You are on page 1of 32

ค�ำน�ำ

ด้วยวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๓ เป็นวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ ครบรอบ


๙๗ ปี ของพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพร
เขตอุดมศักดิ์ “องค์บิดาของทหารเรือไทย” พระองค์ทรงสร้างคุณประโยชน์ต่อกองทัพเรือ
และประเทศชาตินานัปการ ได้ทรงน�ำความรู้ด้านวิชาการทหารเรือที่ทรงส�ำเร็จการศึกษา
จากประเทศอังกฤษมาวางรากฐาน รวมทั้งได้ด�ำเนินการปฏิรูปราชนาวีไทยในเวลาต่อมา
ในการนี้ กองทัพเรือจึงได้ก�ำหนดให้ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ของทุกปี เป็น “วันอาภากร”
ฐานทัพเรือสงขลา ทัพเรือภาคที่ ๒ ส�ำนึกในพระกรุณาธิคณ
ุ ทีพ่ ระองค์ทา่ นทรงสร้าง
คุณประโยชน์ต่อกองทัพเรือ จึงได้จัดท�ำพระประวัติของพระองค์ท่าน ในรูปเล่มภาษา
ไทย – ภาษาอังกฤษ เพื่อเป็นการเผยแพร่และเทิดทูนพระเกียรติคุณของพระองค์ท่านให้
เป็นที่ประจักษ์ต่อประชาชนโดยทั่วกัน

พลเรือตรี
( กฤษฎา รัตนสุภา )
ผู้บัญชาการฐานทัพเรือสงขลา ทัพเรือภาคที่ ๒
PREFACE
On May 19th 2563 B.E., it is the 97th death anniversary of the Admiral
Prince Abhakara Kiartivongse, Komma Luang Chumphon Khet Udom Sak
( The Father Of The Royal Thai Navy ). His Majesty has made many benevolence
for the Royal Thai Navy and Nation included applying the best practice from
Naval institute in England, to laid the foundation and reformed the Royal Thai
Navy to be more modernized. With the appreciation of his Majesty’s benevolence,
the Royal Thai Navy thereby set the 19th May to be “Abhakara Day”.
Songkhla Naval Base, Second Naval Area Command appreciated His
Majesty’s benevolence for The Royal Thai Navy. Therefore, we compile His
Majesty’s biography in the Thai – English document to honor and publish His
Majesty’s admiration to the community.

Rear Admiral
( Kridsada Rattanasupa )
Commandant Songkhla Naval Base Second Naval Area Command
พระประวัติ และการศึกษาก่อนเข้ารับราชการ
HIS BIOGRAPHY AND EDUCATIONAL
BACKGROUND PRIOR TO HIS OFFICIAL DUTY
พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดม
ศักดิ์ (เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ) มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์” ทรงเป็น
พระโอรสล�ำดับที่ ๒๘ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๕ ประสูตใิ นพระบรม
มหาราชวังแด่เจ้าจอมมารดาโหมด ป.จ. ธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) สมุห
พระกลาโหมในรัชกาลที่ ๕ เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๒๓ ตรงกับวันอาทิตย์ แรม ๓ ค�่ำ
เดือนอ้าย ปีมะโรงโทศกจุลศักราช ๑๒๔๒ พระองค์ทรงมีพระกนิษฐาและพระอนุชาร่วมพระมารดา
๒ พระองค์ คือ พระองค์เจ้าหญิงอรองค์อรรคยุพา (สิ้นพระชนม์เมื่อทรงพระเยาว์) และพระองค์
เจ้าสุริยงประยูรพันธุ์
Admiral Prince Abhakara Kiartivongse, Krom Luang Chumphon Khet Udom
Sak (Prince of Chumphon) original name was Prince AbhakaraKiartivongse. He was
born in the Royal Palace and was the 28th child of King Chunlachomklao or King
Rama the 5th of Chakri Dynasty. His mother, Mod Bunnag, was the daughter of
Chao PrayaSurawongchaiwat (VornBunnag) who was the Defense Minister

6 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
during the reign of King Rama the 5th.
The date of his birth was 19th of
December 2423 (on Sunday, the 3rd
night of waning moon, The first lunar
month, year of great snake, Thai minor
era of 1242) . He had one brother and one
sister from the same parent, Princess
OrnanongAkrayupa, who passed away
since when she was a child, and Prince
SuriyongPrayoonphan.

การศึกษา เมื่อเสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ยังทรง


พระเยาว์ทรงได้รับการศึกษาชั้นแรกในพระบรมมหาราช
วังมีพระยาอิศรพันธ์โสภณ (พูน อิศรางกูร) เป็นพระอาจารย์
และทรงศึกษาภาษาอังกฤษกับ Mr.Morant ซึ่งเป็นชาว
อังกฤษและได้ทรงเข้าเป็นนักเรียนในโรงเรียนหลวง ณ
พระต�ำหนักสวนกุหลาบอยู่จนถึงทรงโสกันต์
When he was very young, Prince of
Chumphon received his primary literature lessons
from PhrayaIsaraphanSophon (Poon Issarakul) in
the Royal Palace. He also learned English language
with the English teacher called Mr. Robert L.
Morant. Prince of Chumphon later enrolled as a
student at the public school in Suankularp Palace
until he was tonsured.
ในปี พ.ศ.๒๔๓๖ เมื่อเสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ทรงมีพระชนมายุได้ ๑๓ พรรษา พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ เสด็จไปทรงศึกษา
ต่อ ณ ประเทศอังกฤษ พร้อมกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๖ ซึ่งในขณะนั้น
ทรงด�ำรงพระอิสริยศักดิ์เป็น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ โดยมีเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรน
ทราธิบดีเมือ่ ครัง้ มีบรรดาศักดิเ์ ป็นสมเด็จพระมนตรีพจนกิจ เป็นพระอภิบาล ได้เสด็จออกจากกรุงเทพฯ โดย
ร.ล.มกุฎราชกุมาร (ล�ำที่ ๑) เมื่อ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๓๖ ไปยังสิงคโปร์ ต่อจากนั้นได้ทรงโดยสารเรือ
เมล์ชื่อ “ออเดรเบิด” ไปถึงเมืองตูรินในอิตาลี เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๓๖ แล้วเสด็จโดยทางรถไฟ
ไปยังกรุงปารีส และกรุงลอนดอน ตามล�ำดับ ในขั้นแรกเสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ได้เสด็จประทับร่วมกับ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ที่ “ไบรตัน” และ “แอสคอต” เพื่อทรงศึกษาภาษาและวิชาเบื้องต้น

