You are on page 1of 25

4.

4 ข้ อสอบวิชาการประกันภัยทางทะเลและขนส่ ง ( 119 ข้ อ )
จงทำเครื่ องหมำย X ลงในคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ในกำรทำประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล กรณี ที่เกิดข้ อพิพาทระหว่ำงผู้รับประกันภัยกับผู้รับขนสิ นค้ าทางทะเล
ศาลจะให้ กฎหมายใดในการพิจารณา
ก. พระรำชบัญญัติประกันภัยทำงทะเล พ.ศ 2546
ข. พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ 2534
ค. พระรำชบัญญัติประกันภัยทำงอำกำศ พ.ศ 2545
ง. ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิ ชย์วำ่ ด้วยลักษณะรับขน

2. หำกเกิดปั ญหำในกำรเรี ยกร้องค่ำสิ นไหมดทดแทนสำหรับกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ผู้เอาประกันภัย


กับจะต้ อง ฟ้องร้ องต่ อศาลใด
ก. ศำลแพ่ง ข. ศำลอำญำฅ
ค. ศำลฎีกำ ง. ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้ าระหว่างประเทศกลาง

3. ปั จจุบนั กำรขนส่ งสิ นค้ำระหว่ำงประเทศนิยมใช้ การขนส่ งรู ปแบบใด


ก. ทำงเรื อเดินทะเลและพำณิ ชย์ ข. ทำงสำยกำรบินพำณิ ชย์
ค. ทำงบก เช่น รถยนต์ รถไฟ ง. การขนส่ งต่ อเนื่องหลายรู ปแบบ

4. กรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล แตกต่ างจากรมธรรม์ ประกันอัคคีภัย ตำมข้อใด


ก. สำมำรถเอำประกันภัยในวงเงินสู งกว่ำรำคำสิ นค้ำที่ตกลงซื้ อขำยกันได้
ข. สำมำรถโอนกรมธรรม์ประกันภัยได้โดยอัตโนมัติ
ค. ผูเ้ อำประกันภัยอำจไม่มีส่วนได้เสี ยขณะทำประกันภัย
ง. ถูกทุกข้ อ

5. ข้อใดมิใช่ ลกั ษณะของสั ญญาประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล


ก. เป็ นสัญญำต่ำงตอบแทน
ข. ผูร้ ับประกันภัยตกลงว่ำจะชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทนให้แก่ผเู ้ อำประกันภัย
ค. ต้ องมีการลงลายมือชื่ อทั้งฝ่ ายผู้รับประกันภัยและผู้เอาประกันภัย
ง. มีเบี้ยประกันภัยเป็ นค่ำตอบแทน
6. การกาหนดจานวนเงินเอาประกันภัยในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล มีลกั ษณะอย่ำงไร
ก. เป็ นการกาหนดหรือตกลงมูลค่ าเอาประกันภัยของทรัพย์ สินไว้ ล่วงหน้ า
ข. เป็ นกำรกำหนดหรื อตกลงมูลค่ำเอำประกันภัยของทรัพย์สินตำมรำคำต้นทุนกำรผลิตที่แท้จริ ง
ค. เป็ นกำรกำหนดหรื อตกลงมูลค่ำเอำประกันภัยของทรัพย์สินตำมมูลค่ำที่อำจจะเกิดควำมเสี ยหำยขึ้น
ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก

7. ถ้ำผูเ้ อำประกันภัยสิ นค้ำต้ องการทาการประกันภัยสิ นค้ าและภาษีขาเข้ าด้ วย จะทำได้หรื อไม่


ก. ได้ โดยแยกมูลค่ าเอาประกันภัยสาหรับสิ นค้ า และมูลค่ าเอาประกันภัยสาหรับภาษีขาเข้ า
ข. ไม่ได้ เพรำะผูร้ ับประกันภัยปกติจะไม่คุม้ ครองภำษีขำเข้ำ
ค. ไม่ได้ เพรำะยุง่ ยำกในกำรพิสูจน์พิกดั อัตรำภำษี
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.

8. กำรประกันภัยสิ นค้ำทำงทะเลและทำงอำกำศ โดยทัว่ ไปผูร้ ับประกันภัยจะคิดมูลค่ าสิ นค้ าทีร่ ับประกันภัยอย่ างไร
ก. FOB + 15% ข. CRF + 10%
ค. CIF + 15% ง. ถูกทุกข้ อ

9. จานวนเงินเอาประกันภัยตำมกรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล โดยทัว่ ไปจะกำหนดจำก


ก. กำหนดตำมรำคำ CIF ข. กำหนดตำมรำคำ CRF
ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข ง. กาหนดตามราคา CIF หรือ CRF + 10%

10. อัตรำเบี้ยประกันภัยกำรประกันภัยตำมกรมธรรม์ประกันภัยกำรขนสิ นค้ำทำงทะเล ที่ได้รับควำมเห็นชอบจำกนำย


ทะเบียนไว้ อย่ำงไร
ก. กาหนดขั้นเป็ นช่ วงขั้นต่า-ขั้นสู ง ระหว่ าง 0.10% - 15% ของจานวนเงินเอาประกันภัย
ข. กำหนดไว้เป็ นขั้นต่ำ 0.15% ของจำนวนเงินเอำประกันภัย
ค. ไม่มีกำรกำหนดใดๆ
ง. กำหนดไว้เฉพำะอัตรำเบี้ยประกันภัยขั้นสู งไม่เกิน 5% ของจำนวนเงินเอำประกันภัย

11. ข้อใดเป็ นปัจจัยทีส่ าคัญในการกาหนดอัตราเบีย้ ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล


ก. เรื อที่ใช้ในกำรขนส่ ง ข. เส้นทำงกำรขนส่ ง
ค. ลักษณะของหี บห่อที่บรรจุสินค้ำ ง. ถูกทุกข้ อ
12. หน่วยงำนใดที่ไม่ มีควำมเกี่ยวข้องกับกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล
ก. ธนำคำรพำณิ ชย์ (Commercial Bank) ข. สำยเดินเรื อ (Shipping Line)
ค. กำรศุลกำกร (Custom Department) ง. กรมสรรพำกร (Revenue Department)

