You are on page 1of 42

4.ความรู้ ทวั่ ไป (4.1.

หลัการประกันภัย)
ข้ อสอบวิชาความรู้ เกีย่ วกับการประกันวินาศภัย
จงทาเครื่องหมาย X ลงในคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงคาตอบเดียว
1. การประกันภัยที่เกิดขึ้นครั้งแรกของโลก คือ
ก. การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
ข. การประกันอัคคีภยั
ค. การประกันภัยทางทะเลและการขนส่ ง
ง. การประกันภัยรถยนต์
2. ร้านขายกาแฟของนาย Edward Lioyd ซึ่ งเป็ นจุดแรกของการกาเนิดการประกันภัยในรู ปแบบปั จจุบนั และได้
พัฒนาเป็ นสถาบันประกันภัยที่มีชื่อเสี ยงโด่งดังทัว่ โลก อยูใ่ นประเทศ
ก. ฝรั่งเศส
ข. สวิตเซอร์แลนด์
ค. สาธารณรัฐเยอรมัน
ง. อังกฤษ
3. ผูร้ ับประกันภัยในประเทศอังกฤษที่มีชื่อเสี ยงและก่อตั้งมาเป็ นเวลานานกว่า 300 ปี แล้ว ได้แก่
ก. The British & European Reinsurance Co., Ltd.
ข. Lloyd’s of London
ค. Sun Alliance & London Insurance PLC.
ง. Unine Italiana ( UK) Reinsurance Co., Ltd.
4. ข้อใดคือการทาธุ รกิจประกันภัย
ก. เป็ นการกระจายความเสี่ ยงภัย
ข. หาสมาชิกและผูเ้ อาประกันภัยจานวนมาก
ค. ชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนตามที่ตกลงกัน
ง. ถูกทุกข้ อ
5. ประโยชน์หลักหรื อโดยตรงของการประกันภัย
ก. ทาให้เกิดเสถียรภาพในการประกอบธุ รกิจ
ข. ทาให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการประกอบธุ รกิจ
ค. ทาให้เกิดการออมทรัพย์
ง. ทาให้ เกิดความคุ้มครองความเสี ยหายทางเศรษฐกิจหรือทางการเงินแก่ ผ้ เู อาประกันภัย
6. ข้อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ ของการประกันภัย
ก. ทาให้เกิดการออมทรัพย์
ข. ทาให้ เกิดกาไร
ค. ช่วยลดความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้น
ง. ก่อให้เกิดความเสถียรภาพในการประกอบธุ รกิจ
7. การประกันวินาศภัยในประเทศไทย แบ่งออกเป็ นประเภทต่างๆได้
ก. 5 ประเภท
ข. 4 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 2 ประเภท
8. การประกันภัยชีวติ โค กระบือ เป็ น
ก. การประกันชีวิตประเภทสามัญ
ข. การประกันชีวิตประเภทอุตสาหกรรม
ค. การประกันวินาศภัยประเภทประกันภัยเบ็ดเตล็ด
ง. การประกันวินาศภัยประเภทการประกันภัยทางทะเลและการขนส่ ง
9. ข้อใดไม่ใช่การประกันภัยเบ็ดเตล็ด
ก. การประกันภัยสุ ขภาพ
ข. การประกันภัยอุบตั ิเหตุเดินทาง
ค. การประกันภัยทางทะเลและการขนส่ ง
ง. การประกันภัยพืชผล
10. ข้อใดเป็ นการประกันภัยที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดทางกฎหมาย ( Liability Insurance )
ก. การประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก
ข. การประกันภัยเงินทดแทนแรงงาน
ค. การประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายของนายจ้าง
ง. ถูกทุกข้ อ
11. ผูเ้ อาประกันภัยสามารถเลือกซื้ อกรมธรรม์ประกันภัยอุบตั ิเหตุได้จากที่ใด
ก. บริ ษทั ประกันชีวิต
ข. บริ ษทั ประกันวินาศภัย
ค. บริษัทประกันชีวติ หรือ บริษัทประกันวินาศภัย
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
12. ที่มาของรายได้ของธุ รกิจประกันภัยมาจากแหล่งใดบ้าง
ก. การรับเบี้ยประกันภัยจากการรับประกันภัย
ข. การนาเบี้ยประกันภัยไปลงทุนตามกฎหมายกาหนด
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ผิดทั้ง ก. และ ข.
13. ที่มาของรายจ่ายของธุ รกิจประกันภัยประกอบด้วย
ก. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ
ข. ค่าสิ นไหมทดแทน
ค. ค่าบาเหน็จหรื อค่านายหน้า
ง. ถูกทุกข้ อ
14. รายจ่ายข้อใดเป็ นรายจ่ายที่บริ ษทั ประกันภัยไม่สามารถควบคุมได้ล่วงหน้า
ก. ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ
ข. ค่าสิ นไหมทดแทน
ค. ค่าบาเหน็จ หรื อนายหน้า
ง. ถูกทุกข้ อ
15. ข้อใดไม่ได้จดั อยูใ่ นความหมายของการเสี่ ยงภัย ( Risk )
ก. เป็ นภัยทีจ่ ะเกิดขึน้ อย่างแน่ นอน
ข. ความเป็ นไปได้ของความสู ญเสี ยหรื อเสี ยหาย
ค. เป็ นภัยที่เกิดขึ้นหรื อไม่เกิดขึ้นก็ได้
ง. มหันตภัย
16. ลักษณะของการเสี่ ยงภัยที่จะรับประกันภัยได้ จะต้องมี
ก. โอกาสที่จะเกิดความเสี ยหายสามารถคาดคะเนหรื อคานวณได้
ข. เหตุการณ์ที่จะเกิดความเสี ยหายในขณะใดขณะหนึ่ง
ค. ความเสี ยหายต้องเกิดขึ้นจากอุบตั ิเหตุ
ง. ถูกทุกข้ อ
17. ข้อใดถือเป็ นการเสี่ ยงภัยที่เอาประกันภัยไม่ได้ ( Uninsurable Risk ) ในการประกันวินาศภัย
ก. ความเสี่ ยงภัยที่ขดั ต่อกฎหมาย
ข. ผูเ้ อาประกันภัยไม่มีส่วนได้เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัย
ค. ความเสี่ ยงภัยที่จะเกิดขึ้นแน่นอนในอนาคต
ง. ถูกทุกข้ อ
18. ลักษณะของการเสี่ ยงภัยแบบใดที่บริ ษทั จะรับประกันภัยได้
ก. ความเสี ยหายที่เกิดขึ้นโดยเจตนาของผูเ้ อาประกันภัย
ข. ความเสี ยหายที่เกิดขึ้น ทั้งที่สามารถประเมินเป็ นตัวเงินได้และประเมินเป็ นตัวเงินไม่ได้
ค. จานวนความเสี ยหายนั้นจะต้ องมีลกั ษณะคล้ายคลึงกันและจานวนมากพอ
ง. ถูกทุกข้อ
19. เหตุการณ์ใดที่สามารถหาค่าความเป็ นไปได้โดยการอาศัยประสบการณ์ หรื อเก็บสถิติขอ้ มูลที่เกิดขึ้นในอดีต (
Empirical Method )
ก. การโยนเหรี ยญ
ข. การทอดลูกเต๋ า
ค. การเกิดอุบตั ิเหตุรถชนกัน
ง. ถูกทุกข้ อ
20. “ กฎของจานวนมาก ( Law of Large Numbers ) ” หมายถึง
ก. การนาเบี้ยประกันภัยที่ได้รับไปลงทุน โดยกระจายความเสี่ ยงให้มากที่สุด เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่
แน่นอนมากที่สุด
ข. การนาเอา “ ค่ าความน่ าจะเป็ น ” ของการเกิดความเสี ยหายทีม่ ีจานวนมากพอมาประเมินโอกาสของความ
เสี ยหายในอนาคต
ค. ผูร้ ับประกันภัยหลายรายเข้าไปรับประกันภัยที่มีความเสี่ ยงสู งและมีจานวนเงินเอาประกันภัยสู งเช่นกัน
ง. โอกาสของความเสี ยหายที่อาจจะเกิดเป็ นจานวนมาก
21. หลักคณิ ตศาสตร์และสถิติที่ใช้ในการคานวณหาค่ าความเป็ นไปได้ ที่จะเกิดภัย ได้แก่
ก. Law of Forecasting
ข. Law of Large Number
ค. Law of Large Risk
ง. ถูกทุกข้อ
22. ข้อใดถูกต้องที่สุดในด้านทฤษฎีทเี่ กีย่ วกับการประกันภัย
ก. เมตริ กและสถิติ
ข. ความน่ าจะเป็ นและกฎจานวนมาก
ค. ความน่าจะเป็ นและสถิติ
ง. สถิติและกฎจานวนมาก
23. ในการรับประกันภัย บริ ษทั จะรับประกันภัยถ้าคานวณแล้วโอกาสหรื อความเป็ นไปได้ที่จะเกิดภัยนั้นๆมีค่า
เป็ น
ก. ศูนย์
ข. หนึ่ง
ค. น้อยกว่าหนึ่ง
ง. มีค่ามากกว่ าศูนย์ แต่ น้อยกว่ าหนึ่ง
24. ข้อใด เป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพิจารณากาหนดอัตราเบี้ยประกันภัย
ก. จานวนครั้งที่เกิดความเสี ยหาย
ข. ความรุ นแรงที่เกิดความเสี ยหายในแต่ละครั้ง
ค. จานวนกรมธรรม์ประกันภัยทั้งหมดที่ให้ความคุม้ ครองในลักษณะภัยและความเสี่ ยงภัยชนิดเดียวกัน
ง. ถูกทุกข้ อ
25. ในเรื่ องการประกันภัย เรามักคานวณค่าความเป็ นไปได้หรื อโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นได้
โดยวิธีใดเป็ นส่ วนใหญ่
ก. ความเป็ นไปได้ที่ทราบจานวนล่วงหน้า ( Priori Probabilities )
ข. จากประสบการณ์ และการรวบรวมข้ อมูลในอดีต ( Empirical Method )
ค. การคาดการณ์หรื อการประมาณการ ( Forecast )
ง. ถูกทุกข้อ
26. ความหมายใดคือความหมายที่สมบูรณ์ที่สุดของคาว่า “ การเสี่ ยงภัย ( Risk ) ”
ก. โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งเมื่อไรก็ได้และจะนามาซึ่ งความเสี ยหายทางเศรษฐกิจ
ข. โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนเมื่อไรก็ได้และจะนามาซึ่ งความเสี ยหายทางเศรษฐกิจ
ค. โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนในอนาคตและจะนามาซึ่ งความเสี ยหายทางเศรษฐกิจ
ง. โอกาสทีจ่ ะเกิดเหตุการณ์ อย่ างใดอย่ างหนึ่งทีไ่ ม่ แน่ นอนขึน้ ในอนาคตและจะนามาซึ่งความเสี ยหายทาง
เศรษฐกิจ
27. ในธุ รกิจประกันภัย การเสี่ ยงภัยประเภทใดที่บริ ษทั ประกันภัยจะรับประกันภัยได้
ก. การเสี่ ยงภัยแท้จริง ( Pure Risk )
ข. การเสี่ ยงภัยเพื่อกาไร ( Speculative Risk )
ค. การเสี่ ยงภัยทางเศรษฐกิจ ( Economic Risk )
ง. การเสี่ ยงภัยทั้ง 3 ประเภท
28. การเสี่ ยงภัยแท้จริ ง ( Pure Risk ) ได้แก่
ก. การเสี่ ยงภัยจากน้ าท่วมบ้าน
ข. การเสี่ ยงภัยจากการค้าขายขาดทุนของพ่อค้า
ค. การเสี่ ยงภัยจากการพนัน
ง. การเสี่ ยงภัยจากการซื้ อขายหุ ้น
29. การเกิดอัคคีภยั ถือเป็ นการเสี่ ยงภัย ( Risk ) ประเภทใด
ก. การเสี่ ยงภัยแท้จริง ( Pure Risk )
ข. การเสี่ ยงภัยเก็งกาไร ( Speculative Risk )
ค. การเสี่ ยงภัยเบื้องต้น ( Primary Risk )
ง. การเสี่ ยงภัยเฉพาะ ( Particular Risk )
30. การเสี่ ยงภัยทั้ง 3 ประเภทข้อใดมิใช่เหตุการณ์ที่เป็ นการเสี่ ยงภัยที่แท้จริ ง ( Pure Risk )
ก. การเกิดไฟไหม้
ข. การเกิดอุบตั ิเหตุลื่นล้ม
ค. รถยนต์ชนกัน
ง. การขาดทุนจากการซื้อหุ้น
31. ข้อใดคือความหมายที่แท้จริ งของคาว่า “Pure Risk ( การเสี่ ยงภัยแท้จริ ง ) ” และ “Speculative Risk ( การ
เสี่ ยงภัยเก็งกาไร )”
ก. Pure Risk คือ การเสี่ ยงภัยที่มีผลกระทบต่อคนหมู่มาก Speculative Risk เป็ นการเสี่ ยงภัยที่มีผลกระทบ
ต่อบุคคล
ข. Pure Risk คือ การเสี่ ยงภัยที่มีผลกระทบต่อบุคคล Speculative Risk เป็ นการเสี่ ยงภัยที่มีต่อคนหมู่มาก
ค. Pure Risk คือ การเสี่ ยงภัยจากเหตุการณ์ ทไี่ ม่ แน่ นอนทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติตรงข้ ามกับ Speculative
Risk ซึ่งเกิดจากการจงใจสร้ างความเสี่ ยงภัยขึน้ เพือ่ หวังกาไรทางธุรกิจ
ง. Pure Risk คือ การจงใจสร้างความเสี่ ยงภัยขึ้นเพื่อหวังกาไรทางธุ รกิจตรงข้ามกับ Speculative Risk ซึ่ง
เป็ นการเสี่ ยงภัยจากเหตุการณ์ที่ไม่แน่นอนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
32. ประเภทของการบริ หารความเสี่ ยงภัย ( Risk Management ) ได้แก่
ก. การลดการเสี่ ยงภัย
ข. การหลีกเลี่ยงการเสี่ ยงภัย
ค. การโอนการเสี่ ยงภัย
ง. ถูกทุกข้ อ
33. การจัดการการเสี่ ยงภัยแบบใดที่เป็ นความหมายของการประกันภัย
ก. การลดความเสี่ ยงภัย
ข. การรับความเสี่ ยงภัยไว้เอง
ค. การโอนความเสี่ ยงภัย
ง. การหลีกเลี่ยงความเสี่ ยงภัย
34. ข้อใดไม่ถือเป็ นการจัดการการเสี่ ยงภัย ( Risk Management )
ก. การหลีกเลี่ยงการเสี่ ยงภัย
ข. การลดการเสี่ ยงภัย
ค. การรับการเสี่ ยงภัยไว้เอง
ง. การวิเคราะห์ การเสี่ ยงภัย
35. วิธีการจัดการความเสี่ ยงภัยแบบใดที่ธุรกิจประกันภัยถือเป็ น “ Self – Insurance ”
ก. การหลีกเลี่ยงการเสี่ ยงภัย
ข. การป้ องกันการเสี่ ยงภัย
ค. การปกป้ องการเสี่ ยงภัย
ง. การเก็บความเสี่ ยงภัยไว้เอง
36. การเก็บความเสี่ ยงภัยไว้เอง ( Retention of Risk ) หมายถึง
ก. ความเสี่ ยงภัยในส่ วนที่ผรู ้ ับประกันภัยต่อรับเสี่ ยงภัยไว้เอง
ข. ความเสี่ ยงภัยในส่ วนทีผ่ ้ เู อาประกันภัยรับเสี่ ยงภัยไว้ เอง
ค. ความเสี่ ยงภัยในส่ วนที่ผรู ้ ับประกันภัยรับเสี่ ยงภัยไว้เอง
ง. ความเสี่ ยงภัยในส่ วนที่ผรู ้ ับประโยชน์รับเสี่ ยงภัยไว้เอง
37. วิธีการใดไม่ถือว่าเป็ นการป้ องกันการเกิดภัย ( Prevention )
ก. การติดป้ ายห้ามสู บบุหรี่ ไว้ในปั๊ มน้ ามัน
ข. การดับเพลิงเมื่อเกิดไฟไหม้
ค. การตรวจสอบสภาพรถก่อนออกเดินทาง
ง. การติดตั้งเครื่ องตัดไฟอัตโนมัติไว้ในโรงงาน
38. วิธีการใดถือเป็ นการปกป้ องการเสี่ ยงภัย ( Protection )
ก. การติดตั้งเครื่ องดับเพลิงไว้รอบโรงงาน
ข. การตรวจสภาพรถก่อนออกเดินทาง
ค. การดับเพลิงเมื่อเกิดไฟไหม้
ง. การติดป้ ายห้ามสู บบุหรี่ ไว้ในปั๊ มน้ ามัน
39. คนที่กลัวจะเสี ยชีวติ เพราะเครื่ องบินตก เลยตัดสิ นใจไม่เดินทางโดยเครื่ องบินตลอดชี วติ ถือเป็ นการจัดการการ
เสี่ ยงภัยโดยวิธีใด
ก. การหลีกเลีย่ งการเสี่ ยงภัย
ข. การลดการเสี่ ยงภัย
ค. การป้ องการเสี่ ยงภัย
ง. การโอนการเสี่ ยงภัย
40. ข้อใดพูดถึงความหมายของคาว่า “ ภัย ( Peril ) ” ที่ถูกต้อง
ก. ภัย ( Peril ) หมายถึง สาเหตุของความเสี ยหาย
ข. ภัย ( Peril ) หมายถึง เหตุการณ์อนั เป็ นที่มาของความเสี ยหาย