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 7


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
King Chunlachomklao decided to send Prince of Chumphon to England to
receive his education along with King Mongkut, King Rama VI, who was still Crown
Prince Vajiravudh at the time. They were accompanied by Phraya
PhraSadejSurainTarabordi (PhraMontriPojanakij) as their mentor. Both princes left
Bangkok on the 20th of August 2436 B.E. by HTMS MakutRajakumarn (the first ship)
to board a Mail Ship called “Oldenburg” in Singapore.The ship reached Turin,
Italy, on the 4th of October 2436 B.E. and they later traveled by train to Paris and
London respectively. Prince of Chumphon stayed with King Mongkut at “Brighton”
and “Ascot” where they both learned English language and fundamental subjects.
เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ได้เคยตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ไปเฝ้าสมเด็จ
พระราชินีนาถ วิคตอเรียที่พระราชวังวินด์เซอร์ ตลอดจนตามเสด็จ ไปทัศนศึกษาทั้งในอังกฤษ
และประเทศในยุโรป จนกระทัง่ ถึงวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๓๘ เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ จึงเสด็จ
ไปเข้าโรงเรียนส่วนบุคคลส�ำหรับกวดวิชาเพื่อเตรียมเข้าศึกษา ในโรงเรียนนายเรืออังกฤษต่อไป
โรงเรียนที่ทรงไปกวดวิชานี้มีชื่อว่า The Seines ตั้งอยู่แขวงกรีนิชทางตะวันออกเฉียงใต้ของ
กรุงลอนดอน มีนาย Little Johns เป็นครูใหญ่ ผลการศึกษานี้พระอภิบาล ได้ทรงกราบบังคมทูล
รายงานว่า
Prince of Chumphon also accompanied King Mongkut during his official
visit to appear before Queen Victoria and variuos field trips around England and
Europe. On the 1st of October 2438 B.E., Prince of Chumphon enrolled to a private
school called “The Leines” or “The Limes” to prepare for his study at the Britania
Royal Naval College. The school was located in Greenwich in southwest London.
Mr. Littlejohn who was the caretaker and head master of the school wrote a report
describing Prince of Chumphon as follow.

8 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
“... ความรู้ภาษาอังกฤษดีขึ้นตามธรรมดา
แต่วิชากระบวนทหารเรือชั้นต้นก็วิ่งขึ้นเร็วตาม
สมควร แต่การเล่นแข็งแรง เช่น ฟุตบอล เป็นต้น
นับว่าเป็นชัน้ ยอดของโรงเรียน เกือบว่าไม่มใี คร
อาจเข้าเทียบเทียม...”
“...His English has improved gradually
while his knowledge in naval warfare is
fast improving as expected. However,
his athletic abilities such as football skills
have been outstanding. It is possible to
say that he is one of the best in the
school and that no one can compete
with him.”

ตลอดเวลาที่ทรงศึกษาอยู่ก็ได้ทรงใช้พระวิริยะอุตสาหะ และทรงด�ำเนินพระจริยวัตร เช่น


ประชาชนธรรมดา แม้บางครั้งทรงได้รับภารกิจที่ยากล�ำบากและมีความเสี่ยงต่ออันตรายอย่างใหญ่
หลวง เช่น การปราบจลาจลบนเกาะครีตก็มิได้ทรงย่อท้อหวาดเกรงแต่ประการใด และก็นับเป็น
พระองค์แรกที่ทรงมีประสบการณ์ผ่านศึกเช่นนี้
During his military training, Prince of Chumphon was very determine and
never used his status to his advantage even when he was assigned to resolve the
uprising on Crete Island. He was the only Thai prince who led soldiers in the real
battle.
ภายหลังจากส�ำเร็จการศึกษา และได้
เสด็จกลับมาถึงประเทศไทยแล้ว ก็ทรงทุ่มเท
แนวพระด�ำริในการแก้ไขปรับปรุงการศึกษา
ระเบียบการในโรงเรียนนายเรือ ทัง้ ฝ่ายปกครอง
และฝ่ายวิชาการให้ทัดเทียมอารยประเทศ
พระองค์ทรงก�ำกับดูแลอย่างใกล้ชดิ จนสามารถ
ผลิตนายทหารสัญญาบัตรชุดแรกได้เมื่อวันที่
๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๕๐ และในสมัยเดียวกันนี้
ก็ทรงน�ำนักเรียนนายเรือออกไปท�ำการฝึกภาคทะเลยังต่างประเทศ เป็นการอวดธงครั้งแรกใน
ประวัติศาสตร์อันเป็นการแสดงถึงศักดิ์ศรี และเกียรติภูมิแห่งความเป็นเอกราชของชาติไทยให้ต่าง
ประเทศได้รู้จักด้วย

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 9


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
After his return to Thailand, Prince of Chumphon dedicated himself in trying
to develop educational system and regulations of the Naval Academy. He followed
the international system by setting up administration and academic sections at
the Naval Academy with the first group of Thai naval cadets finally graduated from
the Naval Academy on the 1st of April 2450 B.E.. He also let the first group of
naval cadets on the historical oversea training trip.

ส�ำหรับพระกรณียกิจอื่นที่ส�ำคัญที่พระองค์ทรงวางรากฐานไว้ยังมีอีกมากมายหลายด้าน
เช่น การจัดตั้งหน่วยฝึกพลทหารที่บางพระ การจัดระเบียบบริหารราชการกรมทหารเรือขึ้นใหม่
การจัดท�ำโครงการสร้างก�ำลังทางเรือ การปรับปรุงด้านการศึกษาของทหารเรือ ทรงปลูกฝังความ
รักชาติให้กับนักเรียนนายเรือ และทรงจัดตั้งกองดับเพลิงของทหารเรือ จนกระทั่งวันที่พระองค์
ทรงออกจากราชการ เมื่อวันที่ ๑๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๕๔ รวมระยะเวลาที่เสด็จในกรมหลวง
ชุมพรฯ ทรงรับราชการครัง้ แรก ๑๑ ปีดว้ ยความจ�ำเป็นทีป่ ระเทศไทยต้องมีสว่ นร่วมในสถานการณ์
สงครามโลก ท�ำให้พระองค์ทรงกลับเข้ามารับราชการเป็นครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๑ สิงหาคม
พ.ศ.๒๔๖๐ และทรงรับราชการเรื่อยมากระทั่งด�ำรงต�ำแหน่งสูงสุด คือ เสนาบดีกระทรวง
ทหารเรือ เมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖
Prince of Chumphon also initiated many important foundations such as
establishing a recruit training center at Bang Phra, setting new administration
system and structure of the navy, improving educational system, cultivating
patriotism feeling among naval cadets, creating a naval fire brigade. He temporary
left his official duty on the 14th of April 2454 B.E. after 11 years in the navy. Prince
of Chumphon then rejoined the navy again on the 1st of August 2460 B.E. because
Thailand had to participate in the World War. He held the highest position as the
Minister of the Navy on the 1st of April 2466 B.E..

