-3)
LSE 202 Learning Portfolio 2
วรศ. 203 ศิลปะและละครเพือ่ การเปลีย่ นแปลง 6 (4-4-10)
LSE 203 Arts and Drama for Transformation
วรศ. 204 สื่อและเทคโนโลยี 6 (4-4-10)
LSE 204 Media and Technology
วรศ. 205 การมีส่วนร่ วมกับชุมชน 6 (4-4-10)
LSE 205 Community Engagement
วรศ. 206 ธรรมชาติและการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน 6 (4-4-10)
LSE 206 Nature and Sustainable Development

9
2.2) รายวิชาพืน้ ฐานสาขาวิชา 38 หน่ วยกิต
2.2.1) รายวิชาพืน้ ฐานสาขาวิชาบังคับ 23 หน่ วยกิต
วรศ. 301 การประมวลการเรียนรู้ 3 1 (0-2-1)
LSE 301 Learning Portfolio 3
วรศ. 302 การประมวลการเรียนรู้ 4 1 (0-2-1)
LSE 302 Learning Portfolio 4
วรศ. 399 การฝึ กปฏิบัตงิ าน 6 (270 ชั่วโมง/ ภาคการศึกษา)
LSE 399 Practicum
วรศ. 401 โครงงานสร้ างสรรค์และประมวลการเรียนรู้ 3 (0-6-3)
LSE 401 Creative Project and Learning Portfolio
หมวดการเรียนรู้และการรื้อถอนการเรียนรู้
วรศ. 310 (การรื้อถอน) ระบบโรงเรียนและ การศึกษาทางเลือก 3 (3-0-6)
LSE 310 (De) Schooling and Alternative Education
หมวดการคิดเชิงวิทยาศาสตร์
วรศ. 320 คุณค่ าของวิทยาศาสตร์ และการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ 3 (3-0-6)
LSE 320 Valuing Science and Scientific Thinking
หมวดการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้
วรศ. 330 กระบวนการและการออกแบบการเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 330 Learning Process and Design

หมวดการวิจยั และประเมินการเรียนรู้
วรศ. 340 การวิจยั ทางการศึกษา 3 (2-2-5)
LSE 340 Educational Research

2.2.1) รายวิชาพืน้ ฐานสาขาวิชาเลือก 15 หน่ วยกิต โดยเลือกจากรายวิชาดังต่ อไปนี้


หมวดการเรียนรู้และการรื้อถอนการเรียนรู้
วรศ. 311 สมอง จิต และการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 311 Brain, Mind and Education
วรศ. 312 'โง่ ' 'ฉลาด' 'บ้ า': สติปัญญามนุษย์ 3 (3-0-6)
LSE 312 'Dumb', 'Smart', 'Crazy': Human Intelligence
วรศ. 313 เส้ นทางสู่ การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3 (3-0-6)
LSE 313 Pathways to an Inclusive Education
วรศ. 314 ความเสมอภาคทางการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 314 Equity in Education
วรศ. 315 นโยบายการศึกษาของไทยในบริบทนานาชาติ 3 (3-0-6)
LSE 315 Thai Education Policy and its International Context

10
หมวดการคิดเชิงวิทยาศาสตร์
วรศ. 321 การแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 3 (3-0-6)
LSE 321 Problem Solving in Mathematics and Science
วรศ. 322 การคิดเชิงระบบและองค์ กรแห่ งการเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 322 Systems Thinking and Learning Organization
หมวดการออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้
วรศ. 331 หลักสู ตรและการจัดการเรียนการสอน 3 (3-0-6)
LSE 331 Curriculum and Pedagogy
วรศ. 332 ภาวะผู้นาและการบริหารการเปลีย่ นแปลง 3 (3-0-6)
LSE 332 Leadership and Change Management
หมวดการวิจยั และประเมินการเรียนรู้
วรศ. 341 การวัดและประเมินการเรียนรู้ 3 (2-2-5)
LSE 341 Learning Measurement and Evaluation

วรศ. 342 สถิตเิ พือ่ วิทยาการเรียนรู้ 3 (2-2-5)


LSE 342 Statistics for Learning Sciences

วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น 24 หน่ วยกิต


กาหนดให้ นักศึกษาเลือกกลุ่มความมุ่งเน้ น 1 กลุ่ม แล้ วเลือกวิชาในสาขานั้นอย่ างน้ อย 12 หน่ วยกิต และเลือกรายวิชาอืน่
เพิม่ จนครบ 24 หน่ วยกิต ซึ่งแบ่ งออกได้ ดงั นี้

หมวดวิชาสะเต็มศึกษา
วรศ. 410 ความหลากหลายของวิธีการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ 3 (3-0-6)
LSE 410 Approaches to Learning Mathematics
วรศ. 411 การเรียนรู้ บนฐานของปัญหาและการวิจยั 3 (3-0-6)
LSE 411 Problem-based and Research-based Learning
วรศ. 412 สะเต็มและแนวคิดต่ อยอด 3 (3-0-6)
LSE 412 STEM and Beyond
วรศ. 413 วิทยศึกษาสัญจร 3 (3-0-6)
LSE 413 Scientific Fieldwork
วรศ. 414 การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ผ่านสื่อแบบใหม่ 3 (2-2-5)
LSE 414 Learning Mathematics and Sciences through New Media

11
หมวดวิชาวิจยั และบริหารการศึกษา
วรศ. 420 ประเด็นร่ วมสมัยทางการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 420 Contemporary Issues in Education
วรศ. 421 ชุมชนแห่ งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพด้ านการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 421 Professional Learning Communities in Education
วรศ. 422 การบริหารการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 422 Educational Administration
วรศ. 423 การสื่อสารแบบบูรณาการสาหรับองค์ กรการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 423 Integrated Communication for Educational Organizations
วรศ. 424 ประเด็นพิเศษทางนโยบายการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 424 Special Topics in Educational Policy
วรศ. 425 การวิจยั ในกระบวนการเรียนรู้ 3 (2-2-5)
LSE 425 Research in the Learning Process
วรศ. 426 วิธีวทิ ยาการวิจยั ตนเองในการศึกษา 3 (2-2-5)
LSE 426 Self-study Methodologies in Education
วรศ. 427 การวิจยั ในชั้นเรียน 3 (2-2-5)
LSE 427 Classroom Research

หมวดวิชาการอานวยการเรียนรู้
วรศ. 430 กระบวนการและการออกแบบการเรียนรู้ ข้นั สู ง 3 (3-0-6)
LSE 430 Advanced Learning Process and Design
วรศ. 431 การโค้ ชเพือ่ การเปลีย่ นแปลง 3 (2-2-5)
LSE 431 Coaching for Transformation
วรศ 432 ศิลปะและความเชี่ยวชาญในการจัดกระบวนการ 3 (2-2-5)
LSE 432 The Art and Mastery of Facilitation
วรศ 433 การจัดกระบวนการกลุ่มเพือ่ การเปลีย่ นแปลง 3 (2-2-5)
LSE 433 Group Facilitation of Transformative Process
วรศ. 434 การจัดการความขัดแย้ งในพืน้ ทีก่ ารเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 434 Conflict Management in Learning Spaces

หมวดวิชาเทคโนโลยี การออกแบบ และนวัตกรรมการเรียนรู้


วรศ. 440 เทคโนโลยีการเรียนรู้ ข้นั สู ง 3 (3-0-6)
LSE 440 Advanced Learning Technologies
วรศ. 441 ห้ องเรียนเชิงสร้ างสรรค์ 3 (3-0-6)
LSE 441 Creative Classroom
วรศ. 442 สื่อเพือ่ การเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 442 Media for Learning
12
วรศ. 443 การออกแบบพืน้ ทีส่ าธารณะกับการเรียนรู้ ทางสังคม 3 (2-2-5)
LSE 443 Public Space Design and Social Learning
วรศ. 444 เครื่องมือสื่อสารเพือ่ นวัตกรรมการเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 444 Communication Tools for Innovative Learning
วรศ. 445 การวิเคราะห์ การเรียนรู้และการทาเหมืองข้ อมูล 3 (2-2-5)
LSE 445 Learning Analytics and Data Mining

หมวดวิชาเลือกทัว่ ไป
วรศ. 461 การเรียนรู้ และวัฒนธรรม 3 (3-0-6)
LSE 461 Learning and Culture
วรศ. 462 เพศสภาพ เพศวิถี และความยุตธิ รรมทางสังคม 3 (3-0-6)
LSE 462 Sexuality, Gender, and Social Justice
วรศ. 463 เทคโนโลยีการเรียนรู้ และปัญญาประดิษฐ์ 3 (3-0-6)
LSE 463 Learning Technology and Artificial Intelligence
วรศ. 464 สุ นทรียศาสตร์ เพือ่ การเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 464 Aesthetics for Learning
วรศ. 465 ความรัก ความหวัง และ ความสุ ข 3 (3-0-6)
LSE 465 Love, Hope and Happiness
วรศ. 466 ชีวติ เซ็กซ์ ความตาย และการเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE 466 Life, Sex, Death and Learning
วรศ. 467 ทักษะการคิดขั้นสู ง 3 (3-0-6)
LSE 467 It’s HOTS Higher Order Thinking Skills
วรศ. 498 ประเด็นพิเศษทางวิทยาการเรียนรู้ และการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 498 Special Topics in Learning Sciences and Education
วรศ. 499 สัมมนาวิทยาการเรียนรู้ และการศึกษา 3 (3-0-6)
LSE 499 Seminar in Learning Sciences and Education
3) วิชาเลือกเสรี 6 หน่ วยกิต
นักศึกษาอาจเลือกศึกษาวิชาใดก็ได้ ทเี่ ปิ ดสอนในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็ นวิชาเลือกเสรีจานวนอย่ างน้ อย 6 หน่ วยกิต
ทั้งนีใ้ ห้ หมายรวมถึงวิชาศึกษาทัว่ ไป หมวดภาษาต่ างประเทศด้ วย แต่ นักศึกษาจะนาวิชาเหล่ านีม้ านับเป็ นวิชาเลือกเสรีไม่ ได้
1. วิชาในหลักสู ตรวิชาศึกษาทัว่ ไปทั้งส่ วนที่ 1 และส่ วนที่ 2 ทีใ่ ช้ รหัสย่ อ “มธ.” ระดับ 100
คือ มธ. 100 - มธ. 156
2. วิชาพืน้ ฐานทางด้ านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ทุกวิชา (รวมทั้งวิชาทีไ่ ม่ ได้ กาหนดไว้ ในวิชาศึกษาทัว่ ไปส่ วนที่ 2)
3. วิชา ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ และ ท.163 การเขียนเพือ่ การสื่อสารในองค์กร

