You are on page 1of 39

@

ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
สารบัญ
หน้ า

1. ข้ อกําหนดทัว่ ไป 1
1.1 ลักษณะงาน 1
1.2 ความรับผิดชอบในการออกแบบและวัสดุ 1

@
1.3 การตรงตามข้อกําหนดของผูผ้ ลิต 1
1.4 ช่วงบํารุ งรักษา 2

นั้น
1.5 การบรรจบกระแสไฟฟ้ า 2

เท่า
1.6 นิยาม 2
1.7 ความรับผิดชอบของผูร้ ับจ้างต่อสาธารณูปโภค 3
2. วัสดุและอุปกรณ์ (Materials and Equipments)
2.1 โคมไฟฟ้ า (Lanterns)
ลวง 4
4
างห
2.2 การเดินสายไฟฟ้ าและอุปกรณ์สวิทซ์ไฟฟ้ า 7
2.3 เสาและกิ่งโคม 7
2.4 เสาสู ง (High Mast Lighting) โดยทัว่ ไปเสาที่สูงตั้งแต่ 20 เมตร ขึ้นไปถือว่าเป็ นเสาสูง 8
รมท

2.5 การป้ องกันการผุกร่ อน 9


3. การก่ อสร้ าง 10
องก

3.1 การขุดและการกลบ 10
3.2 งานคอนกรี ต 10
ิทธิ์ข

3.3 ท่อร้อยสาย (Conduits) ข้อต่อและบ่อพัก (Fittings and Boxes) 10


3.4 บ่อพัก 11
3.5 การทดสอบ 11
ลิขส

4. การวัดปริมาณงาน 12
5. การจ่ ายเงิน 12
6. ข้ อมูลทีต่ ้ องเสนอพร้ อมกับการประกวดราคา 12
@

ภาคผนวก ก ข้ อแนะนําในการติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างสาธารณะของการไฟฟ้านครหลวง ก-1


ภาคผนวก ข ข้ อแนะนําในการติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่ างบนทางหลวง ข-1
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
ข้ อกําหนดและมาตรฐานทัว่ ไปงานติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่ างบนทางหลวง
(General Specification for Street Lighting)

1. ข้ อกําหนดทัว่ ไป
1.1 ลักษณะงาน

@
เป็ นงานประกอบด้วยการออกแบบระบบไฟฟ้ าแสงสว่างบนทางหลวงและจัดหาชุดอุปกรณ์
โคมไฟฟ้ าแสงสว่าง เครื่ องยึดโคมไฟ เสาไฟฟ้ าพร้อมอุปกรณ์ เช่น ฐานเสาไฟฟ้ า สายไฟใต้ดิน

นั้น
อุปกรณ์สวิทซ์ และอุปกรณ์อื่นๆ ที่จาํ เป็ นรวมทั้งการขนส่ ง การเก็บรักษา การประกอบและติดตั้ง
การบรรจบกระแสไฟฟ้ ากับการไฟฟ้ าฯ และการทดสอบคุณภาพ เพื่อให้ได้ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง

เท่า
บนทางหลวงที่ถูกต้องตามแบบและข้อกําหนดฉบับนี้ และข้อกําหนดพิเศษของงานนี้

ลวง
1.2 ความรับผิดชอบในการออกแบบและวัสดุ
ผูร้ ับจ้างจะต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบทั้งหมด ในการออกแบบให้อุปกรณ์ทุกชิ้นทํางานสัมพันธ์
กันและก่ อสร้ างให้เป็ นไปตามสัญญา อุ ปกรณ์ ทุกชิ้ น ต้องออกแบบให้มีความสัมพัน ธ์กันและ
างห
ทํางานร่ วมกันได้ อุปกรณ์ทุกชิ้นจะต้องเป็ นแบบมาตรฐานของผูผ้ ลิตรุ่ นใหม่ที่สุด และรวมถึงรุ่ นที่
มีการปรับปรุ งรู ปแบบและวัสดุ วัสดุทุกอย่างที่ใช้จะต้องมีคุณภาพสู งและเป็ นแบบที่มีคุณภาพมาก
รมท

ที่สุดที่ใช้กนั
วัสดุและอุปกรณ์ที่นาํ มาใช้จะต้องเหมาะสมกับสภาพดินฟ้ าอากาศที่มีฝนตกชุกความชื้นสู ง
องก

และแสงแดดแรงกล้า สามารถใช้งานได้ดีและไม่มีการขัดข้อง ที่อุณหภูมิถึง 50 องศาเซลเซี ยส เป็ น


ระยะเวลานาน
วัสดุและอุปกรณ์ที่นาํ มาใช้ประกอบและติดตั้ง จะต้องไม่มีการชํารุ ดและเสี ยหาย และได้
ิทธิ์ข

มาตรฐานตรงตามข้อแนะนําของการไฟฟ้ านครหลวงหรื อการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคแล้วแต่กรณี


(ข้อแนะนําของการไฟฟ้ านครหลวงแสดงไว้ในภาคผนวก ก.)
ลิขส

1.3 การตรงตามข้ อกําหนดของผู้ผลิต


ผูร้ ับจ้างจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าอุปกรณ์และชิ้นส่ วนที่ใช้น้ นั เหมาะสมกับการใช้งาน
และผลิตได้ขนาดพอดี การใช้งานจะต้องอยูใ่ นข้อกําหนดของผูผ้ ลิตหรื อที่ได้ตกลงเป็ นลายลักษณ์
@

อักษรกับผูผ้ ลิต
ผูร้ ั บจ้างจะต้องรั บผิดชอบในการตรวจสอบอุปกรณ์ และชิ้ นส่ วนทุ ก ชิ้ นก่ อนที่ จะนํามา
ประกอบการใช้งาน และให้แน่ ใจว่าถูกต้องตามสัญญา ไม่มีการชํารุ ดและเสี ยหายใดๆ ถ้าพบว่ามี

-1/12-
การชํารุ ดและเสี ยหายหรื อไม่ถูกต้องตามสัญญา ในขณะตรวจสอบหรื อก่อนสิ้ นสุ ดช่วงรับประกัน
การบํารุ งรักษา ผูร้ ับจ้างจะต้องแก้ไขหรื อเปลี่ยนให้ถูกต้องโดยไม่คิดมูลค่างานเพิม่

1.4 ช่ วงบํารุ งรักษา


นับตั้งแต่วนั ที่คณะกรรมการตรวจรับงานติดตั้งไฟฟ้ าแสงสว่างงวดสุ ดท้ายเสร็ จเรี ยบร้อย
แล้วเป็ นต้นไป ผูร้ ับจ้างจะต้องจัดส่ งหลอดไฟฟ้ าสํารองจํานวนร้อยละ 100 ของหลอดไฟฟ้ าที่ใช้
ในโครงการ และจะต้องประกันอุปกรณ์ที่ติดตั้งอื่นๆ มีกาํ หนด 24 เดือน และภายในระยะเวลาแห่ ง

@
การรับประกันนี้ ถ้าปรากฏว่าอุปกรณ์ติดตั้งอื่นๆ เสื่ อมคุณภาพลงผูร้ ับจ้างจะต้องเปลี่ยน ซ่อมแซม
ให้เรี ยบร้อยคืนสู่ สภาพเดิมภายใน 5 วัน นับตั้งแต่เวลาที่ได้รับแจ้งจากกรมทางหลวง ค่าใช้จ่ายใน

นั้น
การดําเนินการทั้งหมดเป็ นของผูร้ ับจ้างแต่เพียงผูเ้ ดียว

เท่า
1.5 การบรรจบกระแสไฟฟ้า
ผูร้ ับจ้างจะต้องเป็ นผูด้ าํ เนิ นการขออนุ ญาตกับการไฟฟ้ าในนามของกรมทางหลวง ในการ

ลวง
บรรจบกระแสไฟฟ้ าเข้ากับระบบไฟแสงสว่างที่ติดตั้ง ให้รวมค่าใช้จ่ายนี้ ในสัญญาด้วย ผูร้ ับจ้าง
จะต้องแน่ ใจว่าอุปกรณ์ จะต้องใช้ได้กบั แรงคลื่นไฟฟ้ าที่ใช้และต้องทนต่อสภาพแรงคลื่นไฟฟ้ า
างห
แปรปรวนตามปกติ และการเพิ่มหรื อลดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าอย่างรวดเร็ ว (Surges)

1.6 นิยาม
รมท

1) โคมไฟฟ้ า (Lantern) หมายถึง ดวงโคมที่ประกอบด้วยหลอดไฟฟ้ าหนึ่ งหลอดหรื อ


มากกว่า บัลลาสต์ อุปกรณ์หกั เหแสง อุปกรณ์สะท้อนแสง อุปกรณ์กระจายแสงของหลอดไฟ
องก

2) ช่วงแขน (Outreach) หมายถึง ระยะทางในแนวราบระหว่างศูนย์กลางของโคมไฟฟ้ า


กับศูนย์กลางของเสาไฟฟ้ า
3) ระยะยื่น (Overhang) หมายถึง ระยะทางในแนวราบที่ศูนย์กลางของโคมไฟฟ้ ายื่นเข้า
ิทธิ์ข

มาในขอบผิวจราจร
4) ความสู ง ของดวงโคม (Mounting Height) หมายถึ ง ระยะห่ า งในแนวดิ่ ง ระหว่ า ง
ลิขส

ศูนย์กลางของดวงโคมกับผิวจราจร
5) ช่ วงดวงโคม (Spacing) หมายถึง ระยะห่ างระหว่างดวงโคมที่ติดตั้งวัดขนานไปตาม
แนวเส้นศูนย์กลางของถนน ในกรณี การจัดรู ปแบบสลับฟั นปลา การวัดระยะจะวัดขนานไปตาม
@

แนวเส้นศูนย์กลางของถนนจากศูนย์กลางของดวงโคม บนด้านหนึ่ งของถนนกับศูนย์กลางของ


ดวงโคมอีกดวงโคมหนึ่งด้านตรงข้ามของถนน
6) ฟลักซ์แสงสว่าง (Luminous Flux) หมายถึง กําลังแสงสว่างที่ส่งออกโดยแหล่งกําเนิ ด
แสง โดยไม่คาํ นึงถึงทิศทางที่กระจัดกระจายออกไปหน่วยที่ใช้วดั คือ ลูเมน (Lumen, lm)

-2/12-
7) ฟลัก ซ์ ค รึ่ งวงกลมส่ ว นล่ า ง (Lower Hemispherical Flux) หรื อ ฟลัก ซ์ ที่ อ ยู่ต่ าํ ลงไป
หมายถึงฟลักซ์แสงสว่างที่เปล่งออกมาโดยดวงโคม ในทุกทิศทางส่ วนล่างของระนาบแนวนอน
8) ความเข้ม ส่ อ งสว่า ง (Luminous Intensity) หมายถึ ง ความหนาแน่ น ของฟลัก ซ์ แ สง
สว่างไปยังทิศทางหนึ่ง หน่วยของความเข้มส่ องสว่าง คือ แคนเดลา (Candela, cd)
9) ความเข้มครึ่ งวงกลมโดยเฉลี่ย (Mean Hemispherical Intensity) หมายถึง ค่าเฉลี่ยของ
ความเข้มส่ องสว่างครึ่ งวงกลมส่ วนล่างซึ่งเท่ากับค่าของฟลักซ์ครึ่ งวงกลมส่ วนล่างหารด้วย 6.28
10) อัตราส่ วนความเข้มส่ องสว่าง (Intensity Ratio) หมายถึง อัตราส่ วนของความเข้มส่ อง

@
สว่างจริ งในทิศทางใดๆ ของดวงโคมต่อความเข้มครึ่ งวงกลมโดยเฉลี่ย
11) อัตราส่ วนความเข้มส่ องสว่างสู งสุ ด (Peak Intensity Ratio) หมายถึง อัตราส่ วนของ

นั้น
ความเข้มส่ องสว่างที่สูงที่สุดต่อความเข้มครึ่ งวงกลมโดยเฉลี่ย

เท่า
12) ความสว่าง (Illumination) หมายถึง ค่าที่ได้จากฟลักซ์แสงสว่างที่ตกบนพื้นที่ส่วนย่อย
หนึ่งหารด้วยพื้นที่ส่วนย่อยนั้น หน่วยที่ใช้วดั คือ ลักซ์ (Lux, lx)