10 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
แต่อย่างไรก็ตามได้กราบบังคมลาราชการออกไปตากอากาศ เพื่อพักผ่อนรักษาพระองค์
เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖ ทั้งนี้ก็เพราะพระองค์ ทรงโหมงานหนักมากโดยตลอด ทรงมี
สุขภาพไม่สมบูรณ์ และประชวรพระโรคภายในอยู่ด้วยทางกระทรวงทหารเรือได้สั่งให้กระบวน
เรือที่ ๒ จัด ร.ล.เจนทะเล ถวายเป็นพาหนะและกรมแพทย์ทหารเรือได้จัดนายแพทย์ประจ�ำ
พระองค์ ๑ นาย พร้อมด้วยพยาบาล ตามเสด็จไปด้วย เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ได้เสด็จออกมา
จากกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖ ได้เสด็จไปประทับอยู่ที่ด้านใต้ปากน�้ำ
ชุมพร ณ บ้านสวนริมหาดทรายรี จังหวัดชุมพร ซึง่ เป็นทีท่ รงจองไว้จะท�ำสวน ขณะทีเ่ สด็จในกรม
หลวงชุมพรฯ ประทับอยู่ที่จังหวัดชุมพรนี้ ก็เกิดเป็น พระโรคหวัดใหญ่เนื่องจากทรงถูกฝน
ทรงประชวรอยูเ่ พียง ๓ วัน ก็สนิ้ พระชนม์ ทีต่ ำ� บลหาดทรายรี ในวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖
เวลา ๑๑.๔๐ น. สิริพระชนมายุได้ ๔๒ พรรษา ๕ เดือน
However, Prince of Chumphon asked for the permission to resign from his
duty after many years in the service on the 17th of April 2466 B.E.. The reason for
the resignation was due to his internal disease. The Ministry of the Navy ordered
the second fleet to arrange HTMS Jane Thale to transport Prince of Chumporn to
Sri Ri beach, Chumphon. During the trip, the naval medical department also
provided a medical doctor and a nurse to look after the prince when he left
Bangkok on the 21st of April 2466 B.E.. While staying at his royal resident at Sri Ri
beach, Prince of Chumphoncontacted influenza during raining season. He later
passed away at 11.40 am on the 19th of May 2466 B.E. just 3 days after falling ill
and was at the age of 42 years and 5 months. It was a great loss that brought
sadness to everyone.
ในวันอาทิตย์ที่ ๒๐ พฤษภาคม
พ.ศ.๒๔๖๖ ได้อญั เชิญพระศพจากจังหวัด
ชุมพรกลับมายังกรุงเทพฯ โดย ร.ล.เจน
ทะเล แล้วเปลี่ยนเรืออัญเชิญพระศพลง
ร.ล.พระร่วง และได้อัญเชิญพระศพ
ประดิษฐานไว้ที่วังของพระองค์ท่าน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั
ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลพระราชทาน จนถึงวันจันทร์ที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๖ ได้ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระศพไปพระราชทานเพลิง ณ พระเมรุท้องสนามหลวง โดยพระอัฐิบรรจุ
เก็บไว้ ณ วิหารน้อย วัดราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร ซึ่งประกอบพิธีบ�ำเพ็ญกุศล
ทักษิณานุประทานในวันที่ ๑๙ พฤษภาคม เป็นประจ�ำทุกปี และอัฐิส่วนหนึ่งบรรจุไว้ที่ใต้พระแท่น
ฐานในศาลเสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ยอดเขากระโจมไฟ แหลมปู่เจ้า อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 11


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
On the 20th of May 2466, Prince of Chumphon’s body was transferred back
from Chumphon to Bangkok by HTMS Jane Thale and HTMS PhraRuang before
being kept at his royal resident. King Momgkut granted chanting sessions for the
funeral until the Monday 24th of December 2466 B.E. before moving the body to
Royal Plaza SanamLuang for the royal cremation ceremony. His bone ash has been
kept at the chapel in WatRatchabophitSathitmahasimaram, Bangkok. A ceremony
is held to commemorate his death on the 19th of May every year. Part of his bone
ash has also been placed under the base of Prince of Chumphon’s shrine on top
of the KhaoKrachom Fai mountain, Pu Jaw beach, Sattahip district, Chonburi.

เสด็จในกรมหลวงชุมพร ฯ กับงานนิพนธ์
PRINCE OF CHUMPHON AND HIS COMPOSITIONS.

เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ทรงมีนสิ ยั ในทางดนตรี โดยเฉพาะในเรือ่ งการแต่งเพลงทรงพระ


ปรีชาสามารถเป็นเยี่ยม ทรงนิพนธ์บทเพลงไว้หลายเพลง บทเพลงเหล่านั้นมีสาระส�ำคัญ
ในการปลุกใจให้เข้มแข็งในยามทุกข์ส่งเสริมก�ำลังใจให้รักชาติรักเกียรติ รักวินัยในยามสงบ และ
ให้เกิดมุมานะกล้าตาย ไม่เสียดายชีวติ ในยามศึกบทเพลงเหล่านัน้ บรรดาทหารเรือทัง้ หลายได้รบั
ไว้เป็นพระอนุสรณ์ แห่งพระองค์ทา่ นเกีย่ วกับบทเพลงพระนิพนธ์นนั้ นาวาตรีหลวงรักษาราชทรัพย์
(รักษ์ เอกะวิภาค) เขียนจดหมายไว้ดังนี้
Prince of Chumphon was very fond of music especially on composing
songs. He had composed many songs to provide moral support, promote
patriotism during peacetime, courage and sacrifice during wartime. Many of his
songs have been used through this day and they are great memorials of his
musical ability. Lieutenant Commander LuangRaksaRachchasap (RakAkavipak) wrote
about Prince of Chumphon’s compositions as follow.

12 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
“... เรือ่ งเพลงทหารเรือทีเ่ จ้าพ่อทรงแต่ง เมือ่ ทหารสวดมนต์ไหว้พระแล้วให้ทหารร้องเพลง
เพื่อปลุกใจเวลาที่ผมประจ�ำอยู่กับเจ้าพ่อเมื่อยกกองทหารไปตั้งที่บางพระ ทหารกรุงเทพฯ กับ
ทหารหัวเมืองร้องเพลงผิด ๆ ถูก ๆ ไม่เป็นระเบียบเจ้าพ่อจึงสัง่ ให้เรือเอกหลวงอาจณรงค์เลขานุการ
ของเจ้าพ่อเขียนตามค�ำบอกเสร็จแล้วใช้พิมพ์ดีดพิมพ์ แล้วลงพระนาม “อาภากร”ให้เอาไปปิดไว้
ทีก่ องบัญชาการให้หวั หน้ากองทหารต่างๆ มาคัดเอาไปสอนทหารผมได้คดั มา ๑ ฉบับด้วยเหมือน
กันและได้จดลงในสมุดใหญ่เก็บรักษาไว้ทบี่ า้ นมาจนถึงบัดนีเ้ ท่าทีผ่ มได้ยนิ ร้องกันเวลานี้ มีแต่เพลง
๑. ฮะเบสสมอพลัน ออกสันดอนไป ...
๒. เกิดมาทั้งที มันก็มีอยู่แต่ทุกข์ภัย ...
๓. เกิดมาทั้งทีมันก็ดีอยู่แต่เมื่อเป็น ...
“The Royal Father wanted sailors to sing his songs after the pray when they
were stationed at Bang Phra, Bangkok, but those sailors couldn’t sing them
correctly. He asked Lieutenant LuangArdnarong, his personal secretary, to typed
all the lyrics of those songs on papers. He also put his signature “Abhakara” on
those papers and placed them at headquarter. All the officers were ordered to
copy those lyrics and taught their subordinates to sing those songs. I also made
a copy for myself and kept it at my house until now. From what I hear nowadays,
some of the remaining are…..
1.ฮะเบสสมอพลัน ออกสันดอนไป ... Extract the anchor and leave the shore
2.เกิดมาทั้งที มันก็มีอยู่แต่ทุกข์ภัย … In life, Good and Bad thing always happen
3.เกิดมาทั้งทีมันก็ดีอยู่แต่เมื่อเป็น ... We can only do good deeds while we are alive