ค. ภัย ( Peril ) หมายถึง สาเหตุทที่ าให้ เกิดความเสี ยหาย
ง. ภัย ( Peril ) หมายถึง สาเหตุที่ทาให้เพิ่มความเสี ยหาย
41. ภัยใดต่อไปนี้ที่เกิดจากบุคคล ( Human Perils )
ก. ระเบิดจากแก๊สหุ งต้มอาหาร
ข. การฉี ดน้ าเพื่อดับไฟของพนักงานดับเพลิง
ค. การวางเพลิง
ง. ผิดทุกข้อ
42. ข้อใดพูดถึงความหมายของคาว่า “ สภาวะภัย ( Hazard ) ” ที่ถูกต้อง
ก. สภาพหรือเงื่อนไขที่ทาให้ ภาวะความเสี่ ยงภัยเพิม่ ขึน้ หรือลดน้ อยลง
ข. สภาพหรื อเงื่อนไขที่ทาให้ภาวะความเสี่ ยงภัยลดน้อยลง
ค. สภาพหรื อเงื่อนไขที่ทาให้ภาวะความเสี่ ยงภัยคงที่
ง. สภาพหรื อเงื่อนไขที่ทาให้ภาวะความเสี่ ยงภัยเพิ่มขึ้น
43. ข้อใดคือความหมายของ “ สภาวะภัยทางกายภาพ ( Physical Hazard ) ”
ก. ลักษณะความเสี ยหายที่เกิดกับวัตถุที่เอาประกันภัย
ข. สภาพส่ งเสริ มให้เกิดความเสี ยหาย หรื อสู ญเสี ย ที่เกิดจากอุปนิสัยของผูเ้ อาประกันภัย
ค. สภาพส่ งเสริมให้ เกิดความเสี ยหาย หรือสู ญเสี ย ทีเ่ กิดจากสภาพแวดล้ อมหรือเกิดจากตัววัตถุทเี่ อา
ประกันภัยเอง
ง. สภาพส่ งเสริ มให้เกิดความเสี ยหาย หรื อสู ญเสี ย ที่เป็ นทัศนคติ ของผูเ้ อาประกันภัย
44. ข้อใดเป็ นสภาวะภัยทางกายภาพ ( Physical Hazard ) ตามกรมธรรม์ประกันอัคคีภยั
ก. บ้านซึ่ งตั้งอยูใ่ กล้กบั โรงงาน
ข. บ้านอยูอ่ าศัยซึ่ งดัดแปลงเป็ นห้องเช่า
ค. บ้านที่ใช้วสั ดุก่อสร้างไม่เป็ นไปตามมาตรฐาน
ง. ถูกทุกข้ อ
45. ท่านมีความเห็นว่าการเสี่ ยงภัย (Risk ) ใดที่มีสภาวะภัย ( Hazard ) สู งที่สุด
ก. บ้านครึ่ งตึกครึ่ งไม้
ข. บ้ านไม้ หลังคามุงจาก
ค. บ้านไม้หลังคากระเบื้อง
ง. บ้านตึกหลังคากระเบื้อง
46. คาว่า “ ภาวะภัยทางศีลธรรม ( Moral Hazard ) ” หมายถึง
ก. การกระทาโดยทุจริตเพือ่ หวังเงินค่ าสิ นไหมทดแทน
ข. การกระทาโดยขาดสติเพื่อให้เกิดความเสี ยหายขึ้น
ค. การกระทาโดยจงใจโดยหวังค่าตอบแทนจากผูจ้ า้ ง
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
47. ข้อใดเป็ นผลที่เกิดจากสภาวะภัยทางศีลธรรม ( Moral Hazard )
ก. ทาให้สัญญาประกันภัยสิ้ นสุ ดลง
ข. ทาให้ผเู ้ อาประกันภัยไม่ตอ้ งชาระเบี้ยประกันภัย
ค. ทาให้ ผ้ ูรับประโยชน์ เสี ยสิ ทธิในการรับประโยชน์
ง. ถูกทุกข้อ
48. ข้อใดถือเป็ นสภาวะภัยทางศีลธรรม ( Moral Hazard )
ก. เสี ยบปลัก๊ พัดลมไว้ตลอดทั้งวันทั้งคืน
ข. สภาพบ้านที่อยูใ่ นชุมชนแออัด
ค. สู บบุหรี่ ในสถานที่ที่มีวตั ถุไวไฟ
ง. การเผาทรัพย์สินเอาประกันภัย
49. สภาวะภัยทางศีลธรรม ( Moral Hazard ) และสภาวะภัยทางอุปนิสัย ( Morale Hazard ) มีความเหมือนกัน
ที่วา่ เป็ นภาวการณ์ที่ช่วยส่ งเสริ มให้เกิดภัยมากขึ้น อันเป็ นผลมาจากสภาพจิตใจของบุคคลแต่มีความแตกต่างกัน
คือ
ก. สภาวะภัยทางศีลธรรม เป็ นการกระทาที่ต้ งั ใจหรื อเจตนา
ข. สภาวะภัยทางอุปนิสัย เป็ นการกระทาที่เกิดจากความประมาทเลินเล่อไม่เจตนา
ค. ผิดทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
ง. ถูกทั้งข้ อ ก. และข้ อ ข.
50. การที่เจ้าของรถยนต์ที่มีประกันภัยไว้ ขับรถด้วยความคะนองและทาให้เกิดความเสี ยหายต่อทรัพย์สินของ
บุคคลภายนอก โดยที่ขาดความระมัดระวังในการป้ องกันภัยตามสมควรภือเป็ นสภาวะภัย (Hazard ) ประเภท
ใดหรื อนายประสิ ทธิ์ สูบบุหรี่ และเผลอหลับไปจนทาให้เกิดไฟไหม้บา้ นตนเองและเพื่อนบ้านใกล้เคียงสภาวะภัย
(Hazard ) เช่นนี้เรี ยกว่าเป็ นสภาวะภัยแบบใด ( ตัวเลือกเดียวกัน )
ก. สภาวะภัยทางกายภาพ ( Physical Hazard )
ข. สภาวะภัยทางศีลธรรม ( Moral Hazard )
ค. สภาวะภัยทางอุปนิสัย ( Morale Hazard )
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
51. ข้อใดถือเป็ นสภาวะภัยทางอุปนิสัย ( Morale Hazard )
ก. สู บบุหรี่ บนเตียงนอน
ข. ไม่ดบั ธูปก่อนนอน
ค. เปิ ดแก๊สอุ่นอาหารทิ้งไว้
ง. ถูกทุกข้ อ
52. นายอาจหาญถูกฟ้ าผ่าในขณะที่กาลังเดินอยูก่ ลางทุ่งโล่งขณะฝนตก โดยที่ได้ใส่ สร้อยคอทองคาหนัก 2 บาท
ออกไปด้วย ตัวภัย ( Peril ) ในกรณี น้ ี ได้แก่
ก. โอกาสที่จะเกิดฟ้ าผ่า
ข. ฟ้าผ่า
ค. นายอานาจ
ง. การใส่ สร้อยคอทองคา
53. นายอาจหาญถูกฟ้ าผ่าในขณะที่กาลังเดินอยูก่ ลางทุ่งโล่งขณะฝนตก โดยที่ได้ใส่ สร้อยคอทองคาหนัก 2 บาท
ออกไปด้วย โอกาสที่นายอานาจจะถูกฟ้ าผ่าถือเป็ น
ก. ตัวภัย ( Peril )
ข. การเสี่ ยงภัย ( Risk )
ค. สภาวะภัย ( Hazard )
ง. ความเสี ยหาย ( Loss )
54. นายอาจหาญถูกฟ้ าผ่าในขณะที่กาลังเดินอยูก่ ลางทุ่งโล่งขณะฝนตก โดยที่ได้ใส่ สร้อยคอทองคาหนัก 2 บาท
ออกไปด้วย ข้อใดมิใช่สภาวะภัย ( Hazard )
ก. นายอานาจเดินอยูก่ ลางทุ่งโล่ง
ข. นายอานาจเดินอยูข่ ณะฝนตก
ค. นายอานาจใส่ สร้อยคอทองคาเดินอยู่
ง. นายอานาจถูกฟ้าผ่ า
55. น.ส. สมศรี ปลูกบ้านซึ่ งสร้างด้วยไม้อยูใ่ นชุมชนซอยราชวิถี 6 ในกรณี เช่นนี้สภาวะภัย ( Hazard ) คือ
ก. บ้ านตั้งอยู่ในชุ มชนซอยราชวิถี 6
ข. การเกิดเพลิงไหม้
ค. โอกาสที่จะเกิดเพลิงไหม้
ง. ถูกทุกข้อ
56. น.ส. สมศรี ปลูกบ้านซึ่ งสร้างด้วยไม้อยูใ่ นชุมชนซอยราชวิถี 6 และได้เกิดเพลิงไหม้ข้ ึน ตัวภัย ( Peril ) คือ
ก. บ้านตั้งอยูใ่ นชุมชนซอยราชวิถี 6
ข. การเกิดเพลิงไหม้
ค. โอกาสที่จะเกิดเพลิงไหม้
ง. ถูกทุกข้อ
57. โรงงานผลิตกระดาษแห่งหนึ่งสร้างด้วยไม้ท้ งั หลัง และตั้งอยูไ่ ม่ห่างจากสถานีบริ การน้ ามันมากนักในกรณี น้ ี
สภาวะภัย ( Hazard ) ได้แก่
ก. การผลิตกระดาษของโรงงานนั้น
ข. โรงงานนั้นตั้งอยูใ่ กล้กบั สถานีบริ การน้ ามัน
ค. โรงงานนั้นสร้างด้วยไม้ท้ งั หลัง
ง. ถูกทุกข้ อ
58. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการประกันภัยและการพนัน
ก. การประกันภัยเป็ นการเสี่ ยงหากาไร แต่การพนันไม่ได้มีเจตนามุ่งหวังกาไร
ข. การประกันภัยและการพนันไม่ได้มีผลบังคับตามกฎหมาย
ค. ผู้เอาประกันภัยจะต้ องมีส่วนได้ เสี ยในเหตุทเี่ อาประกันภัย แต่ ผ้ เู ล่ นการพนันไม่ ต้องมีส่วนได้ เสี ยเรื่องทีเ่ อา
พนัน
ง. การประกันภัยและการพนันเป็ นการสร้างการเสี่ ยงภัยขึ้นเอง
59. การประกันภัยและการพนันมีลกั ษณะแตกต่างกันทุกประการ แต่มีลกั ษณะหนึ่งที่เหมือนกันคือ
ก. เป็ นเรื่องที่ขนึ้ อยู่กบั เหตุการณ์ อนั ไม่ แน่ นอนในอนาคต
ข. เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับส่ วนได้เสี ยเหมือนกัน
ค. เป็ นเรื่ องที่เสี่ ยงหากาไรเหมือนกัน
ง. เป็ นเรื่ องที่ลดการเสี่ ยงภัยเหมือนกัน
60. การประกันภัยและการพนันต่างกันอย่างไร
ก. การพนันจะจ่ายเงินเป็ นกาไรเมื่อชนะพนันตามจานวนที่ตกลงกันไว้ แต่การประกันภัยเป็ นการจ่ายค่า
สิ นไหมทดแทนสาหรับความเสี ยหายทั้งหมดที่ผเู ้ อาประกันภัยหรื อผูร้ ับประโยชน์ได้รับอันเนื่องจากวินาศ
ภัยตามความเสี ยหายที่แท้จริ ง
ข. การพนันจะจ่ายเงินให้กบั ผูใ้ ดก็ได้ที่เข้าเล่นการพนันนั้น แต่การประกันภัยเป็ นการจ่ายค่าสิ นไหมทดแทน
ให้กบั ผูม้ ีส่วนได้เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัยได้รับความเสี ยหายในขณะที่เกิดวินาศภัยเท่านั้น
ค. การพนันนั้นผูเ้ ข้าเล่นไม่สามารถทราบล่วงหน้าได้วา่ ฝ่ ายใดจะชนะหรื อแพ้ ผูช้ นะย่อมได้รับเงินเป็ นกาไรผู ้
แพ้ยอ่ มสู ญเงินในการเล่นการพนัน แต่การประกันภัยนั้น ผูเ้ อาประกันภัยที่ชาระเบี้ยประกันภัยให้ผรู ้ ับ
ประกันภัยไปนั้นสามารถทราบได้วา่ หากเกิดวินาศภัยในอนาคตดังที่ได้กาหนดไว้ในสัญญาขึ้นตนจะได้รับ
ค่าสิ นไหมทดแทนเท่ากับจานวนความเสี ยหายที่แท้จริ ง
ง. ถูกทุกข้ อ
61. ข้อใดไม่ จัดเป็ นหลักพืน้ ฐานเกี่ยวกับการประกันภัย
ก. หลักการร่ วมชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน และหลักการชดใช้ค่าเสี ยหายตามความเป็ นจริ ง
ข. หลักการรับช่วงสิ ทธิ์ และหลักสาเหตุใกล้ชิด
ค. หลักการจ่ ายค่ าสิ นไหมกรุ ณา และหลักการร่ วมชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
ง. หลักส่ วนได้เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัย และหลักสุ จริ ตใจอย่างยิง่
62. ผูใ้ ดไม่เกี่ยวข้องในสัญญาประกันภัย
ก. ผูเ้ อาประกันภัย
ข. บริ ษทั ประกันภัย
ค. พนักงานพิจารณาค่ าสิ นไหมทดแทน
ง. ผูร้ ับประโยชน์
63. ส่ วนได้ เสี ยที่เอาประกันภัย มีอะไรบ้าง
ก. กรรมสิ ทธิ์
ข. สิ ทธิตามกฎหมาย
ค. ความรับผิดตามกฎหมาย
ง. ถูกทุกข้ อ
64. ข้อใดหมายถึงผู้มีส่วนได้ เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัย
ก. เจ้าของทรัพย์สิน
ข. ผูใ้ ห้เช่าซื้ อ
ค. ผูค้ รอบครองทรัพย์ตามสัญญาเช่า
ง. ถูกทุกข้ อ
65. ผู้มีส่วนได้ เสี ยในทรัพย์สินที่เอาประกันภัยได้ หมายถึง
ก. ผูท้ ี่จะได้ประโยชน์จากการใช้ทรัพย์สินนั้นๆ เมื่อคงสภาพอยูห่ รื อจะได้รับความเสี ยหายจากการที่ทรัพย์สิน
นั้นถูกทาลายไป
ข. ผูท้ ี่จะได้รับประโยชน์จากการใช้ทรัพย์สินนั้นๆ เมื่อคงสภาพอยู่ หรื อจะได้รับค่าสิ นไหมทดแทนเมื่อ
ทรัพย์สินนั้นถูกทาลายไป
ค. ผูท้ ี่มีสิทธิ ครอบครองทรัพย์สินนั้นๆ เมื่อคงสภาพอยู่ หรื อเมื่อทรัพย์สินนั้นๆ ถูกทาลายไป
ง. ถูกทุกข้ อ
66. ข้อใดแสดงได้วา่ ผูเ้ อาประกันภัยมีส่วนได้ เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัยของตน
ก. ผูเ้ อาประกันภัยซึ่ งเป็ นผูเ้ ช่าบ้านได้ทาประกันภัยเฟอร์ นิเจอร์ และเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
ข. ผูเ้ อาประกันภัยนารถยนต์ที่ตนเช่าซื้ อไปทาประกันภัย
ค. ผูเ้ อาประกันภัยทาประกันภัยอุบตั ิเหตุส่วนบุคคลของบุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะ
ง. ถูกทุกข้ อ
67. หากทรัพย์สินที่เอาประกันภัยของผูเ้ อาประกันภัยเปลี่ยนมือไป สิ ทธิ ตามสัญญาประกันภัยจะโอนไปด้วยใน
กรณี ใด
ก. โอนโดยสัญญาและมีการแจ้งผูร้ ับประกันทราบ
ข. โอนโดยพินยั กรรม
ค. โอนโดยบทบัญญัติของกฎหมาย
ง. ถูกทุกข้ อ
68. โดยทัว่ ไปสัญญาประกันภัยจะสมบูรณ์ตามกฎหมาย ผูเ้ อาประกันภัยจะต้องมีส่วนได้เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัย
ในเวลาใด
ก. ขณะยืน่ ขอเอาประกันภัย
ข. ขณะทาสั ญญาประกันภัย
ค. ก่อนยืน่ ขอเอาประกันภัย
ง. ก่อนที่มีการเสี่ ยงภัย
69. ข้อใดเป็ นเหตุผลและความสาคัญของการมีส่วนได้เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัย ที่ถูกต้องที่สุด
ก. เพือ่ ป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ จากการประกันภัย
ข. เพื่อป้ องกันการก่ออาชญากรรม
ค. เพื่อป้ องกันการเกิดการพนันขันต่อ
ง. เพื่อป้ องกันการทาลายล้างชีวติ และทรัพย์สิน
70. องค์ประกอบของหลักสุ จริ ตใจอย่างยิง่ ได้แก่
ก. การเปิ ดเผยข้ อความจริงและการไม่ แถลงข้ อความเท็จ
ข. การปกปิ ดข้อความจริ งและการบิดเบือนข้อความจริ ง
ค. การบิดเบือนข้อความจริ งและการแถลงข้อความเท็จ
ง. การแถลงข้อความเท็จและการสร้างความเข้าใจผิด
71. การเปิ ดเผยข้อความจริ งจะต้องกระทาเมื่อใด
ก. ก่อนสัญญาประกันภัยเกิดขึ้น
ข. ในขณะที่สัญญาประกันภัยเกิดขึ้น
ค. ในขณะขอเอาประกันภัย
ง. ในขณะทาสัญญาประกันภัย
72. หลักสุ จริ ตใจอย่างยิง่ ( Principle of Utmost Good Faith ) เป็ นหลักที่ใช้บงั คับกับฝ่ ายใดต่อไปนี้
ก. เฉพาะผูเ้ อาประกันภัย
ข. เฉพาะผูร้ ับประกันภัย
ค. ทั้งผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัย
ง. เฉพาะผูร้ ับประโยชน์
73. การเปิ ดเผยข้อความจริ งเป็ นหน้าที่ของ
ก. ผูร้ ับประโยชน์
ข. ผูเ้ อาประกันภัยและผูร้ ับประกันภัยร่ วมกัน
ค. ผู้เอาประกันภัย
ง. ผูร้ ับประกันภัย
74. ข้อใดไม่เกี่ยวกับหลักสุ จริ ตใจอย่างยิง่
ก. การเปิ ดเผยข้อความจริ ง
ข. การไม่แถลงข้อความเท็จ
ค. การไม่ แสวงหากาไรจากการประกันภัย
ง. การปฏิบตั ิตามข้อรับรอง
75. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็ นการปกปิ ดข้อความจริ ง
ก. นายสมหมายไม่ให้ขอ้ มูลที่ตนมีเกี่ยวกับการเอาประกันภัยในอดีตในการกรอกใบคาขอเอาประกันภัยเอา
ประกันอัคคีภยั
ข. นายสมชายลืมกรอกรายละเอียดเกีย่ วกับสี ของรถยนต์ คันทีข่ อเอาประกันภัย