ลวง
13) ลําแสง (Beam) หมายถึง ส่ วนของการกระจายแสง ซึ่ งรองรับโดยมุมเชิ งแข็งที่ศูนย์
กลางของดวงโคมซึ่ งให้ความเข้มส่ องสว่างตั้งแต่ร้อยละ 90 ของความเข้มส่ องสว่างสู งสุ ด จนถึง
างห
ความเข้มส่ องสว่างสู งสุ ด
14) ศูนย์กลางลําแสง (Beam Center) หมายถึง ทิศทางกึ่งกลางของลําแสง
15) โค้งไอโซแคนเดลา (Isocandela Curve) หมายถึ ง เส้นโค้งที่ ลากไปบนผิวทรงกลม
รมท

สมมุติ ซึ่งมีความเข้มส่ องสว่างเท่ากัน


16) ไอโซแคนเดลาไดอะแกรม (Isocandela Diagram) หมายถึง ชุดของโค้งไอโซแคนเดลา
องก

17) โค้งโพลาร์ (Polar Curve) หมายถึง โค้งที่แสดงการกระจายแสงโดยใช้พิกดั โพลาร์


18) โค้งแสดงสัมประสิ ทธิ์ การใช้ประโยชน์ (Utilization Curve) หมายถึง โค้งที่แสดงค่า
สัมประสิ ทธิ์ในการหาปริ มาณแสงทั้งหมดที่ออกจากโคมไฟฟ้ าจะตกลงไปถึงพื้นที่ที่ตอ้ งการส่ อง
ิทธิ์ข

สว่างจริ งร้อยละเท่าไหร่
ลิขส

1.7 ความรับผิดชอบของผู้รับจ้ างต่ อสาธารณูปโภค


เพื่อให้การก่อสร้างแล้วเสร็ จสมบูรณ์และมิให้เกิดความเสี ยหายต่อทางราชการ ผูร้ ับจ้าง
จะต้อ งสํา รวจพื้ น ที่ ที่ จ ะต้อ งการก่ อ สร้ า ง หาข้อ มู ล เกี่ ย วกับ สาธารณู ป โภคต่ า งๆ และจะต้อ ง
@

รับผิดชอบในความเสี ยหายใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นแก่สิ่งสาธารณูปโภคเหล่านั้น และถ้าปรากฏว่ามี


สิ่ งสาธารณู ปโภคต่างๆ กี ดขวางการก่อสร้างให้เป็ นหน้าที่ของผูร้ ับจ้างที่จะดําเนิ นการติดต่อกับ
หน่วยงานต่างๆ เพื่อการรื้ อถอนเคลื่อนย้ายและซ่อมแซมหรื อก่อสร้างให้กลับสู่ สภาพเดิม ค่าใช้จ่าย
ในการดําเนินการทั้งหมดเป็ นของผูร้ ับจ้างแต่เพียงผูเ้ ดียว

-3/12-
2. วัสดุและอุปกรณ์ (Materials and Equipments)
2.1 โคมไฟฟ้า (Lanterns)
ผูร้ ั บจ้างจะต้องมี เอกสารรั บประกันโคมไฟฟ้ าของผูผ้ ลิตหรื อผูแ้ ทนจําหน่ าย โดยโคม
ไฟฟ้ าจะต้องทําด้วยโลหะผสมที่เบาและทนต่อการผุกร่ อน สี ที่ใช้จะต้องเป็ นแบบอบเคลือบ ออกสี
เทา
อุปกรณ์สะท้อนแสงจะต้องเป็ นแบบชุบเงา และทํามาจากอลูมิเนียมที่ผา่ นกระบวนการ แอ
โนด์ไดซ์

@
อุปกรณ์ หักเหแสง (ฝาครอบ) ถ้าทํามาจากอะคริ ลิกโปร่ งใสจะต้องไม่มวั เนื่ องจากการ

นั้น
เปลี่ยนสี ภายใน 5 ปี แรกของการใช้งาน
โคมไฟฟ้ าจะต้องมีปะเก็นที่ฝาครอบ ที่คอ และจุดอื่นๆ สําหรับป้ องกันแมลงเข้า ปะเก็น

เท่า
จะต้องทําด้วยวัสดุที่ใช้งานได้นานและเป็ นแบบทนความร้อน โดยมีระดับการป้ องกันไม่นอ้ ยกว่า
IP54

ลวง
กรณี ที่เลือกใช้โคมไฟฟ้ าแบบประหยัดพลังงาน (หลอด LED) ผลิตตามมาตรฐาน IEC ซึ่ง
บังคับการกระจายแสงด้วยเลนส์ภายในตัวหลอดเอง การเลือกใช้วสั ดุภายในโคมไฟฟ้ าให้เป็ นไป
างห
ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต โดยจะต้องมีการกระจายแสงได้ตามข้อกําหนดนี้เช่นกัน
การผลิตดวงโคม หลอดไฟฟ้ า และอุปกรณ์ ประกอบต่างๆ ต้องได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม (มอก.) ด้วย (ถ้ามี)
รมท

รายละเอียดของโคมไฟฟ้ าและการติดตั้ง มีดงั นี้


1) ดวงโคมจะต้องเป็ นชนิ ด Cut-Off หรื อ Semi Cut-Off ตามแบบหรื อข้อกําหนดพิเศษ
องก

(Special Provision)
2) ความสู งของดวงโคมจะต้องไม่ต่าํ กว่า 7.5 เมตร และไม่เกินกว่า 12.0 เมตร นอกจากจะ
ิทธิ์ข

กําหนดเป็ นอย่างอื่น
3) บริ เวณทางนอกเมืองให้ติดตั้งเสาห่ างจากไหล่ทางไม่นอ้ ยกว่า 0.5 เมตร แต่ถา้ ไม่มีไหล่
ทาง ให้ติดตั้งห่ างจากขอบผิวทางไม่นอ้ ยกว่า 1.5 เมตร บริ เวณที่ไม่สามารถทําการติดตั้งได้ เช่น
ลิขส

บริ เวณสะพานและพื้นที่จาํ กัดอื่นๆ ระยะห่ างอาจลดลงได้โดยต้องให้วิศวกรยินยอมอนุ ญาตก่อน


แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 1.0 เมตร
บริ เวณทางในเมืองหรื อชุมชนที่ขอบทางมีคนั หิ น (Curb) ระยะห่ างน้อยที่สุดระหว่าง
@

เสาและขอบผิวทาง โดยทัว่ ไปจะเป็ น 1.5 เมตร แต่อาจจะลดลงได้ดงั ต่อไปนี้


0.50 เมตร สําหรับความลาดหลังทางเข้าหาคันหิ นที่ไม่มากกว่าร้อยละ 2.5
0.60 เมตร สําหรับความลาดหลังทางเข้าหาคันหิ นระว่างร้อยละ 2.5 ถึงร้อยละ 4.0
0.75 เมตร สําหรับความลาดหลังทางเข้าหาคันหิ นที่มากกว่าร้อยละ 4.0 และต้องได้รับ
ความยินยอมอนุญาตจากวิศวกรก่อน

-4/12-
4) แต่ละดวงโคมโดยปกติลาํ แสงควรมี 2 ทิศทางตามความยาวถนน โค้งโพลาร์ (Polar
Curve) ของดวงโคมทั้งในระนาบแนวราบและในระนาบแนวดิ่ง จะต้องมีความสมํ่าเสมอปราศจาก
การหักเหอย่างกะทันหัน ความเข้มการส่ องสว่างลดลงจากสู งสุ ดโดยสมํ่าเสมอ ในกรณี ติดตั้งเกาะ
กลาง ลําแสงควรจะออกจากแกนกลางโดยประมาณ สําหรั บกรณี ติดตั้งดวงโคมด้านข้างถนน
ศูนย์กลางลําแสงต้องทํามุมออกไปไม่เกิน 15 องศา จะต้องมีแสงส่ องสว่างไปที่ขอบทางด้านใน
และด้านนอกเพียงพอแต่ไม่มากเกินไป ข้อแนะนํานี้ไม่ใช้บงั คับกับการติดตั้งแบบเสาสูง
5) การกระจายแสงของดวงโคมให้ใช้นิยามของ IESNA (Illuminance Engineering

@
Society of North America) เป็ นหลักในการพิจารณาการกระจายความเข้มส่ องสว่างบนผิวถนน
เป็ นแบบที่ส่องไปทางด้านหน้า (Lateral Light Distributions ในที่น้ ี เรี ยกว่า ชนิดการกระจาย หรื อ

นั้น
Type) และด้านข้างแต่ละด้านของตําแหน่งโคมไฟถนน (Vertical Light Distributions ในที่น้ ี เรี ยก

เท่า
ว่า พิสยั การกระจาย หรื อ Distribution Range) โดยแบ่งเป็ นชนิดการกระจาย (Type) II III และ IV
ซึ่ งบอกลักษณะการกระจายแสงไปทางด้านหน้าข้ามไปยังถนนฝั่งตรงข้าม ในขณะที่ให้พิสัยการ

ลวง
กระจายแบบสั้น (S; Short) ปานกลาง (M; Medium) และยาว (L; Long) เป็ นตัวชี้บอกแบบที่จุด
ความเข้มส่ องสว่างค่าสู งสุ ดอยูบ่ นกริ ดในบริ เวณที่กาํ หนด โดยระยะบนพื้นถนนเทียบกับความสู ง
างห
ของโคมไฟถนน IESNA กําหนดเกณฑ์ในการจัดประเภทโคมไฟถนนไว้ดงั แสดงในตารางข้างล่าง
นี้
รมท

ตารางที่ 1 การกําหนดเกณฑ์ในการจัดประเภทไฟถนนตามมาตรฐาน IESNA

ชนิดการ (a/h) MH  1.75  2.75 > 2.75


องก

กระจาย ชนิด II III IV


(a/h) MH 1.0 ถึง 2.25 2.25 ถึง 3.75 3.75 ถึง 6.0
พิสยั การ
ิทธิ์ข

พิสยั สั้น พิสยั ปานกลาง พิสยั ยาว


กระจาย ชนิด
(Short) (Medium) (Long)
90 : cd 90 : cd < 2.5% 90 : cd < 5%
ลิขส

cd ที่มุมสูงกว่า ลูเมนที่กาํ หนด ลูเมนที่กาํ หนด ลูเมนที่กาํ หนด


Cut-Off แนวดิ่งลง 80 : cd < 10% 80 : cd < 10% 80 : cd < 20%
ลูเมนที่กาํ หนด ลูเมนที่กาํ หนด ลูเมนที่กาํ หนด
@

ชนิด Full Cut-Off Cut-Off Semi Cut-Off

-5/12-
6) ตํา แหน่ งการติ ด ตั้ง ดวงโคมจะต้อ งให้ค่า ความสว่างสอดคล้องกับ ตารางข้างล่ า งนี้
(ยกเว้นกับการติดตั้งกับเสาไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าฯ)

ตารางที่ 2 ค่าตํ่าสุ ดของความสว่างเฉลี่ยในแนวราบ (หน่วย : ลักซ์ (Lumen/meter2))

ประเภทถนน พืน้ ทีใ่ นเมือง พืน้ ทีช่ านเมือง พืน้ ทีน่ อกเมือง
ทางหลวงพิเศษ 21.5 15.0 10.75

@
ทางแยก 21.5 21.5 15.0
ทางหลวงสายหลัก 21.5 13.0 9.7

นั้น
ทางหลวงสายรอง 13.0 9.7 6.5
ถนนท้ องถิ่น 9.7 6.5 2.1

เท่า
ค่าความสว่างต้องมีค่าอัตราส่ วนความสมํ่าเสมอ (Uniformity Ratio) ดังนี้

อัตราส่ วนความสมํ่าเสมอ = ลวง


ค่าความสว่างตํ่าสุ ด
ค่าความสว่างเฉลี่ย
= ไม่นอ้ ยกว่า 1:2.5
างห
= ค่าความสว่างสู งสุ ด = ไม่เกิน 6:1
ค่าความสว่างตํ่าสุ ด
รมท

ผูร้ ั บ จ้า งจะต้อ งระบุ ว่ า การออกแบบติ ด ตั้ง ไฟฟ้ าแสงสว่ า งเป็ นไปตามมาตรฐาน
สหรัฐอเมริ กา (American Standard Practice for Roadway Lighting) หรื อมาตรฐานอังกฤษ
องก