13. ลักษณะของค่ าสิ นไหมทดแทน ที่สำมำรถเรี ยกร้องจำกบริ ษทั ประกันภัย ในกำรประกันภัยทำงทะเล และกำร
ขนส่ งได้ คืออะไรบ้ำง
ก. ควำมเสี ยหำย ควำมสู ญเสี ย ค่ำใช้จ่ำยและค่ำใช้จ่ำยที่เพิ่มขึ้น
ข. ควำมเสี ยหำย ควำมสู ญเสี ย ค่ำใช้จ่ำยและกำรสู ญเสี ยรำยได้
ค. ความเสี ยหาย ความสู ญเสี ย ค่ าใช้ จ่ายและความรับผิดต่ อบุคคลภายนอก
ง. ควำมเสี ยหำย ควำมสู ญเสี ย ค่ำใช้จ่ำยที่เพิม่ ขึ้นและกำรสู ญเสี ยรำยได้
14. หลักกำรพื้นฐำนของ Incoterms คืออะไร
ก. เพื่อให้เกิดควำมสะดวกในกำรซื้ อขำยระหว่ำงประเทศ
ข. การกาหนดหน้ าทีข่ องคู่สัญญาแต่ ละฝ่ ายในเรื่องค่ าใช้ จ่ายและการเสี่ ยงภัยในการขนส่ งสิ นค้ าจากผู้ขายไป
ยังผู้ซื้อ
ค. กำรกำหนดหน้ำที่ของคู่สัญญำแต่ละฝ่ ำยในกำรขนส่ งสิ นค้ำและกำรรับมอบสิ นค้ำ
ง. กำรกำหนดหน้ำที่ของคู่สัญญำแต่ละฝ่ ำยในกำรขนส่ งสิ นค้ำและกำรรับมอบสิ นค้ำเพื่อให้เกิดควำม
คล่องตัวในกำรซื้ อขำยระหว่ำงประเทศ

15. ข้อใดไม่ ใช่ องค์ ประกอบหลักในกำรพิจำรณำรับประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล


ก. ลักษณะของทรัพย์สินที่เอำประกันภัย ข. ธนาคารผู้ออก Letter of Credit
ค. วิธีกำรขนส่ ง ง. เรื อ หรื อยำนพำหนะที่ใช้ขนส่ ง

16. สัญญำประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล แบบ MAR Form จะเริ่มต้ นคุ้มครองเมื่อ


ก. สิ นค้ำเก็บอยูใ่ นยำนพำหนะซึ่ งจอดอยูใ่ นโกดังหรื อสถำนที่เก็บสิ นค้ำ
ข. สิ นค้ำอยูใ่ นเรื อเพื่อเตรี ยมที่จะขนส่ งไปยังจุดหมำยปลำยทำง
ค. สิ นค้ าเคลือ่ นออกจากโกดัง หรือสถานทีเ่ ก็บสิ นค้ าทีร่ ะบุไว้
ง. สิ นค้ำเก็บอยู่ ณ ท่ำต้นทำงของผูข้ นส่ ง

17. สิ นค้ำเก็บอยู่ ณ ท่ำต้นทำงของผูส้ ่ งสิ นค้ำกำรซื้ อขำย ในเงื่อนไข Ex-Works ผู้ขายจะส่ งมอบสิ นค้ า ณ ทีใ่ ด
ก. ที่ท่ำเรื อ หรื อ Air Port ข. ที่เก็บสิ นค้ำ หรื อโรงงำนของผูซ้ ้ื อ
ค. ทีห่ น้ าโรงงานของผู้ขาย ง. ที่โกดังของตัวแทนเรื อ
18. กำรซื้ อขำยสิ นค้ำระหว่ำงประเทศ (Incoterms) รู ปแบบ EXW : Ex-Works คือ
ก. ผู้ขายสิ นค้ าจะหมดภาระต่ อเมื่อได้ ส่งมอบสิ นค้ าให้ กบั ผู้ซื้อ ณ สถานทีข่ องผู้ขายสิ นค้ าเอง
ข. ผูข้ ำยสิ นค้ำจะหมดภำระต่อเมื่อได้ส่งมอบสิ นค้ำให้อยูใ่ นควำมดูแลของผูข้ นส่ ง
ค. ผูข้ ำยสิ นค้ำจะหมดภำระต่อเมื่อได้ส่งมอบสิ นค้ำไว้ที่ขำ้ งเรื อ
ง. ผูข้ ำยสิ นค้ำจะหมดภำระต่อเมื่อได้ส่งมอบสิ นค้ำไว้ ณ ท่ำเรื อที่ระบุไว้

19. เงื่อนไขกำรซื้ อขำยแบบ FOB หมายถึงอะไร


ก. ผูข้ ำยสิ นค้ำรับผิดชอบในสิ นค้ำเฉพำะที่อยูใ่ นโกดัง ณ เมืองท่ำต้นทำง
ข. ผู้ขายสิ นค้ ารับผิดชอบในสิ นค้ าจนกระทัง่ สิ นค้ าขึน้ สู่ เรือเดินสมุทร ณ เมืองท่ าต้ นทาง
ค. ผูข้ ำยสิ นค้ำจะหมดภำระต่อเมื่อได้ส่งมอบสิ นค้ำไว้ที่ขำ้ งเรื อ
ง. ผูข้ ำยสิ นค้ำจะ

20. กำรขำยสิ นค้ำภำยใต้เงื่อนไข Incoterms - FOB ผูข้ ำยสิ นค้ำจะต้องทำประกันภัยหรื อไม่


ก. ไม่ ต้องทาประกันภัย เพราะ Incoterms ไม่ ได้ กาหนดให้ ผ้ ขู ายสิ นค้ าต้ องทาประกันภัย
ข. ต้องทำประกันภัยโดยเริ่ มต้นตั้งแต่สินค้ำได้ส่งมอบให้ผรู ้ ับขนส่ งจนส่ งมอบให้ผซู ้ ้ื อที่ปลำยทำง
ค. ต้องทำประกันภัยโดยเริ่ มต้นตั้งแต่โรงงำนของผูข้ ำยจนส่ งมอบให้ผซู ้ ้ื อสิ นค้ำที่ปลำยทำง
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.