ค. นายสมทรงไม่แจ้งบริ ษทั ประกันภัยถึงการผ่าตัดเนื้องอกที่ลาไส้เมื่อ 3 ปี ที่ผา่ นมา ขณะขอเอาประกันภัย
สุ ขภาพ
ง. ถูกทุกข้อ
76. การเปิ ดเผยข้อความจริ ง ( Disclosure ) หมายถึงอะไร และอยูภ่ ายใต้หลักสาคัญพื้นฐานใดของสัญญา
ประกันภัย
ก. การเปิ ดเผยข้ อความจริงทีเ่ ป็ นสาระสาคัญซึ่งอยู่ในความรู้ เห็นของผู้เอาประกันภัยและอยู่ภายใต้ หลักสุ จริต
ใจอย่างยิง่
ข. การเปิ ดเผยข้อความจริ งที่เป็ นสาระสาคัญซึ่ งอยูใ่ นความรู ้เห็นของผูเ้ อาประกันภัยและอยูภ่ ายใต้หลักการรับ
ช่วงสิ ทธิ์
ค. การที่ผเู ้ อาประกันภัยจะใช้คารับรองต่อผูร้ ับประกันภัยว่าผูเ้ อาประกันภัยจะต้องทาการหรื อไม่ ทาการ
อันหนึ่งอันใด เพื่อประโยชน์ในการเสี่ ยงภัยของผูร้ ับประกันภัย และอยูภ่ ายใต้หลักสุ จริ ตใจอย่างยิง่
ง. การที่ผเู ้ อาประกันภัยจะใช้คารับรองต่อผูร้ ับประกันภัยว่าผูเ้ อาประกันภัยจะต้องทาการหรื อไม่ ทาการ
อันหนึ่งอันใด เพื่อประโยชน์ในการเสี่ ยงภัยของผูร้ ับประกันภัย และอยูภ่ ายใต้หลักการรับช่วงสิ ทธิ์
77. คาว่า “ จานวนเงินเอาประกันภัย ( Sum Insured ) ” หมายถึง
ก. จานวนเงินที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
ข. จานวนเงินสู งสุ ดที่ผรู ้ ับประกันภัยจะต้องรับผิด
ค. จานวนเงินสู งสุ ดที่ผเู ้ อาประกันภื ยจะสามารถเรี ยกร้องได้
ง. ถูกทั้งข้ อ ข. และข้ อ ค.
78. ข้อใดไม่ ถูกต้ องตามหลักการชดใช้คา่ สิ นไหมทดแทน
ก. ต้องเป็ นค่าเสี ยหาย ณ สถานที่และในเวลาเดียวกัน
ข. ต้องเป็ นค่าเสี ยหายที่เกิดขึ้นจริ ง
ค. ตามจานวนเงินทีผ่ ้ ูเอาประกันภัยจะเรียกร้ อง / ต้ องเป็ นความเสี ยหายจากบุคคลภายนอก
ง. ไม่เกินจานวนที่เอาประกันภัยไว้
79. การหักค่าเสื่ อมขณะคานวณจานวนเงินชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเป็ นการปฏิบตั ิตามหลักการใด
ก. หลักการร่ วมชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
ข. หลักการชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
ค. หลักส่ วนได้เสี ยในเหตุที่เอาประกันภัย
ง. หลักสุ จริ ตใจอย่างยิง่
80. หลักการที่ให้สิทธิ แก่ผรู ้ ับประกันภัยไปเรี ยกร้องค่าเสี ยหายคืนจากผูท้ าละเมิด หมายถึงการใช้สิทธิ ตามหลักการ
ประกันภัยข้อใด
ก. หลักการชดใช้ค่าเสี ยหายตามความเป็ นจริ ง
ข. หลักการรับช่ วงสิ ทธิ์
ค. หลักการร่ วมชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
ง. หลักการชดใช้ค่าเสี ยหายตามความเป็ นจริ งและหลักการรับช่วงสิ ทธิ์
81. คากล่าวที่วา่ ให้สิทธิ แก่ผ้ รู ับประกันภัยเข้ าไปยืนในรองเท้ าของผู้เอาประกันภัย ข้อความที่ขีดเส้นใต้หมายถึงการ
ใช้สิทธิ ตามหลักการประกันภัยข้อใด
ก. หลักการชดใช้ค่าเสี ยหายตามความเป็ นจริ ง
ข. หลักการรับช่ วงสิ ทธิ์
ค. หลักการเฉลี่ย
ง. หลักการชดใช้ค่าเสี ยหายตามความเป็ นจริ งและหลักการรับช่วงสิ ทธิ์
82. หลักการรับช่วงสิ ทธิ์ ได้ถูกบัญญัติข้ ึนเพื่อให้ความสัมพันธ์กบั หลักการชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนตามที่เป็ นจริ ง
เพื่ออะไร
ก. เพือ่ ให้ บุคคลภายนอกผู้ก่อวินาศภัยนั้นต้ องรับผิดในความเสี ยหายทีต่ นได้ กระทาขึน้ ตามกฎหมายและ
เพือ่ ให้ ผ้ ูเอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ ได้ รับค่ าสิ นไหมทดแทนไปตามความเสี ยหายทีแ่ ท้ จริง
ข. เพื่อให้ผเู ้ อาประกันภัยสามารถเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทนจานวนเดียวกัน ทั้งจากผูก้ ่อวินาศภัยและผูร้ ับ
ประโยชน์
ค. เพื่อให้ผรู ้ ับประโยชน์สามารถเข้ารับช่วงสิ ทธิ์ ไม่เกินกว่าจานวนที่ตนได้จ่ายค่าสิ นไหมทดแทนไป
ง. เพื่อให้ผรู ้ ับประกันภัยหรื อบุคคลภายนอกผูก้ ่อวินาศภัยนั้น ต้องรับผิดในความเสี ยหายที่กระทาขึ้นตาม
กฎหมาย
83. หากเกิดวินาศภัยขึ้นกับทรัพย์สินที่ทาประกันภัย การรับช่วงสิ ทธิ์ จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อวินาศภัยนั้นเกิดจาก
สาเหตุใดตามตัวอย่างดังต่อไปนี้
ก. กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์ผดิ พลาด มีฝนตกอย่างหนักทาให้เกิดน้ าท่วมอย่างฉับพลันในโรงงานของผูเ้ อา
ประกันภัย
ข. สุ นขั จรจัดปี นข้ามรั้วมาทาลายข้าวของในบ้านของผูเ้ อาประกันภัย
ค. ผูร้ ับประโยชน์ในกรมธรรม์ประกันภัยลอบวางเพลิงโรงงานที่เอาประกันภัย โดยผูเ้ อาประกันภัยไม่มีส่วนรู ้
เห็น
ง. พนักงานของบริษัทรับเหมาก่อสร้ างที่เข้ ามาทางานต่ อเติมในโรงแรมทีเ่ อาประกันภัยยกบันไดไปฟาดโดน
ประตูกระจกของห้ องอาหารโดยมิได้ ต้ งั ใจ
84. ข้อใดไม่ มีส่วนเกี่ยวข้ องกับหลักการร่ วมชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ( Contribution )
ก. มีผรู ้ ับประกันภัยตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป
ข. ทากรมธรรม์ประกันภัยไว้หลายฉบับ ซึ่ งให้ความคุม้ ครองภัยชนิดเดียวกัน
ค. มีวตั ถุที่เอาประกันภัยเดียวกัน
ง. ความเสี ยหายเกิดจากการกระทาของบุคคลภายนอก ซึ่งผู้รับประกันภัยได้ จ่ายค่ าสิ นไหมทดแทนแล้ ว
85. สาระสาคัญข้อใดมิใช่องค์ประกอบของหลักการร่ วมชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน ( Contribution )
ก. ต้องเป็ นกรมธรรม์ประกันภัยที่คุม้ ครองภัยชนิ ดเดียวกัน
ข. ทุกกรมธรรม์ประกันภัยต้องมีผลบังคับในเวลาที่เกิดจากความเสี ยหาย
ค. มีกรมธรรม์ประกันภัย 2 ฉบับ หรื อมากกว่านั้น
ง. กรมธรรม์ ประกันภัยแต่ ละฉบับจะจ่ ายค่ าสิ นไหมทดแทนเท่ าใดก็ได้ แล้ วแต่ ตกลงกันระหว่ างผู้รับ
ประกันภัยกับผู้เอาประกันภัย
86. “ การรับประกันภัยร่ วม ( Co-Insurance ) ” หมายถึง
ก. การทีผ่ ้ ูรับประกันภัยหลายราย ตกลงร่ วมกันรับประกันภัยรายเดียวกันตามอัตราส่ วนทีต่ กลงกันไว้
ข. การที่ผรู ้ ับประกันภัยมากกว่าหนึ่งราย เข้าไปสารวจภัยก่อนการรับประกันภัย
ค. การที่ผรู ้ ับประกันภัยแบ่งภาระด้านความเสี่ ยงภัยไปให้แก่ผรู ้ ับประกันอื่นอีกทอดหนึ่ง
ง. การที่ผรู ้ ับประกันภัยหลายรายตกลงร่ วมกันจ่ายค่าสิ นไหมทดแทน
87. สาเหตุใกล้ชิด ( Proximate Clause ) หมายถึง
ก. ต้นเหตุที่ทาให้เกิดความเสี ยหายโดยตรง หรื อเป็ นเหตุต่อเนื่ องโดยไม่ขาดตอนที่ทาให้เกิดความเสี ยหาย
ข. ต้นเหตุที่ทาให้เกิดความเสี ยหายโดยตรง ซึ่ งเป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ต่อเนื่องกันและทาให้เกิดความ
เสี ยหาย
ค. ต้นเหตุที่ทาให้เกิดความเสี ยหายทางอ้อม หรื อเป็ นเหตุต่อเนื่ องโดยไม่ขาดตอนที่ทาให้เกิดความเสี ยหาย
ง. ต้นเหตุที่ทาให้เกิดความเสี ยหายทางอ้อม ซึ่ งเป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ต่อเนื่องกันและทาให้เกิดความ
เสี ยหาย
88. การประกันภัยใดเป็ นการประกันภัยค้ าจุน
ก. การประกันภัยความรับผิดต่ อบุคคลภายนอก
ข. การประกันอัคคีภยั
ค. การประกันภัยความซื่ อสัตย์
ง. การประกันชีวิต
89. ผูร้ ับประกันภัยมีสิทธิ บอกเลิกสัญญาประกันภัยได้ในกรณี ใดบ้าง
ก. ใช้สิทธิ บอกเลิกสัญญาประกันภัยตามกฎหมาย
ข. ใช้สิทธิ บอกเลิกสัญญาตามเงื่อนไขของสัญญาประกันภัย
ค. ไม่มีบอกสิ ทธิ เลิกสัญญาประกันภัยก่อนครบกาหนด
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
90. หากผูร้ ับประกันต้องการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย ผูร้ ับประกันภัยจะต้องคืนเบี้ยประกันภัยให้แก่ผเู ้ อา
ประกันภัยอย่างไร
ก. คืนตามอัตราที่ผรู ้ ับประกันภัยกาหนด
ข. คืนตามอัตราเบี้ยประกันภัยระยะสั้น
ค. คืนโดยหักเบีย้ ประกันภัยสาหรับระยะเวลาทีก่ รมธรรม์ ประกันภัยมีผลบังคับไปแล้วออกตามส่ วน
ง. คืนให้ท้ งั หมดตามที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
91. ในกรมธรรม์ประกันภัย ถ้าผูเ้ อาประกันภัยเป็ นผูบ้ อกเลิกสัญญาประกันภัย บริ ษทั จะคืนเบี้ยประกันภัยให้ผเู ้ อา
ประกันภัยอย่างไร
ก. คืนให้ท้ งั หมด
ข. คืนตามอัตราเบีย้ ประกันภัยระยะสั้ น ( Short Rate )
ค. คืนส่ วนที่เหลือโดยหักเบี้ยประกันภัยสาหรับระยะเวลาที่คุม้ ครองไปแล้วออกตามส่ วน
ง. ผิดหมดทุกข้อ
92. ในบางกรณี หากวินาศภัยที่เกิดขึ้นนั้นไม่อยูใ่ นความรับผิดตามสัญญาประกันภัย ซึ่ งผูร้ ับประกันภัยอาจ
จาเป็ นต้องตกลงจ่ายเงินไปจานวนหนึ่งเพื่อเป็ นการปิ ดการเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทน ซึ่ งวิธีการนี้เรี ยกว่าอะไร
ก. Replacement
ข. Ex-Gratia Payment
ค. Cash Payment
ง. Indemnity
93. คาว่า “ สิ นไหมกรุ ณา (Ex-Gratia Payment ) ” หมายถึง
ก. จานวนเงินทีผ่ ้ รู ับประกันภัยจ่ ายให้ แก่ ผ้ เู รียกร้ องค่ าเสี ยหาย แม้ จะมีความเห็นว่ าไม่ ต้องรับผิดชอบตาม
เงื่อนไขกรมธรรม์ ประกันภัยก็ตาม
ข. จานวนเงินตามแต่ที่ผรู ้ ับประกันภัยจะพิจารณา
ค. จานวนเงินที่จ่ายเกินจานวนเงินที่เอาประกันภัย
ง. จานวนเงินเพิ่มเติมที่ผรู ้ ับประกันภัยจ่ายให้แก่ผเู ้ อาประกันภัย เนื่ องจากผูเ้ อาประกันภัยจ่ายเบี้ยประกันภัย
เพิ่มเติม
94. คาว่า “ Indemnity ” หมายถึง
ก. หลักการชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนตามทีเ่ สี ยหายจริง
ข. หลักการมีส่วนได้เสี ยในเหตุประกันภัย
ค. หลักการรับช่วงสิ ทธิ์
ง. หลักสาเหตุใกล้ชิด
95. ตัวแทนประกันภัยและนายหน้าประกันภัยต่างกันอย่างไร
ก. ตัวแทนประกันภัยทาหน้าที่ “ ชี้ช่อง ” แต่นายหน้าประกันภัยไม่ได้ทาหน้าที่เป็ นผูช้ ้ ีช่อง
ข. ตัวแทนประกันภัยเป็ นผู้ซึ่งบริษัทประกันภัยมอบหมายให้ ทาการชั กชวนบุคคลทาสั ญญาประกันภัย แต่
นายหน้ าประกันภัยเป็ นผู้ชี้ช่องหรื อจัดการให้ บุคคลทาสั ญญาประกันภัยกับบริษัทประกันภัย
ค. ตัวแทนประกันภัยทาการเพื่อหวังบาเหน็จ แต่นายหน้าประกันภัยทาการเพื่อหวังรับค่าตอบแทนจากตัวการ
ง. ตัวแทนประกันภัย และนายหน้าประกันภัยเป็ นนิ ติบุคคลเท่านั้น
96. ใบคาขอเอาประกันภัย หมายถึง
ก. เอกสารซึ่งผู้เอาประกันภัยกรอกข้ อความยื่นต่ อบริษัทประกันภัยเพือ่ แสดงความประสงค์ ขอเอาประกันภัย
ข. เอกสารซึ่ งผูร้ ับประกันภัยออกให้ผเู ้ อาประกันภัยเพื่อเป็ นการคุม้ ครองชัว่ คราวก่อนออกกรมธรรม์ประกันภัย
ค. เอกสารแก้ไขเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขของสัญญาประกันภัย ในขณะที่ทาการหรื อระหว่างที่สัญญาประกันภัยมี
ผลบังคับอยู่
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
97. ข้อควรปฏิบตั ิอนั ดับแรกของผูท้ ี่ประสงค์จะทาประกันภัย คือ
ก. ให้ ข้อมูลทีถ่ ูกต้ องตามความเป็ นจริงแก่ ผ้ รู ับประกันภัยในใบคาขอเอาประกันภัย
ข. รับกรมธรรม์ประกันภัยจากบริ ษทั ประกันภัย
ค. ชาระค่าเบี้ยประกันภัย
ง. ดาเนินการในข้อใดก่อนก็ได้
98. “ โดยเชื่ อถือถ้อยแถลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษรของผูเ้ อาประกันภัย บริ ษทั ประกันภัยให้สัญญาต่อผูเ้ อาประกันภัย
ดังนี้ ” ข้อความดังกล่าวเกี่ยวข้องกับเอกสารในข้อใด
ก. ใบคาขอเอาประกันภัย
ข. ตารางกรมธรรม์ประกันภัย
ค. เงื่อนไขทัว่ ไป
ง. เอกสารแนบท้าย
99. ข้อใดมิใช่สาระสาคัญที่ปรากฏในกรมธรรม์ประกันภัย
ก. ชื่อและที่อยูข่ องผูร้ ับประกันภัย
ข. ข้อตกลงคุม้ ครอง
ค. ข้อยกเว้น
ง. วันทีช่ ดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
100. ข้อใดเป็ นวัตถุที่สามารถเอาประกันภัยได้
ก. สิ ทธิ ประโยชน์ที่เกี่ยวกับทรัพย์สิน
ข. ชีวติ และร่ างกาย
ค. ความรับผิดตามกฎหมาย
ง. ถูกทุกข้ อ
101. ผูร้ ับประกันภัยเป็ นผูอ้ อกกรมธรรม์ประกันภัยเอง จึงมีหลักในการตีความของกรมธรรม์ประกันภัยว่า
ก. ถ้ามีขอ้ สงสัยต้องตีความให้เป็ นประโยชน์แก่ผรู ้ ับประกันภัย
ข. ถ้ ามีข้อสงสั ยต้ องตีความให้ เป็ นประโยชน์ แก่ ผ้ เู อาประกันภัย
ค. ถ้ามีขอ้ สงสัยต้องตีความให้เป็ นประโยชน์แก่ผรู ้ ับประโยชน์
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
102. วิธีเขียนระบุความคุม้ ครองไว้ในกรมธรรม์ประกันวินาศภัยมี 2 ลักษณะ ได้แก่
ก. แบบสรรพภัย ( All Risks ) และแบบระบุขอ้ ยกเว้น ( Exclusion )
ข. แบบระบุภยั ( Named Perils ) และแบบระบุขอ้ ยกเว้น ( Exclusion )