(British Standard Code) หรื อตามมาตรฐานการปฏิบตั ิวิชาชีพ (Code of Practice) โดยสภาวิศวกร


หรื อมาตรฐานอื่นที่เป็ นที่ยอมรับ ยกเว้นในกรณี ที่ขอ้ กําหนดนี้ หรื อข้อกําหนดพิเศษได้กาํ หนดไว้
ิทธิ์ข

แล้ว
7) การติดตั้งดวงโคมบริ เวณทางแยกและวงเวียน ตําแหน่ งของดวงโคมจะต้องให้ความ
สว่างในบริ เวณพื้นที่ทางแยกและวงเวียน มีค่าความสว่างอย่างน้อยตามตารางแสดงในข้อ 6) และ
ลิขส

ความสว่างนั้นจะต้องสว่างไม่นอ้ ยกว่าความสว่างบริ เวณขาทางแยก ในกรณี ที่ทางแยกเป็ นวงเวียน


มีคนั หิ น จะต้องออกแบบให้ความสว่าง ณ จุดใดๆ ที่คนั หิ นภายในวงเวียนไม่นอ้ ยกว่า 10 ลักซ์ การ
จัดวางตําแหน่งของดวงโคม แนวของดวงโคมจะต้องอยูใ่ นแนวอย่างเป็ นระเบียบ เพื่อช่วยให้ผขู ้ บั
@

ขี่ใช้เป็ นแนวนําทางได้
8) ตําแหน่งของดวงโคมบริ เวณทางแยก การติดตั้งในตําแหน่งฝั่งด้านไกลของทางจราจร
โดยรายละเอียดให้ดูในภาคผนวก ข. ข้อแนะนําในการติดตั้งระบบไฟฟ้ าแสงสว่างบนทางหลวง

-6/12-
2.2 การเดินสายไฟฟ้าและอุปกรณ์ สวิทซ์ ไฟฟ้า
ระบบการเดินสายไฟฟ้ าและอุปกรณ์สวิทซ์ไฟฟ้ า ที่ควบคุมการจ่ายไฟและปิ ดเปิ ดดวง
โคม จะต้อ งผ่ า นการเห็ น ชอบจากการไฟฟ้ าฯ อุ ป กรณ์ ส วิ ท ซ์ จ ะต้อ งเป็ นแบบเปิ ดปิ ดโดย
แสงอาทิตย์ (Photoelectric Relay Switch) หรื อแบบตั้งเวลาอัตโนมัติตามที่ระบุไว้ในแบบแนะนํา

2.3 เสาและกิง่ โคม


1) เสาควรจะต้องทําด้วยเหล็กกล้าเป็ นรู ปเรี ยวกลวงยึดติดกับฐาน แต่ละเสาควรจะต้องมี

@
ช่องปิ ดเปิ ดได้ขนาดพอเหมาะที่จะบํารุ งรักษา สายเคเบิลมีฝาปิ ดเปิ ดเพื่อป้ องกันความชื้ นและฝุ่ น
ุ แจล็อกเป็ นแบบเดียวกันทุกเสา ผูร้ ับจ้างต้องมอบลูกกุญแจให้ผวู ้ า่ จ้าง 6 ดอก
ฝาปิ ดเปิ ดจะต้องมีกญ

นั้น
2) แผงต่อวงจร (Switch Board) เป็ นแบบทนต่อความชื้ น ประกอบด้วยฉนวนกันไฟ
จะต้องติดตั้งในตําแหน่งที่สามารถจะล้วงเข้าไปได้ง่ายภายในเสา และจะต้องมีขนาดที่เหมาะสมที่

เท่า
จะติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่จาํ เป็ นทุกชนิ ด แผงนี้ ภายในเสาจะต้องมีที่ต่อสายดินทําด้วยเหล็กกล้ามี

ลวง
เส้นผ่านศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า 8 มิลลิเมตร พร้อมนอตและแหวน
3) กิ่งโคม (Bracket) จะต้องมีโครงสร้างที่แข็งแรงที่จะพยุงดวงโคมในทุกสภาวะโดย
ปราศจากการเคลื่อนไหว และอยูใ่ นตําแหน่งที่เหมาะสมที่จะติดดวงโคม เมื่อติดตั้งแล้ว กิ่งโคมจะ
างห
ทํามุมกับแนวราบประมาณ 15 องศา และจะถูกตรึ งแน่นอยูก่ บั ที่รองรับโดยวิธีเชื่อม สลักเกลียว
หรื อแผ่นโลหะ (Wall Plates)
รมท

4) เสาและกิ่งโคมที่ทาํ มาจากเหล็กจะต้องมีคุณสมบัติทางวิศวกรรมดังต่อไปนี้
 ความหนาของแผ่นเหล็กไม่นอ้ ยกว่า 4 มม.
 ความต้านทานแรงดึงประลัยไม่นอ้ ยกว่า 41 กก./มม.2
องก

 จุดคลากไม่นอ้ ยกว่า 25 กก./มม.2


 การยืดไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 21
ิทธิ์ข

5) ส่ วนของเสาที่อยูเ่ หนือพื้นดินจะต้องตรงไม่เอียงเฉออกจากแนวตรงเกิน 2.1 มิลลิเมตร


ลิขส

ต่อเมตร
6) การผลิตเสาไฟฟ้ าและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ต้องได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(มอก.) ด้วย (ถ้ามี)
@

-7/12-
2.4 เสาสู ง (High Mast Lighting) โดยทัว่ ไปเสาที่สูงตั้งแต่ 20 เมตร ขึ้นไปถือว่าเป็ นเสาสูง
1) เสาสู งจะต้องมีเครื่ องดึงและอุปกรณ์ใช้ดึงสําหรับหย่อนกระเช้าดวงโคมลงมาสู่ ระดับ
พื้นดินโดยสะดวก รวดเร็ วและปลอดภัย เพื่อบํารุ งรักษาและสามารถดึงโคมไฟฟ้ ากลับสู่ ตาํ แหน่ง
เดิ มได้ เสาจะต้องทําการออกแบบโครงสร้ างตามมาตรฐานอังกฤษ (British Standard) หรื อ
มาตรฐานสากลอื่นๆ ที่ยอมรับ การออกแบบโมเมนต์ดดั ให้ใช้ความเร็ วลมเท่ากับ 60 กิโลเมตรต่อ
ชัว่ โมง ที่ความสู ง 10 เมตร เหนือระดับพื้นดิน โดยยอมให้มีการเบี่ยงเบนที่ปลายเสาไม่เกินร้อยละ
7.5 ของความสู งโดยที่เสาจะต้องมีความหน่วงต่อการแกว่งเนื่ องจากลมด้วย ให้มีรายละเอียดการ

@
คํานวณของแรงแนวราบ แนวดิ่ง และค่าโมเมนต์ดดั ที่ตาํ แหน่งฐานเสา
2) แผ่นรองจะต้องเป็ นแผ่นเดียวและต้องมีแบบแสดงทุกมิติของแผ่นรอง และสลักเกลียว

นั้น
ที่ศูนย์กลางของแผ่นรองจะต้องมีช่องสําหรับร้อยสายเคเบิลเป็ นวงกลมเส้นผ่านศูนย์กลางไม่นอ้ ย

เท่า
กว่า 30 เซนติเมตร โคนเสาไฟจะต้องทะลุผ่านแผ่นรองและเชื่อมติดกันทั้งสองด้าน วิศวกรอาจ
ยอมรับวิธีการก่อสร้างอื่นๆ ที่มีความแข็งแรงเทียบเท่าได้ แต่การเชื่อมต้องไม่เป็ นการต่อชน (Butt
Weld)

ลวง
สลักเกลียวแต่ละตัวจะต้องขันให้ได้แรงดึงตามที่ออกแบบไว้ และในช่วงบํารุ งรักษา
างห
ต้องมีการตรวจสอบสลักเกลียวและขันให้แน่นเช่นเดิมพร้อมการทาสี
3) เสาถ้ามีการต่อให้มีการต่อน้อยที่สุด และให้อยูใ่ กล้ตาํ แหน่งปลายเสา
4) กระเช้าดวงโคมจะต้องรับนํ้าหนักจํานวนดวงโคมที่ออกแบบไว้ได้โดยไม่เกิดการโยก
รมท

หรื อเคลื่อนตัว และสามารถพยุงดวงโคมและกระเช้าสําหรับคน 2 คน (นํ้าหนัก 75 กิโลกรัม/คน)


เพื่อการบํารุ งรักษา จะต้องมีการป้ องกันกระเช้าดวงโคมไม่ให้ขดู ผิวของเสาขณะเลื่อนขึ้นลง และ
องก

ต้องไม่ให้เกิดการหมุนเมื่อยกขึ้นให้ดวงโคมเข้าล็อกในตําแหน่งที่ถูกต้อง กระเช้าดวงโคมสามารถ
ถอดออกจากเสาได้ที่ระดับพื้นดิน
5) กระเช้าดวงโคมจะต้องยกขึ้นลงได้ดว้ ยเครื่ องกว้านที่ใช้งานได้ท้ งั มือหมุนและเครื่ อง
ิทธิ์ข

หมุนไฟฟ้ า เครื่ องกว้านจะต้องสามารถล็อกได้ในทุกตําแหน่งด้วยกลไกที่แข็งแรงทนทานและง่าย


ในการปฏิบตั ิงาน เฟื องและเกลียวตัวหนอนจะต้องมีอตั ราส่ วนทดอย่างตํ่าที่สุด 20:1
ลิขส

6) เครื่ องกว้านจะต้องมีกา้ นหมุนที่ถอดออกได้ และจะต้องอยูใ่ นช่วงความสู งที่ทาํ งานได้


สะดวก ช่องเปิ ดที่โคนเสาจะต้องมีขนาดพอเหมาะที่สามารถจะปฏิบตั ิงานและบํารุ งรักษาเครื่ อง
กว้านได้สะดวก จะต้องมีแผ่นป้ ายถาวรติดอยู่ภายในเสาในตําแหน่ งที่เห็นได้ชดั แสดงจุดหล่อลื่น
@

ทั้งหมดบนเครื่ องกว้านและระบบการทํางานอื่นๆ และรายละเอียดข้อแนะนําการหล่อลื่น เครื่ อง


กว้านจะต้องติดอยูใ่ นเสาอย่างมัน่ คงและมีการป้ องกันการจับตัวของสิ่ งสกปรกและฝุ่ น
7) สายเคเบิลของเครื่ องกว้านดวงโคมจะต้องเหลือม้วนอยูก่ บั เครื่ องกว้านอีกพอประมาณ
ในขณะที่ดวงโคมอยู่ระดับพื้นดิน เพื่อให้แน่ ใจได้ว่าเงื่อนสายเคเบิลที่รอกของเครื่ องกว้านไม่รับ
แรงมากเกินไป

-8/12-
8) ในขณะที่ดึงกระเช้าดวงโคมขึ้นเมื่อระดับตํ่าจากปลายเสา 30 เซนติเมตร เครื่ องกว้านที่
ใช้ไฟฟ้ าจะต้องหยุดทํางานและให้ใช้การหมุนด้วยมือแทนการหยุดทํางานของเครื่ องกว้าน อาจทํา
ได้โดยวิธีการมีสวิทซ์ตดั ไฟฟ้ าอัตโนมัติหรื อมีเครื่ องแสดงหรื อเตือนไว้เมื่อตําแหน่งดวงโคมอยูใ่ น
ระดับห่างปลายเสา 30 เซนติเมตร หรื อผูร้ ับจ้างอาจทําเสนอทางเลือกอื่นที่จะควบคุมความเสี ยหาย
จากการทํางานดังกล่าว ด้วยอุปกรณ์อื่นๆ ที่จะติดตั้งทดแทนได้
9) ลวดสลิงจะต้องเป็ นลวดสเตนเลสที่สามารถรับนํ้าหนักของชุดกระเช้าดวงโคมและคน
2 คน (นํ้าหนัก 75 กิโลกรัม/คน) ขึ้นไปปฏิบตั ิงานซ่อมบํารุ งได้ การติดตั้งจะต้องไม่ให้ลวดสลิงเกิด

@
การบิดหรื อเป็ นข้อ หากมีการบิดหรื อเป็ นข้อเกิดขึ้น ผูว้ ่าจ้างสามารถบอกยกเลิกการใช้ลวดสลิงชุด
นั้นได้