21. กำรซื้ อสิ นค้ำแบบ CIF หมำยถึงอะไร


ก. ผู้ขายสิ นค้ าต้ องรับผิดชอบในการนาสิ นค้ าขึน้ สู่ เรือเดินสมุทร ทาประกันภัยสิ นค้ าคุ้มครองถึงปลายทาง
และจ่ ายค่ าระวางเรือ
ข. ผูซ้ ้ื อสิ นค้ำต้องรับผิดชอบในกำรนำสิ นค้ำขึ้นสู่ เรื อเดินสมุทร ทำประกันภัยสิ นค้ำคุม้ ครองถึงปลำยทำง
และจ่ำยค่ำ ระวำงเรื อ
ค. ผูข้ ำยสิ นค้ำต้องรับผิดชอบในกำรทำประกันภัยสิ นค้ำคุม้ ครองปลำยทำงและจ่ำยค่ำระวำงเรื อแต่ผซู ้ ้ื อเป็ น
ผูน้ ำสิ นค้ำขึ้นสู่ เรื อเดินสมุทร
ง. ผูซ้ ้ื อสิ นค้ำรับผิดชอบในกำรทำประกันภัยสิ นค้ำคุม้ ครองปลำยทำงและจ่ำยค่ำระวำงเรื อ แต่ผขู ้ ำยเป็ นผูน้ ำ
สิ นค้ำขึ้นสู่ เรื อเดินสมุทร

22. กำรขำยสิ นค้ำตำมเงื่อนไข CIF บุคคลใดเป็ นผู้จัดทาประกันภัย


ก. ผูซ้ ้ื อสิ นค้ำ ข. ผู้ขายสิ นค้ า
ค. ผูข้ นส่ งสิ นค้ำ ง. ผูซ้ ้ื อหรื อผูฝ้ ำกขำยใดก็ได้แล้วแต่ตกลงในสัญญำ
23. หำกผูน้ าเข้ าสิ นค้ าทีอ่ ยู่ในประเทศไทยต้ องการทาประกันภัยสิ นค้ าทีจ่ ะนาเข้ าจากต่ างประเทศ ควรกำหนด
เงื่อนไขกำรซื้ อ ขำยแบบใดกับผูข้ ำยสิ นค้ำ
ก. EX-Works ข. FOB & CFR
ค. C&I & CIF ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

24. เพื่อเป็ นกำรส่ งเสริ มกำรประกันภัยภำยในประเทศ ควรแนะนาให้ ผ้ สู ั่ งซื้อสิ นค้ านาเข้ า สัง่ ซื้ อสิ นค้ำในเงื่อนไขกำร
ซื้ อขำยอะไร
ก. FOB ข. CFR
ค. CIF ง. ถูกทั้งข้ อ ก. และ ข.

25. ท่ำนควรแนะนำให้ผสู ้ ่ งออกสิ นค้ำประเภทอาหารแช่ แข็ง ทำประกันภัยเงื่อนไข


ก. Institute Cargo Clauses (A)
ข. Institute Cargo Clauses IAIR)
ค. Institute Frozen Food Clauses (A) ( Excluding Frozen Meat )
ง. Institute Frozen Food Clauses (C)

26. การรับรองโดยปริยาย (Implied Warranties) ที่ใช้ในกำรทำประกันภัยทำงทะเลและกำรขนส่ งมีอะไรบ้ำง


ก. ความพร้ อมในการออกทะเล และความชอบด้ วยกฎหมาย
ข. ควำมพร้อมในกำรออกทะเล และกำรรับช่วงสิ ทธิ์
ค. ควำมพร้อมในกำรออกทะเล และกำรเปิ ดเผยข้อเท็จจริ ง
ง. ควำมพร้อมในกำรออกทะเล และสุ จริ ตใจอย่ำงยิง่

27. ในกรณี ที่ผเู้ อาประกันภัยไม่ทรำบถึงควำมไม่พร้อมในกำรออกทะเลของเรื อ ที่ใช้ขนสิ นค้ำ


ก. ผู้เอาประกันภัยยังคงมีสิทธิ์ได้ รับชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน หากสิ นค้ าได้ รับความเสี ยหาย
ข. ผูเ้ อำประกันภัยไม่มีสิทธิ์ ได้รับชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทน เพรำะถือว่ำเป็ นสิ่ งที่ผเู ้ อำประกันภัยต้องทรำบ
ค. ผูเ้ อำประกันภัยยังคงมีสิทธิ์ ได้รับชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทน เพรำะถือว่ำสัญญำประกันภัยไม่เกิดขึ้นตั้งแต่
ต้น
ง. ผูเ้ อำประกันภัยยังคงไม่มีสิทธิ์ ได้รับชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทน เพรำะมีกำรระบุไว้ชดั เจนในกรมธรรม์
ประกันภัย
28. หลังจำกที่กรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเลมีผลบังคับแล้ว ผู้เอาประกันภัยมีความประสงค์ จะเปลีย่ น
จุดหมายปลายทางได้ หรื อไม่
ก. ได้ เมื่อมีกำรแจ้งให้ผรู ้ ับประกันภัยทรำบ โดยเบี้ยประกันภัยและเงื่อนไขไม่เปลี่ยนแปลง
ข. ได้ เมื่อมีการแจ้ งให้ ผ้ รู ับประกันภัยทราบ โดยได้ ตกลงเบีย้ ประกันภัยและปรั บปรุ งเงื่อนไขใหม่
ค. แก้ไขไม่ได้
ง. กรมธรรม์ประกันภัยคุม้ ครอง โดยผูเ้ อำประกันภัยไม่ตอ้ งแจ้งผูร้ ับประกันภัย