หมอพรของชาวบ้าน
DOCTOR PHON FOR THE LOCALS

เสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ ได้ทรงออกจาก
ประจ�ำการชั่วระยะเวลาหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๕๔
และได้ทรงศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณจากต�ำรา
ไทยทรงเขียนต�ำราสมุดข่อยด้วยฝีพระหัตถ์ของ
พระองค์เอง ซึ่งกล่าวกันว่าปัจจุบันสมุดข่อยต�ำรา
ยานี้ได้เคยเก็บรักษาอยู่ ณ ศาลกรมหลวงชุมพรฯ
นางเลิง้ และพิพธิ ภัณฑ์ทหารเรือ ต.ปากน�ำ้ อ.เมือง
จ.สมุทรปราการ เป็นสมุดข่อยปิดทองทีส่ วยงามมาก

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 13


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
มีภาพพระพุทธเจ้านัง่ ขัดสมาธิ เขียนด้วยหมึกสีดา้ นซ้ายและด้านขวาเป็นภาพฤาษี ๒ องค์นงั่ พนม
มือ ถัดมาเป็นรูปพระอาทิตย์ทรงราชรถ และมีอกั ษรเขียนเป็นภาษาบาลีวา่ “กยิรา เจ กยิราเถน”ํ
ขอบสมุดเขียนเป็นลายไทยสีสวยงาม หน้าต้นของสมุดต�ำรายานี้มีข้อความว่า”พระคัมภีร์
อติสาระวรรค โบราณกรรม และปัจจุบันกรรม จบบริบูรณ์ ของกรมหมื่นชุมพร เขตรอุดมศักดิ์
ทรงค้นคว้าตรวจหาตามคัมภีร์เก่าเกือบจะสูญสิ้นอยู่แล้วจนส�ำเร็จในปี พ.ศ.๒๔๕๘ “...”

Prince of Chumphon left


his official duty as a navy officer
in 2454 B.E. and started learning
Thai traditional medicine from
various documents. He also
recorded the knowledge that he
had learned on Khoi books by

himself. It is believed that the books have been kept at his shrine in Nang Leang
and Naval Museum in Paknam, Samutprakarn. There are beautiful gilded books
with the image of Buddha sitting in cross legged position in the middle of the
cover. On both sides are images of two hermits with an image of Sun God on his
chariot with Bali words “Kayiracekayirathenam” on the cover. At the beginning of
the book, Prince of Chumphon wrote “This book is a complete record of ancient
and modern medicines written by KrommaMuenChunphonKhetUdomsak. They
are gathered from ancient textbooks which are almost extinct and was completed
in 2458 B.E.”.
เมื่อทรงลาออกจากราชนาวีแล้ว ทรงอยู่ว่าง ๆ เป็นที่ร�ำคาญพระทัย จึงทรงศึกษา
วิชาแพทย์แผนโบราณ จนช�ำนิชำ� นาญ และรับรักษาโรคให้ประชาชนพลเมืองทัว่ ไปโดยไม่คดิ มูลค่า
จนเป็นที่เลื่องลือว่ามีหมออภินิหารรักษาความเจ็บไข้ได้ป่วย ได้อย่างหายเป็นปลิดทิ้งทรงเห็น
ว่าการช่วยชีวติ คน เป็นบุญกุศลแก่พระองค์จงึ ทรงตัง้ หน้าเล่าเรียนกับพระยาพิษณุฯ หัวหน้าหมอ
หลวงแห่งพระราชส�ำนักซึ่งหัวหน้าฝ่ายยาไทยของประเทศไทยผู้นี้ ก็ได้พยายามถ่ายเทความรู้ให้
พระองค์ได้พยายามค้นคว้าและปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา เช่น เอาสัตว์ปีกจ�ำพวก นก เป็ดไก่ ที่ตาย
แล้วใส่ขวดโหลดองไว้ ที่เป็น ๆ ก็จับเลี้ยงไว้ในกรงอีกมากมายไว้ที่วังทรงหมกมุ่นอยู่กับการ
แยกธาตุ และทดลองทัง้ วัน ถึงแม้วา่ จะทรงช�ำนิชำ� นาญในกิจการแพทย์ฝา่ ยแผนโบราณแล้วก็ตาม
แต่จะไม่ทรงยินยอมรักษาใครเป็นอันขาดจนกว่าจะได้รบั การทดลองแม่นย�ำแล้วว่าเป็นยาทีร่ กั ษา
โรคชนิดพื้น ๆ ให้หายขาดได้อย่างแน่นอน โดยทรงทดลองให้สัตว์เล็ก ๆ กินก่อน เมื่อสัตว์เล็ก
กินหาย ก็ทดลองสัตว์โตเมื่อสัตว์โตหาย จึงทดลองกับคน และประกาศอย่างเปิดเผยว่า จะทรง
สามารถรักษาโรคนั้นโรคนี้ให้หายขาดได้