13
3.1.4 แสดงแผนการศึกษา

ปี การศึกษาที่ 1
ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยกิต
มธ. 050 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (ไม่ นับหน่ วยกิต) 3
มธ. 100 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่ อสังคม 3
มธ. 101 โลก อาเซียน และไทย 3
มธ. 102 ทักษะชีวติ ทางสังคม 3
วรศ. 101 การเรียนรู้ของมนุษย์ 3
วรศ. 102 การบ่ มเพาะทักษะการเรียนรู้ 3
รวม 15
ภาคเรียนที่ 2 หน่ วยกิต
มธ. 103 ชีวติ กับความยัง่ ยืน 3
มธ. 104 การคิด อ่ าน และเขียนอย่ างมีวจิ ารณญาณ 3
มธ. 105 ทักษะการสื่อสารด้ วยภาษาอังกฤษ 3
มธ. 106 ความคิดสร้ างสรรค์ และการสื่ อสาร 3
วรศ. 103 มุมมองการศึกษาโลก 3
รวม 15

14
ปี การศึกษาที่ 2*
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยกิต ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยกิต
วรศ. 201 การประมวลการเรียนรู้ 1 3 วรศ. 201 การประมวลการเรียนรู้ 1 3
วรศ. 203 ศิลปะและละครเพือ่ การ 6 วรศ. 205 การมีส่วนร่ วมกับชุมชน 6
เปลีย่ นแปลง
วรศ. 204 สื่อและเทคโนโลยี 6 วรศ. 206 ธรรมชาติและการพัฒนา 6
อย่ างยัง่ ยืน
รวม 15 รวม 15

ภาคเรียนที่ 2 หน่ วยกิต ภาคเรียนที่ 2 หน่ วยกิต


วรศ. 202 การประมวลการเรียนรู้ 2 3 วรศ. 202 การประมวลการเรียนรู้ 2 3
วรศ. 205 การมีส่วนร่ วมกับชุมชน 6 วรศ. 203 ศิลปะและละครเพือ่ การ 6
เปลีย่ นแปลง
วรศ. 206 ธรรมชาติและการพัฒนา 6 วรศ. 204 สื่อและเทคโนโลยี 6
อย่ างยัง่ ยืน
รวม 15 รวม 15

* ในปี การศึกษาที่ 2 นักศึกษาจะแบ่ งเป็ น 2 กลุ่มเท่ า ๆ กัน โดยจะเรียนในรายวิชาสลับกันในภาคเรียนที่ 1และ 2

15
ปี การศึกษาที่ 3*
ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยกิต
วรศ. 301 การประมวลการเรียนรู้ 3 1
วรศ. 310 (การรือ้ ถอน) ระบบโรงเรียนและการศึกษาทางเลือก 3
วรศ. 320 คุณค่ าของวิทยาศาสตร์ และการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ 3
วรศ. 330 กระบวนการและการออกแบบการเรียนรู้ 3
วรศ. 340 การวิจยั ทางการศึกษา 3
รวม 13
ภาคเรียนที่ 2 หน่ วยกิต
วรศ. 302 การประมวลการเรียนรู้ 4 1
(วิชาเลือกหมวดพืน้ ฐานสาขาวิชา)* 3
(วิชาเลือกหมวดพืน้ ฐานสาขาวิชา)* 3
(วิชาเลือกหมวดพืน้ ฐานสาขาวิชา)* 3
(วิชาเลือกหมวดพืน้ ฐานสาขาวิชา)* 3
(วิชาเลือกหมวดพืน้ ฐานสาขาวิชา)* 3
รวม 16
ภาคฤดูร้อน หน่ วยกิต
วรศ. 399 การฝึ กปฏิบัตงิ าน 6
รวม 6
* ในปี การศึกษาที่ 3 นักศึกษาจะต้ องเลือกเรียนในรายวิชารหัส วรศ 3XX จานวน 5 วิชา

16
ปี การศึกษาที่ 4*
ภาคเรียนที่ 1 หน่ วยกิต
วรศ. 401 โครงงานสร้ างสรรค์ และประมวลการเรียนรู้ 3
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
รวม 15
ภาคเรียนที่ 2 หน่ วยกิต
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
(วิชาเลือกตามความมุ่งเน้ น) 3
(วิชาเลือกเสรี) 6
รวม 18

* กาหนดให้ นกั ศึกษาเลือกหมวดความมุ่งเน้ น 1 หมวด เลือกวิชาในหมวดความมุ่งเน้ นนั้นอย่ างน้ อย 12


หน่ วยกิต และเลือกจากรายวิชาพืน้ ฐานสาขาวิชาเลือก รายวิชาจากต่ างหมวดความมุ่งเน้ น หรือหมวดวิชาเลือกอืน่ ๆ เพิม่ จนครบ 24
หน่ วยกิต

17
3.1.5 คาอธิบายรายวิชา
มธ.050 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)
TU050 English Skill Development (ไม่ นับหน่ วยกิต)
ฝึ ก ทั ก ษ ะ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ใ น ร ะ ดั บ เบื้ อ ง ต้ น ไ ด้ แ ก่ ก า ร ฟั ง ก า ร พู ด ก า ร อ่ า น ก า ร เขี ย น เชิ ง บู ร ณ า ก า ร
เพือ่ เป็ นพืน้ ฐานในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษระดับต่ อไป
Practice basic skills for listening, speaking, reading, and writing in English through an integrated method. Students will
acquire a basis to continue to study English at a higher level.

มธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่ อสังคม 3 (3-0-6)


TU100 Civic Education
ปลู ก ฝั ง จิต ส านึ ก บทบาท และหน้ า ที่ค วามรั บ ผิด ชอบของการเป็ นสมาชิ ก ที่ดีข องสั ง คมในฐานะพลเมือ งโลก ผ่ า น
กระบวนการหลากหลายวิธี เช่ น การบรรยาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่ างๆ การดูงาน เป็ นต้ น โดยนักศึกษาจะต้ องจัดทาโครงการ
รณรงค์ เพือ่ ให้ เกิดการรับรู้ หรือเกิดการเปลีย่ นแปลง ในประเด็นทีส่ นใจ
Instillation of social conscience and awareness of one’s role and duties as a good global citizen. This is done through a
variety of methods such as lectures, discussion of various case studies and field study outings. Students are required to organize a
campaign to raise awareness or bring about change in an area of their interest.

มธ.101 โลก อาเซียน และไทย 3 (3-0-6)


TU101 Thailand, ASEAN, and the World
ศึกษาปรากฏการณ์ ทสี่ าคัญของโลก อาเซียนและไทย ในมิตทิ างการเมือง เศรษฐกิจ สั งคมวัฒนธรรม การใช้ กรอบแนวคิด
ทฤษฎี และระเบียบวิจัยทางสั งคมศาสตร์ ผ่ านการอภิปรายและยกตัวอย่ างสถานการณ์ หรื อบุคคลที่ได้ รับความสนใจ การสร้ าง
มุมมองต่ อความหลากหลายเพื่อเข้ าใจความซับซ้ อนที่สัมพันธ์ กันทั้งโลก มีจิตสานึกสากล (Global mindset) สามารถท้ าทายกรอบ
ความเชื่อเดิมและเปิ ดโลกทัศน์ ใหม่ ให้ กว้ างขวางขึน้
Significant phenomena around the world, in the ASEAN region and in Thailand in terms of their political, economic and
sociocultural dimensions, using approaches, theories and principles of social science research via discussion and raising examples
of situations or people of interest, creating a perspective of diversity to understand the complexity of global interrelationships,
building a global mindset and capable to challenge old paradigms and open up a new, broader worldview.

มธ.102 ทักษะชีวติ ทางสังคม 3 (3-0-6)


TU102 Social Life Skills
การดูแลสุ ขภาพตนเองแบบองค์ รวม ทั้งทางด้ านร่ างกาย อารมณ์ สั งคม และจิตวิญญาณ ซึ่งเป็ นทักษะสาคัญที่จะช่ วยให้
ประสบความส าเร็ จ และใช้ ชี วิต ในสั ง คมอย่ า งเป็ นสุ ข ด้ ว ยการพัฒ นาความสามารถในการดู แ ลสุ ข ภาพทางกาย การจัด การ
ความเครียด การสร้ างความมัน่ คงทางอารมณ์ การเข้ าใจตนเอง และการปรับตัวเมือ่ เผชิญกับปัญหาทางด้ านจิตใจ อารมณ์ และสั งคม
การเข้ าใจความหมายของสุ นทรียศาสตร์ การได้ รับประสบการณ์ และความซาบซึ้งในความสัมพันธ์ ระหว่ างศิลปะกับมนุษย์ ในแขนง
ต่ างๆ ทั้งทัศนศิลป์ ดนตรี ศิลปะการแสดง และสถาปัตยกรรม
Holistic health care, addressing the physical, emotional, social, and spiritual needs, which is considered. Important skills
for success in leading a happy life in society. Students learn to develop their ability in physical health care to manage stress, build
18
emotional security, understand themselves and adapt to psychological, emotional and social problems. Students also learn to
understand the meaning of aesthetics, experiencing and appreciating the relationship between art and humanity in different fields,
namely visual arts, music, performing arts and architecture.