นั้น
10) ชิ้นส่ วนทุกชิ้นของระบบชักดึงซึ่ งไม่สามารถที่จะทําการตรวจสอบได้หลังการติดตั้ง

เท่า
เสา จะต้องมีระบบป้ องกันความชื้นฝุ่ นละอองและการผุกร่ อน รอกจะต้องมีแผ่นยึดเพื่อที่จะไม่ให้
ลวดสลิงหลุดออกจากที่ได้ รอกสําหรับสายเคเบิลไฟฟ้ าจะต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่พอดี

ลวง
ที่จะไม่ให้สายเคเบิลไฟฟ้ าพันเป็ นวงที่เล็กไปกว่าที่มาตรฐานระบุไว้ ชิ้นส่ วนสําคัญที่เป็ นโลหะให้
ใช้เป็ นแบบโลหะสเตนเลส หรื อวัสดุที่ได้รับการยอมรับให้ใช้ได้ ซึ่งทนต่อการผุกร่ อน
างห
11) เมื่ อใช้เครื่ องหมุ นไฟฟ้ า กําลังของเครื่ องยนต์จะต้องมี เพียงพอและจะต้องมี ระบบ
ป้ องกัน ไฟฟ้ าดู ด ให้ กับ ผู ้ค วบคุ ม เครื่ องมื อ ด้ ว ย เครื่ องหมุ น ไฟฟ้ าควรจะออกแบบให้ ใ ช้
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าตํ่า ซึ่ งในกรณี น้ ี ผรู ้ ับจ้างจะต้องจัดเตรี ยมหม้อแปลงไฟฟ้ าที่เหมาะสมด้วย เครื่ อง
รมท

หมุนไฟฟ้ าจะต้องสามารถทนต่อการปฏิบตั ิงานเป็ นระยะเวลานานโดยไม่มีการขัดข้อง และใน


กรณี ที่ไฟฟ้ าดับ เครื่ องกว้านจะต้องมีระบบการควบคุมรอกเคเบิลให้หยุดเอง ในการเปลี่ยนวิธีการ
องก

หมุ น จากเครื่ อ งหมุ น ไฟฟ้ าเป็ นมื อ หมุ น จะต้อ งสามารถทํา ได้ง่ า ยและรวดเร็ ว โดยไม่ ต ้อ งใช้
เครื่ องมือพิเศษ โดยในการยืน่ ซองประกวดราคาจะต้องแสดงแบบเครื่ องหมุนไฟฟ้ าประกอบด้วย
ิทธิ์ข

2.5 การป้องกันการผุกร่ อน
หากไม่ได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น เสา กิ่งโคม และตัวยึดให้ป้องกันการผุกร่ อนด้วยการ
ลิขส

อาบสังกะสี จุ่มร้อน (Hot Dip Galvanizing)


1) ก่ อนทําการขนส่ งไปยังสถานที่ติดตั้งเสา กิ่ งโคม ตัวยึด และอุปกรณ์ ภายนอกอื่ นๆ
จะต้องต่อเชื่ อมให้เรี ยบร้อย เสาและวัสดุที่เป็ นเหล็กจะต้องทําการอาบสังกะสี แบบจุ่มร้อนตาม
@

กรรมวิธีของ ASTM A 123/A 123M ทั้งภายในและภายนอก ปริ มาณของสังกะสี เคลือบจะต้องไม่


น้อยกว่า 550 กรัมต่อตารางเมตร
2) โคนเสาทั้งด้านในและด้านนอก จะต้องทาด้วยยางแอสฟั ลต์จากระดับแผ่นรองขึ้นไป
25 เซนติเมตร

-9/12-
3. การก่ อสร้ าง
3.1 การขุดและการกลบ
การขุด เพื่ อ วางสายไฟเคเบิ ล หรื อ ท่ อ ร้ อ ยสายให้ ป ฏิ บ ัติ ต ามเงื่ อ นไขที่ ร ะบุ ไ ว้ใ น
ข้อกําหนดรายละเอียดควบคุมการก่อสร้างทางหลวง กรมทางหลวง (Specifications for Highway
Construction) การกลบจะต้องทําการกลบและตกแต่งผิวจนกระทัง่ พื้นผิวมีลกั ษณะเหมือนเดิม
ก่อนที่จะดําเนินการ

@
3.2 งานคอนกรีต
งานฐานรากและอื่นๆ ที่เป็ นงานคอนกรี ต ให้ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในข้อกําหนด

นั้น
รายละเอียดควบคุมการก่อสร้างทางหลวง กรมทางหลวง หากไม่มีขอ้ ระบุในแบบก่อสร้างหรื อใน

เท่า
ข้อกําหนดพิเศษ (Special Provisions) ให้ผรู ้ ับจ้างใช้คอนกรี ตชนิด 8 การเทฐานรากให้เทครั้งเดียว
นอกจากจะให้เหลือส่ วนบนของฐานรากไว้ 5 เซนติเมตร สําหรับปรับระดับ ส่ วนผิวภายนอกของ

ลวง
ฐานรากเสาไฟจะต้องเรี ยบและสวยงาม กรณี ที่ไม่สามารถก่อสร้ างตามแบบได้ การแก้ไขแบบ
จะต้องได้รับการเห็นชอบจากวิศวกรผูค้ วบคุมก่อน
างห
3.3 ท่ อร้ อยสาย (Conduits) ข้ อต่ อและบ่ อพัก (Fittings and Boxes)
ท่อร้ อยสาย ข้อต่อและบ่อพัก จะต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดรายละเอียดควบคุมการ
รมท

ก่ อสร้ างทางหลวง กรมทางหลวง ถ้าหากจะทําด้วยพลาสติกจะต้องเป็ นพลาสติกชนิ ดที่เหนี ยว


ทนทาน รวมทั้งไม่อ่อนตัวเมื่อถูกความร้อนจากอากาศ ทั้งนี้จะต้องได้รับการเห็นชอบจากวิศวกรผู ้
ควบคุมก่อน
องก

ผูร้ ับจ้างจะใช้ท่อร้อยสายที่มีขนาดใหญ่กว่าที่กาํ หนดได้โดยไม่มีการคิดมูลค่างานเพิ่ม


แต่ท่อจะต้องมีขนาดเดียวในแนวเดียวกันและห้ามใช้ขอ้ ลด
ิทธิ์ข

ถ้าใช้ท่อร้อยสายโลหะ การตัดจะต้องให้ได้ฉาก ถ้าต่อตรงจะต้องขันเกลียวจนกระทัง่


ท่อร้อยสายชนกัน เกลียวโลหะจะต้องทาสี กนั สนิ มก่ อนต่อกัน ถ้าวัสดุเคลือบกันสนิ มท่อโลหะ
กะเทาะหรื อเสี ยหายขณะขนย้าย จะต้องทาสี กนั สนิมให้เรี ยบร้อยก่อนทําการติดตั้ง
ลิขส

ปลายของท่อร้อยสาย เมื่อทําเกลียวจะต้องครอบหัวไว้จนกระทัง่ เริ่ มร้อยสายไฟ เมื่อ


ถอดหัวครอบต้องใช้แปรงลวดขัดให้สะอาด
ท่อร้อยสายถ้าอยูใ่ ต้ทางเท้าหรื อเกาะกลาง จะต้องลึกไม่นอ้ ยกว่า 50 เซนติเมตร แต่ถา้
@

อยูใ่ ต้ผวิ จราจรจะต้องลึกไม่นอ้ ยกว่า 75 เซนติเมตร ถ้าวางท่อร้อยสายผ่านใต้ขอบคันหิ น จะต้องทํา


เครื่ องหมายบนคันหิ นด้วยอักษร “Y” ขนาดความสู งไม่นอ้ ยกว่า 10 เซนติเมตร โดยการสกัดคัน
หิ นให้เป็ นร่ องตรงกับตําแหน่ งท่อ ปลายท่อร้อยสายที่อยู่ในตูห้ รื อเสาจะต้องสู งจากพื้นล่างของตู ้
หรื อเสานั้นไม่นอ้ ยกว่า 5 เซนติเมตร ท่อร้อยสายนั้นจะต้องเอียงขึ้นเพื่อให้ร้อยสายได้สะดวก แต่

-10/12-
ถ้าท่อร้อยสายโผล่เข้ามาในบ่อพักทางก้นบ่อ จะต้องอยูใ่ กล้กบั ด้านข้างเพื่อให้ตรงกลางมีที่ไว้ ท่อ
ร้อยสายทั้งหมดจะต้องเข้ามาจากด้านที่เดินท่อนั้นมา

3.4 บ่ อพัก
ให้ติดตั้งบ่อพักตามแบบ โดยให้มีระยะห่ างกันไม่เกิน 60 เมตร ผูร้ ับจ้างอาจติดตั้งบ่อ
พักเพิ่มขึ้นได้โดยไม่คิดค่างานเพิ่ม บ่อพักจะต้องทําด้วยคอนกรี ตเสริ มเหล็ก หนาไม่น้อยกว่า 10
เซนติเมตร ซึ่ งอาจจะเป็ นแบบหล่อสําเร็ จก็ได้ ฝาปิ ดถ้าอยูบ่ นทางเท้าจะต้องทําด้วยคอนกรี ตเสริ ม

@
เหล็ก ยึดด้วยนอตทองเหลือง 2 ตัว และบนฝาด้านนอกจะมีตวั อักษร “ทล.” สําหรับฝาปิ ดบนผิว
จราจรจะต้องเป็ นฝาเหล็กมีตวั อักษร “ทล.” เช่ นเดี ยวกัน ฐานรองรั บฝาเหล็กจะต้องแข็งแรง

นั้น
พอที่จะรั บนํ้าหนักการจราจรได้ และจะต้องต่อสายดินจากฝาเหล็กนั้นกับที่ต่อในบ่อพัก ระดับ
ด้านบนของบ่อพักจะต้องเสมอกับทางเท้าหรื อผิวจราจร ถ้าเป็ นทางที่ไม่ใช่ผวิ ถาวรให้ระดับฝาบ่อ

เท่า
พักอยูใ่ ต้ผิวทาง 30 เซนติเมตร บ่อพักจะต้องรองพื้นด้วยทรายซี เมนต์หรื อหิ นคลุก ตําแหน่ งของ

ลวง
บ่อพักทุกแห่ งจะต้องทําเครื่ องหมายถาวรไว้

3.5 การทดสอบ
างห
ให้ทดสอบการใช้งานหลังจากติดตั้งเสร็ จแล้ว โดยการทดลองเปิ ดไฟฟ้ าไว้อย่างน้อย 5
คืนติดต่อกันโดยไม่มีการขัดข้อง ถ้าพบว่ามีการขัดข้องหรื อระบบไฟฟ้ ายังทํางานไม่ได้ตามต้อง
การแล้ว จะต้องแก้ไขให้เรี ยบร้อยจนกว่าจะใช้งานได้ดี 5 คืนติดต่อกัน
รมท

ก่ อนที่ จะมีการทดสอบเปิ ดไฟฟ้ าแสงสว่างดังกล่าว ผูร้ ั บจ้างจะต้องทําการทดสอบ


คุณภาพต่างๆ ดังต่อไปนี้
องก

1) ทดสอบความต่อเนื่องของแต่ละวงจร
2) ทดสอบสายดินแต่ละวงจร
ิทธิ์ข

3) ทดสอบความต้านทานต่อกระแสไฟฟ้ าแต่ละวงจรกับพื้นโลก (Megger Test) ความ


ต้านทานป้ องกันกระแสไฟฟ้ ารั่วจะต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดของการไฟฟ้ าฯ
4) ให้วดั ค่าความสว่างตามแนวราบบนผิวทาง (Horizontal Illumination Value) ระหว่าง
ลิขส

เสาไฟทุกระยะ 2 เมตร ทั้งทางยาวและทางขวางของถนน วัดค่าความสว่างสู งสุ ด ความสว่างตํ่าสุ ด


และความสว่างเฉลี่ย นอกจากนี้ ค่าความสว่างจะต้องมีค่าอัตราส่ วนความสมํ่าเสมอ (Uniformity
Ratio) ดังนี้ คือ
@