14 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
After his first resignation
from the navy, he didn’t want to
waste his time and decided to
learn traditional medicine until
he became an expert on the subject.
He then used his knowledge to
provide free treatments
to locals. Prince of Chumphon realized that his knowledge could help many poor
and needy people so he decided to advance his knowledge further by learning
from Phraya Phitsanu who was the royal physician of the royal palace at that time.
Prince of Chumphon never used his medicines with patients before he was sure
that it was proven. He always tested the medicines with animals until he was
completely satisfied with the result first.
เมื่อผู้คนพากันรู้ว่า เจ้าพ่อรักษาโรคได้ฉมังนักจึงท�ำให้ร�่ำลือและแตกตื่นกันทั้งบ้าน
ทั้งเมือง ไม่ทรงให้ใครเรียกพระองค์ว่าเสด็จในกรมหลวงชุมพรฯ หรือยกย่อง เป็นเจ้านาย แต่ทรง
เรียกพระองค์เองว่า “หมอพร” เมือ่ มีประชาชนมาหาพระองค์ให้รกั ษา ก็ทรงต้อนรับด้วยไมตรีจติ
และรักษาให้เป็นการฟรี ไม่คดิ ค่ารักษาแต่ประการใด นอกจากจะเชิญไปรักษาตามบ้านซึง่ เจ้าของ
ไข้จะต้องหารถราให้พระองค์เสด็จไป และน�ำเสด็จกลับโดยมากเป็นรถม้าเท่านั้น
After many people heard that “the Royal Father” could cure many illnesses.
His reputation was being celebrated throughout the area. He didn’t want people
to call him “Prince of Chumphon” and preferred to be called “Doctor Phon”
instead. He took care of all the people who came to see him with kindness and
never asked for any money in return.
เมื่อกิตติศัพท์ร�่ำลือกันว่า หมอพรรักษาโรคได้ฉมังนักและไม่คิดมูลค่าเป็นเงินทองด้วย
ประชาชนก็พาเลื่อมใสทั้งกรุงเทพฯ และระบือลือลั่นไปทั้งกรุง เป็นเหตุให้ความนิยมพระองค์ได้
กว้างขวางและกิตติศพั ท์นกี้ ไ็ ปถึงพระกรรณในหลวงร.๖ ซึง่ ท�ำให้ทรงพิศวงไม่ใช่นอ้ ยเหมือนกับว่า
อนุชาของพระองค์เป็นผูท้ แี่ ปลกประหลาดอย่างยิง่ ทีเดียว ทัง้ ๆ ทีย่ งั หนุม่ แน่น ทหารก็รกั ใคร่และ
เรียกเป็น “เจ้าพ่อ” เดี๋ยวนี้ประชาชนทั้งเมืองเลื่องลือกันว่าเป็นผู้วิเศษกันอีก ที่ส�ำคัญคือไม่คิด
เงินคิดทองผู้ไปรักษาจึงท�ำให้สภาวะของวังพระองค์ท่าน กลายเป็นโรงพยาบาลเล็ก ๆ ที่ต้อนรับ
ผู้คนอย่างแน่นขนัดขึ้นมาทุกวันจะมีคนไปที่วังแน่นขนัดและทรงต้อนรับด้วยดีทุกคน เมื่อไปถึงก็
พากันกราบกรานที่พระบาท ขอให้ “หมอพร”ช่วยชุบชีวิตคนเจ็บคนป่วย ก็ทรงเต็มพระทัยรักษา
ให้จนหายโดยทั่วกัน

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 15


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
The name “Doctor Phon” was being mentioned throughout Bangkok that
there is a doctor who can cure all diseases and that people didn’t have to pay
any money to receive a treatment. When King Mongkut heard about his, he was
very surprised and thought that his brother was so unique. The king recalled that
Prince of Chumphon was very well loved and respected by all his subordinates
while he was a navy officer. Now Prince of Chumphon is known as great doctor
who provide free medical treatments to people. Because of this, his royal resident
was always busy with people coming in and out to receive treatments from him
For all those people who came to ask for “Doctor Phon” to help them,
Prince of Chumphon never refused and always treated each one of them with
kindness.

พระชายา
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงขอหม่อมเจ้าทิพยสัมพันธ์ พระธิดาใน
สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าพระภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระราชทานให้เป็นพระชายา ได้ทรง
กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน�้ำพระมหาสังข์ ที่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ในวันที่
๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๔๓
หม่อมในเสด็จในกรมหลวงชุมพร ฯ
หม่อมลินจง (บุนนาค)
หม่อมกิม อาภากร ณ อยุธยา
หม่อมแฉล้มอาภากร ณ อยุธยา
หม่อมเมี้ยนอาภากร ณ อยุธยา
หม่อมช้อย อาภากร ณ อยุธยา
หม่อมแจ่ม อาภากร ณ อยุธยา
หม่อมเพื่อน
หม่อมฮุ้น
หม่อมเดซี

PRINCE OF CHUMPHON’S PRINCIPLE WIFE

King Chulachomklao had arranged for Mom Chao Tippaya Sampan, who
was the daughter of His Roral Brother Chao FaPhanupantuwongWorradech, to be
the principle wife of Prince of Chumphon. The royal wedding was held at
ChakriMahaprasad Hall at the GrandPalace on the 28th of February 2443 B.E..

16 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
Prince of Chumphon’s concubines
Mom Linjong (Boonnak)
Mom Gim (AbhakaranaAyudhya)
Mom Chalam (AbhakaranaAyudhya)
Mom Mean (AbhakaranaAyudhya)
Mom Choi (AbhakaranaAyudhya)
Mom Jam (AbhakaranaAyudhya)
Mom Pean
Mom Hoon
Mom Daisy

พระโอรส และพระธิดา ในเสด็จในกรมหลวงชุมพร ฯ


๑. หม่อมเจ้า เกียรติ อาภากร (หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธุ์ เป็นพระมารดา) ประสูติ และ
สิ้นชีพิตักษัยในวันเดียวกัน ประมาณปี พ.ศ.๒๔๔๖
๒. หม่อมเจ้าหญิง จารุพตั รา อาภากร (หม่อมกิม เป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๒๙ พฤษภาคม
พ.ศ.๒๔๔๗ สิ้นชีพิตักษัย ๓๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๑๖
๓. หม่อมเจ้าหญิง ศิรมิ าบังอร อาภากร (หม่อมแฉล้ม เป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๖ มิถนุ ายน
พ.ศ.๒๔๔๗ สิ้นชีพิตักษัย ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๘
๔. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทพิ อาภา (หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธุ์ เป็น พระมารดา)
ประสูติ ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๔๗ สิ้นพระชนม์ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๙
๕. เรือเอก หม่อมเจ้าสมรบ�ำเทอง อาภากร(หม่อม
เมี้ยนเป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.
๒๔๔๘ สิ้นชีพิตักษัย ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๗๓
๖. หม่อมเจ้าหญิงเริงจิตรแจรง อาภากร (หม่อมกิม
เป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๔๘
สิ้นชีพิตักษัย ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๖
๗. พันเอก หม่อมเจ้าด�ำแคงฤทธิ์ อาภากร (หม่อม
แฉล้มเป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๔๘
สิ้นชีพิตักษัย ๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๕
๘. พลเรือเอก หม่อมเจ้าครรชิตพล อาภากร(หม่อม
ช้อยเป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๙
สิ้นชีพิตักษัย ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๙ Mom Chao Samornbumtheng Abhakara

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 17


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
๙. พลอากาศโท หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร (หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธุ์เป็นพระมารดา)
ประสูติ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๔๙ สิ้นชีพิตักษัย ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๐๘
๑๐. หม่อมเจ้าสุคนธ์จรุง อาภากร (หม่อมกิม เป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๓ ธันวาคม
พ.ศ.๒๔๔๙ สิ้นชีพิตักษัย ๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๕๐
๑๑. หม่อมเจ้ารุจยากร อาภากร (หม่อมแจ่ม เป็นหม่อมมารดา) ประสูติ ๑๙ เมษายน
พ.ศ.๒๔๕๙ สิ้นชีพิตักษัย ๓๐ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๙

PRINCIPLE OF CHUMPHON’S SONS AND DAUGTHERS

1. Mom Chao KietAbhakara (Mom Chao Tippaya Sampan was his mother)
born and died on the same date in the year 2446 B.E.
2. Mom Chao Ying JarupattraAbhakara (Mom Gim was her mother) born
on the 29th of May 2447 B.E. and died on the 21st of May 2516 B.E.
3. Mom Chao Ying irimaBangornAbhakara (Mom Chalam was her mother)
born on the 6th of June 2447 B.E. and died on the 7th of February 2518 B.E.
4. Phra Chao BorommawongThoePhraOng Chao AtitThipapa (Mom Chao
Tippaya Sampan was his mother) born on the 24th of July 2447 B.E. and died on
the 17th of May 2489 B.E.
5. Lieutenant Mom Chao SamornbumthengAbhakara (Mom Mean was her
mother) born on the 17th of May 2448 B.E. and died on the 19th of May 2473 B.E.
6. Mom Chao Ying RuengJitjarengAbhakara (Mom Gim was her mother)
born on the 7th of June 2448 B.E. and died on the 19th of August 2536 B.E.
7. Colonel Mom Chao DumkangrithAbhakara (Mom Chalam was his mother)
born on the 24th of October 2448 B.E. and died on the 9th of September 2505 B.E.
8. Admiral Mom Chao KanchitponAbhakara (Mom Choi was his mother) born
on the 22th of May 2449 B.E. and died on the 20th of February 2509 B.E.
9. Air Marshal Mom Chao RangsiyakhonAbhakara (Mom Chao Tippaya
Sampan was his mother) born on the 11th of August 2449 B.E. and died on the 30th
of December 2508 B.E.