มธ.103 ชีวติ กับความยัง่ ยืน 3 (3-0-6)


TU103 Life and Sustainability
การดาเนินชี วิตอย่ างเท่ าทันกับการเปลี่ยนแปลงของโลก เข้ าใจความสั มพันธ์ ระหว่ างพลวัตของธรรมชาติ มนุษย์ และ
สรรพสิ่ง ทั้งสิ่งแวดล้ อมสรรค์ สร้ าง การใช้ พลังงาน เศรษฐกิจ สั งคมในความขัดแย้ งและการแปรเปลี่ยน ตลอดจนองค์ ความรู้ ด้าน
วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้ อม ทีน่ าไปสู่ การปรับเปลีย่ นวิถีชีวติ สู่ ความยัง่ ยืน
This course provides an introduction to the importance of life-cycle systems perspectives in understanding major
challenges and solutions to achieving more sustainable societies in this changing world. Students will learn about the relationship
between mankind and the environment in the context of energy and resource use, consumption and development, and
environmental constraints. Furthermore, an examination of social conflict and change from the life-cycle perspective will be used
to develop an understanding of potential solution pathways for sustainable lifestyle modifications.

มธ.104 การคิด อ่ าน และเขียนอย่ างมีวจิ ารณญาณ 3 (3-0-6)


TU104 Critical Thinking, Reading, and Writing
พัฒนาทักษะการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณผ่านการตั้งคาถาม การวิเคราะห์ การสั งเคราะห์ และการประเมินค่ า พัฒนาทักษะ
การอ่ านเพือ่ จับสาระสาคัญ เข้ าใจจุดมุ่งหมาย ทัศนคติ สมมติฐาน หลักฐานสนับสนุน การใช้ เหตุผลที่นาไปสู่ ข้อสรุ ปของงานเขียน
พัฒนาทักษะการเขียนแสดงความคิดเห็นอย่ างมีเหตุผลและการเขียนเชิงวิชาการ รู้ จักถ่ ายทอดความคิด และเชื่อมโยงข้ อมูลเข้ ากับ
มุมมองของตนเอง รวมถึงสามารถอ้ างอิงหลักฐานและข้ อมูลมาใช้ ในการสร้ างสรรค์ งานเขียนได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
Development of critical thinking through questioning, analytical, synthetic and evaluation skills. Students learn how to
read without necessarily accepting all the information presented in the text, but rather consider the content in depth, taking into
account the objectives, perspectives, assumptions, bias and supporting evidence, as well as logic or strategies leading to the
author’s conclusion. The purpose is to apply these methods to students’ own persuasive writing based on information researched
from various sources, using effective presentation techniques.

มธ.105 ทักษะการสื่อสารด้ วยภาษาอังกฤษ 3 (3-0-6)


TU105 Communication Skills in English
พัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่ าน และเขียนภาษาอังกฤษโดยมุ่งเน้ นความสามารถในการสนทนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
และการอ่ าน เพือ่ ทาความเข้ าใจเนือ้ หาวิชาการในศาสตร์ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับวิชาชีพของนักศึกษา
Development of English listening, speaking, reading and writing skills, focusing on the ability to hold a conversation in
exchanging opinions, as well as reading comprehension of academic texts from various disciplines related to students’ field of
study.

19
มธ.106 ความคิดสร้ างสรรค์และการสื่อสาร 3 (3-0-6)
TU106 Creativity and Communication
กระบวนการคิดอย่ างสร้ างสรรค์ โดยมีการคิดเชิงวิพากษ์ เป็ นองค์ ประกอบสาคัญ และการสื่ อสารความคิดดังกล่ าวให้ เกิด
ผลสัมฤทธิ์อย่ างเหมาะสมตามบริบทสังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้ อม ทั้งในระดับบุคคล องค์ กร และสังคม
Creative thought processes, with critical thinking as an important part, as well as communication of these thoughts that
lead to suitable results in social, cultural and environmental contexts, at personal, organizational and social levels

วรศ.101 การเรียนรู้ ของมนุษย์ 3 (3-0-6)


LSE101 Human Learning
ความหมายและธรรมชาติของการเรี ยนรู้ กระบวนการเรี ยนรู้ ของมนุษย์ ญาณวิทยา การเรี ยนรู้ ของมนุ ษย์ กับทฤษฎี
วิวฒ
ั นาการ ประวัติการพัฒนาทฤษฎีการเรียนรู้ ของมนุษย์ กระบวนทัศน์ หลักด้ านการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ ร่วมสมัย อุปสรรค
ของการเรียนรู้ ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล การเรียนรู้ ในบริบทต่ าง ๆ การเรียนรู้ กบั การศึกษาและสังคม
Definitions and nature of learning; human learning process; epistemology; learning and evolution theory; historical
developments of the learning theory; major paradigms of learning; contemporary theories of learning; barriers to learning;
individual differences; learning in various contexts; learning, education and society

วรศ.102 การบ่ มเพาะทักษะการเรียนรู้ 3 (3-0-6)


LSE102 Fostering Learning Skills
แนวคิดเกี่ยวกับการเรี ยนรู้ ปั จจัยภายนอกและภายในที่สนับสนุนการเรี ยนรู้ การค้ นหาความสนใจส่ วนตัว รู ปแบบการ
เรียนรู้ ทักษะการฟั ง ทักษะการอ่ าน ทักษะการจับประเด็น ทักษะการคิดเชิ งวิพากษ์ ทักษะการเขียนบันทึกและรายงานทักษะการ
นาเสนอ เครื่องมือการเรียนรู้ รูปแบบต่ างๆ
Learning concepts; supportive internal and external factors for learning; discovery of personal interests; learning styles;
listening, reading, comprehension and critical thinking skills; journal and report writing and presentation skills; different types of
learning tools

วรศ.103 มุมมองการศึกษาโลก 3 (3-0-6)


LSE103 Education across the World
แนวคิดและมุมมองเกี่ยวกับการศึกษาในสั งคมโลก การจัดการศึกษาในบริ บทนานาชาติ แนวโน้ มของการศึ กษาปัจจุบัน
ความเป็ นไปได้ ในการจัดการเรียนรู้ อิทธิพลขอ งแนวคิดการศึกษาโลกทีม่ ผี ลต่ อระบบการศึกษาไทย
Global concepts and perspectives on learning; education in international contexts; current trends and possibilities in
education; influence of international perspectives on Thai education

20
วรศ.201 การประมวลการเรียนรู้ 1 3 (0-6-3)
LSE201 Learning Portfolio 1
กระบวนการกลุ่ม การสะท้ อนคิดและกระบวนการคิด การไตร่ ตรองและประเมินตนเองจากประสบการณ์ การเรียนรู้ การ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้ กบั การปฏิบัตงิ านและการใช้ ชีวติ
Group process; self-reflection and self-assessment on learning experiences; sharing knowledge; the connections
between learning, professional practice and life

วรศ.202 การประมวลการเรียนรู้ 2 3 (0-6-3)


LSE202 Learning Portfolio 2
กระบวนการกลุ่ม การสะท้ อนคิดและกระบวนการคิด การไตร่ ตรองและประเมินตนเอง จากประสบการณ์ การเรียนรู้ การ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้ กบั การปฏิบัตงิ านและการใช้ ชีวติ
Group process; self-reflection and self-assessment on learning experiences; sharing knowledge; the connections
between learning, professional practice and life

วรศ.203 ศิลปะและละครเพือ่ การเปลีย่ นแปลง 6 (4-4-10)


LSE203 Arts and Drama for Transformation
การเรี ยนรู้ ภายในตนเองทั้งด้ านกาย จิต ปั ญญา ผ่ านประสบการณ์ ศิลปะ เทคนิคและทักษะการใช้ ศิลปะและละครเป็ น
เครื่องมือในการสื่อสารและจัดกระบวนการเรียนรู้ การเรียนรู้ และสารวจประเด็นในชุ มชน สั งคม ผ่ านกระบวนการร่ วมผลิตผลงาน
ทางศิ ลปะและการละคร งานละครเชิ ง การศึ ก ษา การปฏิ บั ติก ารละครในบริ บ ทการศึ กษาและการเรี ย นรู้ การใช้ ล ะครและ
ศิลปะการแสดงเพือ่ สื่อสารทางสังคม การผลิตงานศิลปะและงานละครเพือ่ เป็ นเครื่องมือการเปลีย่ นแปลง
Arts as a tool to facilitate personal understanding and holistic development; arts as a tool for communication and to
facilitate learning; using artistic and drama techniques to design and facilitate learning; drama as a tool to explore community
issues; educational theatre; producing and performing theatre in educational settings and learning environments; using arts, drama
and theatre for social communication; creating arts and performances as tools for transformation

วรศ.204 สื่อและเทคโนโลยี 6 (4-4-10)