ค. แบบระบุภัย ( Named Perils ) และ แบบสรรพภัย ( All Risks )
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
103. “ ความคุม้ ครองแบบระบุภยั ” ( Named Perils ) หมายถึง
ก. การเขียนชื่อผูเ้ อาประกันภัยให้ถูกต้องและชัดเจน
ข. การเขียนระบุภัยทีก่ รมธรรม์ ประกันภัยให้ ความคุ้มครองไว้ ในกรมธรรม์ ประกันภัยแจ้ งชั ด
ค. การเขียนระบุภยั ที่กรมธรรม์ประกันภัยไม่คุม้ ครองไว้แจ้งชัดในกรมธรรม์ประกันภัย
ง. การแบ่งขอบเขตภัยที่จะคุม้ ครองในทรัพย์สินแต่ละรายการ
104. “ ความคุม้ ครองแบบ All Risks ” หมายถึง
ก. การคุ้มครองความเสี ยหายทุกชนิดทีเ่ กิดกับวัตถุทเี่ อาประกันภัย
ข. การระบุลกั ษณะประกอบการถึงความเสี่ ยงภัยทุกชนิดให้ชดั เจน
ค. การเขียนระบุภยั ที่กรมธรรม์ประกันภัยไม่ให้ความคุม้ ครองไว้แจ้งชัดในกรมธรรม์ประกันภัย
ง. การระบุภยั ที่กรมธรรม์ประกันภัยให้ความคุม้ ครองไว้แจ้งชัดในกรมธรรม์ประกันภัย
105. ลักษณะความคุม้ ครองของกรมธรรม์ประกันภัยใดใช้การเขียนความคุม้ ครองแบบระบุภยั ( Named Perils )
ก. กรมธรรม์ประกันอัคคีภยั
ข. กรมธรรม์ประกันภัยการปฏิบตั ิงานตามสัญญา
ค. กรมธรรม์ประกันภัยโจรกรรม
ง. ถูกทั้งข้ อ ก. และ ค.
106. “ บริ ษทั จะชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเพื่อความสู ญเสี ยของเงิน ขณะที่ทาการขนส่ งโดยพนักงานรับส่ งเงินอัน
เกิดจากการชิงทรัพย์ ปล้ นทรัพย์ หรือความพยายามกระทาการดังกล่าว ” เป็ นการเขียนความคุม้ ครองแบบใด
ก. แบบระบุภัย
ข. แบบสรรพภัย
ค. แบบผสมระหว่างแบบระบุภยั และแบบสรรพภัย
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
107. “ ภายใต้ขอ้ บังคับของข้อตกลงคุม้ ครอง เงื่อนไขทัว่ ไป ข้อกาหนด ข้อยกเว้น และ เอกสารแนบท้ายแห่ง
กรมธรรม์ประกันภัย บริ ษทั ประกันภัยให้ความคุม้ ครองความสู ญหายหรื อเสี ยหายทางกายภาพของทรัพย์สินที่
เอาประกันภัยโดยอุบัติภัยใดๆ ทีม่ ิได้ ระบุข้อยกเว้ นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย ” เป็ นการเขียนความคุม้ ครอง
แบบใด
ก. แบบระบุภยั
ข. แบบสรรพภัย
ค. แบบผสมระหว่างแบบระบุภยั และแบบสรรพภัย
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
108. กรมธรรม์ประกันวินาศภัย ที่เป็ นภาคบังคับ ได้แก่
ก. กรมธรรม์ประกันอัคคีภยั
ข. กรมธรรม์ ค้ ุมครองผู้ประสบภัยจากรถ
ค. กรมธรรม์ประกันภัยเงินทดแทนแรงงาน
ง. ถูกทุกข้อ
109. เงื่อนไขโดยปริ ยาย ในกรมธรรม์ประกันภัยทุกฉบับ ได้แก่
ก. ผูเ้ อาประกันภัยต้องมีส่วนได้เสี ยในวัตถุที่เอาประกันภัย
ข. วัตถุที่เอาประกันภัยมีอยูจ่ ริ งทั้งในขณะทาสัญญาประกันภัยและในขณะที่เกิดวินาศภัยขึ้น
ค. ความถูกต้องตามกฎหมาย
ง. ถูกทุกข้ อ
110. “ ผูเ้ อาประกันภัยต้องสร้างโรงงานเสร็ จเรี ยบร้อย กรมธรรม์ประกันอัคคีภยั จึงจะมีผลบังคับให้ความ
คุม้ ครอง ” เป็ นเงื่อนไขลักษณะใด
ก. เงื่อนไขบังคับก่อน
ข. เงื่อนไขบังคับหลัง
ค. เงื่อนไขแห่งความรับผิด
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
111. “ ถ้าผูเ้ อาประกันภัยโอนทรัพย์สินอันเป็ นวัตถุที่เอาประกันภัยไปยังบุคคลภายนอก ให้ถือว่ากรมธรรม์
ประกันภัยฉบับนั้นสิ้ นผลบังคับลงทันที ” เป็ นเงื่อนไขลักษณะใด
ก. เงื่อนไขบังคับก่อน
ข. เงื่อนไขบังคับหลัง
ค. เงื่อนไขแห่งความรับผิด
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
112. เมื่อเกิดความเสี ยหายขึ้น ผูเ้ อาประกันภัยต้องแจ้งให้บริ ษทั ประกันภัยทราบโดยไม่ชกั ช้า และต้องส่ งมอบ
หลักฐานและเอกสารตามที่ระบุในเงื่อนไขกรมธรรม์ประกันภัย เป็ นเงื่อนไขลักษณะใด
ก. เงื่อนไขบังคับหลัง
ข. เงื่อนไขบังคับก่อน
ค. เงื่อนไขแห่ งความรับผิด
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
113. ตารางกรมธรรม์ประกันภัย ( Schedule ) หมายถึง
ก. กาหนดการนัดหมายการส่ งมอบกรมธรรม์ประกันภัย
ข. กาหนดการนัดหมายการชาระเบี้ยประกันภัยภายในระยะเวลาที่กรมธรรม์ประกันภัยกาหนด
ค. ตารางคืนเบี้ยประกันภัย กรณี ผเู ้ อาประกันภัยบอกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย
ง. เป็ นส่ วนของกรมธรรม์ ประกันภัยทีส่ รุ ปรายละเอียดทั้งหมดในการประกันภัย
114. วัตถุประสงค์ของเอกสารแนบท้าย เพื่อ
ก. ให้ผรู ้ ับประกันภัยต้องแนบใส่ เสมอในกรมธรรม์ประกันภัย ก่อนส่ งมอบให้ผเู ้ อาประกันภัย
ข. ใช้ เป็ นเอกสารสาหรับแก้ ไขข้ อความในกรมธรรม์ ประกันภัย ไม่ ว่าจะเป็ นข้ อตกลงคุ้มครอง หรือข้ อยกเว้ น
หรือการเปลี่ยนแปลงอืน่ ๆ
ค. ใช้แนบเมื่อมีการเรี ยกร้องค่าสิ นไหมทดแทน
ง. ถูกทุกข้อ
115. ถ้ามีเอกสารใบสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย ( Endorsement ) ขัดแย้งกับข้อความข้อใดในกรมธรรม์
ประกันภัยจะต้องตีความตามเอกสารใด
ก. กรมธรรม์ประกันภัย
ข. ใบสลักหลังกรมธรรม์ ประกันภัย
ค. กรมธรรม์ประกันภัยหรื อใบสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัยโดยผูเ้ อาประกันภัยเป็ นฝ่ ายเลือก
ง. กรมธรรม์ประกันภัยหรื อใบสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัยโดยผูร้ ับประกันภัยเป็ นฝ่ ายเลือก
116. ใบสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย ( Endorsement ) หมายถึง
ก. ข้อความที่เขียนแถลงข้อความจริ งก่อนทาสัญญาประกันภัย
ข. ข้ อความทีเ่ ขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเพิม่ เติม จากข้ อความปกติในกรมธรรม์ ประกันภัยเพือ่ จะเพิม่ เติม
เปลีย่ นแปลง แก้ไข เงื่อนไขหรือข้ อความต่ างๆ จากเงื่อนไขหรือข้ อความเดิมซึ่งจะทาขึน้ ก่อนหรือหลังการ
เอาประกันภัยก็ได้
ค. ข้อความที่เขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเมื่อเกิดวินาศภัยขึ้น
ง. ข้อความที่เขียนเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเพิ่มเติม จากข้อความปกติในกรมธรรม์ประกันภัยเพื่อที่จะเตือน
ความจาของผูเ้ อาประกันภัยหรื อผูร้ ับประกันภัย
117. หนังสื อคุม้ ครองชัว่ คราว ( Cover Note ) หมายถึง
ก. เป็ นเอกสารที่ผเู ้ อาประกันภัยทาขึ้นเพื่อรับรองว่าสิ นค้าที่ระบุไว้ใน Cover Note จะทาประกันภัยจริ งตาม
เงื่อนไขและจานวนเงินเอาประกันภัยที่ระบุไว้
ข. เป็ นเอกสารที่ผสู ้ ่ งสิ นค้าเข้า หรื อส่ งสิ นค้าออกสม่าเสมอตลอดทั้งปี มักจะขอให้บริ ษทั ประกันภัยออก
หนังสื อคุม้ ครองการขนส่ งสิ นค้าทุกเที่ยวที่เกิดขึ้น
ค. เป็ นเอกสารที่ผรู ้ ับประกันภัยสิ นค้าเข้า หรื อส่ งสิ นค้าออกสม่าเสมอตลอดทั้งปี ออกให้แก่ผเู ้ อาประกันภัย
เพื่อยืนยันความคุม้ ครองการรับประกันภัยการขนส่ งสิ นค้าทุกเที่ยวที่เกิดขึ้น
ง. เป็ นเอกสารทีบ่ ริษัทประกันภัยออกให้ ผ้ ูเอาประกันภัย เพือ่ เป็ นหลักฐานรับรองว่ าสิ นค้ าดังรายละเอียดทีร่ ะบุ
ไว้ใน Cover Note จะได้ รับการคุ้มครองตามเงื่อนไขและจานวนเงินเอาประกันภัยทีร่ ะบุไว้
118. คาว่า “ ความรับผิดส่ วนแรก ( Deductible ) ” หมายถึง
ก. จานวนเงินค่าสิ นไหมทดแทนส่ วนแรกที่บริ ษทั ประกันภัยต้องรับผิด
ข. จานวนเงินค่ าสิ นไหมทดแทนส่ วนแรกที่ผ้ เู อาประกันภัยต้ องรับผิดชอบเอง
ค. ส่ วนลดเบี้ยประกันภัย
ง. ส่ วนลดอุปกรณ์ดบั เพลิง
119. วัตถุประสงค์สาคัญในการกาหนดให้ผเู ้ อาประกันภัยต้องรับผิดชอบในความเสี ยหายส่ วนแรก (
Excess/Deductible ) คือ
ก. เพื่อลดจานวนเงินที่ผรู ้ ับประกันภัยจะต้องจ่ายให้ลดลง
ข. เพื่อที่จะให้ผเู ้ อาประกันภัยมีความระมัดระวังภัยมากขึ้น
ค. เป็ นการเฉลี่ยความรับผิดระหว่างผูเ้ อาประกันภัยและผูร้ ับประกันภัย
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก
120. การชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนโดยมีการกาหนด Franchise เอาไว้ คาตอบที่ถูกต้องที่สุด หมายถึง
ก. จานวนความเสี ยหายขั้นต่าที่ผเู ้ อาประกันภัยต้องรับผิดชอบเองเมื่อเกิดวินาศภัยขึ้น
ข. จานวนความเสี ยหายขั้นสู งสุ ดที่ผเู ้ อาประกันภัยต้องรับผิดชอบเองเมื่อเกิดวินาศภัยขึ้น
ค. ความสู ญเสี ยหรือเสี ยหายขั้นต่าทีก่ าหนดเป็ นอัตราร้ อยละหรือเป็ นจานวนเงิน ซึ่งถ้ าความเสี ยหายไม่ ถึง
อัตราหรือจานวนทีก่ าหนดไว้ ผู้รับประกันภัยจะไม่ ชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนให้ แต่ ถ้าความเสี ยหายทีเ่ กิดขึน้
ถึงอัตราหรือจานวนเงินทีก่ าหนดไว้ ผู้รับประกันภัยจะรั บชดใช้ ค่าเสี ยหายให้ ต้ งั แต่ บาทแรก ( มีความหมาย
เหมือนกับ datum level )
ง. จานวนความเสี ยหายขึ้นสู งสุ ดที่บริ ษทั ประกันภัยต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนให้
121. หน้าที่ของอนุ ญาโตตุลาการตามสัญญาประกันภัย คือ
ก. พิจารณาชี้ขาดข้ อพิพาทระหว่ างผู้เอาประกันภัยและ/หรื อผู้เสี ยหายกับผู้รับประกันภัย
ข. พิจารณาค่าสิ นไหมทดแทนให้แก่ผเู ้ อาประกันภัย ในกรณี ที่มีความแตกต่างในจานวนแห่งความสู ญเสี ยหรื อ
เสี ยหายกับบริ ษทั ประกันภัย
ค. ดาเนินคดีกบั ผูร้ ับประกันภัยในกรณี ที่มีความเห็นแตกต่างในจานวนแห่งความสู ญเสี ยหรื อเสี ยหายกับผูเ้ อา
ประกันภัย
ง. ผิดทุกข้อ
122. “ การประกันภัยต่อ ( Reinsurance ) ” หมายถึง
ก. การทีผ่ ้ ูรับประกันภัยแบ่ งภาระด้ านความเสี่ ยงภัยไปให้ แก่ ผ้ รู ับประกันภัยอืน่ อีกทอดหนึ่ง
ข. การที่ผเู ้ อาประกันภัยส่ วนใหญ่กาหนดให้มีการร่ วมรับประกันภัยมากกว่า 1 รายขึ้นไป
ค. การที่ผรู ้ ับประกันภัยต่ออายุกรมธรรม์ประกันภัยให้กบั ผูเ้ อาประกันภัยโดยอัตโนมัติ แล้วให้ผเู ้ อาประกันภัย
ชาระเบี้ยประกันภัยภายใน 30 วันหลังจากกรมธรรม์ประกันภัยเริ่ มใหม่
ง. การที่ผรู้ ับประกันภัยกาหนดให้ผเู ้ อาประกันภัยต้องรับความเสี่ ยงภัยไว้เองส่ วนหนึ่ง
123. การประกันภัยสู งกว่ามูลค่า ( Over Insurance ) หมายถึง
ก. การทีผ่ ้ ูเอาประกันภัยกาหนดจานวนเงินเอาประกันภัยสู งกว่ ามูลค่ าทีแ่ ท้ จริงของทรัพย์ สิน
ข. การที่ผเู ้ อาประกันภัยกาหนดจานวนเงินเอาประกันภัยต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริ งของทรัพย์สิน
ค. การที่ผเู ้ อาประกันภัยได้รับชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนสู งกว่ามูลค่าที่แท้จริ งของทรัพย์สิน
ง. ผิดหมดทุกข้อ
124. นายเก่ง มีบา้ นไม้รวมที่ดินราคา 500,000 บาท ทาประกันอัคคีภยั ไว้กบั บริ ษทั เอื้ออาทรประกันภัย
จากัด โดยได้ระบุจานวนเงินเอาประกันภัยไว้ 750,000 บาท จานวนเงินเอาประกันภัยที่นายเก่ง ระบุไว้ถือว่า
ก. ต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริ ง
ข. สู งกว่ ามูลค่ าทีแ่ ท้ จริง
ค. ใกล้เคียงมูลค่าที่แท้จริ ง
ง. ผิดทุกข้อ
125. ข้อใดกล่าวถึงการประกันภัยต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริ ง ( Under Insurance ) ไว้อย่างถูกต้องที่สุด
ก. การประกันภัยซึ่ งมีจานวนเงินเอาประกันภัยน้อยกว่ามูลค่าที่แท้จริ งของทรัพย์สินนั้น
ข. การประกันภัยซึ่งมีจานวนเงินเอาประกันภัยน้ อยกว่ ามูลค่ าทีแ่ ท้ จริงของทรัพย์ สินนั้น ผลของการ
ประกันภัยต่ากว่ ามูลค่ าจะทาให้ ผ้ เู อาประกันภัยได้ รับการชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทนต่ากว่ าวินาศภัยทีเ่ กิดขึน้
จริง
ค. การประกันภัยซึ่ งมีจานวนเงินเอาประกันภัยน้อยกว่ามูลค่าที่แท้จริ งของทรัพย์สินนั้น ผลของการประกันภัย
ต่ากว่ามูลค่าจะทาให้ผเู ้ อาประกันภัยไม่ได้รับการชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนที่เกิดขึ้น
ง. การประกันภัยซึ่ งมีจานวนเงินเอาประกันภัยน้อยกว่ามูลค่าที่แท้จริ งของทรัพย์สินนั้น ผลของการประกันภัย
ต่ากว่ามูลค่าจะทาให้ผเู ้ อาประกันภัยได้รับการชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทนที่เกิดขึ้นบางส่ วน
126. เมื่อมีการประกันอัคคีภยั ต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริ งของทรัพย์สิน ( Under Insurance ) จะมีผลอย่างไร
ก. สัญญาประกันภัยยังคงสมบูรณ์
ข. ผูเ้ อาประกันภัยต้องมีส่วนประกันภัยตนเอง
ค. ต้องมีการเฉลี่ยความเสี ยหาย
ง. ถูกทุกข้ อ