18 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
10. Mom Chao SukhonjarungAbhakara (Mom Gim was his mother) born on
the 3 of December 2449 B.E. and died on the 2nd of March 2450 B.E.
rd

11. Mom Chao RujayakhonAbhakara (Mom Jam was his mother) born on
the 19th of April 24mber 2459 B.E. and died on the 30th of October 2549 B.E.

Phra Chao BorommawongThoePhraOng Chao AtitThipapa


Mom Chao RangsiyakhonAbhakara

พระอิสริยศักดิ์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวง


ชุมพรเขตอุดมศักดิ์
๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๓๙ นักเรียนนายเรือ
๒๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๔๓ นายเรือโท เทียบเท่ายศนาวาตรีในปัจจุบัน
๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๔ นายเรือเอก เทียบเท่ายศนาวาเอกในปัจจุบัน
๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๔๗ นายพลเรือตรี
๑๐ พฤศจิกายนพ.ศ.๒๔๔๗ กรมหมื่นชุมพรเขตร์อุดมศักดิ์ ( เขตร์ มี ร.การันต์ )
๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๐ นายพลเรือโท
๒๓ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๓ นายพลเรือเอก
๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๓ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (เขต ไม่มี ร.การันต์)
๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๘ เฉลิมพระนามเมือ่ สิน้ พระชนม์แล้ว เป็นพลเรือเอก พระเจ้า
บรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 19


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
All the titles given to Admiral Phra Chao BorommawongThoe Phra Ong Chao
Abhakara Kiartivongse, Kromma Luang Chumphon Khet Udom Sak
5th of October 2439 B.E. Naval Cadet
23rd of June 2443 B.E. Sub Lieutenant (Equivalent to Lieutenant
Commander today)
3rd of May 2444 B.E. Lieutenant (Equivalent to Captain today)
5th of May 2447 B.E. Rear Admiral
10 of November 2447 B.E. KrommaMuenChumphonKhetrUdomSak(with r)
th

30th December 2460 B.E. Vice Admiral


23rd of April 2463 B.E. Admiral
11th of November 2463B.E. Kromma Luang Chumphon Khet Udom
Sak (without r)
10 of July 2478 B.E.
th
The royal title given after his death as
Admiral Phra Chao Borommawong Thoe
PhraOng Chao Abhakara Kiartivongse,
Kromma Luang Chumphon Khet Udom Sak

ประวัติการรับราชการ ต�ำแหน่งต่าง ๆ ที่ได้ท�ำการในราชการทหารเรือ


ทรงรับราชการในต�ำแหน่งต่าง ๆ ของกองทัพเรือ ตามหลักฐานที่ปรากฏ
แฟลคเลฟเตอร์แนล (นายธง) พ.ศ. ๒๔๔๓
ผู้บังคับการเรือ ร.ล.มูรธาวสิตสวัสดิ์ พ.ศ. ๒๔๔๓
รองผู้บัญชาการกรมทหารเรือ อีกต�ำแหน่งหนึ่ง ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๔
ท�ำการในต�ำแหน่ง ผู้บัญชาการกรมเรือกลและป้อม ๒ มีนาคม พ.ศ.๒๔๔๖
ตั้งต�ำแหน่งรองผู้บัญชาการทหารเรือขึ้น ๑ มีนาคม พ.ศ.๒๔๔๘
(ยกฐานะกรมขึ้นเป็นกระทรวงทหารเรือ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๗ หน้า ๒๒๔๓ วันที่ ๒๕ ธ.ค. ร.ศ.๑๒๙)
รองผู้บัญชาการทหารเรือ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๔๘
ผู้ช่วยเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ๒๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๓
เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ อีกต�ำแหน่งหนึ่ง ๑๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๕๔
ตั้งกรมทหารเรือขึ้นเป็นกระทรวงทหารเรือ จนถึง ๑๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๕๔
เสด็จออกประจ�ำการชั่วระยะหนึ่ง ๑๔ เมษายน พ.ศ.๒๔๕๔
จเรทหารเรือ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๐
เสนาธิการทหารเรือ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๑
เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ ๒๖ กันยายน พ.ศ.๒๔๖๑

20 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
รักษาการต�ำแหน่ง เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๕
ท�ำการแทน เจ้ากรมยุทธโยธา ๑๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๕
เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖
สิ้นพระชนม์ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖

HIS OFFICIAL RECORD WHILE PERFORMING HIS DUTY AS A NAVY


OFFICER AS FOLLOW

Aide-de-camp 2443 B.E.


Commanding Officer of HTMS Mooratha Wasitsawad 2443 B.E.
Deputy Commander of the Royal Navy of Siam
(adjunct position) 16th of September 2444 B.E.
Acting as the Commander of Engine Fleet and Fortress 2nd of March 2446 B.E.
Esrablished a position of Deputy Comander
of the Royal Navy of Siam 1st of March 2448 B.E.
(Changed to Ministry of the Navy, 25th December 129 R.E.)
Government Gazette issue 27, page 2243,
Deputy Commander of the Royal Navy of Siam 25th of October 2448B.E.
Deputy Minister of the Royal Navy of Siam 23rd December 2453 B.E.
Director of the Naval Education Department
(adjunct position) 14th of April 2454 B.E.
Change from the Royal Navy of Siam 14th of April 2454 B.E.
to Ministry of the Navy until
Left his official duty 14th of April 2454 B.E.