LSE204 Media and Technology
บทบาทหน้ าที่ของสื่ อ การวิเคราะห์ และการประเมินเนื้อหาสื่ อเชิ งวิพากษ์ จริ ยธรรมในสื่ อ ทักษะการใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเรี ยนรู้ บทบาทของเทคโนโลยีต่อการเรี ยนรู้ การประยุกต์ และการบู รณาการ
เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การใช้ เทคโนโลยีการเรียนรู้ ในบริบทต่ างๆ แนวโน้ มเทคโนโลยีการเรียนรู้ ในอนาคต องค์ ประกอบในการ
รณรงค์ การศึกษาวิจยั เพือ่ การรณรงค์ ช่ องทางการสื่อสาร กลยุทธ์ เพือ่ การสื่อสาร การฝึ กปฏิบัตงิ านรณรงค์
Roles of media; media analysis and critical assessment; ethics in media; information technology skills; theories and
concepts related to learning technologies; role of technologies in learning; application and integration of technology for learning;
using learning technologies in various contexts; future trends of learning technologies; elements of campaigns; campaign
research; communication channels; strategies for communication; implementing campaigns

21
วรศ.205 การมีส่วนร่ วมกับชุมชน 6 (4-4-10)
LSE205 Community Engagement
การสร้ างภาคีชุมชนเพือ่ ระบุประเด็นและความมุ่งหวังทางการศึกษา การสร้ างความร่ วมมือในชุ มชน การปฏิสัมพันธ์ และ
การใช้ ชีวิตร่ วมกันระหว่ างคนในชุ มชนกับนักศึกษา การพัฒนาโปรเจคเพื่อการสร้ างภาคีชุมชน โครงสร้ างและองค์ ประกอบของ
ชุ มชน แผนที่ชุมชน เครื อข่ ายและความสั มพันธ์ ระหว่ างมนุษย์ ความเป็ นธรรมทางสั งคม ภู มิปัญญาท้ องถิ่น การสื บสานทาง
วัฒนธรรม การขัดเกลาทางสังคม และระบบสุ ขภาพชุ มชน ประเด็น ปัญหาและวิกฤตทางชุ มชน การวิเคราะห์ ปัญหาในชุ มชน การ
สร้ างการมีส่วนร่ วมในชุมชน เครื่องมือสร้ างการเปลีย่ นแปลงในชุ มชน ความท้ าทายสาหรับการเปลี่ยนแปลงชุ มชนเมืองและชุ มชน
ชนบท กรณีศึกษาการขับเคลือ่ นชุมชนทั้งในประเทศและต่ างประเทศ
Partnering with communities to identify educational issues and aspirations; creating collaborative processes in
community contexts; student-community relationships; developing project proposals in partnership with communities;
community structures and components; community mapping; human networking and relationships; interaction between humans
and the environment; social justice, local wisdom; transferal of cultural heritage and traditions; socialization and health systems;
community challenges; analysis of community challenges; creating community participation; tools for community change;
challenges in creating change in urban and rural communities; case studies of community movements in Thailand and in
international contexts

วรศ.206 ธรรมชาติและการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน 6 (4-4-10)


LSE206 Nature and Sustainable Development
การเชื่อมโยงกับธรรมชาติ ประโยชน์ ของธรรมชาติใกล้ ตัว อิทธิพลของธรรมชาติต่อมนุษย์ การโต้ กลับของธรรมชาติต่อ
การเปลี่ยนแปลงด้ านสิ่ งแวดล้ อม การพัฒนานวัตกรรมเลียนแบบธรรมชาติ ปรากฏการณ์ ในธรรมชาติ ภาษาของธรรมชาติ การ
เปลี่ยนแปลงและความเป็ นไปในธรรมชาติเหตุและผลของสรรพสิ่ งในธรรมชาติ ความสั มพันธ์ และผลกระทบที่เกิดขึ้นระหว่ าง
สิ่ งแวดล้ อมในธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อมสรรค์ สร้ าง ความยั่งยืนในมิติต่างๆ ปั จจัยเพื่อการพัฒนาอย่ างยั่งยืน ความสาคัญของ
การศึกษาเพือ่ การพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน การสร้ างโครงการทางการศึกษาเพือ่ การพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน
Connecting with nature; seeing value in the nature around you; the influence of nature on humans; consequences of
unsustainable development; biomimicry; natural phenomena; the language of nature; natural and human induced changes in
nature; causes and effects of nature; interactions and influences between natural and built environments; dimensions of
sustainability; factors for sustainable development; education for sustainable development; developing education projects for
sustainable development

วรศ.301 การประมวลการเรียนรู้ 3 1 (0-2-1)


LSE301 Learning Portfolio 3
กระบวนการกลุ่ม การสะท้ อนคิดและกระบวนการคิด การไตร่ ตรองและประเมินตนเองจากประสบการณ์ การเรียนรู้ การ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้ กบั การปฏิบัตงิ านและการใช้ ชีวติ
Group process; self-reflection and self-assessment on learning experiences; sharing knowledge; the connections
between learning, professional practice and life

22
วรศ.302 การประมวลการเรียนรู้ 4 1 (0-2-1)
LSE302 Learning Portfolio 4
กระบวนการกลุ่ม การสะท้ อนคิดและกระบวนการคิด การไตร่ ตรองและประเมินตนเอง จากประสบการณ์ การเรียนรู้ การ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้ กบั การปฏิบัตงิ านและการใช้ ชีวติ
Group process; self-reflection and self-assessment on learning experiences; sharing knowledge; the connections
between learning, professional practice and life

วรศ.310 (การรื้อถอน) ระบบโรงเรียน และการศึกษาทางเลือก 3 (3-0-6)


LSE310 (De) schooling and Alternative Education
แนวคิดการจัดการศึ กษาในระบบโรงเรี ยน ทาความเข้ าใจในประวัติและวัตถุ ประสงค์ ของการจัดการศึ กษาในระบบ
โรงเรียน ระบบโรงเรียนร่ วมสมัย ข้ อจากัดของการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียนแบบดั้งเดิม การพิจารณาแยกระบบการศึกษาใน
รู ปแบบดั้งเดิม แนวทางในการปฏิรูปการศึกษาและระบบโรงเรียน ค้ นหาแนวทางในการสร้ างโรงเรียนการศึกษาทางเลือก (อาทิ การ
จัดการศึกษาโดยครอบครัว โรงเรียนแม่ เหล็ก และการขยายโอกาสทางการศึกษา
Concepts of schooling; understanding the history of schooling and its purpose; contemporary schooling; constraints and
limitations of traditional schooling; breaking out of traditional education system; approaches to school or education reform;
alternative education, homeschooling, magnet schools, outreach education

วรศ.311 สมอง จิต และการศึกษา 3 (3-0-6)


LSE311 Brain, Mind and Education
ความรู้ เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับสมองและจิต ความสัมพันธ์ ระหว่ างประสาทวิทยาศาสตร์ จิตวิทยา และการจัดการเรียนการสอน
พัฒนาการของมนุษย์ ทุกช่ วงวัย การประยุกต์ ใช้ องค์ ความรู้ ด้านประสาทวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาในการจัดการเรียนการสอน
Basic knowledge of the brain and mind; relationships among neuroscience, psychology, and pedagogy; human
development across lifespan; application of neuroscience and psychology in learning and education

วรศ.312 'โง่ ' 'ฉลาด' 'บ้ า': สติปัญญามนุษย์ 3 (3-0-6)


LSE312 'Dumb', 'Smart', 'Crazy': Human Intelligence
แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับสติปัญญามนุษย์ การวัดและประเมินความสามารถทางสติปัญญา ข้ อจากัด ความสามารถทาง
สติปัญญาในกลุ่มบุคคลทีม่ คี วามต้ องการพิเศษ ความเป็ นไปได้ ในการสอนและฝึ กเพือ่ พัฒนาความฉลาด ความฉลาดทางอารมณ์
Classical and contemporary theories of intelligence; concepts and models of human intelligences; measures and tests of
intelligence; intelligence and special populations; special education and giftedness, the feasibility of teaching intelligence; social
and emotional intelligence

วรศ.313 เส้ นทางสู่ การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม 3 (3-0-6)


LSE313 Pathways to an Inclusive Education
หลักคิดของการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม หลักการและนโยบายการจัดการศึกษาที่ยอมรับความแตกต่ างหลากหลายของ
ผู้เรียน การสอน หลักสู ตร และชั้นเรียนสาหรับผู้เรียนที่มีความหลากหลาย การใช้ เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนและส่ งเสริมการเรียนรู้
บทบาทของครู ในการเป็ นผู้นาการเปลีย่ นแปลง การจัดการศึกษาแบบเรียนรวมในประเทศไทย
23
Concepts of inclusive education; principles and policies of inclusive education; teaching, curriculum, and classroom
towards accommodation of diversity; assistive technologies for enhancement of learning; teachers as change agents; inclusive
education in Thai context

วรศ.314 ความเสมอภาคทางการศึกษา 3 (3-0-6)


LSE314 Equity in Education
แนวคิด หลักการ และทฤษฎีเกีย่ วกับความเสมอภาค ประเด็นวิกฤตเกี่ยวกับความเสมอภาคทางการศึกษา ความเสมอภาค
ทางการศึกษาในบริบทไทยและนานาชาติ วิเคราะห์ ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อความเสมอภาคทางการศึกษา
Concepts, principles and theories of equity; critical issues in educational equity; comparative studies on educational
equity in Thai and international contexts; factor analysis of educational equity

วรศ.315 นโยบายการศึกษาของไทยในบริบทนานาชาติ 3 (3-0-6)


LSE315 Thai Education Policy and Its International Context
การจัดการความรู้ ด้านระบบและนโยบายการศึกษา ศึกษาเปรียบเทียบผลของนโยบายปฏิรูปการศึกษาในระดับนานาชาติ
และไทย นโยบายทีป่ ระสบความสาเร็จและล้ มเหลวในระดับนานาชาติและไทย
Knowledge management of education systems and policy; comparative study of Thai and international education
policies and educational reforms; successes and failures of education policies at national and international level

วรศ.320 คุณค่ าของวิทยาศาสตร์ และการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ 3 (3-0-6)