29. การผิดนัดทางการเงินของเจ้ าของเรือ ทำให้เกิดควำมเสี ยหำยต่อสิ นค้ำของผูเ้ อำประกันภัย ได้รับควำมคุม้ ครอง


ตำมกรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเลหรื อไม่
ก. ไม่ ได้ เพราะเป็ นข้ อยกเว้นในกรมธรรม์ ประกันภัย
ข. ไม่ได้ หำกสิ นค้ำนั้นยังอยูบ่ นเรื อเดินสมุทร
ค. ไม่ได้ เพรำะไม่แจ้งให้ผเู ้ อำประกันภัยทรำบ
ง. ได้ ถ้ำมีกำรตกลงไว้กบั ผูเ้ อำประกันภัย

30. กรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล จะสิ้นสุ ดเมื่อใด


ก. ส่ งถึงโกดังของผูร้ ับสิ นค้ำ ณ สถำนที่เก็บสิ นค้ำปลำยทำงที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
ข. ครบ 60 วัน หลังจำกสิ นค้ำได้ถูกขนขึ้นจำกเรื อเดินทะเล ณ ท่ำเรื อปลำยทำง
ค. ทั้ง ข้อ ก. และ ข. แล้วแต่เหตุกำรณ์ใดเกิดที่หลัง
ง. ทั้ง ข้ อ ก. และ ข. แล้ วแต่ เหตุการณ์ ใดเกิดก่ อน

31. ICC ย่อมำจำก


ก. Insurance Chamber Clauses ข. Insurance Cargo Clauses
ค. Institute Chamber Clauses ง. Institute Cargo Clauses

32. กำรประกันภัยกำรขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ควำมเสี ยหำยอันเนื่องมำจำกสาเหตุต่อไปนีไ้ ด้ รับการคุ้มครองตาม


ICC(B) และ ICC(C) ) และ ICC(A)
ก. น้ ำทะเลเข้ำไปในตูค้ อนเทนเนอร์ ข. ภูเขำไฟระเบิด
ค. สิ นค้ าถูกโยกทิง้ ทะเล ง. ฟ้ ำผ่ำ

33. ข้อใด มิใช่ ข้อยกเว้น ของกรมธรรม์ประกันภัยกำรขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล


ก. ควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกกำรบรรจุหีบห่อที่ไม่เหมำะสม
ข. ควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกกำรมีภำระหนี้สินของเจ้ำของเรื อ
ค. ความเสี ยหายทีเ่ กิดจากการการเสี ยสละในความเสี ยหายทัว่ ไป (General Average)
ง. ควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกควำมล่ำช้ำ

34. ข้อหนดควำมเสี ยหำยโดยทัว่ ไป “General Average” ในกำรประกันภัยกำรขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล หมำยถึง


อะไร
ก. ควำมเสี ยหำยอันเกิดขึ้นจำกกำรกระทำโดยอุบตั ิเหตุและเป็ นควำมเสี ยหำยซึ่ งฝ่ ำยต่ำงๆ ที่มีส่วนได้เสี ย
ต้องร่ วมกัน รับผิดชอบ
ข. ควำมเสี ยหำยอันเกิดขึ้นจำกกำรกระทำโดยโดยจงใจและชอบด้วยเหตุผลในสภำวะที่เกิดภัยเพื่อควำมอยู่
รอดปลอดภัยของส่ วนรวม
ค. ความเสี ยหายอันเกิดขึน้ จากการกระทาโดยโดยจงใจและชอบด้ วยเหตุผลในสภาวะทีเ่ กิดภัยเพือ่ ความอยู่
รอดปลอดภัยของส่ วนรวมซึ่งเจ้ าของทรัพย์ สินทุกฝ่ ายทั้งหมดต้ องร่ วมกันรับผิดชอบ
ง. ควำมเสี ยหำยอันเกิดขึ้นจำกกำรกระทำโดยโดยจงใจและชอบด้วยเหตุผลในสภำวะที่เกิดภัยเพื่อควำมอยู่
รอดปลอดภัยของส่ วนรวม ซึ่ งเจ้ำของเรื อจะต้องเป็ นผูร้ ับผิดชอบ

35. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้ อใดมิใช่ ความเสี ยหายทีถ่ ือเป็ นความเสี ยหายทัว่ ไป (General
Average)
ก. กำรโยนสิ นค้ำทิ้งทะเลขณะเรื อเกยตื้น
ข. กำรตัดโซ่และสมอเรื อเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรำย
ค. ค่ าแรงลูกเรือในระหว่ างความล่ าช้ าของการเดินเรือ
ง. ควำมเสี ยหำยซึ่ งมีสำเหตุมำจำกอุบตั ิเหตุโดยตรงและเจ้ำของทรัพย์สินที่เสี ยหำยทั้งหมดต้องร่ วมกัน
รับผิดชอบ

36. ในกำรขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเลเที่ยวหนึ่ง เรือโดนพายุเกยหินโสโครก กัปตันเรือจึงสั่ งให้ โยกสิ นค้ าทิง้ ทะเลบางส่ วน
เพื่อให้ เรื อเบำขึ้นและสำมำรถพำเรื อพร้อมสิ นค้ำที่เหลือบนเรื อถึงจุดหมำยปลำยทำงได้ ปรำกฏว่ำสิ นค้ำที่ถูกทิ้ง
ทะเลเป็ นของนำยเอก สิ นค้ำที่เหลือบนเรื อเป็ นของนำยทศ และนำยพี ส่ วนเรื อเป็ นของนำยประกิจ ดังนั้นฝ่ ำยที่
ต้องเฉลี่ยควำมสู ญเสี ยสิ นค้ำของนำยเอกที่ถูกโยนทิง้ ทะเลคือ
ก. นำยทศและนำยพี
ข. นำยทศและนำยพี และนำยประกิจ
ค. ถือเป็ นเครำะห์ร้ำยของนำยเอกแต่ผเู ้ ดียว
ง. นายเอก นายทศ นายพี และนายประกิจ ทุกฝ่ ายต้ องร่ วมรเฉลีย่ ตามส่ วน
37. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ความคุ้มครองภายใต้ ICC (A), (B) และ (C) เริ่มตั้งแต่
ก. สิ นค้ำเริ่ มเคลื่อนที่ออกจุดที่ต้ งั สิ นค้ำ
ข. เมื่อสิ นค้ำได้ถูกยกขึ้นรถบรรทุกเรี ยบร้อยแล้ว
ค. สิ นค้ าเริ่มเคลือ่ นจากคลังสิ นค้ าหรือสถานทีเ่ ก็บสิ นค้ า
ง. สิ นค้ำได้ถูกส่ งมอบให้ผรู ้ ับขนส่ งเรี ยบร้อยแล้ว

38. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ความคุ้มครองภายใต้ ICC (A), (B) และ (C) สิ้นสุ ดเมื่อใด
ก. เมื่อส่ งมอบสิ นค้ำถึงคลังสิ นค้ำของผูร้ ับสิ นค้ำ หรื อสถำนที่เก็บสิ นค้ำที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
ข. เมื่อส่ งมอบสิ นค้ำถึงคลังสิ นค้ำ หรื อสถำนที่อื่นที่ผเู ้ อำประกันภัยเลือกใช้เป็ นสถำนที่เก็บ
ค. เมื่อส่ งมอบสิ นค้ำถึงคลังสิ นค้ำ หรื อสถำนที่อื่นที่ผเู ้ อำประกันภัยเลือกใช้เป็ นสถำนที่จำหน่ำยจ่ำยแจก
ง. ถูกทุกข้ อ

39. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล เงื่อนไขใดทีไ่ ด้ ให้ ความคุ้มครองกว้ างทีส่ ุ ด


ก. ICC (A) ข. ICC (B)
ค. ICC (C) ง. ICC (D)

40. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล สิ นค้ าจาพวกใดทีไ่ ม่ ควรทาประกันภัยในเงื่อนไข ICC (A)


ก. สิ นค้ำจำพวก อะไหล่ และชิ้นส่ วน Computer
ข. สิ นค้ำจำพวกเครื่ องใช้ไฟฟ้ ำ
ค. สิ นค้ าจาพวก พืชไร่ ต่างๆ หรืออาหารสั ตว์
ง. สิ นค้ำรถยนต์ และส่ วนประกอบ

41. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำประเภทผลไม้ และผลไม้ เกิดการเน่ าเสี ยโดยมิได้ เกิดจากปัจจัยภายนอก จะได้รับ
ควำมคุม้ ครองตำมเงื่อนไข ICC (A)
ก. ได้รับ เพรำะเป็ นเงื่อนไขที่ระบุให้ควำมคุม้ ครองภัยทุกชนิด
ข. ได้รับ เพรำะไม่มีกำรระบุยกเว้นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
ค. ไม่ ได้ รับ เพราะมีการระบุยกเว้ นไว้ ในกรมธรรม์ ประกันภัย
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
42. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้ อใดมิใช่ ภัยทีไ่ ด้ รับความคุ้มครองภายใต้ ICC (A)
ก. กำรถูกลักขโมย ข. กำรเปี ยกน้ ำฝน
ค. การจลาจล ง. กำรแตกหัก บิ่น งอ

43. หำกเรื อที่ใช้ในกำรขนส่ งสิ นค้ำถูกกักไว้ ณ ท่ำเรื อ ระหว่ำงเส้นทำงเดินเรื อปกติอนั เนื่องมำจำก เจ้ าของเรือ
ล้มละลาย และสิ นค้ำที่อยูใ่ นเรื อได้รับควำมเสี ยหำยเจ้ำของสิ นค้ำจะได้รับควำมคุม้ ครองภำยใต้ ICC (A)
ก. ได้รับ เพรำะสิ นค้ำได้รับควำมเสี ยหำย
ข. ได้รับ เพรำะเจ้ำของสิ นค้ำไม่ได้มีส่วนรู ้เห็นเกี่ยวกับกำรล้มละลำยของเจ้ำของเรื อ
ค. ได้รับ เพรำะสิ นค้ำเสี ยหำยจำกกำรถูกกักเรื อ
ง. ไม่ ได้ รับ เพราะสิ นค้ าเสี ยหายเกิดจากการล้มละลายของเจ้ าของเรือ

44. กำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้อใดมิใช่ ภัยซึ่งได้ รับความคุ้มครองใน ICC (B)


ก. น้ ำซัดสิ นค้ำตกทะเล
ข. น้ ำในแม่น้ ำเข้ำไปในระวำงเรื อ
ค. ความสู ญเสี ยบางส่ วนของหีบห่ อซึ่งตกจากเรื อขณะขนลงจากเรือ
ง. ยำนพำหนะทำงบกพลิกคว่ำหรื อตกรำง

45. กำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ควำมเสี ยหำยจำกภัยใดที่เงื่อนไขความคุ้มครองใน ICC (B) ไม่ ค้ ุมครอง
ก. เรื อไฟไหม้ ข. แผ่นดินไหว
ค. สิ นค้ำเปี ยกน้ ำทะเล ง. สิ นค้ าเปี ยกนา้ ฝน

46. กำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ต่อไปนี้ ข้ อใดเหมาะสมกับการทาประกันภัยตามเงื่อนไข ICC (C)


มำกกว่ำสิ นค้ำอื่น
ก. เครื่ องจักรกลหนัก อุปกรณ์ก่อสร้ำง หนังสัตว์
ข. ผ้ำ โลหะมีค่ำ เคมีภณั ฑ์
ค. กำแฟ โกโก้ ชำ
ง. ถ่ านหิน แร่ แท่ งโลหะ