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 21


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
Naval Inspector General 1st August 2460 B.E.
Secretary of the Navy 15th of January 2461 B.E.
Director of the Naval Education Department 26th of September 2461 B.E.
Acting Minister of the Navy 13th of October 2465 B.E.
Acting Director of the Naval Engineering Department 11th of December 2465 B.E.
Minister of the Navy 1st of April 2466 B.E.
Passes away 19th of May 2466

ทรงได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เป็นบ�ำเหน็จความชอบ
ดังต่อไปนี้
ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ๕ มกราคม พ.ศ.๒๔๓๕
เหรียญรัชฎาภิเษกมาลา พ.ศ.๒๔๓๖
ปฐมจุลจอมเกล้า ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๐
เหรียญดุษฎีมาลาเข็มศิลปวิทยา ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๔๓
มหาจักรีบรมราชวงศ์ ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๓
ประถมจุลจอมเกล้าวิเศษ ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๓
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๕ ชั้นที่ ๒ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๔๔
มงกุฎสยามชั้น ๑ มหาสุราภรณ์ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๔๗
เข็มเงิน เสด็จประพาสยุโรป ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๐
เข็มพระชนมายุสมมงคลชั้น ๑ ทองค�ำลงยา ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๕๒
เหรียญบุษปมาลากาไหล่ทอง ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๕๒
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๖ ชั้นที่ ๒ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๔๕๓
เข็มข้าหลวงเดิม ๑๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๔
มหาโยธินรามาธิบดี ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๑

22 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
ประถมจุลจอมเกล้าวิเศษ ๒๑ กันยายน พ.ศ.๒๔๔๓
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๕ ชั้นที่ ๒ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๔๔
มงกุฎสยามชั้น ๑ มหาสุราภรณ์ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๔๗
เข็มเงิน เสด็จประพาสยุโรป ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๐
เข็มพระชนมายุสมมงคลชั้น ๑ ทองค�ำลงยา ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๕๒
เหรียญบุษปมาลากาไหล่ทอง ๑๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๕๒
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ ๖ ชั้นที่ ๒ ๓๐ มกราคม พ.ศ.๒๔๕๓
เข็มข้าหลวงเดิม ๑๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๔
มหาโยธินรามาธิบดี ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๑
ประถมมาภรณ์ช้างเผือกชั้นที่ ๑ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๑
เหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลที่ ๖ ชั้น ๑ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๖๔
ตรารัตนวราภรณ์ ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๔
เหรียญจักรมาลา ๑๓ มีนาคม พ.ศ.๒๔๖๕
ประถมจุลจอมเกล้าวิเศษ
เหรียญราชินี นพรัตน์ราชวราภรณ์ มหาจักรีบรมราชวงศ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
ตราเซนต์มอรีส และเซนต์ลาซาร์ ชั้นที่ ๑ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๕๐
“ดันเนบรอคชั้นที่ ๑” จากพระเจ้ากรุงเดนมาร์ก ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๕
PRINCE OF CHUMPHON’S ROYAL DECORATIONS ARE LISTED
AS FOLLOW

Knight Grand Commander 5th of January 2435 B.E.


(Second Class, higher grade) of the Most Illustrious Order of Chula ChomKlao
The Silver Jubilee Commemorative Medal ofB.E. 2436
Knight Grand Cross (First Class) of the Most Illustrious 21st of September 2440 B.E
Order of Chula ChomKlao
The Dushdi Mala 23rd of July 2443 B.E.
Knight of the Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri
21st of September 2443 B.E.
Knight Grand Cordon (Special Class) of the Most Illustrious
21st of September 2443 B.E.

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 23


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
Order of Chula ChomKlao
The Royal Cypher Medals Rama V (Second Class) 2nd of February 2444 B.E.
The first class “MahaSurabhorn” 17th of January 2447 B.E.
(“Grand Cordon” of our most honorable order of the Crown of Siam)
Silver Pin of the Royal State Visits to Europe 18th of November 2450 B.E.
Rama V silver pin commemorative of 16th of February 2452 B.E.
“Rama V age equal of Rama II (first Class)
Pushpa Mala Medal 17th of February 2452 B.E.
King Vajiravudh’s Royal Cypher Medal 30th of January 2453 B.E.
(Rama VI) (Second Class)
Governor Needle 14th of August 2454 B.E.
MahaYodhin” 23rd of July 2461 B.E.
(Knight Commander) of the Honorable Order of Rama
Knight Grand Cross 30th of December 2461 B.E.
(First Class) of the Most Exalted Order of the White Elephant
The Royal Cypher Medals Rama VI (First Class) 10th of November 2464 B.E.
The RatanaVarabhorn order of Merit 30th of December 2464 B.E.
The Chakra Mala Medal 13th of March 2465 B.E.
Knight Grand Cordon (Special Class) of the Most Illustrious Order of Chula ChomKlao
The Queen’s Medal Nopparat Ratchawaraporn Chakri Dynastry

ROYAL DECORATIONS RECEIVED FROM FOREIGN COUNTRIES

Order of Saints Maurice and Lazarus (First Class) 17th of June 2450 B.E.
“Order of Dannebrog (First Class)”
from King of Denmark 10th of July 2465 B.E.

24 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
แม้ว่าดวงพระวิญญาณ ของพระองค์จะทรงสถิตย์อยู่ ณ แดนสุขาวดี
บนสรวงสวรรค์แล้วพระบารมีของพระองค์ ยังคงแผ่ไพศาลไปทั่วทุกสารทิศ
คอยปกป้องคุม้ ครอง พสกนิกรผูจ้ งรักภักดี ทีเ่ คารพเทิดทูนพระองค์ โดยเฉพาะทหาร
เรือทุกคน ซึ่งเปรียบประดุจลูกหลานของพระองค์ และดลบันดาล ให้ประสบความ
ส�ำเร็จ ในสิง่ อันพึงปรารถนาอยูเ่ ป็นนิจอนุสรณ์ทปี่ รากฏอยูอ่ ย่างมากมาย ทัว่ ประเทศ
มีทงั้ พระอนุสาวรีย์ พระรูป ศาลกรมหลวงชุมพร พระฉายาลักษณ์ พระสาทิศลักษณ์
เหรียญที่ระลึก ตลอดจนพระนามที่ปรากฏเป็นชื่อของสถานที่ต่าง ๆ เป็นประจักษ์
พยานได้ เป็นอย่างดี พระองค์ทรงเป็นปูชนียบุคคลของทหารเรือ ชัว่ นิรนั ดร ดัง่ เพลง
ปลุกใจอันไพเราะ และมีความหมายลึกซึง้ ทีท่ รงนิพนธ์ ให้ทหารเรือทุกคน ได้ขบั ร้อง
สืบต่อกันมาจนทุกวันนี้
Even thought his soul and spirit has already gone to higher
places, his greatness is still being recognized throughout the land. His
goodness is still here to protect those who follow and respect his
works and amenities especially by all the navy personnel.
Many memorial objects around the country such as his
monuments, statues, shrines, portraits, memorials coins, places that
named after him are all the evidences that Prince of Chumphon will
forever be loved and treasured by all the navy personnel. Just like
the words from a song that Prince of Chumphon had composed for
the navy which says
“...ส่วนตัวเราตายไว้ยืน ไว้ยืนแต่ช่ือ ให้โลกทั้งหลายเขาลือ ว่าตัวเราคือ
ทหารเรือไทย...”
“…. After we die let people remember our name …. Let them
know that we are Thai sailor”.