ข้ อสอบวิชาพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติม พ. ศ. 2551


จงทาเครื่องหมาย X ลงในคาตอบทีถ่ ูกทีส่ ุ ดเพียงคาตอบเดียว
1. การประกอบธุ รกิจเกี่ยวกับการประกันวินาศภัยในประเทศไทย มีกฎหมายทีใ่ ช้ กากับ คือ
ก. พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535
ข. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 )
พ. ศ. 2551
ค. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2510
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
2. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.
ศ. 2551 เป็ นกฎหมายที่ตราขึ้นไว้เพือ่ วัตถุประสงค์ ในการกากับใคร
ก. สาขาของบริ ษทั ประกันวินาศภัย
ข. บริ ษทั ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย
ค. ตัวแทนประกันวินาศภัย และนายหน้าประกันวินาศภัย
ง. ถูกทุกข้ อ
3. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ. ศ. 2551
ก. มีผลให้ยกเลิกพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
ข. เป็ นบทบัญญัติเพื่อคุม้ ครองสิ ทธิ ประโยชน์ระหว่างตัวแทน นายหน้าประกันวินาศภัย ต่อบริ ษทั ประกันวินาศภัย
ค. มีการนาบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2510 มาใช้บางมาตรา
ง. จะมีผลให้ แก้ไขหรือเพิม่ เติมบทบัญญัติของพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
4. ข้อใดมิใช่เหตุผลในการออกพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ. ศ. 2551
ก. เพือ่ ขยายความคุ้มครองไปยังคนกลางในธุรกิจประกันภัย
ข. เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการคุม้ ครองประชาชน
ค. เพื่อกากับธุ รกิจประกันภัยให้มีความมัน่ คง
ง. เพือ่ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล

5. ผูร้ ักษาการตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 เป็ นใคร หรื อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ


ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แต่งตั้งโดยบุคคลใด
ก. นายทะเบียน
ข. เลขาธิการ คปภ.
ค. รฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ง. ปลัดกระทรวงการคลัง
6. ผูใ้ ดคือเจ้าหนี้ ตามสัญญาประกันภัย
ก. ตัวแทนประกันภัยและนายหน้าประกันภัย
ข. บริ ษทั ประกันภัย
ค. ผู้เอาประกันภัยและผู้รับประโยชน์
ง. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดถูกต้อง
ก. ตัวแทนประกันวินาศภัย หมายถึง ผูช้ ้ ีช่องหรื อจัดการให้บุคคลทาสัญญาประกันวินาศภัยกับบริ ษทั ประกัน
วินาศภัย โดยกระทาเพื่อบาเหน็จจากการนั้น
ข. นายหน้าประกันภัย หมายถึง ผูซ้ ่ ึ งบริ ษทั มอบหมายให้ทาการชักชวนให้บุคคลทาสัญญาประกันวินาศภัยกับ
บริ ษทั ประกันวินาศภัย
ค. นายทะเบียน หมายถึง เลขาธิการคณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย หรือผู้ซึ่ง
เลขาธิการคณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยมอบหมาย
ง. รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาตามพระราชบัญญัติน้ ี หมายถึง รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์
8. ข้อใดไม่อยูใ่ นอานาจของรัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ก. แต่ งตั้งคณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
ข. ออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราในบัญชีทา้ ยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ค. แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ง. ออกประกาศตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายนี้
9. ข้อใดไม่อยูใ่ นอานาจของรัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ซึ่ งแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ก. แต่งตั้งคณะกรรมการเปรี ยบเทียบปรับ
ข. ออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราในบัญชีทา้ ยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ค. แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ง. ลงนามในประกาศคณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
10. ผูใ้ ดสามารถใช้ชื่อหรื อคาแสดงชื่อในธุ รกิจว่า “ ประกันวินาศภัย ” ได้
ก. บริ ษทั ประกันภัย ซึ่ งได้รับใบอนุญาตจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังโดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี
ข. สมาคมที่มีสมาชิกส่ วนมากเป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยหรื อนายหน้าประกันวินาศภัย
ค. สมาคมนายจ้างหรื อสหภาพแรงงานที่มีสมาชิกส่ วนมากเป็ นพนักงานหรื อลูกจ้างบริ ษทั ประกันภัย
ง. ถูกทุกข้ อ
11. ในการรับประกันวินาศภัย บุคคลใดสามารถกระทาการเป็ นผูร้ ับประกันวินาศภัยได้
ก. บริษัทประกันวินาศภัย
ข. บริ ษทั ประกันชีวิต
ค. ธนาคารพาณิ ชย์
ง. ถูกทุกข้อ
12. บริ ษทั ที่จะประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยได้ จะต้องได้รับใบอนุญาตจาก
ก. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์
ค. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์โดยอนุมตั ิคณะรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง/รัฐมนตรีผ้ ูรักษาการตามพระราชบัญญัตินีโ้ ดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี

13. บริษัทประกันวินาศภัยต่ างประเทศ จะตั้งสาขาของบริ ษทั เพื่อประกอบธุ รกิจประกินวินาศภัยในประเทศไทย ได้


หรื อไม่
ก. ได้ โดยไม่ตอ้ งขออนุ ญาต
ข. ได้ โดยต้องได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน
ค. ได้ โดยต้ องได้ รับใบอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยอัตโนมัติคณะรั ฐมนตรี
ง. ไม่ได้ เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ห้ามไว้
14. บริ ษทั ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยจะควบรวมกับบริ ษทั จากัด หรื อบริ ษทั จากัดมหาชนอื่น
ได้หรื อไม่
ก. ได้ แต่ตอ้ งได้รับอนุญาตจากปลัดกระทรวงการคลัง
ข. ไม่ได้ เนื่องจากกฎหมายห้ามไว้
ค. ได้ แต่ตอ้ งได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน
ง. ได้ แต่ ต้องได้ รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
15. บริ ษทั รุ่ งฟ้ าประกันชีวติ จากัด ซึ่งประกอบธุรกิจประกินชี วติ และบริ ษทั ทอแสงประกันภัย จากัด ซึ่งประกอบ
ธุรกิจประกันวินาศภัย ทั้งสองบริ ษทั ประสงค์จะควบรวมบริ ษทั เข้าด้วยกันจะกระทาได้หรื อไม่
ก. ได้ แต่ตอ้ งได้รับอนุญาตจากปลัดกระทรวงการคลัง
ข. ไม่ ได้ เนื่องจากกฎหมายห้ ามไว้
ค. ได้ แต่ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ง. ได้ แต่ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังโดยอัตโนมัติคณะรัฐมนตรี
16. ผูใ้ ดกระทาการเป็ นผูร้ ับประกันภัย โดยมิได้รับใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยตามพระราชบัญญัติ
ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 ได้
หรื อไม่
ก. ได้ ถ้าต่อมาผูน้ ้ นั ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยในภายหลัง
ข. ได้ ถ้าต่อมาภายใน 1 ปี ผูน้ ้ นั ได้รับใบอนุ ญาตให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย
ค. ไม่ ได้ เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (
ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 บัญญัติห้ามไว้
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
17. บริ ษทั ประกันวินาศภัยที่ขอรับใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย ภายหลังพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย
( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 มีผลบังคับใช้ จะต้องมีลกั ษณะอย่างไร
ก. เป็ นบริ ษทั จากัด
ข. เป็ นบริ ษทั จากัด หรื อบริ ษทั มหาชนจากัดที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย
ค. เป็ นบริ ษทั มหาชนจากัด
ง. เป็ นบริษัทมหาชนจากัดหรือสาขาของบริษัทประกันวินาศภัยในต่ างประเทศ
18. ข้อใดถูกต้อง ในกรณี ที่บริ ษทั ประกันวินาศภัยประเภทบริ ษทั จากัดที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศ
ภัยที่ประกอบธุ รกิจก่อนวันที่พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 มีผลบังคับใช้
ก. สามารถประกอบธุ รกิจประกันภัยได้ต่อไปอัตโนมัติ
ข. ไม่สามารถประกอบธุ รกิจประกันภัยได้อีกต่อไป
ค. จะต้ องดาเนินการแปรสภาพเป็ นบริษัทมหาชนจากัดให้ แล้ วเสร็จภายใน 5 ปี
ง. ไม่สามารถประกอบธุ รกิจประกันภัยได้ เว้นแต่ได้รับอนุ ญาตจากคณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบ
ธุ รกิจประกันภัยให้ประกอบธุ รกิจประกินวินาศภัยต่อไป
19. บริ ษทั ประกันภัยที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยนั้น ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย
พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 กาหนดให้
ก. ต้องมีหลักทรัพย์ประกันวางไว้กบั นายทะเบียนตามจานวนที่กฎหมายกาหนด
ข. ต้องดารงไว้ซ่ ึ งกองทุนตามจานวนที่กฎหมายกาหนด
ค. ต้ องมีหลักทรัพย์ประกันวางไว้กบั นายทะเบียนตามจานวนทีก่ าหนดไว้ในกฎกระทรวงและต้ องดารงไว้ซึ่ง
เงินกองทุนตามจานวนที่กฎหมายกาหนด
ง. ไม่ตอ้ งมีหลักทรัพย์ประกันวางไว้กบั นายทะเบียนและไม่ตอ้ งดารงไว้ซ่ ึ งเงินกองทุนแต่อย่างใด
20. เงินกองทุน ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (
ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 หมายความว่าอย่างไร
ก. ทรัพย์สินส่ วนทีเ่ กินกว่าหนี้สินของบริษัทประกันภัยตามราคาประเมินทีน่ ายทะเบียนกาหนด
ข. หนี้สินของบริ ษทั ประกันภัยตามราคาประเมินที่นายทะเบียนกาหนด
ค. ทรัพย์สินของบริ ษทั ประกันภัยที่ประเมินตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
ง. หนี้สินของบริ ษทั ประกันภัยที่ประเมินตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
21. ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 )
พ.ศ. 2551 บริ ษทั ได้รับอนุมตั ิให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยแล้ว ผูเ้ ริ่ มจัดตั้งบริ ษทั จะต้องดารงเงินกองทุน
ภายในระยะเวลาใด
ก. ภายใน 3 เดือน นับแต่วนั ที่ได้จดทะเบียนบริ ษทั
ข. ภายใน 6 เดือน นับแต่ วนั ที่ได้ จดทะเบียนบริษัท
ค. ภายใน 9 เดือน นับแต่วนั ที่ได้จดทะเบียนบริ ษทั
ง. ภายใน 1 ปี นับแต่วนั ที่ได้จดทะเบียนบริ ษทั
22. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการดารงเงินกองทุนของบริ ษทั ประกันวินาศภัย ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ.
2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ก. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัยมีอานาจพิจารณาประเภท ชนิด อัตราของ
เงินกองทุน
ข. มีวตั ถุประสงค์เพื่อดารงเงินกองทุนให้เพียงพอกับความเสี่ ยง
ค. บริษัทประกันวินาศภัย สามารถนาเงินกองทุนไปก่ อภาระผูกพันได้ ตามมติทปี่ ระชุ มผู้ถือหุ้นของบริษัทประกัน
วินาศภัย
ง. บริ ษทั ประกันวินาศภัย ต้องดารงไว้ซ่ ึ งเงินกองทุนตลอดเวลาที่ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย
23. ข้อใดไม่ถือว่าเป็ นการก่อภาระผูกพันในเงินกองทุน
ก. นาไปค้ าประกันหนี้
ข. นาไปวางเป็ นหลักประกันต่อศาล
ค. นาไปซื้อพันธบัตรรัฐบาล
ง. ถูกทุกข้อ
24. ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 )
พ.ศ. 2551 ให้อานาจผูใ้ ดประกาศกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคานวณเงินกองทุนของบริ ษทั
ประกันวินาศภัย
ก. รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกัน
วินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ข. นายทะเบียน
ค. เลขาธิ การคณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
25. การที่บริ ษทั ได้รับอนุมตั ิให้ประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยแล้ว ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535
แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 บริษัทไม่ สามารถวางหลักทรัพย์หรือ
ดารงเงินกองทุนได้ ตามระยะเวลาทีก่ าหนดไว้ จะมีผลเช่นไร
ก. บริ ษทั ประกันวินาศภัยสามารถประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยได้ ทั้งนี้จะต้องขออนุ ญาตภายหลังประกอบ
ธุ รกิจ 2 เดือน
ข. บริ ษทั ประกันวินาศภัยต้องเสนอกรอบเวลาที่จะวางหลักทรัพย์หรื อดารงเงินกองทุนต่อนายทะเบียน
ค. บริ ษทั ประกันวินาศภัยต้องจัดหาสถาบันการเงินประเภทธนาคารพาณิ ชย์มาค้ าประกันแทน
ง. ให้ ถือว่ าการอนุมัติให้ ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเป็ นอันสิ้นผล
26. เพื่อกากับดูแลการดารงเงินกองทุนและการบริ หารทางการเงินของบริ ษทั ประกันวินาศภัย กฎหมายจึงกาหนดให้
บริ ษทั ประกันวินาศภัยมีหน้าที่ตามข้อใด
ก. จัดสรรสิ นทรัพย์ไว้สาหรับหนี้สินและภาระผูกพันตามสัญญาประกันวินาศภัย
ข. ต้องบริ หารสิ นทรัพย์ หนี้สิน ภาระผูกพันและเงินสารองประกันภัยสาหรับกรมธรรม์ประกันภัยที่ยงั มีความ
ผูกพันอยูใ่ ห้มีความสัมพันธ์กบั ระยะเวลาการรับชาระเบี้ยประกันภัย การกูย้ มื เงินหรื อการรับเงินจากผูเ้ อา
ประกันภัยหรื อประชาชน
ค. จัดทารายงานการดารงเงินกองทุนเสนอต่อนายทะเบียนทุกเดือน
ง. ถูกทุกข้ อ
27. การเสนอโครงการเพื่อแก้ไขฐานะเงินกองทุนต่อนายทะเบียน ต้องเสนอภายในระยะเวลาตามข้อใด
ก. ภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งจากนายทะเบียน
ข. ภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ผสู ้ อบบัญชีตรวจพบ
ค. ภายใน 30 วันนับแต่วนั ที่บริ ษทั ประกันวินาศภัยตรวจพบ
ง. ถูกทุกข้ อ
28. กรณี ที่ตอ้ งเสนอโครงการแก้ไขฐานะเงินกองทุน ต้องยืน่ เสนอต่อนายทะเบียนภายในระยะเวลาเท่าใด
ก. ภายใน 1 เดือน
ข. ภายใน 2 เดือน
ค. ภายใน 3 เดือน
ง. ภายใน 6 เดือน
29. หากนายทะเบียนไม่ ให้ ความเห็นชอบโครงการแก้ไขฐานะเงินกองทุนของบริ ษทั ประกันวินาศภัย บริ ษทั ประกัน
วินาศภัยจะต้ องอุทธรณ์ ต่อผู้ใด ภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับแจ้ง
ก. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
ข. นายทะเบียน
ค. รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
ง. พนักงานของสานักงานคณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
30. ในระหว่างดาเนินการตามโครงการเพื่อแก้ไขฐานะเงินกองทุนที่ได้รับความเห็นชอบ บริ ษทั ประกันวินาศภัย
สามารถประกอบธุ รกิจได้หรื อไม่
ก. ได้ตามปกติ
ข. ได้ แต่ จะดาเนินการขยายธุรกิจไม่ ได้ จนกว่ าจะดารงเงินกองทุนได้ ครบถ้ วน
ค. ไม่ได้ เว้นแต่ได้รับอนุ ญาตจากนายทะเบียน
ง. ไม่ได้ เนื่องจากเงินกองทุนไม่เพียงพอ
31. ผูใ้ ดมีอานาจให้ ความเห็นชอบโครงการเพือ่ แก้ ไขฐานะเงินกองทุนที่บริ ษทั ประกันวินาศภัยเสนอ
ก. รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกัน
วินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ข. นายทะเบียน
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
32. หากบริ ษทั ประกันวินาศภัยใดไม่ชาระค่าธรรมเนียมรายปี สาหรับการประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยภายใน 3 เดือน
นายทะเบียนสามารถดาเนิ นการอย่างไรต่อบริ ษทั ประกันวินาศภัยได้
ก. ห้ ามขยายธุรกิจ
ข. พักใช้ใบอนุญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยชัว่ คราว
ค. เพิกถอนใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย
ง. สั่งควบคุมการรับประกันวินาศภัย
33. การขยายธุรกิจของบริ ษทั ประกันวินาศภัย หมายถึงข้อใด
ก. การรับประกันภัยรายใหม่
ข. การขยายวงเงินการรับประกันภัยของกรมธรรม์ประกันภัยที่มีอยู่
ค. การทาสัญญาแต่งตั้งนายหน้าประกันวินาศภัยหรื อนายหน้าประกันวินาศภัยเพิ่มเติม
ง. ถูกทุกข้ อ
34. ข้อใดไม่ ใช่ การขยายธุรกิจ
ก. การรับประกันภัยรายใหม่
ข. การทาสัญญาแต่งตั้งตัวแทนประกันภัยรายใหม่
ค. การจ่ ายเงินตามสั ญญาประกันวินาศภัย
ง. การรับโอนกิจการของบริ ษทั ประกันวินาศภัย
35. หลักทรัพย์ประกันที่บริ ษทั ประกันภัยวางไว้กบั นายทะเบียนมีวตั ถุประสงค์
ก. เพื่อให้เจ้าหนี้ของบริ ษทั ประกันภัยยึดไปใช้หนี้เมื่อมีหนี้สิน
ข. เพื่อให้รัฐบาลยึดไปใช้หนี้ค่าภาษีอากร
ค. เพื่อไว้ใช้จ่ายคืนผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ประกันภัยก่อนใครอื่นเมื่อผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ประกันภัยร้องขอ
ง. เพือ่ เป็ นหลักประกันแก่ ผ้ เู อาประกันภัย หรือผู้รับประโยชน์ ในอันทีจ่ ะได้ รับชาระหนีเ้ มื่อบริษัทประกันภัยเลิก
กิจการ
36. บริ ษทั ประกันวินาศภัยมีสิทธิ ขอเปลี่ยนแปลงหลักทรัพย์ประกันที่วางไว้กบั นายทะเบียนหรื อไม่
ก. ไม่มีสิทธิ เพราะกฎหมายห้ามไว้
ข. มีสิทธิ แต่ตอ้ งมีมูลค่าตามที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง
ค. มีสิทธิ แต่ตอ้ งเป็ นเงินสด พันธบัตรรัฐบาลไทยหรื อทรัพย์สินอื่นตามที่คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการ
ประกอบธุ รกิจประกันภัยกาหนด
ง. ถูกทั้งข้ อ ข. และ ค.
37. บริ ษทั ประกันวินาศภัยต้ องวางเงินและหลักทรัพย์ ใดบ้างไว้กบั นายทะเบียน
ก. เงินกองทุน
ข. เงินสารองตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
ค. หลักทรัพย์ประกัน
ง. ถูกทั้งข้ อ ข. และ ค.
38. หลักทรัพย์ใด ไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี ทั้งนี้ตลอดเวลาที่บริ ษทั ยังไม่ได้เลิกกิจการ
ก. เงินกองทุน
ข. เงินสารองตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
ค. หลักทรัพย์ประกัน
ง. ถูกทั้งข้ อ ข. และ ค.