47. เมื่อสิ นค้ำเข้ำโกดังแล้ว น้ ำในทะเลทะลักเข้ำท่วมโกดังสิ นค้ำเสี ยหำย เงื่อนไขควำมคุม้ ครองแบบใดที่ให้ควำม


คุม้ ครอง
ก. ICC (A) ข. ICC (B)
ค. ICC (C) ง. ถูกทั้ง ข. และ ค.
48. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้ อใดมิใช่ ความคุ้มครองภายใต้ ICC (C)
ก. เรื อจม เรื อเกยตื้น
ข. แผ่ นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ฟ้าผ่ า
ค. กำรขนส่ งสิ นค้ำลงที่ท่ำระหว่ำงทำงซึ่ งเรื อใช้หลบภัย
ง. ควำมเสี ยหำยทัว่ ไป (General Average)

49. สิ นค้ำถูกขนลงจำกเรื อเดินทะเล ณ เมืองท่ำปลำยทำง มำไว้ที่ท่ำเรื อได้ 31 วัน เกิดแผ่นดินไหว ทำให้สินค้ำได้รับ


ควำม เสี ยหำย หำกเจ้ำของเรื อมีกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำ ICC (C) + Institute War Clauses + Institute
Strikes Clauses จะได้รับควำมคุม้ ครองหรื อไม่
ก. ได้ เพรำะเป็ นภัยที่ได้รับควำมคุม้ ครองตำม ICC (C) และยังมิครบกำหนด 60 วัน หลังจำกสิ นค้ำลงจำก
เรื อเดินทะเล ณ เมืองท่ำปลำยทำง
ข. ได้ เพรำะเป็ นภัยที่ได้รับควำมคุม้ ครองตำม Institute War Clauses และยังมิครบกำหนด 60 วัน
หลังจำกสิ นค้ำลงจำกเรื อเดินทะเล ณ เมืองท่ำปลำยทำง
ค. ไม่ ได้ เพราะเป็ นภัยทีไ่ ม่ ได้ รับความคุ้มครองตาม ICC (C)
ง. ไม่ได้ เพรำะเป็ นภัยที่ไม่ได้รับควำมคุม้ ครองตำม Institute War Clauses

50. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้อใดมิใช่ ควำมเสี ยหำยซึ่งจะได้รับควำมคุม้ ครองตำม ICC (C)
ก. ควำมเสี ยหำยของสิ นค้ำจำกกำรถูกโยนทิ้งทะเล
ข. ความเสี ยหายของสิ นค้ าจากการถูกนา้ ซัดตกทะเล
ค. ควำมเสี ยหำยของสิ นค้ำจำกกำรจำกเรื อสัมผัสกับวัตถุภำยนอก นอกจำกน้ ำ
ง. ควำมเสี ยหำยของสิ นค้ำจำกระเบิด

51. Discharge of Cargo at Port of Distress ในเงื่อนไขควำมคุม้ ครองตำม ICC (C) และ ICC (B) คือ ควำม
คุม้ ครองจำกภัยใด
ก. ควำมเสี ยหำยหรื อควำมสู ญเสี ยจำกกำรขนถ่ำยสิ นค้ำ ณ ท่ำเรื อประเทศต้นทำง
ข. ควำมเสี ยหำยหรื อควำมสู ญเสี ยจำกกำรขนถ่ำยสิ นค้ำ ณ ท่ำเรื อประเทศปลำยทำง
ค. ความเสี ยหายหรือความสู ญเสี ยจากการขนถ่ ายสิ นค้ า ณ ท่ าเรือหลบภัย
ง. ควำมเสี ยหำยหรื อควำมสู ญเสี ยจำกกำรขนถ่ำยสิ นค้ำ ณ ท่ำถ่ำยลำ
52. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล สิ นค้ าเปี ยกนา้ ฝน เงื่อนไขใดไม่ให้ควำมคุม้ ครอง
ก. ICC (A) ข. ICC (B)
ค. ICC (C) ง. ถูกทั้ง ข. และ ค.

53. ความเสี ยหายเฉพาะ (Particular Average) ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล คืออะไร


ก. ควำมเสี ยหำยซึ่ งมีสำเหตุมำจำกกำรกระทำอย่ำงจงใจในสภำวะที่เกิดภัย เพื่อควำมปลอดภัยของส่ วนรวม
โดยมีผลเฉพำะเจ้ำของทรัพย์สินที่เสี ยหำย
ข. ความเสี ยหายซึ่งมีสาเหตุมาจากอุบัติเหตุโดยตรงและมีผลเฉพาะเจ้ าของทรัพย์ สินทีเ่ สี ยหาย
ค. ควำมเสี ยหำยซึ่ งมีสำเหตุมำจำกอุบตั ิเหตุควำมจงใจในสภำวะที่เกิดภัย เพื่อควำมปลอดภัยของส่ วนรวม
และเจ้ำของทรัพย์สินที่เสี ยหำยทั้งหมดต้องร่ วมกันรับผิดชอบ
ง. ควำมเสี ยหำยซึ่งมีสำเหตุมำจำกอุบตั ิเหตุโดยตรงและเจ้ำของทรัพย์สินที่เสี ยหำยทั้งหมดต้องร่ วมกัน
รับผิดชอบ

54. เงื่อนไขการจับกุมยึดเอา (Capture and Seizure) ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล หมำยควำมรวมถึง


ก. กำรกระทำที่เป็ นกำรยึดเอำหรื อเอำไปโดยเจ้ำหน้ำที่ของรัฐตำมธงของเรื อที่ใช้ในกำรขนส่ งสิ นค้ำ
ข. การกระทาทุกอย่ างทีเ่ ป็ นการยึดเอาหรือเอาไปโดยศัตรู หรือคู่พพิ าทตลอดจนการครอบครองโดยใช้ กาลัง
ทั้งจากอานาจทางกฎหมายหรือโดยพละกาลังทีเ่ หนือกว่า
ค. กำรถูกยึดหรื อถูกริ บสิ นค้ำ อันเนื่องมำจำกกำรขนส่ งซึ่ งผิดกฎหมำย
ง. กำรกระทำที่เป็ นกำรยึดเอำหรื อเอำไปโดยเจ้ำหน้ำที่ของรัฐใดๆ อันเกิดจำกกำรกระทำอันผิดกฎหมำยของ
รัฐนั้น ในกำรขนส่ งสิ นค้ำ หรื อกำรเดินเรื อ