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 25


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
(เสด็จในกรมหลวงชุมพร ฯ)
Admiral Prince AbhakaraKiartivongse, KromLuangChumphonKhetUdomSak
(Prince of Chumphon)

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่ งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”

26 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
บทที่สอนให้พระโอรสท่อง
The sentences that Prince of
Chumphon used to teach his sons

ท�ำงานท�ำจริงเจ้า จงท�ำ Work while you work


ระหว่างเล่นควรจ�ำ เล่นแท้ Play while you play
หนทางเช่นนี้แล เป็นสุข That is the way
ก่อให้เกิดรื่นเริง นับมื้อ ทวีคูณ To be cheerful and gay

บทสอนทั่วไป
His general teaching
ทุกสิ่งที่ท�ำนั้น ควรตรอง All That you do
โดยแน่สุดท�ำนอง ที่รู้ Do with your might
สิ่งใดท�ำเป็นลอง ครึ่ง ๆ Things done by half
สิ่งนั้นไม่ควรกู้ ก่อให้เป็นจริง Are never done right

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 27


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
พระนิพนธ์ของเสด็จในกรมหลวงชุมพร ฯ
Composed by Prince of Chumphon

บทเพลงพระนิพนธ์ พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

เพลง ดอกประดู่
หะเบสสมอพลัน ออกสันดอนไป ลัดไปเกาะสีชัง จนกระทั่งกระโจมไฟ
เที่ยวหาข้าศึก มิได้นึกจะกลับมาใน ถึงตายตายไป ตายให้แก่ชาติของเรา
พวกเราดูรู้ เจ็บแล้วต้องจ�ำ ลับดาบไว้พลาง ช้างบนยอดกาฟฟ์จะน�ำ
สยามเป็นชาติของเรา ธงทุกเสาชักขึ้นทุกล�ำ ถึงเรือจะจมในน�้ำ ธงไม่ต�่ำลงมา
เกิดมาเป็นไทย ใจร่วมกันแหละดี รักเหมือนพี่เหมือนน้อง ช่วยกันป้องปฐพี
สยามเป็นชาติของเรา อย่าให้เขามาย�่ำมายี ถึงตายตายดี ตายในหน้าที่ของเรา
พวกเราทุกล�ำ จ�ำเช่นดอกประดู่ วันไหนวันดี บานคลี่พร้อมอยู่
วันไหนร่วงโรย ดอกโปรยตกพรู ทหารเรือเราจงดู ตายเป็นหมู่เพื่อชาติไทย

เพลงเดินหน้า
เกิดมาทั้งทีมันก็ดีอยู่แต่เมื่อเป็น อีกสามร้อยปีก็ไม่มี ใครจะเห็น ใครเขาจะนึก ใครเขาจะฝัน
เขาก็ลมื กัน เหมือนตัวเล็น นานไปเขาก็ลมื ใครหรือจะยืมชีวติ ให้เป็นใครจะเห็น ก็เห็นแต่นำ�้ ใจ จ�ำ
ได้แต่ชื่อ ว่าตัวเราคือทหารเรือไทยตายแต่ตัว ชื่อยังฟุ้ง ทั่วทั้งกรุง ก็ไม่ลืมได้
* ทั้งเซาธ์ ทั้งเวสท์ ทั้งนอร์ธ ทั้งอีสท์ จะคิดถึงตัวเราใย จะต้องตายทุกคนไป
ส่วนตัวเราตาย ไว้ยืน ไว้ยืนแต่ชื่อ ให้โลกทั้งหลายเขาลือ ว่าตัวเราคือ ทหารเรือไทย
เกิดมาทั้งทีมันก็มีอยู่แต่ทุกข์ภัย วันนี้เคราะห์ดี รุ่งขึ้นพรุ่งนี้ จะเป็นอย่างไร ดีเคยพบ ชั่วเคย
เห็น จนเคยเป็น มีเคยได้ อนาคตเราไม่รู้ ถึงไม่รู้ ก็ต้องเดินไป
* จะกลัวไปใย มันก็ล่วงไปตามเวลา ไม่ตายวันนี้ ก็คงไปซี้ เอาวันข้างหน้า
วันนี้ยอ พรุ่งนี้ด่า ไม่ใช่ขี้ข้า ปากของใคร ทั้งเซาธ์ ทั้งเวสท์ ทั้งนอร์ธ ทั้งอีสท์ จะคิดถึงตัวเรา
ใย จะต้องตายทุกคนไป ส่วนตัวเราตาย ไว้ยืน ไว้ยืนแต่ชื่อ ให้โลกทั้งหลายเขาลือ ว่าตัวเราคือ
ทหารเรือไทย
ดาบของชาติ
“ดาบของชาติเล่มนี้ คือชีวิตเรา ถึงจะคมอยู่ดี ลับไว้
ส�ำหรับสู้ไพรี ให้ชาติเรานา ให้มิตรให้เมียให้ลูก และชาติไทย”

28 “กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง”


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
ตราประจ�ำพระองค์
Coat of Arms of the Chakri Dynasty

ผู้จัดท�ำ
ประธาน : พลเรือตรี กฤษฎา รัตนสุภา
คณะกรรมการ : นาวาเอก อิทธิพัทธ์ กวินเฟื่องฟูกุล
: นาวาเอก สุทธิศักดิ์ บุตรนาค
: นาวาเอก บุญรักษ์ โพธิ์แก้ว
: นาวาเอก พิเชษฐ ธีระเดชะชาติ
: นาวาเอก ธรรมรัตน์ เทียบเทียม
: นาวาโท ธวัช สุวรรณรัตน์
: นาวาโท พิษณุ อังสุวัฒนะ
: นาวาโท วันชนะ รัตนฉายา
: นาวาโท เอกชัย แกล้วกล้า
: นาวาโท สรณัตถ์ วรวิทย์สัตถญาณ
: นาวาโท รัฐพล ขะตะเจริญ
: นาวาตรี ธีรพงษ์ เมิดไธสง
รวบรวมพระประวัติ ฯ ภาษาไทย : นาวาเอก ไชยา เตี้ยมฉายพันธ์
แปลเป็นภาษาอังกฤษ : นาวาเอก ยศภาค โชติกพงศ์
ตรวจพิสูจน์อักษร : นาวาโท จักรี บุญสองชั้น
ออกแบบและจัดพิมพ์ : นาวาตรี นพัฐกรณ์ คงธนเกียรติกุล

“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่งไร ควรทำ�จริง” 29


“KAYIRA CE KAYIRA THENAM - WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”
ท�ำงานท�ำจริงเจ้า จงท�ำ
ระหว่างเล่นควรจ�ำ เล่นแท้
หนทางเช่นนี้น�ำ เป็นสุข
ก่อให้เกิดรื่นเริงแม้ นับถือทวีคูณ
ทุกสิ่งท�ำเช่นนั้น ควรตรอง
โดยแน่สุดท�ำนอง ที่รู้
สิ่งใดท�ำเป็นลอง ครึ่งครึ่ง
สิ่งนั้นไม่ควรกู้ ก่อให้เป็นจริง

Work While you Work


Play While you Play
That is the Way
To be cheerful and gay
All that you do
Do With your might
Things done by half
Are never done right
“กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะทำ�สิ่ งไร ควรทำ�จริง”
“KAYIRA CE KAYIRA THENAM- WHATEVER YOU DO, DO IT BEST”

You might also like