39. ข้อใดเป็ นสิ นทรัพย์สภาพคล่อง


ก. ที่ดิน
ข. เงินฝากธนาคาร
ค. พันธบัตรของธนาคารแห่งประเทศไทย
ง. ถูกเฉพาะข้ อ ข. และ ค.
40. กรณี ที่หลักทรัพย์มีมูลค่าลดต่าลงกว่าที่กาหนด บริ ษทั ประกันวินาศภัยจะต้องนาหลักทรัพย์ประกันมาเพิ่มจนครบ
ภายในระยะเวลาเท่าใด
ก. ภายใน 1 เดือน นับแต่ได้รับคาสัง่
ข. ภายใน 2 เดือน นับแต่ ได้ รับคาสั่ ง
ค. ภายใน 3 เดือน นับแต่ได้รับคาสัง่
ง. ภายใน 6 เดือน นับแต่ได้รับคาสัง่
41. บริ ษทั ประกันวินาศภัย ต้องจัดสรรเงินสารองไว้เพื่อ
ก. เงินสารองสาหรับเบี้ยประกันภัยที่ยงั ไม่ตกเป็ นรายได้ของบริ ษทั ประกันภัย
ข. เงินสารองสาหรับค่าสิ นไหมทดแทน
ค. เงินสารองเพื่อการอื่น ตามที่คณะกรรมการฯ ประกาศ กาหนด
ง. ถูกทุกข้ อ
42. ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 )
พ.ศ. 2551 บริ ษทั ประกันวินาศภัยไม่ สามารถซื้อหรือมีไว้ ซึ่งอสั งหาริมทรัพย์ เว้นแต่ กรณีใด ที่บริ ษทั ประกันวินาศ
ภัย สามารถกระทาได้
ก. ใช้เป็ นสถานที่ประกอบธุ รกิจ
ข. ใช้เพื่อสวัสดิการของพนักงานหรื อลูกจ้างของบริ ษทั ประกันวินาศภัยตามสมควร
ค. เป็ นอสังหาริ มทรัพย์ที่บริ ษทั ประกันวินาศภัยได้มาจากการรับชาระหนี้
ง. ถูกทุกข้ อ

43. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทประกันวินาศภัย ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไข


เพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ก. ต้ องมีกรรมการสั ญชาติไทยไม่ ต่ากว่าสามในสี่ ของจานวนกรรมการทั้งหมด
ข. บุคคลซึ่ งไม่มีสัญชาติไทยถือหุ น้ ได้ไม่เกินร้อยละยีส่ ิ บสี่ ของจานวนหุ น้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงและจาหน่ายได้แล้ว
ทั้งหมด
ค. ต้องมีกรรมการสัญชาติไทยไม่ต่ากว่าสองในสามของจานวนกรรมการทั้งหมด
ง. กรรมการบริ ษทั จะต้องเป็ นมีประสบการณ์ดา้ นการประกันวินาศภัยมาไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี
44. ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 )
พ.ศ. 2551 มีข้อกาหนดจานวนกรรมการสั ญชาติไทยเท่าใด
ก. 1 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด
ข. 2 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด
ค. 1 ใน 4 ของกรรมการทั้งหมด
ง. 3 ใน 4 ของกรรมการทั้งหมด
45. กรณี ใดถือว่าเป็ นบริ ษทั ประกันวินาศภัย ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ก. นิติบุคคลที่จดทะเบียนในประเทศไทยและมีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ น้ อยูเ่ กินร้อยละยีส่ ิ บห้าของจานวน
หุ น้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงและจาหน่ายได้แล้วทั้งหมด
ข. นิติบุคคลทีจ่ ดทะเบียนในประเทศไทยซึ่งมีบุคคลธรรมดาสั ญชาติไทยถือหุ้นอยู่เกินร้ อยละห้ าสิ บของจานวนหุ้น
ทีม่ ีสิทธิออกเสี ยงและจาหน่ ายได้ แล้วทั้งหมด
ค. นิติบุคคลที่ไม่จดทะเบียนในประเทศไทย แต่มีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ น้ อยูเ่ กินร้อยละยีส่ ิ บห้าของ
จานวนหุ ้นที่มีสิทธิ ออกเสี ยงและจาหน่ายได้แล้วทั้งหมด
ง. นิติบุคคลที่ไม่จดทะเบียนในประเทศไทย แต่มีบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยถือหุ น้ อยูเ่ กินร้อยละห้าสิ บของจานวน
หุ น้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงและจาหน่ายได้แล้วทั้งหมด
46. การให้บุคคลซึ่ งไม่มีสัญชาติไทยถือหุ น้ ได้ถึงร้อยละสี่ สิบเก้าของจานวนหุ น้ ที่มีสิทธิ ออกเสี ยงและจาหน่ายได้แล้ว
ทั้งหมด ต้องได้รับความเห็นชอบจากบุคคลใด
ก. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
ข. รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี
ค. รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี โดยได้รับอนุมตั ิจากคณะรัฐมนตรี
ง. นายทะเบียน
47. หุน้ ของบริ ษทั ต้องเป็ นหุน้ ประเภทใด
ก. หุ้นสามัญชนิดระบุชื่อ
ข. หุน้ บุริมสิ ทธิ
ค. หุ น้ กู้
ง. หุน้ วิสามัญ
48. หุ น้ สามัญของบริ ษทั จะทาการโอนได้หรื อไม่
ก. ข้ อบังคับของบริษัทต้ องไม่ มีข้อจากัดในการโอนหุ้น
ข. ข้อบังคับของบริ ษทั ต้องกาหนดถึงสิ ทธิ ในการโอนหุ น้ ด้วย
ค. การโอนหุน้ ได้ตอ้ งมีมติที่ประชุมผูถ้ ือหุน้
ง. การโอนหุ น้ ไม่ตอ้ งรอมติที่ประชุมผูถ้ ือหุ น้
49. บุคคลในข้อใดไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามเป็ นกรรมการผู้จัดการของบริษัทประกันวินาศภัย
ก. นายแดงเคยเป็ นบุคคลล้มละลาย
ข. นายดาเคยต้ องคาพิพากษาถึงทีส่ ุ ดให้ ลงโทษจาคุกในความผิดฐานทาร้ ายร่ างกาย
ค. นายเขียวเป็ นสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจังหวัดศรี สะเกษ
ง. นายม่วงเป็ นกรรมการของบริ ษทั ประกันวินาศภัยอื่นที่ได้รับใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย
50. บริษัทประกันวินาศภัย ซึ่งมิใช่ สาขาของบริษัทประกันวินาศภัยต่ างประเทศจะเปิ ดสาขาได้ตอ้ งได้รับใบอนุญาต
จากใคร
ก. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ข. นายทะเบียน
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
51. สาขาของบริษัทประกันประกันวินาศภัยต่ างประเทศ ซึ่ งได้รับใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยในประเทศ
ไทยแล้ว จะดาเนินการเปิ ดสาขาเพิม่ อีก ได้หรื อไม่
ก. ได้ โดยต้องได้รับอนุญาตให้เปิ ดสาขาจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ข. ได้ โดยต้องได้รับใบอนุญาตให้เปิ ดสาขาจากนายทะเบียน
ค. ไม่ ได้ เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (
ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 ห้ ามไว้
ง. ได้ โดยไม่ตอ้ งขออนุ ญาต เพราะบริ ษทั ประกันภัยมีสิทธิ กระทาได้
52. การเปิ ดสาขาของบริษัทประกันภัย การย้ายทีต่ ้งั สานักงานใหญ่และทีต่ ้งั ของสานักงานสาขาของบริ ษทั ประกันภัย
จะต้องได้รับอนุญาตจากผูใ้ ด
ก. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. นายทะเบียน
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
53. เมื่อบริ ษทั ได้ รับอนุญาตให้ เปิ ดสาขาแล้ ว บริษัทจะต้ องดาเนินการให้แล้วเสร็ จภายในระยะเวลาใด นับแต่ได้รับแจ้ง
การอนุญาต
ก. 1 ปี
ข. 6 เดือน
ค. 2 ปี
ง. 180 วัน
54. ผูใ้ ดมีอานาจสั่ งให้ บริษัทประกันวินาศภัยเปิ ดเผยข้ อมูลเกีย่ วกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษทั
ประกันวินาศภัย
ก. รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกัน
วินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ข. นายทะเบียน
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
55. บริ ษทั ประกันวินาศภัยมีหน้ าทีเ่ ปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริ ษทั ประกันวินาศภัย
หรื อไม่ อย่างไร
ก. มีหน้าที่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูลเฉพาะเกี่ยวกับฐานะการเงิน
ข. มีหน้ าทีต่ ้ องเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน
ค. ไม่มีหน้าที่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูล เพราะปรากฏในงบการเงินของบริ ษทั แล้ว
ง. ไม่มีหน้าที่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูล เพราะปรากฏในเว็บไซต์ของสานักงาน คปภ. แล้ว

56. ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ห้ามมิให้บริ ษทั ประกันภัยรับประกันอัคคีภยั รายเดียวหรื อหลาย


รายรวมกันเพื่อวินาศภัยอันเดียวกันภายในเขตที่นายทะเบียนกาหนด โดยมีจานวนเงินเอาประกันภัยเกินกว่า
ก. ร้ อยละ 10 ของเงินกองทุน
ข. ร้อยละ 20 ของเงินกองทุน
ค. ร้อยละ 25 ของเงินกองทุน
ง. ร้อยละ 30 ของเงินกองทุน
57. เบี้ยประกันภัยที่บริ ษทั ประกันภัยได้รับจากผูเ้ อาประกันภัย บริ ษทั ประกันภัยจะนาไปลงทุนหาดอกผลได้ดงั นี้
ก. จะลงทุนอะไรก็ได้ เพื่อให้ได้ดอกผลมากที่สุด
ข. จะลงทุนได้ เฉพาะตามทีค่ ณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยประกาศกาหนด
ค. จะลงทุนได้เฉพาะตามที่นายทะเบียนประกาศกาหนด
ง. จะลงทุนได้เฉพาะตามที่คณะกรรมการบริ ษทั เห็นสมควร
58. ข้อห้ามมิให้บริ ษทั ประกันวินาศภัยกระทา คือ
ก. ประกอบธุ รกิจประกันชีวติ
ข. ลดทุนโดยมิได้รับอนุญาตเป็ นหนังสื อจากนายทะเบียนโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรี
ค. ฝากเงินไว้ที่อื่นนอกจากที่ธนาคาร บริ ษทั เงินทุนหรื อบริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์
ง. ถูกทุกข้ อ
59. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.
2551 ให้อานาจผู้ใดเป็ นผู้กาหนดหลักเกณฑ์ เรื่องการประวิงการจ่ ายค่ าสิ นไหมทดแทน
ก. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. เลขาธิการ คปภ.
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย

60. กรณี ใดดังต่อไปนี้ถือว่าเป็ นการประวิงการจ่ ายค่ าสิ นไหมทดแทนของบริ ษทั ประกันภัย


ก. จ่ายเป็ นเช็คลงวันที่ล่วงหน้า
ข. เมื่อศาลมีคาพิพากษาถึงที่สุดให้บริ ษทั ประกันภัยชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน แต่บริ ษทั ประกันภัยไม่ปฏิบตั ิตามคา
พิพากษาของศาลจนพ้นระยะเวลาที่กาหนดไว้ในคาบังคับ
ค. มีพฤติกรรมแสดงให้เห็นเด่นชัดว่าไม่ประสงค์จะชดใช้ค่าสิ นไหมทดแทน
ง. ถูกทุกข้ อ
61. ในกรณีทมี่ ีการร้ องเรียนเกี่ยวกับการประกันภัย การจ่ายค่าสิ นไหมทดแทน การจ่ายเงินหรื อประโยชน์อื่นใดตาม
กรมธรรม์ประกันภัย นายทะเบียนอาจจัดให้มี
ก. คาสั่งให้บริ ษทั ประกันวินาศภัยดาเนินการตามคาร้องเรี ยนนั้น
ข. ตรวจสอบบริ ษทั ประกันวินาศภัยที่ถูกร้องเรี ยน
ค. จัดให้ มีการพิจารณาข้ อร้ องเรียนและไกล่เกลี่ยข้ อพิพาท
ง. เปรี ยบเทียบปรับบริ ษทั ประกันวินาศภัยฐานประวิงการจ่ายค่าสิ นไหมทดแทน
62. บริ ษทั ประกันวินาศภัยสามารถฝากเงินหรือเก็บเงินไว้ ทใี่ ดได้ บ้าง
ก. ธนาคาร
ข. บริ ษทั เงินทุน
ค. สานักงานของบริ ษทั
ง. ถูกทุกข้ อ
63. บริ ษทั ประกันวินาศภัยจะจ่ ายเงินค่ าตอบแทนให้ แก่นายหน้ าประกันวินาศภัยได้หรื อไม่
ก. ได้ ถ้ าเป็ นค่ าจ้ างหรือค่ าบาเหน็จทีพ่ งึ จ่ ายตามปกติ
ข. ได้ ตามที่ตกลงโดยไม่จากัด
ค. ไม่ได้ นอกจากได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน
ง. ไม่ได้ทุกกรณี
64. บริ ษทั ประกันวินาศภัยจะจ่ายค่าตอบแทนให้แก่บุคคลที่จะช่วยให้มีการทาสัญญาประกันวินาศภัยโดยบุคคลนั้น
ไม่ได้รับอนุญาตเป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยของบริ ษทั ประกันภัย ได้หรื อไม่
ก. ได้ โดยไม่มีเงื่อนไข
ข. ไม่ ได้ เพราะกฎหมายห้ ามไว้
ค. ได้ ถ้าได้รับอนุมตั ิจากนายทะเบียนเป็ นรายๆไป
ง. ได้ ถ้าได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังเป็ นรายๆไป

65. กรณี ใดที่บริ ษทั ประกันวินาศภัยไม่สามารถกระทาได้


ก. จ่ายผลประโยชน์อื่นใดให้แก่ตวั แทนประกันวินาศภัย นอกเหนื อจากเงินบาเหน็จที่พึงจ่ายตามปกติ
ข. รับชาระเบี้ยประกันภัยจากผูเ้ อาประกันภัยต่ากว่าจานวนที่ตอ้ งชาระ
ค. จ่ายเงินล่วงหน้าเพื่อเป็ นค่านายหน้าหรื อค่าตอบแทนงานที่จะทาให้แก่บริ ษทั ประกันวินาศภัย
ง. ถูกทุกข้ อ
66. บริ ษทั ประกันภัยจะจ่ ายผลประโยชน์ เป็ นกรณีพเิ ศษ อันเป็ นผลประโยชน์นอกเหนือจากความคุม้ ครองตาม
กรมธรรม์ประกันภัย ได้หรื อไม่
ก. จ่ายได้ เพราะเป็ นประโยชน์แก่ผเู ้ อาประกันภัย
ข. จ่ายได้ เพราะบริ ษทั ประกันภัยได้ตกลงว่าจะจ่ายให้เป็ นกรณี พิเศษ แม้กรมธรรม์ประกันภัยไม่ได้ระบุให้ความ
คุม้ ครองไว้
ค. จ่ ายไม่ ได้ เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ห้ ามไว้
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และข้อ ข.
67. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.
2551 นอกจากเงินค่ าจ้ าง หรือบาเหน็จทีบ่ ริษัทประกันภัยจ่ ายตามปกติแล้ว บริ ษทั ประกันภัยจะจ่ายสิ่ งดังต่อไปนี้
ให้แก่นายหน้าประกันวินาศภัยหรื อนายหน้าประกันวินาศภัย อีกได้หรื อไม่
ก. ให้เบิกค่าตัว๋ เครื่ องบินไปเที่ยวต่างประเทศได้
ข. ให้เบิกเงินสดหรื อของตอบแทนพิเศษได้
ค. จ่ายตามข้อ ก. และข้อ ข. ไม่ได้ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน
ง. จ่ ายตามข้ อ ก. และข้ อ ข. ไม่ ได้
68. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.
2551 บริษัทประกันภัยจะจ่ ายเงินค่ านายหน้ าหรือค่ าตอบแทนล่ วงหน้ าสาหรับงานที่ยงั ไม่ได้ทาให้แก่บริ ษทั
ประกันภัย ได้หรื อไม่
ก. ได้ เพราะเป็ นสิ่ งจูงใจ
ข. ได้ เพราะเป็ นงานที่ได้รับมอบหมาย
ค. ได้ แต่ตอ้ งได้รับความอนุญาตจากนายทะเบียนก่อน
ง. ไม่ ได้ เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย (
ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 ห้ ามไว้
69. นายมากเป็ นบุคคลที่ช่วยให้มีการทาสัญญาประกันภัยระหว่างผูเ้ อาประกันภัยกับบริ ษทั ประกันภัย แต่นายมากไม่ ได้
เป็ นตัวแทนหรือนายหน้ าของบริ ษทั ประกันภัย บริ ษทั ประกันภัยจะจ่ายบาเหน็จให้แก่นายมาก ได้หรื อไม่
ก. จ่ายได้ เพราะนายมากช่วยให้มีการทาสัญญาประกันภัย
ข. จ่ายไม่ได้ เพราะนายมากไม่ได้เป็ นตัวแทนประกันวินาศภัย หรื อนายหน้าประกันวินาศภัย
ค. จ่ ายไม่ ได้ เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศ
ภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 ห้ ามไว้
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ข้อ ค.
70. บริ ษทั ประกันวินาศภัยต้องเก็บรักษาสมุดทะเบียน และบัญชีเกี่ยวกับธุ รกิจของบริ ษทั ไว้ที่สานักงานของบริ ษทั ไม่
น้อยกว่ากี่ปี นับแต่วนั ลงรายการครั้งสุ ดท้ายในสมุดทะเบียน
ก. 1 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 10 ปี
71. บริษัทจะปิ ดสมุดทะเบียน ภายในกี่วนั นับแต่ลงวันสุ ดท้าย
ก. 2
ข. 3
ค. 4
ง. 5
72. ในกรณี ที่ปรากฏหลักฐานว่ าบริษัทประกันวินาศภัยมีฐานะหรือการดาเนินการอยู่ในลักษณะอันอาจเป็ นเหตุให้ เกิด
ความเสี ยหายแก่ ผ้ เู อาประกันภัยหรือประชาชน ผูใ้ ดมีอานาจสั่งให้บริ ษทั ประกันวินาศภัยแก้ไขฐานะหรื อการ
ดาเนินการ
ก. นายทะเบียน
ข. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
ค. นายทะเบียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
ง. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง

73. กรณี บริ ษทั ประกันวินาศภัยถูกเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัย ผู้ใดมีอานาจแต่ งตั้งผู้ชาระบัญชี


ก. รัฐมนตรี ผรู้ ักษาการตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกัน
วินาศภัย ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551
ข. นายทะเบียน
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
74. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลังมีอานาจเพิกถอนใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยในกรณี ใด
ก. เมื่อปรากฏว่าบริ ษทั ประกันภัยมีหนี้สินเกินกว่าทรัพย์สิน
ข. เมื่อบริ ษทั ประกันภัยหยุดประกอบธุ รกิจประกันวินาศภัยโดยไม่มีสาเหตุอนั สมควร
ค. เมื่อบริ ษทั ประกันภัยประวิงการจ่ายค่าสิ นไหมทดแทน
ง. ถูกทุกข้ อ
75. ใบคาขอเอาประกันภัยที่นายหน้าประกันวินาศภัย ให้ผเู ้ อาประกันภัยกรอกเพื่อแถลงข้อเท็จจริ งนั้นต้องได้รับความ
เห็นชอบจากนายทะเบียน หรื อไม่
ก. ต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน
ข. ไม่ตอ้ งขอรับความเห็นชอบจากนายทะเบียน
ค. ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ไม่ได้กาหนดไว้
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และข้อ ค.
76. กรมธรรม์ประกันภัยที่บริ ษทั ประกันภัยออกให้แก่ผเู ้ อาประกันภัยต้องได้รับความเห็นชอบจาก
ก. ปลัดกระทรวงการคลัง
ข. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ค. นายทะเบียน
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
77. อัตราเบี้ยประกันภัยที่บริ ษทั ประกันภัยกาหนด ต้องได้รับความเห็นชอบจาก
ก. นายทะเบียน
ข. ปลัดกระทรวงการคลัง
ค. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ง. คณะกรรมการกากับและส่ งเสริ มการประกอบธุ รกิจประกันภัย
78. บุคคลใดเป็ นผูม้ ีสิทธิ ขอแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม หรื อยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัยหรื อข้อความแนบท้าย
กรมธรรม์ประกันภัยได้
ก. นายทะเบียนเห็นสมควรหรือบริษัทประกันภัยร้ องขอ
ข. นายทะเบียนเห็นสมควรหรื อนายหน้าประกันวินาศภัยร้องขอ
ค. นายทะเบียนเห็นสมควรหรื อผูเ้ อาประกันภัยร้องขอ
ง. ถูกทุกข้อ
79. อัตราเบี้ยประกันภัยที่เคยได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนแล้ว นายทะเบียนจะแก้ไขอัตราเบี้ยประกันภัยนั้น ได้
หรื อไม่
ก. แก้ไขได้แต่ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ข. แก้ไขได้แต่ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจากปลัดกระทรวงการคลัง
ค. แก้ไขไม่ได้เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ห้ามไว้
ง. แก้ไขได้ เพราะเป็ นอานาจของนายทะเบียน
80. อัตราเบี้ยประกันภัยที่นายทะเบียนเห็นชอบไว้แล้ว เมื่อนายทะเบียนเห็นสมควรหรื อเมื่อบริ ษทั ประกันวินาศภัยร้อง
ขอนายทะเบียนจะสั่งให้เปลี่ยนอัตรานั้นเสี ยใหม่ก็ได้ การเปลี่ยนอัตราใหม่จะมีผลกระทบกรมธรรม์ประกันภัยที่ได้
กาหนดอัตราเบี้ยประกันภัยที่นายทะเบียนให้ความเห็นชอบไว้ก่อนแล้วหรื อไม่ อย่างไร
ก. ไม่มีผลกระทบกรมธรรม์ประกันภัยเดิมที่นายทะเบียนได้ให้ความเห็นชอบก่อนแล้ว
ข. มีผลกระทบ เนื่องจากนายทะเบียนสั่งให้เปลี่ยนอัตราใหม่ ต้องเปลี่ยนแปลงกรมธรรม์ประกันภัยตามอัตราเบี้ย
ประกันภัยใหม่ที่นายทะเบียนเห็นชอบ
ค. มีผลกระทบ เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่ใช้ในการคานวณเบี้ยประกันภัยเปลี่ยนไป ต้องเปลี่ยนแปลงกรมธรรม์
ประกันภัยตามอัตราเบี้ยประกันภัยใหม่ที่นายทะเบียนเห็นชอบ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากนายทะเบียนให้คงอัตรา
เบี้ยประกันภัยเดิม
ง. ถูกทั้งข้ อ ข. และ ข้ อ ค.
81. กรมธรรม์ประกันภัยต้องมีรายชื่อของบุคคลใด
ก. ต้องมีลายมือชื่อของผูจ้ ดั การบริ ษทั ประกันภัย
ข. ต้องมีลายมือชื่อของผูท้ ี่ได้รับมอบอานาจเป็ นหนังสื อให้ลงลายมือชื่อในกรมธรรม์ประกันภัยแทนบริ ษทั
ประกันภัย
ค. ต้ องมีลายมือชื่ อของกรรมการผู้มีอานาจผูกพันบริษัทประกันภัย ตามทีไ่ ด้ จดทะเบียนไว้ หรือผู้จัดการสาขาของ
บริษัทต่ างประเทศ ตามทีร่ ะบุไว้ ในใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย
ง. ต้องมีลายมือชื่อของผูเ้ อาประกันภัย
82. หากกรมธรรม์ประกันภัยที่บริ ษทั ประกันวินาศภัยออกให้กบั ผูเ้ อาประกันภัย มีข้อความแตกต่ างจากทีน่ ายทะเบียน
ให้ ความเห็นชอบ จะมีผลต่อสัญญาประกันภัยอย่างไร
ก. สัญญาประกันภัยตกเป็ นโมฆะ
ข. สัญญาประกันภัยตกเป็ นโมมียะ
ค. สั ญญาประกันภัยสมบูรณ์ โดยผู้เอาประกันภัยมีสิทธิเลือกใช้ ตามแบบกรมธรรม์ ประกันภัยทีน่ ายทะเบียนให้
ความเห็นชอบหรือตามแบบทีบ่ ริษัทออกให้ กไ็ ด้
ง. สัญญาประกันภัยไม่ผกู พันคู่สัญญา
83. ในกรณี ที่บริ ษทั ประกันภัยออกกรมธรรม์ประกันภัยโดยมีแบบ หรือข้ อความ แตกต่ างไปจากแบบหรือข้ อความที่
นายทะเบียนได้ ให้ ความเห็นชอบไว้แล้ว ผูเ้ อาประกันภัย หรื อผูร้ ับประโยชน์ตามกรมธรรม์ประกันภัยจะมีสิทธิ ตอ่
บริ ษทั อย่างไรบ้าง
ก. ไม่มีสิทธิ ใดๆ เพราะถือว่าสัญญาประกันภัยเป็ นโมฆะ
ข. มีสิทธิ ที่จะให้บริ ษทั ประกันภัยปฏิบตั ิตามข้อตกลง ตามแบบหรื อข้อความกรมธรรม์ประกันภัยที่นายทะเบียนได้
ให้ความเห็นชอบไว้แล้ว
ค. มีสิทธิ ที่จะให้บริ ษทั ประกันภัยปฏิบตั ิตามข้อตกลง ตามแบบหรื อข้อความกรมธรรม์ประกันภัยที่บริ ษทั
ประกันภัยออกให้น้ นั
ง. ถูกเฉพาะข้ อ ข. และ ค.
84. ในกรณี ที่บริ ษทั ประกันภัยออกกรมธรรม์ประกันภัยให้ผเู ้ อาประกันภัยโดยที่แนบ หรื อใส่ ขอ้ ความในกรมธรรม์
ประกันภัยที่ไม่ ได้ รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน ผูเ้ อาประกันภัยจะเลือกให้บริ ษทั ประกันภัยต้องรับผิด ดังนี้
ก. ให้บริ ษทั ประกันภัยปฏิบตั ิตามข้อตกลงในกรมธรรม์ประกันภัย
ข. บอกเลิกสัญญาประกันภัย
ค. ให้บริ ษทั ประกันภัยคืนเบี้ยประกันภัยทั้งหมด
ง. ถูกทุกข้ อ

85. กรณี ใดบ้างที่ผเู ้ อาประกันภัยมีสิทธิบอกเลิกสั ญญาประกันวินาศภัย และให้บริ ษทั ประกันวินาศภัยคืนเบี้ยประกันภัย


ได้
ก. กรณีบริษัทประกันวินาศภัยออกกรมธรรม์ ประกันภัย โดยใช้ แบบหรือข้ อความกรมธรรม์ ประกันภัยทีม่ ิได้ ให้
ความเห็นชอบจากนายทะเบียน
ข. บริ ษทั ประกันวินาศภัยออกกรมธรรม์ประกันภัย โดยใช้แบบหรื อข้อความกรมธรรม์ประกันภัยที่แตกต่างไปจาก
แบบที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน
ค. กรณี บริ ษทั ประกันวินาศภัยออกกรมธรรม์ประกันภัย โดยใช้อตั ราเบี้ยประกันภัยที่มิได้ให้ความเห็นชอบจาก
นายทะเบียน
ง. บริ ษทั ประกันวินาศภัยออกกรมธรรม์ประกันภัย โดยใช้อตั ราเบี้ยประกันภัยที่แตกต่างไปจากอัตราเบี้ย
ประกันภัยที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน
86. หากข้อความหรื อภาพที่โฆษณาในกรมธรรม์ประกันภัยขัดกับข้อความในกรมธรรม์ประกันภัยจะต้องตีความอย่างไร
ก. ตีความไปในทางที่เป็ นคุณแก่ตวั แทนหรื อนายหน้าประกันภัย
ข. ตีความไปในทางที่เป็ นคุณแก่บริ ษทั ประกันภัย
ค. ตีความไปในทางทีเ่ ป็ นคุณแก่ ผ้ เู อาประกันภัย หรื อผู้รับประโยชน์ ตามกรมธรรม์ ประกันภัย
ง. ตีความอย่างไรก็ได้ แล้วแต่คู่สัญญาจะตกลง
87. บริ ษทั ประกันวินาศภัยจะออกกรมธรรม์ประกันภัยโดยระบุจานวนเงินอันพึงใช้ให้เป็ นเงินตราต่างประเทศ แก่ผเู ้ อา
ประกันภัยหรื อผูร้ ับประโยชน์ได้หรื อไม่ อย่างไร
ก. ได้ ถ้าได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน
ข. ไม่ ได้ เพราะพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ห้ ามไว้
ค. ได้ ถ้าได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ง. ได้ ถ้าได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์
88. คาว่า “ ตัวแทนประกันวินาศภัย ” ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 หมายถึง
ก. ผู้ซึ่งบริษัทประกันภัยมอบหมายให้ ทาการชั กชวนให้ บุคคลทาสั ญญาประกันภัยกับบริ ษัทประกันภัย
ข. ผูซ้ ่ ึ งชี้ช่อง หรื อจัดการให้บุคคลทาสัญญาประกันภัยกับบริ ษทั ประกันภัย
ค. ผูซ้ ่ ึ งชี้ช่อง ให้บุคคลทาสัญญาประกันวินาศภัยกับบริ ษทั ประกันภัย โดยหวังบาเหน็จเนื่องจากการนั้น
ง. ผูซ้ ่ ึ งจัดการ ให้บุคคลทาสัญญาประกันวินาศภัยกับบริ ษทั ประกันภัย โดยหวังบาเหน็จเนื่องจากการนั้น
89. คาว่า “ นายหน้าประกันวินาศภัย ” ตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 หมายถึง
ก. ผูซ้ ่ ึ งบริ ษทั ประกันภัยมอบหมายให้ทาการชักชวนให้บุคคลทาสัญญาประกันภัยกับบริ ษทั ประกันภัย
ข. ผู้ซึ่งชี้ช่อง หรือจัดการให้ บุคคลทาสั ญญาประกันภัยกับบริษัทประกันภัย โดยกระทาเพือ่ บาเหน็จเนื่องจาก
การนั้น
ค. ผูซ้ ่ ึงบริ ษทั มอบหมายให้ทาการชักชวนให้บุคคลทาสัญญาประกันภัยกับบริ ษทั ประกันภัยโดยกระทาเพื่อ
หวังบาเหน็จเนื่องจากการนั้น
ง. ผูซ้ ่ ึ งบริ ษทั มอบหมายให้มีอานาจตกลงรับประกันภัยแทนบริ ษทั ประกันภัย
90. ผูใ้ ดสามารถกระทาการชักชวนชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลทาสัญญาประกันวินาศภัยกับบริ ษทั ประกันวินาศภัยโดย
ไม่ตอ้ งมีใบอนุญาตเป็ นตัวแทนประกันวินาศภัยหรื อนายหน้าประกันวินาศภัย
ก. กรรมการของบริษัทประกันวินาศภัยซึ่งกระทาการในนามบริษัทประกันวินาศภัย
ข. ผูร้ ับมอบอานาจช่วงจากตัวแทน
ค. บุคคลที่ได้รับมอบอานาจจากบริ ษทั ประกันวินาศภัย
ง. ตัวแทนประกันวินาศภัยที่เคยได้รับใบอนุญาตเป็ นตัวแทนประกันวินาศภัย

You might also like