อัตราส่ วนความสมํ่าเสมอ = ค่าความสว่างตํ่าสุ ด = ไม่นอ้ ยกว่า 1:2.5


ค่าความสว่างเฉลี่ย
= ค่าความสว่างสูงสุ ด = ไม่เกิน 6:1
ค่าความสว่างตํ่าสุ ด
(ยกเว้นการติดตั้งโคมไฟฟ้ ากับเสาของการไฟฟ้ าฯ)

-11/12-
4. การวัดปริมาณงาน
4.1 ในกรณี ที่งานไม่มีใบแสดงรายการปริ มาณงาน (Bill of Quantities) การเบิกจ่ายเงินงานจะกระทํา
โดยวิธีเหมาจ่าย (Lump Sum)
4.2 ในกรณี ที่งานมีใบแสดงรายการปริ มาณงาน ปริ มาณงานจะวัดตามรายการปริ มาณงานของงานที่
แสดงไว้ในใบแสดงรายการปริ มาณงาน

@
5. การจ่ ายเงิน
5.1 การเหมาจ่ายสําหรับงานไฟฟ้ าแสงสว่าง จะจ่ายสําหรับค่างานทั้งหมด อันได้แก่ ค่าวัสดุ ค่าแรง ค่า

นั้น
อุปกรณ์และเครื่ องมือ ค่าดําเนินการ ค่าตรวจสอบ และรวมไปถึงค่าดําเนินการในการซ่อมบริ เวณที่
ติดตั้งให้คงเดิม ในกรณี ที่การติดตั้งทําความเสี ยหายต่อทางหลวงและทรัพย์สินอื่นๆ

เท่า
นอกจากนี้ การเหมาจ่ายจะครอบคลุมไปถึงค่าชดเชยอันเนื่ องจากงานใดๆ ที่มีความ
จําเป็ นต้องดําเนินการเพื่อให้การติดตั้งบรรลุผลสําเร็ จแม้วา่ จะไม่ระบุในแบบ

ลวง
5.2 การวัดปริ มาณงานตามข้อ 4.2 ค่างานจะเบิกจ่ายได้ตามราคาต่อหน่วยของแต่ละรายการ ซึ่งกําหนด
ไว้ใ นสั ญ ญา ราคาของค่ า งานนี้ จะรวมถึ ง ค่ า วัส ดุ ค่ า แรงงาน ค่ า เครื่ อ งจัก ร ค่ า เครื่ อ งมื อ และ
างห
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จาํ เป็ นในการทํางานให้แล้วเสร็ จ สําหรับค่าวัสดุและค่างานอื่นๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้
ในใบแสดงรายการปริ มาณงาน ให้ถือว่าได้รวมอยูใ่ นรายการอื่นๆ ไว้แล้ว
รมท

6. ข้ อมูลทีต่ ้ องเสนอพร้ อมกับการประกวดราคา


6.1 แค็ตตาล็อกของอุปกรณ์ไฟฟ้ า เช่น หลอดไฟฟ้ า และบัลลาสต์ เป็ นต้น
องก

6.2 แบบและแผนผังวงจรไฟฟ้ า แผนผังการต่อสายดิน


6.3 ตารางข้อมูลโฟโตเมตริ ก
ิทธิ์ข

6.3.1 Utilization Curve


6.3.2 Isocandels Diagram
ลิขส

6.3.3 Horizontal Isolux Diagram


6.3.4 Polar Light Distribution Curve
6.4 รายละเอียดแบบเสา กิ่งโคม แผ่นรอง ฐานรากคอนกรี ต
@

6.5 รายละเอียดการคํานวณค่าความสว่างและคุณภาพแสงระบบไฟฟ้ าแสงสว่างที่จะติดตั้งจริ งตาม


แบบ

-12/12-
ภาคผนวก ก.
ข้ อแนะนําในการติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้าแสงสว่ างสาธารณะ
ของการไฟฟ้านครหลวง

@
ข้อแนะนํานี้กล่าวถึงวิธีการและคุณสมบัติของวัสดุที่เหมาะสมในการติดตั้งระบบไฟฟ้ าแสงสว่างบน

นั้น
ทางหลวงและถนนต่างๆ สะพานทุกชนิ ด ไฟสัญญาณจราจร ไฟส่ องป้ ายที่เป็ นส่ วนประกอบของกรมทาง

เท่า
หลวงและถนนทั้งหลาย ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

ลวง
1. ไฟฟ้าแสงสว่ างบนทางหลวงและถนน หมายถึง ไฟฟ้ าแสงสว่างสาธารณะที่ติดตั้งไว้สาํ หรับส่ องสว่างแก่
ทางหลวงและถนนทุกชนิด มีขอ้ แนะนําดังนี้
างห
1.1 Main Incoming Switch Board จะติดตั้งบนเสาไฟฟ้ าได้เฉพาะเสาขนาด 12 10 8.5 หรื อ 6 เมตร
เท่านั้น โดยต้องติดตั้งในตูโ้ ลหะขนาดกว้างไม่เกินความกว้างของหน้าเสา ความหนาไม่เกิน 10
รมท

เซนติเมตร มีความแข็งแรงปลอดภัยและป้ องกันนํ้าเข้าได้โดยไม่ตอ้ งติดตั้งไว้ดา้ นข้างเสา หันหน้า


ตูไ้ ปทิศทางเดียวกับรถวิ่งสู งจากระดับพื้นดินประมาณ 1.70 - 20.00 เมตร หรื อจะให้ Safety Switch
ชนิดใช้งานภายนอกอาคารเป็ น Main Incoming Switch ก็ได้
องก

1.2 จะต้อ งใช้ Fuse ชนิ ด ทํางานล่ าช้า (Time Delay) ซึ่ งมี ความสามารถในการตัด ไฟ (Interrupting
Capacity) ได้ไม่นอ้ ยกว่า 10,000 Amperes Symmetrical และต้องมี Ampere Rating ของ Fuse ที่ใช้
ิทธิ์ข

ทุกกรณี ไม่เกินขนาด Ampere เครื่ องวัด


1.3 หากติดตั้งเกินกว่า 1 วงจร ทุกๆ วงจรย่อยต้องมีเครื่ องป้ องกันวงจรย่อยซึ่ งเป็ น Safety Switch หรื อ
ลิขส

Fuse อย่างหนึ่ งอย่างใด เป็ นตัวคุมต้องมีขนาด Ampere Rating ของ Fuse เหมาะสมกับ Load ของ
วงจรย่อยนั้นๆ ตําแหน่ งของเครื่ องป้ องกันวงจรย่อยดังกล่าว ควรติดตั้งไว้ต่างหากจากเสาที่ติด
เครื่ องวัด หรื อในกรณี ที่ถนนมีเกาะกลางถนน จะทําเป็ น Distribution Board ไว้ในตูโ้ ลหะซึ่ งมี
@

ความแข็งแรงปลอดภัยและป้ องกันนํ้าเข้าได้ ติดตั้งไว้ที่เกาะกลางของถนนโดยหันฝาตูซ้ ่ ึ งเปิ ดได้


ทางเดียวกับรถวิ่ง

ก–1
1.4 การเดินสายจากจุดที่ติดตั้งเครื่ องวัด ถึง Main Incoming Switch และต่อไปถึง Safety Switch หรื อ
Fuse ของวงจรย่อย จะต้องใช้สายชนิ ดของการไฟฟ้ านครหลวงแบบ “C” หรื อชนิด Underground
Cable “NYY” หรื อชนิดที่มีคุณสมบัติเท่าเทียมกันเท่านั้น โดยมีขนาดพื้นที่หน้าตัดเพียงพอที่จะรับ
กระแสไฟฟ้ าได้เท่าขนาด Ampere ของเครื่ องวัดฯ แต่ตอ้ งไม่ต่าํ กว่า 4 ตารางมิลลิเมตร ทั้งนี้โดยถือ
ตามตารางขนาดสายสําหรั บเดิ นในท่อร้อยสายไฟฟ้ า (ตารางที่ ก-1) และจะต้องร้อยในท่อร้อย
สายไฟชนิ ดโลหะอาบสังกะสี (Rigid Conduit) เพื่อป้ องกันการกระทบกระแทกและช่วยรองรับ
การสั่นสะเทื อนจากการจราจร และต้องต่อปลายท่อให้สูงขึ้นไปตามตัวเสาจนถึงระดับตํ่ากว่า

@
ตําแหน่ง Clevis หรื อ Secondary Rack ประมาณ 30 - 50 เซนติเมตร โดยจะต้องเหลือปลายสายไว้
ประมาณ 1.50 เมตร และสวมปิ ดปลายท่อด้วย Service Entrance Cap เสมอไป

นั้น
1.5 การเดินสายจาก Switch Board ไปยัง Load หากฝังใต้ดินจะต้องใช้สายชนิ ดที่ระบุในข้อ 1.4 ส่ วนที่

เท่า
ลอดใต้ถนนจะต้องร้อยในท่อร้อยสายไฟฟ้ าชนิ ดโลหะอาบสังกะสี ที่ระบุในข้อ 1.4 ทั้งนี้ขนาดสาย
กับท่อจะต้องเหมาะสมกัน (สามารถดึ งสายออกมาตรวจซ่ อมได้สะดวก) ส่ วนที่ว่างใต้พ้ืนดิ น

ลวง
ธรรมดาอาจร้อยท่อเช่นเดียวกัน หรื อฝังในดินโดยตรงให้ลึกจากผิวดินไม่นอ้ ยกว่า 60 เซนติเมตร
โดยมี Slab คอนกรี ตวางป้ องกันไว้เหนื อระดับสายโดยตลอด ขนาดของสายจะต้องเหมาะสมกับ
างห
Load ตามตารางขนาดสายในข้อ 1.4
1.6 การเดินสายภายในเสาไปยังดวงโคมจะต้องใช้สายชนิด Street Light Wire (Type RH) หรื อใช้สาย
ชนิดที่ระบุในข้อ 1.4 ก็ได้ ทั้งนี้ใน 2 กรณี ตอ้ งมีขนาดพื้นที่หน้าตัดของตัวนําไฟฟ้ าทองแดงไม่เล็ก
รมท

กว่า 2 ตารางมิลลิเมตร
1.7 ดวงโคมแต่ละดวงจะต้องมี Cartridge Fuse ป้ องกันการลัดวงจรด้วย
องก

1.8 การต่ อ แยกส่ ว นทั้ง วงจรหลัก หรื อ วงจรย่อ ย ควรละเว้น การต่ อ ในตํา แหน่ ง ที่ ฝั ง อยู่ใ ต้พ้ื น ดิ น
เนื่องจากเป็ นจุดอ่อนที่จะชํารุ ดได้ง่าย ส่ วนการต่อแยกสายภายในเสาโลหะจะต้องไม่ต่อโดยใช้การ
พันหรื อบิดเกลียวแล้วพันทับรอยต่อด้วยผ้าพันสาย แต่ให้ใช้ต่อแยกสายด้วย Wire Joint หรื อเครื่ อง
ิทธิ์ข

ต่อสายชนิ ดพันหรื อบีบแน่ นด้วยเครื่ องมือกล แล้วพันทับด้วยวัสดุที่เป็ นสารประกอบสําหรับหุ ้ม


สาย (Insulating Sealing Compound) และพันทับด้วย Tape ชนิดพันสายไฟฟ้ าโดยเฉพาะทุกๆ แห่ ง
ลิขส

1.9 ขอให้จดั ทําระบบการต่อสายลงดินโดยต่อสายลงดินเข้ากับเปลือกนอกของอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ทาํ ด้วย


โลหะทุกชนิ ด เช่ น ท่อร้อยสายไฟ ส่ วนที่สูงพ้นพื้นดิน ตูก้ ล่องเหล็กที่ติดตั้งแผงสวิทซ์ เสาและ
ฐานโลหะ ฯลฯ ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
@

1.9.1 ตัวสายดินจะต้องเป็ นสายทองแดงมีพ้ืนที่หน้าตัดไม่ต่าํ กว่า 16 ตารางมิลลิเมตร


1.9.2 Ground Rod ต้องเป็ นชนิดทองแดงหรื อทองแดงหุ ม้ ผิว (Copper Clad) โดยต้องมี
เส้นผ่านศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า 5/8 นิ้ว และยาวไม่นอ้ ยกว่า 6 ฟุต หรื ออาจใช้ชนิดที่
ทําด้วยแท่งเหล็กอาบสังกะสี (Hot-Dip Galvanized Steel) ก็ได้ แต่ตอ้ งมีเส้นผ่าน
ศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า 5/8 นิ้ว และยาวไม่นอ้ ยกว่า 8 ฟุต

