You are on page 1of 18

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

บทที โครงสร้ างโลก (Earth is Structure)


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

» โลกมีการเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลาทังบริ เวณพืนผิวและภายใน
โลก
» โลกเป็ นดาวเคราะห์ หิน (terrestrial planet) ดวงหนึง เกิดขึนเมือ
ประมาณ , ล้านปี ก่อนในระบบสุ ริยะ
» โลกเริ มกําเนิดโดยการรวมตัวของมวลจากการปะทะและ
หลอมรวมกันของวัตถุทเหลืี อจากการก่ อตัวของดวงอาทิตย์
» ช่วงต้นของการกําเนิดโลกมีอุณหภูมสิ ู งทําให้สสารต่างๆหลอม
เข้าด้วยกัน จากนันอุณหภูมิกเ็ ริ มลดลงทําให้สสารมีการแยกจากกัน
ตามความหนาแน่ น
» สสารทีเป็ นธาตุหนัก มีความหนาแน่นมาก จะรวมตัวอยูบ่ ริ เวณ
ใจกลางของโลก ส่ วนธาตุทีเบากว่า มีความหนาแน่นน้อยกว่า
จะรวมตัวบริ เวณรอบนอก
» กระบวนการดังกล่าวทําให้โลกเกิดการแบ่งชัน

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

. ข้ อมูลในการศึกษาและแบ่ งชันโครงสร้ างโลก

นิวตันศึกษาความโน้มถ่วงของโลกและความ
หนาแน่นเฉลียของโลก พบว่าความหนาแน่นเฉลียของ
โลก ( , กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) มีค่าเป็ น เท่าของ
ความหนาแน่นของหิ นบนผิวโลกจึงสันนิษฐานว่า โลกไม่
ได้เป็ นเนือเดียวกันทังหมดส่ วนทีลึกลงไปน่าจะมีความ
หนาแน่นมากกว่า

เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isac Newton)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

หินบนเปลือกโลก หินภูเขาไฟ

ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาหิ นบนเปลือกโลกและหิ นทีเกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟพบว่าสมบัติ


ทางกายภาพและองค์ประกอบทางเคมีคล้ายกัน

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

หินแปลกปลอม
(xenolith)

แต่เมือเปรี ยบเทียบกับหิ นแปลกปลอม (xenolith) ทีถูกนําขึนมาพร้อมลาวา


พบว่ามีสมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางเคมีแตกต่างกันออกไป และเมือเจาะสํารวจทํา
ให้ทราบว่าโลกมีอุณหภูมิและความดันเพิมขึนตามระดับความลึก และจากการระเบิด
ของภูเขาไฟทําให้ทราบว่าภายใต้ผวิ โลกบางส่ วนมีหินหลอมเหลว

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

ทฤษฎีกาํ เนิดสุ ริยะ

จากการศึกษาข้ างต้ นยังไม่ ทาํ ให้ ทราบถึงข้ อมูล


ของโครงสร้ างโลกในระดับลึกได้

สมบัตขิ องคลืนไหวสะเทือน
(seismic waves)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

ทฤษฎีกาํ เนิดสุ ริยะ

จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและความหนาแน่นของอุกกาบาตเหล็ก (iron meteorites) ที


พบในระบบสุ ริยะ พบว่ามีองค์ประกอบหลักทางเคมีเป็ นเหล็กและนิกเกิล และเมือคํานวณค่าความ
หนาแน่นของอุกกาบาตเหล็กและหิ นบนเปลือกโลก แล้วนําไปเปรี ยบเทียบกับความหนาแน่นของ
โลกทีนิวตันคํานวณไว้พบว่ามีค่าใกล้เคียงกัน
เมือเชือโยงกับทฤษฎีกาํ เนิดระบบสุ ริยะทีว่าอุกกาบาตคือวัตถุทีเหลือจากการกําเนิด
ระบบสุ ริยะ จึงสันนิษฐานว่าส่ วนหนึงของวัสดุก่อกําเนิดโลกมีองค์ประกอบเป็ นเหล็กและนิกเกิล
รวมทังการค้นพบสนามแม่เหล็กโลกซึงคาดการณ์วา่ เกิดการเหนียวนําด้วยโลหะจําพวกเหล็กภายใน
โลก