LSE320 Valuing Science and Scientific Thinking
การเกิ ด ขึ้น และคงอยู่ ข องวิท ยาศาสตร์ แก่ น แท้ ข องการคิ ด เชิ ง วิ ท ยาศาสตร์ การอธิ บ ายกลไกของธรรมชาติ ด้ ว ย
วิทยาศาสตร์ สุ นทรี ยศาสตร์ และความงดงามทางวิทยาศาสตร์ ผลกระทบจากความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ การสร้ างสมดุล
ระหว่ างการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ ในบริบทของสังคมและวัฒนธรรม การสื่อสารวิทยาศาสตร์
Origins and existence of science; foundational principles of scientific thinking; explaining nature through science;
aesthetics of science; effects of scientific advancement; balancing scientific development and nature; science in socio-cultural
contexts, scientific communication

วรศ.321 การแก้ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 3 (3-0-6)


LSE321 Problem Solving in Mathematics and Science
ทฤษฎีเกีย่ วกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสถิติ หลักคิดเชิงคณิตศาสตร์ และตรรกศาสตร์ การประยุกต์ หลักการทาง
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และสถิตเิ พือ่ การบริโภคสื่ออย่ างมีวิจารณญาณ การตีความข้ อมูลเพื่อเป็ นเครื่องมือประกอบการตัดสิ นใจ
ในการแก้ ปัญหา วิทยาศาสตร์ เทียม วิทยาศาสตร์ กบั การกาหนดนโยบาย
Theories of procedures in science and statistics; mathematical and logical thinking; applying science, mathematics, and
statistics to critically analyze information from the media; data driven decision making; pseudoscience; science and policy
formulation

24
วรศ.322 การคิดเชิงระบบและองค์ กรแห่ งการเรียนรู้ 3 (3-0-6)
LSE322 Systems Thinking and Learning Organization
แนวคิดพืน้ ฐานของการคิดเชิงระบบ หลักห้ าประการขององค์ กรแห่ งการเรียนรู้ การไร้ ความสามารถในการเรียนรู้ พลวัต
เชิงระบบ การสนทนาอย่ างใคร่ ครวญ ความเป็ นเลิศแห่ งตน ต้ นแบบความคิด วิสัยทัศน์ ร่วม การเรียนรู้ กลุ่ม การสะท้ อนผลลัพธ์
กรณีศึกษา
Fundamental concept of systems thinking; the five disciplines of learning organizations; learning disabilities; system
dynamics; reflective conversation; self-mastery; mental models; shared vision; team learning; feedback; case studies

วรศ.330 กระบวนการและการออกแบบการเรียนรู้ 3 (3-0-6)


LSE330 Learning Process and Design
รู ปแบบการเรี ยนรู้ และการพัฒนาการเรียนการสอน ระดับของกระบวนการเรียนรู้ แรงจูงใจกับการเรียนรู้ กระบวนการ
เรียนรู้ ในชั้นเรียนและในประสบการณ์ จริง การออกแบบและการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ในรู ปแบบต่ างๆ การจัดการเรียนรู้ แบบ
ยึดผู้เรียนเป็ นสาคัญ การฝึ กปฏิบัตกิ ารออกแบบแผนการเรียนรู้
Types of learning and teaching development; learning processes; motivation in classroom and experiential learning;
participant-based learning; learning design and practical implementation

วรศ.331 หลักสู ตรและการจัดการเรียนการสอน 3 (3-0-6)


LSE331 Curriculum and Pedagogy
ทฤษฎีของการจัดหลักสู ตร การพัฒนาหลักสู ตร การสร้ างและการดัดแปลงหลักสู ตร หลักสู ตรที่สร้ างสรรค์ มาตรฐาน
หลักสู ตร แก่ นหลักและมาตรฐานระดับชาติ หลักสู ตรทางเลือก ความหลากหลายของการจัดการเรี ยนการสอน ทฤษฎีการสอน
รู ป แบบและกลยุ ท ธ์ ใ นการสอน รู ป แบบที่แ ตกต่ า งของการเรี ย นรู้ ผลกระทบของการจัด การเรี ย นการสอนที่แ ตกต่ า งกัน ต่ อ
ประสบการณ์ เรียนรู้ ของนักเรียน
Theories of curricula; curriculum development; creating and adapting curricula; creative curricula; core curriculum
standards and national standards; alternative curricula; different pedagogies; theories of teaching; teaching styles and strategies;
different patterns of learning; the effect of different pedagogies on student learning experiences

วรศ.332 ภาวะผู้นาและการบริหารการเปลีย่ นแปลง 3 (3-0-6)


LSE332 Leadership and Change Management
ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นา การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาที่เกิดจากนโยบายและการบริหารจัดการ การบริหาร
ความเสี่ยง กลยุทธ์ การบริหารการศึกษาเพือ่ ส่ งเสริมภาวะผู้นาทางการศึกษา
Theories and concepts of leadership; changes in education resulting from policy and administrative leadership; risk
management; administrative strategies for promoting educational leadership

25
วรศ.340 การวิจยั ทางการศึกษา 3 (2-2-5)
LSE340 Educational Research
ปรัชญาการแสวงหาความรู้ วิธีวิทยาการวิจัยเพื่อเป้ าหมายทางการศึกษา การวิจัยในชั้นเรียน การฝึ กปฏิบัติการวิจัย การ
นาเสนอผลการวิจยั การค้ นคว้ าศึกษางานวิจัยในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การใช้ กระบวนการวิจัยในการแก้ ปัญหาทาง
การศึกษา การเสนอโครงการเพือ่ ทาวิจยั
Philosophy of knowledge inquiry; research methodologies for educational purposes; classroom research; research
practice; research presentation; applying findings from research studies to developing learning process; application of research in
solving educational problems; research proposals

วรศ.341 การวัดและประเมินการเรียนรู้ 3 (2-2-5)


LSE341 Learning Measurement and Evaluation
ความหมาย ความแตกต่ าง และความสัมพันธ์ ของการวัดและประเมิน แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวัดและประเมิน การ
วัดคุณภาพของเครื่องมือวัด การออกแบบเครื่องมือการประเมิน การประเมินเพือ่ รองรับการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
Definitions, differences, and relations of measurement and evaluation; concepts and theories of measurement and
evaluation; measuring the validity and reliability of instruments; developing assessment instruments; evaluating for 21st century
learning skills

วรศ.342 สถิตเิ พือ่ วิทยาการเรียนรู้ 3 (2-2-5)


LSE342 Statistics for Learning Sciences
พื้น ฐานแนวคิ ด และวิ ธี ก ารทางสถิ ติ หลัก การของการรวบรวมข้ อ มู ล สถิ ติ เ ชิ ง พรรณนา สถิ ติเ ชิ ง อ้ า งอิง เพื่ อ การ
เตรียมพร้ อมสาหรับรายวิชาสถิตขิ ้นั ต่ อไป พืน้ ฐานการใช้ โปรแกรมสาเร็จรู ปทางสถิติ การอภิปรายการใช้ สถิตใิ นชีวติ จริง
Basic statistical concepts and methods; principals of data collection; beginners descriptive and inferential statistics;
introduction to statistical packages; discussion of how statistics are used in the real world

วรศ.399 การฝึ กปฏิบัตงิ าน 6 (270 ชั่วโมง/ ภาคการศึกษา)


LSE399 Practicum
ฝึ กประสบการณ์ การปฏิบัตงิ านในองค์ กรหรือหน่ วยงานทีเ่ กีย่ วกับการเรียนรู้ ภายใต้ การดูแลของอาจารย์
Practical experiences in organizations or institutions in the area of learning under the instructor’s supervision

วรศ.401 โครงงานสร้ างสรรค์ และประมวลการเรียนรู้ 3 (0-6-3)


LSE401 Creative Project and Learning Portfolio
กระบวนการกลุ่ม การสะท้ อนคิดและกระบวนการคิด การไตร่ ตรองและประเมินตนเอง จากประสบการณ์ การเรียนรู้ การ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้ กบั การปฏิบัตงิ านและการใช้ ชีวติ พัฒนาโครงงานสร้ างสรรค์
Group process; self-reflection and self-assessment on learning experiences; sharing knowledge; the connections
between learning, professional practice and life; developing a creative project

26
วรศ.410 ความหลากหลายของวิธีการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ 3 (3-0-6)
LSE410 Approaches to Learning Mathematics
วิธีการเรียนคณิตศาสตร์ ในหลักสู ตรของไทยและนานาชาติ การออกแบบการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับช่ วงวัยของผู้เรียน การ
ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ ใหม่
Learning methods in Thai and international mathematics curricula; learning designs responsive to learners at different
stages; creating new learning processes

วรศ.411 การเรียนรู้ บนฐานของปัญหาและการวิจยั 3 (3-0-6)


LSE411 Problem-based and Research-based Learning
ความหมายและสาระสาคัญ กระบวนการ การออกแบบกิจกรรม และการประเมินการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานและการ
เรียนรู้ โดยใช้ การวิจยั เป็ นฐาน และแนวคิดการจัดการเรียนรู้ ทเี่ กีย่ วข้ อง
Definition and core concepts; learning processes, activities design, and assessments in problem-based learning,
research-based learning, and other related instructional concepts

วรศ.412 สะเต็มและแนวคิดต่อยอด 3 (3-0-6)


LSE412 STEM and Beyond
ความหมายและสาระส าคัญ ของสะเต็ม ศึ ก ษา แนวคิด ของสะเต็ม ศึ ก ษาในการบู ร ณาการศาสตร์ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การฝึ กปฏิบัติการสอนและการประเมินผลสะเต็ม
ศึกษา และแนวทางในการปรับปรุงสะเต็มศึกษา แนวคิดอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องหรือใกล้ เคียงกับสะเต็ม
Meanings and core concepts of STEM education; integration of sciences, technology, engineering, and mathematics;
designing learning activities, practices, and assessments in STEM education; means of developing STEM education; STEM-
related concepts