ก–2
1.9.3 การต่อให้ใช้วิธีเชื่อมสายลงดิน Ground Rod หรื อยึดด้วย Ground Rod Clamp หรื อ
ใช้อุปกรณ์สาํ หรับการต่อสายโดยเฉพาะ
1.9.4 การติดตั้งสายลงดินทั้งชุดจะต้องให้รัดกุมและมิดชิด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ให้ฝังปลาย
บนของ Ground Rod จมลงในดินลึกจากระดับผิวดิน 30 เซนติเมตร เพื่อให้มีความ
มัน่ คงและยากที่จะถูกโจรกรรม
1.9.5 การต่อลงดินหากใช้ระบบสายดินร่ วมกัน สายดินร่ วมจะต้องต่อลงดินไม่นอ้ ยกว่า 2
จุด

@
1.10 จะต้องออกแบบวงจรให้มี Voltage Drop ระหว่าง Main Incoming Switch Board กับจุดใดๆ ใน
วงจรไม่เกินร้อยละ 2 เมื่อเปิ ดไฟทุกดวง

นั้น
1.11 กรมทางหลวงจะต้องมอบแบบแสดงถนน หรื อบริ เวณที่จะใช้กระแสไฟฟ้ าส่ องสว่างทั้งหมดโดยมี

เท่า
แบบและรายละเอียดแสดงลักษณะถนน เกาะต่างๆ ชนิ ดและขนาดของเสาดวงโคม สายไฟฟ้ า
ฟิ วส์ ระบบสายลงดิ น และท่อร้ อยสาย ตลอดจนการแบ่งวงจรรายละเอี ยดของโคมไฟฟ้ า และ

ลวง
อุปกรณ์ และ Single Line Diagram ให้การไฟฟ้ านครหลวงตรวจสอบพร้อมกับเรื่ องการขอให้การ
ไฟฟ้ านครหลวงตรวจสอบการติดตั้งอุปกรณ์ และบรรจบกระแสไฟฟ้ า
างห
1.12 การไฟฟ้ านครหลวงจะดําเนิ นการตรวจสอบการติ ดตั้งอุปกรณ์ และสายไฟฟ้ าที่ กรมทางหลวง
ดําเนิ นการเองก่ อนบรรจบกระแสไฟฟ้ า ทั้งนี้ หลังจากการไฟฟ้ านครหลวงได้รับเงิ นค่าติ ดตั้ง
เครื่ องวัดฯ ค่าตรวจสอบฯ หรื อค่าใช้จ่ายอื่นๆ และดวงโคมตัวอย่าง (เฉพาะชนิ ดที่ตอ้ งมี Ballast)
รมท

ชนิดละ 1 ดวง จากกรมทางหลวง แล้วจะดําเนินการทดสอบดังนี้


1.12.1 ทดสอบวัดค่ากําลังไฟฟ้ า Power Factor ความต้านทางของฉนวนหุ ้มสายในดวง
องก

โคม ความแข็งแรงและสะดวกในการบํารุ งรั กษา ลักษณะการป้ องกันฝุ่ นผงและ


แมลงเข้าไปภายในดวงโคม และลักษณะการกระจายแสงโดยสังเขป ทั้งนี้ดวงโคม
จะผ่านการทดลองได้ต่อเมื่อวัดค่ากําลังไฟฟ้ าไม่เกินพิกดั ของกําลังไฟฟ้ าตามตาราง
ิทธิ์ข

ที่แนบ Power Factor ไม่ต่าํ กว่า 0.9 Lag และความต้านทานของฉนวนหุ ม้ สายใน


ดวงโคมไม่ต่าํ กว่า 0.5 MEG.OHM
ลิขส

1.12.2 ทดสอบค่าความต้านทานแต่ละวงจร ระหว่างคู่สายและสายไฟฟ้ าแต่ละเส้นกับดิน


ต้องมีค่าไม่ต่าํ กว่า 0.5 MEG.OHM
1.12.3 ทดสอบค่า Ground Resistance ของการต่อลงดิน แต่ละจุดจะต้องมีค่าสู งสุ ดไม่เกิน
@

25 OHM

ก–3
2. ไฟฟ้าส่ องสว่ างที่ติดตั้งบนสะพาน หมายถึง ไฟฟ้ าแสงสว่างสาธารณะที่ติดตั้งไว้สาํ หรับส่ องสว่างบน
สะพานรถยนต์ และสะพานคนเดินเท้าทุกชนิด มีขอ้ แนะนําดังนี้

2.1 Main Incoming Switch Board ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อ 1.1 หรื อหากติดตั้งที่ตวั
สะพานก็ให้อยูใ่ นตําแหน่งที่สะดวกในการตรวจสอบแก้ไขบํารุ งรักษา
2.2 จะต้องใช้ Fuse ตามรายละเอียดที่ระบุในข้อ 1.2
2.3 หากติดตั้งเกินกว่า 1 วงจรให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุในข้อ 1.3

@
2.4 การเดินสายจากจุดที่ต้ งั เครื่ องวัดฯ ถึง Main Incoming Switch และต่อไปถึง Safety Switch หรื อ
ฟิ วส์ของวงจรย่อย หากเป็ นสายใต้ดิน หรื อเดินเกาะไปกับโครงสะพาน ให้เป็ นไปตามรายละเอียด

นั้น
ที่ระบุในข้อ 1.4 แต่หากเป็ นสายที่เดินไปในอากาศช่วงภายนอกสะพานจะต้องใช้สายชนิดของการ
ไฟฟ้ านครหลวงแบบ “A” หรื อชนิด TW. พื้นที่หน้าตัดเพียงพอที่จะรับกระแสไฟฟ้ าได้เท่าขนาด

เท่า
Ampere ของเครื่ องวัดฯ ทั้งนี้ พื้นที่หน้าตัดต้องไม่นอ้ ยกว่า 4 ตารางมิลลิเมตร และจะต้องเดินสาย

ลวง
ไปเกาะกับเสาที่จะติดตั้งเครื่ องวัดฯ ซึ่ งจะต้องเป็ นเสาขนาด 12 เมตร 10 เมตร 8.5 เมตร หรื อ 6
เมตร เท่านั้น จับยึดด้วย Clevis ในตําแหน่งที่ต่าํ กว่า Secondary Rack ของการไฟฟ้ านครหลวง 30 -
50 เซนติเมตร โดยจะต้องเหลือปลายสายไว้ประมาณ 1.50 เมตร ส่ วนการเดินสายส่ วนที่อยูภ่ ายใน
างห
สะพานจะต้องใช้สายชนิ ดของการไฟฟ้ านครหลวงแบบ “C” หรื อชนิ ดอื่นที่มีคุณสมบัติเท่าเทียม
กัน เดินในท่อร้อยสายไฟฟ้ าชนิ ดโลหะอาบสังกะสี (Rigid Steel Conduit) ปลายท่อด้านอยูภ่ าย
รมท

นอกสะพานตรงจุดที่ต่อกับสายที่เดินในอากาศจะต้องสวมด้วย Entrance Cap


2.5 การเดินสายจาก Switch Board ไปยัง Load จะต้องเป็ นไปตามรายละเอียดในข้อ 1.5 ทั้งนี้ รวมถึง
สายที่เดินบนตัวสะพานด้วย
องก

2.6 การเดินสายภายในเสาขึ้นไปยังดวงโคมที่ติดตั้งกลางแจ้ง ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุในข้อ


1.6
ิทธิ์ข

2.7 ดวงโคมที่ติดตั้งกลางแจ้งแต่ละดวงจะต้องมี Cartridge Fuse เช่น เดียวกันข้อ 1.7 ส่ วนโคมที่ติดใน


ร่ ม เช่น ใต้หลังคาสะพานลอยคนเดินข้ามถนนให้ใช้ไม่เกิน 10 ดวง ต่อ 1 วงจร โดยมี Cartridge
ลิขส

Fuse หรื อ Circuit Breaker ควบคุมวงจรในทํานองเดียวกัน


2.8 การต่อแยกสายทั้งวงจรหลักหรื อวงจรย่อย ให้ปฏิบตั ิเช่นเดียวกับข้อ 1.8 ส่ วนในช่วงที่อยูเ่ หนือดิน
หรื อที่เกาะไปตามโครงสร้างของสะพาน จะต้องต่อในกล่องโลหะอาบสังกะสี (Connection Box)
@

ชนิ ดป้ องกันนํ้าเข้าได้เท่านั้น โดยให้ใช้ต่อแยกสายด้วย Wire Joint หรื อเครื่ องต่อสายชนิ ดขันหรื อ
บี บ แน่ น ด้ว ยเครื่ อ งมื อ กลแล้ว พัน ทับ ด้ว ยวัส ดุ ที่ เ ป็ นสารประกอบสํา หรั บ หุ ้ ม สาย (Insulating
Sealing Compound) และพันทับด้วย Tape ชนิดสําหรับพันสายไฟฟ้ าโดยเฉพาะทุกๆ แห่ ง และท่อ
ร้อยไฟฟ้ าช่วงที่ติดกับโครงสร้างของสะพานจะต้องจับยึดด้วย Rigid Clamp และ Rigid Clamp
Back และยึดกับโครงสร้างสะพานด้วยพุกโลหะ (Expansion Bolt) สําหรับสะพานคอนกรี ต หรื อ

ก–4
ใช้ Bolt and Nut พร้อมแหวนกันคลายสําหรับสะพานเหล็ก โดยให้จุดที่จบั ยึดแต่ละจุดมีระยะห่ าง
กันไม่เกินกว่า 50 เซนติเมตร
2.9 ขอให้จดั ทําระบบการต่อสายลงดินให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุไว้ ในข้อ 1.9 1.9.1 1.9.2
1.9.3 1.9.4 และ 1.9.5
2.10 Voltage Drop ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อ 1.10
2.11 กรมทางหลวงจะต้องมอบแบบไฟสะพานโดยมีรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อ 1.11 ให้การไฟฟ้ านคร
หลวงใช้ประกอบการตรวจสอบด้วย

@
2.12 การไฟฟ้ านครหลวงจะดําเนิ นการตรวจสอบตามรายละเอียดที่ระบุไว้ใน 1.12 1.12.1 1.12.2 และ
1.12.3

นั้น
เท่า
3. ไฟสั ญญาณการจราจร ไฟกะพริ บ และไฟส่ องป้าย หมายถึง ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างที่ติดตั้งเพื่อความมุ่ง
หมายในการควบคุมการจราจรของยานพาหนะต่างๆ ตามทางร่ วม ทางแยก หรื อเพื่อเป็ นสัญญาณให้

ลวง
ระวังอันตรายบริ เวณทางคนเดินข้ามถนน ตลอดจนไฟฟ้ าแสงสว่างสําหรับส่ องป้ ายบอกเส้นทางต่างๆ มี
ข้อแนะนําดังนี้
างห
3.1 Main Incoming Switch Board ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุในข้อ 1.1
3.2 การใช้ Fuse ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุในข้อ 1.2
3.3 หากติดตั้งเกินกว่า 1 วงจร ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุในข้อ 1.3
รมท

3.4 การเดินสายจากจุดที่จะติดตั้งเครื่ องวัดฯ ถึง Main Incoming Switch และต่อไปถึง Safety Switch
หรื อ Fuse ของวงจรย่อยชุดอื่นๆ ทุกชุด ให้เป็ นไปตามรายละเอียดในข้อ 2.4
องก

3.5 การเดินสายจาก Main Incoming Switch Board ไปยัง Load หากฝังใต้ดินให้เป็ นไปตามรายละเอียด
ที่ระบุไว้ในข้อ 1.5
3.6 การเดินสายในเสาโคมซึ่งเป็ นโลหะ ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อ 1.6
ิทธิ์ข

3.7 วงจรที่ควบคุมแต่ละ Phase ของการจราจร แต่ละวงจรต้องมี Cartridge Fuse ป้ องกันการลัดวงจร


ด้วย
ลิขส

3.8 การต่อสายแยกทั้งวงจรหลักหรื อวงจรย่อย ให้เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อ 1.8


3.9 ขอให้จดั ทําระบบการต่อลงดินเป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อ 1.9 1.9.1 1.9.2 1.9.3 1.9.4
และ 1.9.5
@