อุกกาบาตเหล็ก
(iron meteorites)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

สมบัตขิ องคลืนไหวสะเทือน (seismic waves)

» ศึกษาสมบัติเชิงกลของโครงสร้างโลก คลืนไหวสะเทือน
» คลืนไหวสะเทือนเป็ นคลืนกลทีเกิดจากแรงสันสะเทือนจากแผ่นดินไหวหรื อทีมนุษย์สร้างขึน
» คลืนไหวสะเทือน
- คลืนในตัวกลาง (body waves)
- คลืนพืนผิว (surface waves)
» ศึกษาโครงสร้างของโลก ใช้สมบัติของคลืนในตัวกลางในการศึกษา
- คลืนปฐมภูมิ ( Primary wave, P wave)
- คลืนทุติยภูมิ ( Secondary wave, S wave)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

คลืนปฐมภูมิ (Primary wave, P wave)


» เป็ นคลืนตามยาว
» สามารถเคลือนทีผ่านตัวกลางได้ทุกสถานะ
» เมือเคลือนทีผ่านตัวกลางทําให้อนุภาคของตัวกลางเกิดการอัดและขยายในทิศทางเดียวกับการเคลือนทีของคลืน
» การอัดสปริ งตามแนวยาว

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

คลืนทุตยิ ภูมิ ( Secondary wave, S wave)


» เป็ นคลืนตามขวาง

» เคลือนทีผ่านได้เฉพาะตัวกลางทีมีสถานะทีเป็ นของแข็ง

» เมือเคลือนทีผ่านตัวกลางทําให้อนุภาคของตัวกลางเคลือนทีตังฉากกับทิศทางการเคลือนทีของคลืน
» การสะบัดสปริ งไปทางซ้ายขวา

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

ถ้ าคลืนปฐมภูมิ และคลืนทุตยิ ภูมิเคลือนทีผ่ านตัวกลางทีต่ างชนิดกัน


» คลืนมีความเร็ วลดลง
» เกิดการหักเห และ/การสะท้อน
» จะเกิดขึนบริ เวณรอยต่อของตัวกลาง

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

นักวิทยาศาสตร์ นําคุณสมบัตขิ องคลืนไหวสะเทือนมาใช้ ศึกษาโครงร้ างของโลก


ตังสมมติฐาน ???
. หากภายในโลกเป็ นเนือเดียวกันตลอด คลืนไหวสะเทือนทีเคลือนทีผ่านภายในโลกจะมีความเร็ วคงที
และเดินทางเป็ นเส้นตรง
ศูนย์ เกิดแผ่ นดินไหว

สมมติฐานการเคลือนทีของคลืนไหวสะเทือนเมือผ่ านในโลก
โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา
บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

.ถ้าวัสดุภายในโลกมีความหนาแน่นและความดันเพิมขึนเรื อยๆ ตามระดับความลึก คลืนไหว


สะเทือนจะเคลือนผ่านภายในโลกด้วยความเร็ วเพิมขึนตามการเพิมขึนของความหนาแน่นและ
ความดัน
ศูนย์ เกิดแผ่ นดินไหว

สมมติฐานการเคลือนทีของคลืนไหวสะเทือนเมือผ่ านในโลก

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

. ถ้าวัสดุภายในโลกมีความหนาแน่นทีไม่เท่ากันคลืนไหวสะเทือนจะเคลือนผ่านภายในโลกด้วยความเร็ ว
ทีเปลียนไปเกิดการหักเห หรื อสะท้อนทีบริ เวณรอยต่อของตัวกลาง
ศูนย์ เกิดแผ่ นดินไหว

สมมติฐานการเคลือนทีของคลืนไหวสะเทือนเมือผ่ านในโลก

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา


บทที โครงสร้างโลก (Earth’s structure)

โรงเรียนหาดใหญ่ วทิ ยาลัย จังหวัดสงขลา

You might also like