วรศ.413 วิทยศึกษาสัญจร 3 (3-0-6)


LSE413 Scientific Fieldwork
การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ภาคสนาม การจัดกิจกรรมและการออกภาคสนามรู ปแบบต่ าง ๆ เพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ และ
การบู รณาการความรู้ ทักษะที่จาเป็ นต่ อกิจกรรมภาคสนาม การวางแผน กระบวนการเก็บและวิเคราะห์ ข้อมู ลภาคสนาม การ
ประยุกต์ ความรู้ จากภาคสนามสู่ การออกแบบการเรียนรู้ และชีวติ ประจาวัน
Fieldwork in scientific learning; activities and fieldwork for science education and integrative learning; essential skills
for fieldwork; planning processes of data collection and analysis in fieldwork; application of knowledge from fieldwork to
learning design and everyday life

วรศ.414 การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ผ่านสื่อแบบใหม่ 3 (2-2-5)


LSE414 Learning Mathematics and Sciences through New Media
การออกแบบและสร้ างสรรค์ สื่อแบบใหม่ เพือ่ สร้ างความเข้ าใจในคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ การใช้ เทคโนโลยีช่วยจัดการ
เรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ อย่ างสร้ างสรรค์ เครื่องมือช่ วยในการคานวณ สื่ อเสมือนจริง การจัดการเรียนการสอนทางไกล
และสื่อสาหรับผู้มคี วามต้ องการพิเศษ
27
Designing and creating new media to develop understanding in mathematics and science; technological tools to support
creative mathematical and scientific learning; computation, simulation, distance learning, and assistive learning systems for
special educational needs

วรศ.420 ประเด็นร่ วมสมัยทางการศึกษา 3 (3-0-6)


LSE420 Contemporary Issues in Education
ประเด็นร่ วมสมัย ความเปลีย่ นแปลง และแนวโน้ มการจัดการศึกษาในและนอกระบบของประเทศไทย การจัดการศึกษาใน
บริบทสังคมทีม่ คี วามซับซ้ อน การศึกษาแห่ งอนาคต
Contemporary issues in education; changes and trends in formal and non-formal education in Thailand; proposing
solutions to current educational issues; education for the future

วรศ.421 ชุมชนแห่ งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพด้ านการศึกษา 3 (3-0-6)


LSE421 Professional Learning Communities in Education
แนวคิด หลักการ คุณลักษณะ และปัจจัยแห่ งความสาเร็จของชุ มชนแห่ งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ การเสริมสร้ างชุ มชนแห่ ง
การเรียนรู้ และการสร้ างเครือข่ ายทางการศึกษา กรณีศึกษาต่ างๆ
Concepts, principles, characteristics, and factors contributing to successful professional learning communities;
educational networks for professional learning; case studies

วรศ.422 การบริหารการศึกษา 3 (3-0-6)


LSE422 Educational Administration
แนวคิดและทฤษฎีการบริ ห ารการศึ กษา หลัก การและกระบวนการจัดการด้ า นบริ หารการศึ ก ษา การบริ หารจัดการ
ทรัพยากรบุคคล การประกันคุณภาพการศึกษา การจัดระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารจัดการ การศึกษาเพือ่ พัฒนาชุมชน
Concepts and theories of educational administration; principles and processes of educational administration; human
resource development; educational quality assurance; information system for administration; education for community
development

วรศ.423 การสื่อสารแบบบูรณาการสาหรับองค์ กรการศึกษา 3 (3-0-6)


LSE423 Integrated Communication for Educational Organizations
แนวคิด กระบวนการสื่ อสารแบบบูรณาการ การประยุกต์ ใช้ การผสมผสานกิจกรรมการสื่ อสารสาหรับองค์ กรการศึกษา
เพือ่ การเป็ นชุมชนแห่ งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ
Concepts and processes of integrated communication; application and combination of communication activities for
educational organizations to become professional learning communities

วรศ.424 ประเด็นพิเศษทางนโยบายการศึกษา 3 (3-0-6)


LSE424 Special Topics in Educational Policy
การวิเคราะห์ และวิจัยนโยบายและการปฏิรูปการศึ กษาในประเทศไทยและในระดับนานาชาติ การลงพื้นที่เพื่อเรี ยนรู้
กรณีศึกษาของการดาเนินนโยบาย การทารายงานศึกษาวิจยั ประเด็นด้ านนโยบายการศึกษาด้ วยกระบวนการวิจยั ต่ างๆ
A research study on special topics and problems in Learning Sciences under the instructor’s supervision
28
วรศ.425 การวิจยั ในกระบวนการเรียนรู้ 3(3-0-6)
LSE425 Research in the Learning Process
การเลือกปัญหาและคาถามวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ แบบแผนการวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ การควบคุมตัวแปรแทรก
ซ้ อน เครื่องมือในการวิจัยกระบวนการเรี ย นรู้ การตรวจสอบผลการจัดกระทา การใช้ ข้อมูลเชิงคุณภาพในการวิจัย การวิเคราะห์
ข้ อมูล จริยธรรมในการทาวิจยั ในกระบวนการเรียนรู้
Choosing a research problem and questions; methodologies for researching the learning process; controlling
confounding variable; instruments for researching the learning process; manipulation checks; using qualitative data to research
the learning process; data analysis; ethical considerations for research on the learning process

วรศ.426 วิธีวทิ ยาการวิจยั ตนเองในการศึกษา 3 (2-2-5)


LSE426 Self-study Methodologies in Education
แนวคิดเกีย่ วกับการศึกษาตัวตนของผู้วจิ ยั ระเบียบวิธีวจิ ยั ทีใ่ ช้ ตนเองในการสืบค้ นเช่ น อัตชาติพนั ธุ์วรรณา ชีวประวัติและ
อัตชีวประวัติ การสืบค้ นผ่านเรื่องเล่ า การเก็บข้ อมูล การวิเคราะห์ และการนาเสนอ กรณีศึกษาการวิจยั ตนเองในบริบททางการศึกษา
Concepts of self-study inquiry; research methodologies and methods in self-study including autoethnography,
biography, autobiography and narrative inquiry; data collection, analysis and presentation; case studies of self-study in
educational contexts

วรศ.427 การวิจยั ในชั้นเรียน 3(3-0-6)


LSE 427 Classroom Research
ความหมาย ลักษณะ และ ประโยชน์ ของการวิจยั ในชั้นเรียน กระบวนการทาวิจัยในชั้นเรียน เครื่องมือในการทาวิจัยในชั้น
เรียน การฝึ กปฏิบัตกิ ารทาวิจยั ในชั้นเรียน
Definition, characteristics, and benefits of classroom research; classroom research process; classroom research
instruments; practicum in classroom research

วรศ.430 กระบวนการและการออกแบบการเรียนรู้ข้นั สู ง 3 (3-0-6)


LSE430 Advanced Learning Process and Design
การสื่ อสารด้ วยความกรุ ณา กระบวนการสานเสวนา อานาจและพลวัตของความสั มพันธ์ เครื่องมือในการขับเคลื่อนการ
เรียนรู้ การจัดการชั้นเรียน การออกแบบการเรียนรู้ ฝึ กปฏิบัติ
Nonviolent communication; dialogue; power dynamics; tools for learning facilitation; classroom management; learning
process design and practice

วรศ.431 การโค้ ชเพือ่ การเปลีย่ นแปลง 3 (2-2-5)


LSE431 Coaching for Transformation
แนวคิดและหลักการการโค้ ชเพื่อการเปลี่ยนแปลง สารวจเส้ นทางชีวิต การตั้งเป้ าหมายแห่ งการเรี ยนรู้ พลังของการตั้ง
คาถาม การบ่ มเพาะและค้ นพบศั กยภาพภายในของผู้เรี ยน ทักษะพืน้ ฐานของการโค้ ช การให้ และรั บเสี ยงสะท้ อน การก้ าวข้ าม
อุปสรรคภายในและการสร้ างสรรค์ ชีวติ ทีง่ อกงามจากภายใน ฝึ กปฏิบัติ

29
Concepts and principles of coaching for transformation; exploring life journey; goal setting for learning; power of
questions; nurturing and discovering the capacities of learners; basic skills of coaching; giving and receiving feedback;
overcoming inner obstacles; and creating life from within; practical application of coaching for transformation

วรศ432 ศิลปะและความเชี่ยวชาญในการจัดกระบวนการ 3 (2-2-5)


LSE432 the Art and Mastery of Facilitation
แนวคิดและการปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพและทักษะการเป็ นกระบวนกร อาทิ การเข้ าใจตนเอง การสื่ อสารด้ วย
ความกรุณา การเผชิญความขัดแย้ ง การด้ นสด ฝึ กปฏิบัตกิ ารพัฒนาคุณภาพความเป็ นมนุษย์ ทสี่ ัมพันธ์ กบั การเป็ นกระบวนกร
Concepts and practices of mastering facilitator qualities and skills including self-understanding, compassionate
communication, conflict confrontation and improvisation; practice of inner quality development in relation to becoming a
facilitator

วรศ.433 การจัดกระบวนการกลุ่มเพือ่ การเปลีย่ นแปลง 3 (2-2-5)


LSE433 Group Facilitation of Transformative Process
แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ เพือ่ การเปลีย่ นแปลง การอ่ านกลุ่ม พลวัตกลุ่มและปัจจัยที่นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง อุปสรรค
ของการเปลีย่ นแปลง เครื่องมือการเรียนรู้ เพือ่ การเปลีย่ นแปลง แนวทางต่ างๆ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มเพือ่ การเปลีย่ นแปลง
การฝึ กปฏิบัตกิ ารออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ กลุ่มเพือ่ การเปลีย่ นแปลง
Concepts and theories on transformative learning; group reading; group dynamic and factors that lead to transformation;
barriers to transformation; learning tools for transformation; different approaches to transformative group facilitation; practice of
designing and facilitating group for transformation