3.10 Voltage Drop เป็ นไปตามรายละเอียดที่ระบุในข้อ 1.10


3.11 กรมทางหลวงจะต้อ งมอบแบบไฟสั ญ ญาณการจราจร ไฟกะพริ บ และไฟส่ อ งป้ าย โดยมี
รายละเอียดตามที่ระบุในข้อ 1.11 ให้การไฟฟ้ านครหลวงใช้ประกอบการตรวจสอบด้วย
3.12 การไฟฟ้ านครหลวงจะดําเนินการตรวจสอบตามรายละเอียดที่ระบุไว้ในข้อ 1.12 1.12.1 1.12.2
และ 1.12.3

ก–5
ตารางที่ ก-1 จํานวนกระแสสูงสุ ดที่ยอมให้ใช้กบั สายไฟฟ้ าขนาดต่างๆ

กระแสสูงสุ ดสําหรับสายหุม้ เดิน กระแสสู งสุ ดสําหรับสายหุม้ ดินใน


ขนาดพื้นที่หน้าตัด
ในอาคารและนอกอาคาร ท่อหรื อภายในอาคาร
(ตร.มม.)
(Free Air) (แอมแปร์) (แอมแปร์)
0.5 - 3
1.0 10 6

@
1.5 13 8
2.5 18 12

นั้น
4 27 16
6 36 22

เท่า
10 50 30

ลวง
16 76 50
25 96 64
35 119 79
างห
50 150 102
70 188 121
รมท

95 231 150
120 268 170
องก

กําหนดใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 15 ตุลาคม 2508


* (คัดลอกจากกฎการเดินสายไฟฟ้ านครหลวงหน้า 4)
ิทธิ์ข
ลิขส
@

ก–6
ตารางที่ ก-2 กําหนดพิกดั ของกําลังไฟฟ้ าสําหรับทดสอบดวงโคมไฟฟ้ าสาธารณะชนิดต่างๆ

ดวงโคมที่ใช้หลอด IC. และ Mx.ใช้กาํ ลังไฟฟ้ าไม่เกิน ขนาด Watt. ของหลอด


” Na. 85 W. ” 108 Watt.
” 135 W. ” 175 Watt.
” 140 W. ” 172 Watt.
” 180 W. ” 220 Watt.

@
” N.P.Na. 250 W. ” 288 Watt.
” 400 W. ” 466 Watt.

นั้น
” FL. 32 W. ” 46 Watt.
” 40 W. ” 48 Watt.

เท่า
” 65 W. ” 80 Watt.

ลวง
” Hg. 80 W. ” 90 Watt.
” 125 W. ” 138 Watt.
” 250 W. ” 266 Watt.
างห
” 400 W. ” 422 Watt.
” 1,000 W. ” 1,043 Watt.
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

ก–7
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
ภาคผนวก ข.
ข้ อแนะนําในการติดตั้งระบบไฟฟ้าแสงสว่ างบนทางหลวง

@
ไฟฟ้ าแสงสว่างบนถนนหรื อทางหลวงมีไว้เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการขับขี่ในเวลากลางคืน โดย
ช่วยให้ผขู ้ บั ขี่รับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารได้ชดั เจนเทียบเท่ากับในเวลากลางวัน ซึ่งข้อมูลข่าวสารดังกล่าว ได้แก่

นั้น
(1) ข่ าวสารเกี่ยวกับตําแหน่ งอุปสรรค เพื่อเป็ นข้อมูลใช้ประโยชน์ในการควบคุมการ
บังคับทิศทางและความเร็ วของยานพาหนะ ได้แก่ ลักษณะทางเรขาคณิ ตของทางข้างหน้า การจัดแบ่งช่อง

เท่า
จราจร ลักษณะข้างทาง วัตถุและอุปสรรคต่างๆ ที่อยูข่ า้ งหน้า
(2) ข่ าวสารเกี่ ยวกับเหตุการณ์ ใช้เป็ นข้อมูลในการพิจารณาเปลี่ ยนแปลงความเร็ ว

ลวง
ทิศทางของยานพาหนะ ได้แก่ การจราจรข้างทาง คนเดินเท้า สัญญาณไฟจราจร ตําแหน่งของยานพาหนะบน
ทางข้างหน้า
างห
(3) ข่ าวสารเกี่ ยวกับการนําทาง ใช้เป็ นข้อมูลในการพิจารณาเลือกเส้นทางไป สู่
จุดหมายปลายทาง ได้แก่ ป้ ายจราจรและป้ ายแนะนําต่างๆ ลักษณะข้างทาง ทางแยก
รมท

ความต้องการไฟฟ้ าแสงสว่างของทางหลวงในแต่ละบริ เวณจะแตกต่างกันออกไป ตามลักษณะทาง


กายภาพของทางหลวง สภาพการจราจร และข้อมูลข่าวสารที่ผูข้ บั ขี่ตอ้ งการรั บรู ้ในการขับขี่ เช่ น ในบาง
บริ เวณอาจต้องการไฟฟ้ าแสงสว่างเพียงเพื่อมองเห็นแนวเส้นทางที่คดเคี้ยวหรื อลักษณะทางเรขาคณิ ตของ
องก

ทางหลวง หรื อในบางบริ เวณอาจจําเป็ นต้องมีไฟฟ้ าแสงสว่างให้สามารถมองเห็ นคนเดิ นเท้าข้างทางด้วย


บางครั้ งอุปกรณ์ อาํ นวยความปลอดภัยบางอย่าง อาจสามารถนํามาทดแทนไฟฟ้ าแสงสว่างได้ เช่ น หมุด
ิทธิ์ข

สะท้อนแสง ป้ ายและเครื่ องหมายนําทาง ไฟกะพริ บ เป้ าสะท้อนแสง วิศวกรจะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับ


ความจําเป็ นก่อนที่จะติดตั้งไฟฟ้ าแสงสว่าง
ลิขส

1. เหตุอนั ควรในการพิจารณาติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่ าง
การติดตั้งไฟฟ้ าแสงสว่างมีอยู่ 2 แบบ คือ การติดตั้งในลักษณะต่อเนื่ อง (Continuous Lighting)
@

ได้แก่ การติดตั้งบนช่วงของถนนในลักษณะต่อเนื่องยาวตามแนวถนน และการติดตั้งเฉพาะบริ เวณ (Specific


Lighting) ได้แก่ การติดตั้งเฉพาะพื้นที่บริ เวณ เช่น ทางแยก และสะพาน

ข–1
2. เหตุอนั ควรในการพิจารณาติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่ างลักษณะต่ อเนื่อง
(1) ปริ มาณจราจรโดยเฉลี่ยต่อวันเกินกว่า 25,000 คันต่อวัน
(2) พื้นที่ใกล้เคียงมีแสงสว่างจ้ามาก รบกวนต่อการมองเห็นของคนขับ
(3) มีปริ มาณคนเดินเท้าสู งในเวลากลางคืน
(4) มีความสับสนของการจราจร
(5) ในบริ เวณชุมชนที่มีสถิติอุบตั ิเหตุในเวลากลางคืนมากกว่า 2 เท่าของเวลากลางวัน

@
3. เหตุอนั ควรในการพิจารณาติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่ างลักษณะเฉพาะบริเวณ
(1) ทางแยกที่มีการติดตั้งไฟสัญญาณจราจร

นั้น
(2) ทางหลวงที่มีการเปลี่ยนแปลงกายภาพในทันที

เท่า
(3) ทางโค้งรัศมีแคบ หรื อมีความลาดชันมาก
(4) สะพานที่โค้ง และทางแยกต่างระดับ

ลวง
(5) ทางข้ามหรื อทางม้าลายที่มีไฟสัญญาณจราจร หรื อที่มีจาํ นวนคนเดินข้ามทางสูง
(6) ในบริ เวณชุมชนที่มีสถิติอุบตั ิเหตุในเวลากลางคืนมากกว่า 2 เท่าของเวลากลางวัน
างห
4. การเลือกใช้ ไฟฟ้าแสงสว่ าง
ในงานไฟฟ้ าแสงสว่างบนทางหลวง การเลือกใช้ไฟฟ้ าแสงสว่างจะพิจารณาใน 2 ลักษณะ คือ คุณ
รมท

สมบัติการกระจายแสง (Light Distribution) และชนิดของต้นกําเนิดแสง (Typical Light Sources)

4.1 คุณสมบัติการกระจายแสง (Light Distribution)


องก

โคมไฟฟ้ าแสงสว่างแบ่งตามคุณสมบัติการกระจายแสงได้ใน 3 ลักษณะ คือ


(1) การกระจายแสงแบบ Cut-Off ได้แก่ โคมไฟที่มีการควบคุมแนวส่ องของลําแสงอย่าง
ิทธิ์ข

สมบูรณ์ เหมาะสําหรับติดตั้งในทางหลวงสายหลักทัว่ ไปที่การจราจรใช้ความเร็ วสูง


(2) การกระจายแสงแบบ Semi Cut-Off ได้แก่ โคมไฟที่มีการควบคุมแนวส่ องของลําแสงกึ่ง
สมบูรณ์ เหมาะสําหรับทางหลวงที่มีพ้ืนที่สองข้างทางเป็ นชุมชน และมีแสงจากสภาพแวดล้อมค่อนข้างมาก
ลิขส

(3) การกระจายแสงแบบ Non Cut-Off ได้แก่ โคมไฟที่ไม่มีการควบคุมแนวส่ องของลําแสงไม่


เหมาะสมที่จะติดตั้งบนทางหลวง
@

ข–2
4.2 ชนิดของต้ นกําเนิดแสง (Typical Light Sources)
หลอดไฟที่ใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้ าแสงสว่างบนทางหลวง ที่ใช้อยูท่ วั่ ไปในปัจจุบนั มีอยู่ 5 ชนิด คือ
(1) หลอดโซเดียมความดันไอสูง (High Pressure Sodium Lamp)
(2) หลอดโซเดียมความดันไอตํ่า (Low Pressure Sodium Lamp)
(3) หลอดปรอทความดันไอสูง (Mercury Vapor Lamp)
(4) หลอดเมทัลฮาไลด์ (Metal Halide Lamp)

@
(5) หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp)
หลอดแต่ละชนิ ดก็มีคุณสมบัติทางแสงและทางไฟฟ้ าต่างกัน ในการเลือกหลอดเพื่อการประหยัด

นั้น
พลังงานไฟฟ้ า ต้องเลือกหลอดที่มีประสิ ทธิ ผล (ลูเมนต่อวัตต์) สู ง อายุการใช้งานนาน และคุณสมบัติทาง
แสงของหลอดด้วย แต่งานบางอย่างก็ตอ้ งเลือกใช้หลอดที่ไม่ประหยัดพลังงาน ฉะนั้นการนําหลอดไปใช้งาน

เท่า
ต้องพิจารณาความเหมาะสมในการนําไปใช้

ลวง
หลอดโซเดียมความดันไอสู ง หลอดโซเดี ยมความดันไอสู งมีประสิ ทธิ ผลรองจากหลอดโซเดี ยม
ความดันไอตํ่า คือ มีประสิ ทธิ ผลประมาณ 70-130 ลูเมนต่อวัตต์ แต่ความถูกต้องของสี ดีกว่าหลอดโซเดียม
างห
ความดันไอตํ่า คือ ร้อยละ 20 หลอดประเภทนี้ให้สีเหมาะสําหรับงานทางด้านความปลอดภัย เพราะตามีความ
ไวต่อการมองเห็ นที่โทนสี เหลือง งานที่เหมาะใช้กบั หลอดประเภทนี้ ได้แก่ งานที่ไม่มีปัญหาเรื่ องความ
ถูกต้องของสี ไฟถนนบริ เวณที่ไม่ใช่ย่านธุ รกิจ ไฟถนน ไฟสวนสาธารณะ อายุการใช้งานประมาณ 24,000
รมท

ชัว่ โมง มีขนาดวัตต์ 50 70 100 150 250 400 และ 1,000 วัตต์
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รูปที่ ข-1 ไฟฟ้ าแสงสว่างทางหลวง แบบโซเดียมความดันไอสูง

