You are on page 1of 2

ป.ว.พ.

1 ข้ อ 1

มาตรา 10 และ มาตรา 23 เป็ นกรณีที่ไม่สามารถดำเนินกระบวนพิจารณาได้ ทนั เหมือนกัน แต่มีข้อแตกต่างกันคือ

• มาตรา 10 เป็ นกรณีที่ไม่สามารถดำเนินกระบวนพิจารณาได้ ทน


ั จึงขอดำเนินกระบวนพิจารณาอย่างใดอย่างหนึง่ ต่อ
ศาลชันต้ ้ น ซึง่ ตนมีภมู ิลำเนาหรื ออยู่ในเขตศาลในขณะนัน้ ส่วน มาตรา 23 เป็ นกรณีที่ไม่สามารถดำเนินกระบวนพิจารณา
ได้ ทนั เหมือนกัน แต่เป็ นเฉพาะกรณีขอย่นหรื อขยายระยะเวลาตามที่ กำหนดใน ป.ว.พ.เท่านัน้

• มาตรา 10 คูค
่ วามเท่านันเป็
้ นผู้ดำเนินการ ส่วน มาตรา 23 ศาลอาจเห็นสมควรเอง หรื อ คูค่ วามเป็ นผู้ร้องขอ ก็ได้

• มาตรา 10 ร้ องขอที่ศาลอื่น ซึง่ ตนมีภม


ู ิลำเนาหรื ออยู่ในเขตศาลในขณะนันได้
้ ส่วน มาตรา 23 ต้ องร้ องขอในศาลเดิม
เท่านัน้

เช่น กรณีจำเลยการยื่นคำร้ องขอให้ เพิกถอนการขายทอดตลาดต่อศาลจังหวัดตาก ซึง่ เป็ นศาลที่บงั คับคดีแทนศาลจังหวัด


น่าน ปรากฏว่าศาลจังหวัดตากมีคำสัง่ ยกคำร้ องนัน้ จำเลยจึงอุทธรณ์ตอ่ ศาลจังหวัดตาก แต่ศาลอุทธรณ์พิพากษายืน
จำเลยจึงขอขยายระยะเวลายื่นฎีกาโดยยื่นที่ศาลจังหวัดน่าน แต่การขอนี ้เป็ นการขอขยายระยะเวลาตามมาตรา 23 ไม่ใช่
กรณีไม่สามารถดำเนินกระบวนพิจารณาได้ ทนั ตามมาตรา 10 ดังนัน้ จำเลยจะต้ องยื่นที่ศาลจังหวัดตากตามมาตรา
229,247 แต่กรณีนี ้จำเลยได้ ยื่นต่อศาลจังหวัดน่านจึงไม่ชอบตามมาตรา 23 ทังปรากฎว่
้ าจำเลยมิได้ ระบุเหตุขดั ข้ องแต่
อย่างใด จึงไม่เป็ นการไม่สามารถดำเนินกระบวนพิจารณาได้ ทนั ตามมาตรา 10 ทำให้ จำเลยไม่มีสิทธิขอขยายระยะเวลา
ยื่นฎีกาต่อศาลจังหวัดอุดรธานี

สุดท้ ายแก้ คะจาก **จ.อุดรเป็ น จ.น่าน เด้ อคะ

มาตรา 10 กรณีที่ไม่สามารถดำเนินคดีในศาลที่มีเขตอำนาจ

หลักกฎหมาย มาตรา 10 “ถ้ าไม่อาจดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลชันต้ ้ นที่มีเขตศาลเหนือคดีนนได้


ั ้ โดยเหตุสดุ วิสยั คู่
ความฝ่ ายที่เสียหายหรื ออาจเสียหายเพราะการนันจะยื
้ ่นคำขอฝ่ ายเดียวโดยทำเป็ นคำร้ องต่อศาลชันต้ ้ ซึง่ ตนมีภมู ิลำเนา
หรื ออยู่ในเขตศาลในขณะนันก็้ ได้ และให้ ศาลนันมี
้ อำนาจทำคำสัง่ อย่างใดอย่างหนึง่ ตามที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์แห่ง
ความยุติธรรม ”

ข้ อสังเกต คำว่า “เหตุสดุ วิสยั ” ในที่นี ้มีความหมายกว้ างกว่าเหตุสุดวิสยั ที่บญ


ั ญัติไว้ ใน ป.พ.พ.มาตรา 8 กล่าวคือ มีความ
หมายว่า เหตุอะไรก็ตามที่ทำให้ ไม่สามารถดำเนินคดีในศาลที่มีเขตอำนาจ แม้ ไม่ได้ เกิดจากภัยธรรมชาติ ก็นบั ว่าเป็ น
เหตุสดุ วิสยั (ฎ.695/2509)

การดำเนินกระบวนพิจารณาของศาลที่รับคำร้ องนัน้ มีอำนาจเพียงดำเนินการให้ เป็ นไปตามความยุติธรรม ไม่มีอำนาจเกิน


ศาลเดิม เช่น หากคูค่ วามยื่นคำร้ องหรื อคำคูค่ วามใดมา ศาลที่จะสัง่ คำร้ องหรื อคำคูค่ วามนันต้
้ องเป็ นศาลเดิมเท่านัน้ ศาล
ที่รับคำร้ องตามมาตรา 10 จะสัง่ ไม่ได้

ผลของการยื่นคำร้ องตามมาตรา 10 คือ เมื่อศาลนันมี


้ คำสัง่ รับดำเนินการอย่างใดให้ แล้ ว มีผลเท่ากับคูค่ วามได้ ดำเนิน
กระบวนพิจารณาในศาลที่มีเขตอำนาจทุกประการ
ตัวอย่างฎีกา

 ฎ.1644/2519 (ประชุมใหญ่) วันนัดสืบพยานโจทก์ อันเป็ นนัดแรก ทนายโจทก์ป่วยอยู่ที่จงั หวัดอื่น และแพทย์ให้ ความ


เห็นว่าสมควรพักรักษาตัวจริ ง ทนายโจทก์ยื่นคำร้ องขอเลื่อนต่อศาลชันต้
้ นที่ทนายโจทก์ป่วยอยู่เมื่อเวลา 10.00 น. ซึง่ ยื่น
หลังจากเวลา 9.00 น.ที่นดั ไว้ และศาลเดิมรออยู่จน 10.05 น. จึงมีคำสัง่ ว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณาให้ จำหน่ายคดี ดังนี ้ จะ
ถือว่าโจทก์ขาดนัดพิจารณามิได้ เพราะกรณีดงั กล่าว ถือว่าโจทก์ได้ ขอเลื่อนคดีก่อนลงมือสืบพยานแล้ ว (ตามมาตรา 10)

You might also like