วรศ.434 การจัดการความขัดแย้ งในพืน้ ทีก่ ารเรียนรู้ 3 (3-0-6)


LSE434 Conflict Management in Learning Spaces
แนวคิดเกีย่ วกับความขัดแย้ ง การวิเคราะห์ ความขัดแย้ ง ทักษะการสื่อสารด้ วยความกรุ ณา ทักษะการให้ ความเข้ าใจ ทักษะ
พืน้ ฐานของการเป็ นคนกลาง เครื่องมือและกระบวนการต่ างๆ ในการจัดการความขัดแย้ ง
Concepts about conflict; conflict analysis; compassionate communication skills; empathy skills; basic mediation skills;
conflict management tools and processes

วรศ.440 เทคโนโลยีการเรียนรู้ ข้นั สู ง 3 (3-0-6)


LSE440 Advanced Learning Technologies
พืน้ ฐานการใช้ เทคโนโลยีที่มีอยู่ในปั จจุบันและที่กาลังเกิดขึ้นเพื่อการสอนและเรี ยนรู้ ทฤษฏีการเรี ยนรู้ เพื่อรองรั บการ
ออกแบบสภาพแวดล้ อมในการเรี ยนรู้ ที่แตกต่ างกัน เสนอกระบวนการเรี ยนรู้ เชิ งประสบการณ์ สาหรั บนักเรี ยนเพื่อการออกแบบ
ห้ องเรียนทีด่ งึ ดูดการมีส่วนร่ วมได้ อย่ างมีประสิทธิภาพ
Introduction to the use of current and emerging technology for teaching and learning; learning theories that underpin the
design of different learning environments; designing an effective and engaging classroom through the use of experiential process

30
วรศ.441 ห้ องเรียนเชิงสร้ างสรรค์ 3 (3-0-6)
LSE441 Creative Classroom
แนวคิดและทฤษฎีการคิดเชิงสร้ างสรรค์ และการแก้ ปัญหาเชิงสร้ างสรรค์ การพัฒนาความคิดเชิง สร้ างสรรค์ ในผู้เรียนที่
แตกต่ างกัน บรรยากาศเพือ่ การเรียนรู้ เชิงสร้ างสรรค์ การพัฒนาผู้เรียนรู้ ทมี่ คี วามสร้ างสรรค์ อย่ างยัง่ ยืน
Concepts and theories of creative thinking and creative problem solving; developing creative thinking in different
learners; climates for creative learning; developing sustainable creative learners

วรศ.442 สื่อเพือ่ การเรียนรู้ 3 (3-0-6)


LSE442 Media for Learning
แนวคิดและทฤษฎีของนวัฒนธรรมเทคโนโลยีและสื่ อร่ วมสมัย การประยุกต์ ใช้ สื่อเพื่อการเรี ยนรู้ การสร้ างสื่ อเพื่อการ
เรียนรู้ ภายใต้ ทรัพยากรทีก่ าจัด สื่อเพือ่ การเรียนรู้ ตลอดชีวติ
Concepts and theories of innovative technologies and contemporary media; applying media for learning; creating media
for learning with limited resources; media for lifelong learning

วรศ.443 การออกแบบพืน้ ทีส่ าธารณะกับการเรียนรู้ ทางสังคม 3 (2-2-5)


LSE443 Public Space Design and Social Learning
แนวคิดและทฤษฎีการออกแบบพืน้ ที่สาธารณะ อิทธิพลของสิ่งแวดล้ อมทางกายภาพต่ อการเรียนรู้ และการรับรู้ ของมนุษย์
องค์ ประกอบของการออกแบบพืน้ ที่ทางกายภาพเพื่อส่ งเสริมปฏิสัมพันธ์ ของผู้ใช้ งาน การวิเคราะห์ สภาพปัญหาของการออกแบบ
พืน้ ทีส่ าธารณะและการกีดกันทางสังคม การสังเคราะห์ ออกแบบและวางผังพืน้ ทีส่ าธารณะทั้งในอาคารและนอกอาคารเพื่อส่ งเสริม
การเรียนรู้ ทางสังคม
Concepts and theories related to public space design; Influence of physical environment on human learning and
perception; fundamental elements of designing physical spaces to enhance human interaction; problem analyses for public space
design and social exclusion; synthesizing, designing, and planning public spaces for enhancing social learning

วรศ.444 เครื่องมือสื่อสารเพือ่ นวัตกรรมการเรียนรู้ 3 (3-0-6)


LSE444 Communication Tools for Innovative Learning
หลักพืน้ ฐานในการสร้ างนวัตกรรมที่ประสบความสาเร็ จ กระบวนสร้ างการนวัตกรรมด้ วยการออกแบบเครื่ องมือการ
สื่ อสาร พืน้ ฐานในการนาเสนอข้ อมูลผ่ านอินโฟกราฟิ ก หลักเกณฑ์ ในการเลือกใช้ เครื่ องมือการสื่ อสาร การพัฒนาและออกแบบ
เครื่องมือการสื่อสารเพือ่ ส่ งเสริมการเรียนรู้ ร่วมกันของคนในสังคม
Principles for constructing successful innovations; processes for constructing innovation; designing communication
tools; foundations of presenting information through Infographics; criteria for communication tool selection; developing and
designing communication tools for driving collective learning

31
วรศ.445 การวิเคราะห์ การเรียนรู้และการทาเหมืองข้ อมูล 3 (3-0-6)
LSE445 Learning Analytics and Data Mining
บทบาทของข้ อมูลขนาดใหญ่ ในเชิงการศึกษา คุณประโยชน์ ของการใช้ ข้อมูลเป็ นแนวทางในการตัดสิ นใจในเชิงการศึกษา
แนวคิดและเทคนิคเบือ้ งต้ นของการวิเคราะห์ การเรียนรู้ และการทาเหมืองข้ อมูลทางการศึกษากิจกรรมการวิเคราะห์ และการใช้ ภาพ
เพือ่ แสดงข้ อมูลในเชิงปริมาณ สถานะปัจจุบันและแนวโน้ มของการวิเคราะห์ การเรียนรู้
Roles of “Big Data” in educational contexts; data-driven approaches in education; basic concepts and techniques of
educational data mining and learning analytics; analytics and visualization of data activities; current state and future trends of
learning analytics

วรศ.461 การเรียนรู้ และวัฒนธรรม 3 (3-0-6)


LSE461 Learning and Culture
ความเชื่อ ระบบคิด และพัฒนาการทางสติปัญญาในการสร้ างสรรค์ กระบวนการเรียนรู้ โดยใช้ กรอบคิดทางมานุษยวิทยา
และสั งคมศาสตร์ ความรู้ เ กี่ย วกับ คตินิย มแนวมานุ ษ ยวิทยาการตีค วาม การเรี ยนรู้ ผ่า นประสบการณ์ องค์ ร วมเชิ ง สั งคมและ
วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาและความรู้ เชิงวัฒนธรรม
Sociological and anthropological studies as a framework to understand values, beliefs and intellectual development;
interpretive anthropology; holistic and embodied learning; local wisdom and cultural knowledge

วรศ.462 เพศสภาพ เพศวิถี และความยุตธิ รรมทางสังคม 3(3-0-6)


LSE462 Sexuality, Gender, and Social Justice
ทฤษฎีเกีย่ วกับเพศ เพศสภาพ และเพศสภาวะ แนวคิดและการอภิปรายเชิงสตรีนิยม ความหลากหลายทางเพศและเควียร์
ต่ อประเด็นความยุตธิ รรมทางสังคม ประเด็นปัญหาเรื่องความเท่ าเทียมในบริบททางการศึกษา กลยุทธ์ และวิสัยทัศน์ สาหรับการขัด
ขืนและการเปลีย่ นแปลง
Theories of sex, sexuality and gender; an overview of feminist, LGBT and queer debates on social justice; connections
between sex, sexuality and gender and equity in educational contexts; strategies for resistance and visions for change

วรศ.463 เทคโนโลยีการเรียนรู้ และปัญญาประดิษฐ์ 3 (3-0-6)


LSE463 Learning Technology and Artificial Intelligence
นิยามและขอบเขตของปัญญาประดิษฐ์ บทบาทของปัญญาประดิษฐ์ กบั การเรียนรู้ การเรียนรู้ ของคอมพิวเตอร์ การพัฒนา
ซอฟต์แวร์ อย่ างง่ าย การออกแบบเทคโนโลยีการเรียนรู้ ด้วยปัญญาประดิษฐ์
Definitions and scope of artificial intelligence (A.I.); the role of A.I. in learning; machine learning; basic software
development; technology design for learning with A.I.