ข–3
หลอดโซเดียมความดันไอตํ่า หลอดประเภทนี้ มีสีเหลืองจัดและประสิ ทธิ ผลมากที่ สุดในบรรดา
หลอดทั้งหมด คื อ มี ประสิ ทธิ ผลประมาณ 120-200 ลูเมนต่อวัตต์ แต่ความถูกต้องของสี น้อยที่ สุด คือ มี
ความถูกต้องของสี เป็ นร้อยละ 0 ข้อดี ของแสงสี เหลืองเป็ นสี ที่มนุ ษย์สามารถมองเห็ นได้ดีที่สุด หลอด
ประเภทนี้จึงเหมาะเป็ นไฟถนน และอายุการใช้งานนานประมาณ 16,000 ชัว่ โมง หลอดมีขนาดวัตต์ 18 35 55
90 135 และ180 วัตต์

@
นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท

รูปที่ ข-2 ไฟฟ้ าแสงสว่างทางหลวง แบบโซเดียมความดันไอตํ่า


องก

หลอดปรอทความดันไอสู ง หรื อที่ชาวบ้านเรี ยกว่าหลอดแสงจันทร์ และมีประสิ ทธิ ผลสู งพอกับ


หลอดฟลูออเรสเซนต์ คือ มีประสิ ทธิ ผลประมาณ 50-80 ลูเมนต่อวัตต์ แสงที่ออกมามีความถูกต้องของสี
ิทธิ์ข

ประมาณร้อยละ 60 ส่ วนใหญ่ใช้แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์เมื่อต้องการวัตต์สูงๆ เหมาะสําหรับใช้กบั งาน


ประเภทโรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป แสงสว่างสาธารณะที่ตอ้ งการความถูกต้องสี เช่น ไฟถนน ไฟสาธารณะ
บริ เวณร้านค้าในพื้นที่ที่มีเพดานสู ง อายุการใช้งานประมาณ 8,000-24,000 ชัว่ โมง มีขนาดวัตต์ 50 80 125
ลิขส

250 400 700 และ 1,000 วัตต์


@

ข–4
@
นั้น
เท่า
ลวง
รูปที่ ข-3 ไฟฟ้ าแสงสว่างทางหลวง แบบปรอทความดันไอสูง

หลอดเมทัลฮาไลด์ หลอดเมทัลฮาไลด์ก็เหมือนกับหลอดปล่อยประจุอื่นๆ แต่มีขอ้ ดีที่ว่ามีสเปกตรัม


างห
แสงทุกสี ทําให้สีทุกชนิ ดเด่นภายใต้หลอดชนิ ดนี้ มีประสิ ทธิ ผลประมาณ 60-120 ลูเมนต่อวัตต์ เหมาะ
สําหรับใช้กบั งานที่ตอ้ งการความถูกต้องสี มาก เช่น งานพิมพ์สี งานส่ องสนามกีฬา และห้างสรรพสิ นค้า เป็ น
รมท

ต้น มีอายุการใช้งานประมาณ 6,000-9,000 ชัว่ โมง และมีขนาดวัตต์ 100 125 250 300 400 700 และ 1,000
วัตต์
องก
ิทธิ์ข
ลิขส
@

รู ปที่ ข-4 ไฟฟ้ าแสงสว่าง แบบเมทัลฮาไลด์

ข–5
หลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็ นหลอดปล่อยประจุความดันไอตํ่า สี ของหลอดมี 3 แบบคือ Daylight Cool
White และ Warm White ชนิดของหลอดชนิดนี้ที่ใช้งานกันทัว่ ไปคือแบบ Linear ขนาด 18 และ 36 วัตต์ และ
Circular 22 32 และ 40 วัตต์ และมีประสิ ทธิผลประมาณ 45-80 ลูเมนต่อวัตต์ และมีอายุการใช้งาน 9,000-
12,000 ชัว่ โมง
สําหรับโซเดียมความดันไอตํ่าไม่นิยมใช้ในปั จจุบนั เนื่องจากคุณภาพของการให้สีที่ไม่ถูกต้อง ส่ วน
ไฟฟ้ าส่ องสว่างในเวลากลางคืนตามถนนของเมืองไทยเป็ นลักษณะการใช้หลอดไฟแบบโซเดียมความดันไอ
สูง ซึ่งสี ที่ได้จะเพี้ยนไปจากความเป็ นจริ งไม่มากนัก แต่การมองเห็นจะชัดเจน สําหรับในเขตย่านชุมชนหรื อ

@
สถานที่ ท่องเที่ ยวที่ ไม่สมควรมี ความเพี้ยนของสี และเพื่อให้ทศั นี ยภาพคงสภาพสี ที่เหมือนจริ ง ควรใช้
หลอดไฟแบบปรอทความดันไอสูงหรื อเมทัลฮาไลด์

นั้น
เท่า
ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข

รู ปที่ ข-5 เปรี ยบเทียบไฟฟ้ าแสงสว่างทางหลวง แบบโซเดียมความดันไอสู งและแบบปรอทความดันไอสูง


ลิขส
@

ข–6
ตารางที่ ข-1 คุณสมบัติขอ้ กําหนด มาตรฐานกึ่งกลางทัว่ ไป ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง

โซเดียม ความ โซเดียม ความ ปรอท ความ


เมทัลฮาไลด์ ฟลูออเรสเซนต์
ดันไอสูง ดันไอตํ่า ดันไอสูง
กําลังไฟ (วัตต์) 250 35 400 400 40
ประสิ ทธิภาพ
70-130 120-200 50-80 60-120 45-80
(ลูเมน/วัตต์)
อายุใช้งาน

@
24,000 16,000 24,000 9,000 12,000
(ชัว่ โมง)
สี ของแสง ส้มอ่อน เหลือง ขาว ขาว ขาว

นั้น
คุณภาพของสี พอใช้ ไม่ดี ดี ดี ดี

เท่า
ตารางที่ ข-2 ความเหมาะสมการใช้งาน ของหลอดไฟชนิดต่างๆ

ลวง
โซเดียม ความ โซเดียม ความ ปรอท ความดัน
ประเภทถนน เมทัลฮาไลด์ ฟลูออเรสเซนต์
ดันไอสูง ดันไอตํ่า ไอสูง
ทางด่วน
างห
ทางหลวงนอกเมือง
ทางหลวงในเมือง
รมท

ถนนย่านธุรกิจการค้า
ถนนย่านที่อยูอ่ าศัย
องก

มีความเหมาะสม พอใช้
ิทธิ์ข

5. มาตรฐานความสว่ างของไฟฟ้าแสงสว่ างบนทางหลวง


มาตรฐานความสว่างของไฟฟ้ าแสงสว่างของกรมทางหลวงจะแบ่งตามประเภทของทางหลวง และ
ลิขส

สภาพพื้นที่บริ เวณที่ติดตั้ง แสดงตามตารางที่ ข-3


@

ข–7
ตารางที่ ข-3 มาตรฐานความสว่างกึ่งกลางของไฟฟ้ าแสงสว่างของกรมทางหลวง
(หน่วย : ลักซ์ (Lumen/meter2))
ประเภทถนน พื้นที่ในเมือง พื้นที่ชานเมือง พื้นที่นอกเมือง
ทางหลวงพิเศษ 21.5 15.0 10.75
ทางแยก 21.5 21.5 15.0
ทางหลวงสายหลัก 21.5 13.0 9.7

@
ทางหลวงสายรอง 13.0 9.7 6.5
ถนนท้องถิ่น 9.7 6.5 2.1

นั้น
นอกจากค่าความสว่างเฉลี่ยแล้ว ค่าความสว่างต้องมีค่าอัตราส่ วนความสมํ่าเสมอ (Uniformity

เท่า
Ratio) ดังนี้

ลวง
ค่าความสว่างตํ่าสุ ด
อัตราส่ วนความสมํ่าเสมอ = ค่าความสว่างเฉลี่ย = ไม่นอ้ ยกว่า 1:2.5

= ค่าความสว่างสูงสุ ด =
างห
ไม่เกิน 6:1
ค่าความสว่างตํ่าสุ ด
รมท

6. การออกแบบตําแหน่ งเสาไฟและดวงโคม
บนทางหลวงทัว่ ไปเสาไฟฟ้ าแสงสว่างจะมีความสูง 9 เมตร หรื อ 12 เมตร ทั้งนี้ข้ ึนกับความกว้างของ
องก

ผิวจราจร ตารางที่ ข-4 จะแสดงระยะห่ างเสาไฟโดยประมาณที่ค่าความสว่างต่ างๆ และสําหรั บการวาง


ตําแหน่งเสาไฟฟ้ าบริ เวณทางแยกจะแสดงตามรู ปที่ ข-6 ถึงรู ปที่ ข-15
ิทธิ์ข

ตารางที่ ข-4 ระยะห่างกึ่งกลางเสาไฟแสงสว่าง


ความสู งเสา ความกว้างผิวจราจร ค่าความสว่าง
ชนิดของหลอด
ลิขส

(เมตร) 2 ช่องจราจร 3 ช่องจราจร (ลักซ์)


100 วัตต์ 6 38 - 6.5
250 วัตต์ 9 50 - 10
@

250 วัตต์ 9 32 - 21.5


400 วัตต์ 12 - 40 21.5

ข–8
@
นั้น
เท่า
S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3

ลวง
รู ปที่ ข-6 ทางสามแยกรู ป y ทางโทเชื่อมทางด้านขวาทาง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข
ลิขส

S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3

รูปที่ ข-7 ทางสามแยกรู ป y ทางโทเชื่อมทางด้านซ้ายทาง


@

ข–9
@
นั้น
S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3

เท่า
รูปที่ ข-8 ทางสามแยกรู ป y ทางเอกเบี่ยงแนวเลี้ยวขวา

ลวง
างห
รมท
องก
ิทธิ์ข

S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3
ลิขส

รู ปที่ ข-9 ทางสามแยกรู ป y ทางเอกเบี่ยงแนวเลี้ยวซ้าย


@

ข–10
@
S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3

นั้น
รู ปที่ ข-10 ทางสามแยกรู ป T

เท่า
ลวง
างห
รมท

S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3
องก

รูปที่ ข-11 ทางสี่ แยก


ิทธิ์ข
ลิขส
@

S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3

รู ปที่ ข-12 การติดตั้งด้านเดียว

ข–11
S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3

@
รู ปที่ ข-13 การติดตั้งสลับฟันปลา

นั้น
เท่า
ลวง
างห
S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3

รูปที่ ข-14 ทาง 4 ช่องจราจร ไม่แบ่งทิศทางการจราจร


รมท
องก
ิทธิ์ข

S = ระยะห่างเสาไฟตามตารางที่ ข-3
ลิขส

รูปที่ ข-15 ทาง 4 ช่องจราจร แบ่งทิศทางการจราจรโดยเกาะกลาง


@

ข–12
คณะกรรมการกํากับโครงการศึกษาเพือ่ ปรับปรุ งมาตรฐานเครื่องหมายควบคุมการจราจรกรมทางหลวง

1. นายสุ ชาติ ลีรคมสัน ------------------------------------------------------------------------------------------ ประธานกรรมการ


ผูอ้ าํ นวยการสํานักมาตรฐานและประเมินผล

2. นายสุ จิณ มัง่ นิมิตร ------------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ

@
3. นายอาณัติ ประทานทรัพย์ --------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
รก.วิศวกรโยธาเชี่ยวชาญ

นั้น
4. นายสว่าง บูรณธนานุกิจ ------------------------------------------------------------------------------------------------ กรรมการ

เท่า
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ

5.

ลวง
นายพลเทพ เลิศวรวนิช ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
างห
6. นายวิชิต นามประสิ ทธิ์ -------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ
วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
รมท

7. นายกุลธน แย้มพลอย --------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการพิเศษ
องก

8. นายทวีศกั ดิ์ ชาญวรรณกุล ---------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
ิทธิ์ข

9. นางสาวภัทริ น ศรุ ติพนั ธ์ ------------------------------------------------------------------------------------------------- กรรมการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
ลิขส

10. นายจตุรงค์ เสาวภาคย์ไพบูลย์ ---------------------------------------------------------------------- กรรมการและเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
@

11. นายนะบีลย์ เจ๊ะแว ----------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ

12. นายธวัชชัย แสงรัตน์ --------------------------------------------------------------------------- กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ


วิศวกรโยธาชํานาญการ
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@
@
ลิขส
ิทธิ์ข
องก
รมท
างห
ลวง
เท่า
นั้น
@

You might also like