วรศ.464 สุ นทรียศาสตร์ เพือ่ การเรียนรู้ 3 (3-0-6)


LSE464 Aesthetics for Learning
มโนทัศน์ ทางปรัชญาสุ นทรียศาสตร์ ทฤษฎีทางศิลปะ การตัดสิ นเชิงสุ นทรียะ การประเมินคุณค่ าและวิพากษ์ วิจารณ์ งาน
ศิลปกรรมบนฐานความเข้ าใจประวัติวัฒนธรรม ศิลปะกับกระบวนการเรียนรู้ ของสั งคม การประยุกต์ ศิลปกรรมเพื่อส่ งเสริมการ
เรียนรู้
32
Key concepts of aesthetics and philosophy; theories of art evaluation, art criticism based on art history; connections
between art and social learning process; the application of art to enhance learning

วรศ.465 ความรัก ความหวัง และ ความสุ ข 3 (3-0-6)


LSE465 Love, Hope and Happiness
แนวคิดเกีย่ วกับความรัก ความหวัง และความสุ ข อารมณ์ ทางบวก คุณลักษณะทางบวก ผลของการมีความสุ ขใจ อารมณ์
ทางบวก คุณลักษณะทางบวก การเสริมสร้ างสภาพแวดล้ อมทางบวกเพื่อส่ งเสริมให้ เกิดความสุ ข อารมณ์ ทางบวก และคุณลักษณะ
ทางบวก
Concepts of hope, love, and happiness; positive emotional states, positive traits and their effects on well-being; the
influence of positive emotional states and positive traits on human learning; how to create positive environments to enhance
psychological well-being

วรศ.466 ชีวติ เซ็กซ์ ความตาย และการเรียนรู้ 3 (3-0-6)


LSE466 Life, Sex, Death and Learning
แรงบันดาลใจ แรงผลักดัน ความต้ องการ ความหลงใหล และการยัว่ ยวนที่มีผลต่ อการดารงชีวิตและการเรียนรู้ พลวัตทาง
เพศ ความพึงพอใจทางเพศ การเอาชีวติ รอด ความตาย และความสัมพันธ์ ทมี่ ตี ่ อวิถีชีวติ และวิธีเรียนรู้ การถอดรหัสและการควบคุม
ร่ างกาย สมอง และจิต เพือ่ การใช้ ชีวติ และการเรียนรู้ ความตายและความอมตะ การดารงตัวตนของบุคคลในแง่ มุมทางกายภาพ ทาง
จิต และทางสังคม
Impacts of inspiration, motivation, desire, passion and seduction on living and learning; sexual dynamics, pleasure,
survival, death and their relationship to learning styles and life; body, brain and mind decoding for living and learning; physical,
mental and social aspects of death and immortality

วรศ.467 ทักษะการคิดขั้นสู ง 3 (3-0-6)


LSE467 It’s HOTS Higher Order Thinking Skills
ทฤษฎี แนวคิด และประเภทของการคิดขั้นสู ง เทคนิคหรือกลยุทธ์ เพือ่ การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสู ง การพัฒนาการคิดขั้น
สู งในการส่ งเสริมศักยภาพและการเรียนรู้ และการทางาน การสร้ างนวัตกรรมทีพ่ ฒ ั นาทักษะการคิดขั้นสู ง การวัดและประเมินทักษะ
การคิดขั้นสู ง
Theories, concepts and types of higher order thinking skills (HOTS); techniques to improve higher order thinking skills;
the development of higher order thinking skills for enhancing learning and learning potential; designing innovation to enhance
higher order thinking skills; assessment and evaluation for higher order thinking skills

วรศ.498 ประเด็นพิเศษทางวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์ 3 (3-0-6)


LSE498 Special Topics in Learning Sciences and Education
การศึกษาวิจยั ในหัวข้ อและประเด็นทีเ่ กีย่ วกับวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์ ภายใต้ การดูแลของอาจารย์
A research study on special topics and problems in learning sciences and education under the instructor’s supervision

33
วรศ.499 สัมมนาวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ 3(3-0-6)
LSE499 Seminar in Learning Sciences and Education
นาเสนอและอภิปรายหัวข้ อเกีย่ วกับวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์
Present and discuss topics related to learning sciences and Education

4. องค์ ประกอบเกีย่ วกับประสบการณ์ ภาคสนาม (การฝึ กงาน หรือสหกิจศึกษา)


สรุปโดยย่ อเกีย่ วกับการฝึ กปฏิบตั ิ ฝึ กตามคลินิกหรือฝึ กงาน หรือสหกิจศึกษาทีก่ าหนดไว้ ในหลักสู ตร
4.1 คาอธิบายโดยย่ อ
วรศ. 399 การฝึ กปฏิบัตงิ าน 6 (270 ชั่วโมง/ ภาคการศึกษา)
LSE 399 Practicum
ฝึ กประสบการณ์ วชิ าชีพในองค์ กรหรือหน่ วยงานทีท่ างานเกีย่ วกับการเรียนรู้ ภายใต้ การดูแลของอาจารย์
4.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ ภาคสนาม
นักศึกษาต้ องทาการฝึ กปฏิบัตงิ านในสาขาตามความมุ่งเน้ น พร้ อมทั้งทารายงานผลการฝึ กงานรายงานแก่ คณะกรรมการ
บริหารหลักสู ตรฯ
4.3 ช่ วงเวลา
ภาคการศึกษาฤดูร้อน ของปี การศึกษาที่ 3
4.4 การจัดเวลาและตารางสอน
นักศึกษาต้ องเก็บชั่วโมงให้ ครบไม่ ตา่ กว่ า 270 ชั่วโมง โดยนัดหมายกับหน่ วยงานทีต่ นไปฝึ กปฏิบัตงิ าน

5. ข้ อกาหนดเกีย่ วกับการทาโครงงานหรืองานวิจยั
5.1 คาอธิบายโดยย่ อ
วรศ. 401 โครงงานสร้ างสรรค์ และประมวลการเรียนรู้ 3 (0-6-3)
LSE 401 Creative Project and Learning Portfolio
กระบวนการกลุ่ม การสะท้ อนคิดและกระบวนการคิด การไตร่ ตรองและประเมินตนเอง จากประสบการณ์ การเรียนรู้ การ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้ กบั การปฏิบัตงิ านและการใช้ ชีวติ พัฒนาโครงงานสร้ างสรรค์
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
นักศึกษามีความรู้ ความสามารถในการกาหนดปัญหาและสืบค้นข้ อมูลเพือ่ ทาโครงงานสร้ างสรรค์ สามารถนาเสนอ
โครงงานแสดงให้ เห็นถึงความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับการเรียนรู้ของมนุษย์ ได้ อย่ างสร้ างสรรค์
5.3 ช่ วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 1 ของปี การศึกษาที่ 4
5.4 จานวนหน่ วยกิต
3 หน่ วยกิต
5.5 การเตรียมการ
เตรียมการให้ คาแนะนาและช่ วยเหลือทางด้ านวิชาการแก่ นกั ศึกษา แต่ งตั้งอาจารย์ ทปี่ รึกษาเป็ นผู้ให้ คาแนะนา และจัดฝึ ก
ทักษะการทาโครงงาน
5.6 กระบวนการประเมินผล
มีการประเมินผลเป็ นระยะ ทั้งในด้ านกระบวนการทางาน และผลลัพธ์ ของโครงงาน
34
หลักเกณฑ์ ในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ ในการให้ ระดับคะแนน (เกรด)


1.1 การวั ด ผล ให้ เป็ นไปตามข้ อบั ง คั บ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ว่ าด้ วยการศึ ก ษาชั้ นปริ ญญาตรี
พ.ศ. 2540 (พร้ อมฉบับแก้ ไขเพิม่ เติม) ข้ อ 12, 13 และ 14
1.2 การวัดผลการศึกษาแบ่ งเป็ น 8 ระดับ มีชื่อและค่ าระดับต่ อหนึ่งหน่ วยกิตดังต่ อไปนี้
ระดับ A B+ B C+ C D+ D F

ค่ าระดับ 4.00 3.50 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 0.00

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ขณะนักศึกษายังไม่ สาเร็จการศึกษา
การทวนสอบผลการเรียนรู้ แต่ ละรายวิชาของหลักสู ตรสามารถทวนสอบได้ หลายวิธี เช่ น ทวนสอบจากการทารายงาน จาก
การสอบข้ อเขียน จากการสอบปากเปล่ า จากการประเมินระหว่ างนักศึกษาด้ วยกันเอง ทั้งนีก้ ระบวนการทวนสอบแต่ ละรายวิชาอาจ
แตกต่ างกันขึน้ อยู่กบั ลักษณะและวัตถุประสงค์ ของแต่ ละวิชา นอกจากนี้ ยังกาหนดให้ มกี ารสอบข้ อเขียน และการสอบปากเปล่ า
2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ หลังจากนักศึกษาสาเร็จการศึกษา
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ หลังจากนักศึกษาสาเร็จการศึกษาเพื่อนามาปรับปรุ งหลักสู ตรและการจัดการเรียน
การสอน ประกอบด้ วย
2.2.1 การได้ งานทา หรือการได้รับเข้ าศึกษาต่ อของบัณฑิต ทั้งโดยการสัมภาษณ์ หรือแบบสอบถาม
2.2.2 การตรวจสอบความพึงพอใจของผู้ใช้ บัณฑิต ทั้งโดยการสัมภาษณ์ หรือแบบสอบถาม
2.2.3 การประเมินตาแหน่ ง หน้ าทีก่ ารงาน และ/หรือ ความก้ าวหน้ าในสายงานของบัณฑิต โดยแบบสอบถาม
2.3.4 การประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกทีป่ ระเมินหลักสู ตร และ/หรืออาจารย์ พิเศษต่ อความพร้ อมของนักศึกษา
ในการเรียนและการวิจยั และคุณสมบัตอิ นื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนาองค์ ความรู้ ของนักศึกษา

3. เกณฑ์ การสาเร็จการศึกษาตามหลักสู ตร
3.1 ได้ ศึกษารายวิชาต่ างๆ ครบตามโครงสร้ างหลักสู ตร และมีหน่ วยกิตสะสมไม่ ตา่ กว่ า 128 หน่ วยกิต
3.2 ได้ ค่าระดับเฉลีย่ สะสมไม่ ตา่ กว่ า 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)
3.3 ต้ องปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขอืน่ ๆ ทีค่ ณะวิทยาการเรียนรู้ และศึกษาศาสตร์ และมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ กาหนด

35

You might also like