55.) ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับควำมคุม้ ครองของ Institute


Strikes Clauses (Cargo)
ก. คุม้ ครองควำมสูญเสี ยหรื อควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกกำรนัดหยุดงำน นำยจ้ำงปิ ดงำน และกำรก่อควำม
วุน่ วำยโดยฝูงชน
ข. คุม้ ครองควำมสูญเสี ยหรื อควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกบุคคลซึ่ งมีเจตนำก่อกำรร้ำยทำงกำรเมือง
ค. คุ้มครองความสู ญเสี ยหรือความเสี ยหายที่เกิดจากการนัดหยุดงาน นายจ้ างปิ ดงาน และการก่ อความไม่ สงบใน
การทางานการก่ อการจลาจล ความวุ่นวายโดยฝูงชน และ บุคคลซึ่งมีเจตนาก่ อการร้ ายทางการเมือง

ง. คุม้ ครองควำมสูญเสี ยหรื อควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกกำรนัดหยุดงำน นำยจ้ำงปิ ดงำน และกำรก่อควำมไม่สงบใน


กำรทำงำนกำรก่อกำรจลำจล ควำมวุ่นวำยโดยฝูงชน และ บุคคลซึ่ งมีเจตนำก่อกำรร้ำยทำงกำรเมือง และกำรถูก
จับกุมหรื อถูกยึดอันมีผลมำจำกกำรก่อกำรร้ำย
56. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับควำมคุม้ ครองของ Institute Strikes
Clauses (Cargo)
ก. คุม้ ครองควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยที่เกิดจำกกำรที่อุปกรณ์ควบคุมเรื อชำรุ ดบกพร่ อง หรื อทำงำนผิดพลำด
ข. คุม้ ครองควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยที่เกิดจำกภัยสงครำม และอำวุธนิวเคลียร์
ค. คุม้ ครองควำมสู ญเสี ยหรื อเสี ยหำยที่เกิดจำกภัยพิบตั ิทำงธรรมชำติ
ง. คุม้ ครองควำมสู ญเสี ยหรื อควำมเสี ยหำยที่เกิดจำกกำรนัดหยุดงำน กำรก่อกำรจลำจล และจำกบุคคลซึ่งมี
เจตนำก่อกำรร้ำยทำงกำรเมือง

57. เงื่อนไข Duration ภำยใต้ Termination of Transit Clauses หำกเป็ นกำรขนส่ งสิ นค้ำทำงเครื่ องบินควำม
คุม้ ครองจะสิ้ นสุ ดภำยในกี่วนั หำกผูร้ ับสิ นค้ำยังไม่มำรับสิ นค้ำที่เก็บไว้ในโรงพักสิ นค้ำที่ประเทศปลำยทำง
ก. 7 วัน ข. 15 วัน
ค. 30 วัน ง. 60 วัน

58. ควำมคุม้ ครองภำยใต้ Institute War Clauses (Cargo) คุม้ ครองเมื่อสิ นค้ำได้ถูกขนลงเรื อและสิ้ นสุ ดเมื่อสิ นค้ำ
ได้ถูกขนขึ้นจำกเรื อ ณ ท่ำเรื อสุ ดท้ำย หรื อเมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาใด
ก. 15 วัน นับจากเที่ยงคืนของวันที่เรือมาถึงยังท่ าเรือ
ข. 30 วัน นับจำกเที่ยงคืนของวันที่เรื อมำถึงยังท่ำเรื อ
ค. 45 วัน นับจำกเที่ยงคืนของวันที่เรื อมำถึงยังท่ำเรื อ
ง. 60 วัน นับจำกเที่ยงคืนของวันที่เรื อมำถึงยังท่ำเรื อ

59. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ควำมคุม้ ครองของ Institute War Clauses (Cargo) สิ้นสุ ดเมื่อใด
ก. สิ นค้ำถูกขนลงจำกเรื อเดินทะเล ที่ท่ำเรื อปลำยทำง
ข. เมื่อสิ นค้ำมำถึงยังท่ำเรื อปลำยทำง
ค. เมื่อสิ นค้ำถูกขนลงจำกเรื อเดินทะเลที่ท่ำเรื อปลำยทำง หรื อเมื่อครบกำหนด 7 วัน นับจำกวันที่สินค้ำมำถึง
ยังท่ำเรื อปลำยทำง แล้วแต่เกตุกำรณ์ใดจะเกิดก่อน
ง. เมื่อสิ นค้ าถูกขนลงจากเรือเดินทะเลที่ท่าเรือปลายทาง หรือเมื่อครบกาหนด 15 วัน นับจากวันทีส่ ิ นค้ า
มาถึงยังท่ าเรือปลายทาง แล้ วแต่ เกตุการณ์ ใดจะเกิดก่ อน

60. ผูเ้ อำประกันภัยได้ซ้ื อควำมคุม้ ครองภัยจำกสงครำม ในกรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล หำกเกิดควำม


เสี ยหำยจำกสงครำม จะได้รับควำมคุม้ ครองได้หรื อไม่
ก. ได้ เฉพำะ สิ นค้ำที่อยู่ ณ เมืองท่ำต้นทำง
ข. ได้ เฉพาะ สิ นค้ าทีอ่ ยู่บนเรือเดินสมุทร
ค. ได้ เฉพำะ สิ นค้ำที่อยูใ่ นโกดังเก็บสิ นค้ำ
ง. ได้ เฉพำะ สิ นค้ำที่อยูบ่ นรถบรรทุก

61. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ควำมคุม้ ครองของ Institute War Clauses (Cargo) เริ่มต้ นเมื่อใด
ก. เมื่อสิ นค้ำ เริ่ มมีกำรเคลื่อนย้ำยจำกสถำนที่เก็บสิ นค้ำต้นทำง
ข. เมื่อสิ นค้ำ อยูท่ ี่ท่ำเรื อ ณ เมืองท่ำต้นทำง
ค. เมื่อสิ นค้ า อยู่ในเรือเดินทะเล
ง. เมื่อสิ นค้ำ เริ่ มมีกำรเคลื่อนย้ำยจำกท่ำเรื อ ณ เมืองท่ำต้นทำง
62. บริ ษทั ดำริ ส่งออก จำกัด ได้เอำประกันภัยขนส่ งสิ นตำมเงื่อนไข ICC (A) Institute War Clauses (Cargo) และ
Institute Strikes Clauses (Cargo) ต่ อมาในขณะที่ขนส่ งสิ นค้ าจากโกดังมายังท่ าเรือต้ นทางเกิดการปฏิวตั ิ รถ
ทีบ่ รรทุกสิ นค้ าถูกยิง สิ นค้ำที่อยูบ่ นรถบรรทุกได้รับควำมเสี ยหำย จะได้รับควำมคุม้ ครองจำกกรมธรรม์
ประกันภัยหรื อไม่
ก. ได้รับ เนื่ องจำกมีกำรซื้ อ Institute War Clauses (Cargo) ไว้
ข. ไม่ ได้ รับ เนื่องจากสิ นค้ ายังมิได้ ถูกขนขึน้ เรือเดินสมุทร
ค. ได้รับ เพรำะสิ นค้ำได้เคลื่อนออกจำกโกดัง ณ เมืองท่ำต้นทำงแล้ว
ง. ไม่ได้รับ เนื่องจำกจำกกรมธรรม์ประกันภัยไม่คุม้ ครองกำรปฏิวตั ิ

63. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้อใดมิใช่ ความคุ้มครองของ Institute War Clauses (Cargo)
ก. ควำมสู ญเสี ยหรื อควำมเสี ยหำยอันเนื่องมำจำกภัยสงครำม
ข. ควำมสู ญเสี ยหรื อควำมเสี ยหำยอันเนื่องมำจำกกำรถูกจับกุม ยึด อันเป็ นผลมำจำกภัยสงครำม
ค. ควำมสู ญเสี ยหรื อควำมเสี ยหำยอันเนื่องมำจำกภัยทุ่นระเบิด ตอร์ ปิโด
ง. ความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายอันเนื่องมาจากการใช้ อาวุธสงครามที่เกีย่ วข้ องกับการแตกตัวของประจุ
อะตอมนิวเคลียร์ หรือกัมมันตภาพรังสี

64. หลักการสาคัญทีส่ ุ ดของการเรี ยกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทน ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล คือ ผูเ้ อำ
ประกันภัยต้องมีส่วนได้เสี ยในทรัพย์สินที่เอำประกันภัยในขณะใด
ก. เมื่อออกกรมธรรม์ประกันภัย ข. เมื่อมีความเสี ยหายเกิดขึน้
ค. ขณะแจ้งเอำประกันภัย ง. เมื่อเริ่ มต้นกำรเดินทำง
65. ผู้เอาประกันภัยต้ องมีส่วนได้ เสี ยในทรัพย์สินที่เอำประกันภัยในเวลำใด จึงจะมีสิทธิ์ ได้รับกำรชดใช้ค่ำสิ นไหม
ทดแทน
ก. ขณะที่ขอเอำประกันภัย ข. ก่อนสัญญำประกันภัยจะเกิดขึ้น
ค. ในขณะทีส่ ิ นค้ าเกิดความสู ญเสี ยหรือเสี ยหาย ง. ขณะทำสัญญำ

66. ในกรณี ที่เกิดควำมเสี ยหำยต่อสิ นค้ำขึ้นระหว่ำงกำรขนส่ ง ท่ำนควรแนะนำให้ผ้ เู อาประกันภัยเรียกร้ องค่ าเสี ยหาย
จากใครบ้ าง
ก. ผูร้ ับประกันภัย ข. ผูข้ นส่ ง
ค. ผู้รับประกันภัย และ ผู้ขนส่ ง ง. ผูร้ ับประกันภัย ผูข้ นส่ ง และผูข้ ำย

67. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้อใดมิใช่ หน้ าทีข่ องผูเ้ อำประกันภัย


ก. จัดส่ งหลักฐำนเกี่ยวกับจำนวนเงินเอำประกันภัยเมื่อมีกำรเรี ยกร้องค่ำสิ นไหมทดแทน
ข. แจ้งรำยละเอียดเกี่ยวกับสิ นค้ำให้ผรู ้ ับประกันภัยทรำบ
ค. แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับเรื อและเส้นทำงเดินเรื อ
ง. จัดหาผู้สารวจภัยเมื่อมีความเสี ยหายเกิดขึน้

68. ข้อใดมิใช่ หน้ าทีข่ องผูเ้ อำประกันภัย ซึ่ งกำหนดไว้ในกรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล
ตำมเงื่อนไข ICC
ก. ใช้มำตรกำรที่สมเหตุสมผลเพื่อลดหรื อบรรเทำควำมสู ญเสี ย
ข. แน่ใจว่ำรักษำและใช้สิทธิ์ ต่ำงๆ อย่ำงเหมำะสมต่อผูร้ ับขนส่ ง ผูร้ ับฝำกทรัพย์ หรื อบุคคลที่สำม
ค. ยินยอมให้ ระบุผ้ ูรับขนส่ งเป็ นผู้รับประโยชน์
ง. ต้องกระทำด้วยควำมรวดเร็ วอันสมควรภำยใต้สถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่ควบคุมได้

69. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล คำว่ำ “Salvage” หมำยถึง


ก. กำรกูภ้ ยั ข. ค่ำกูภ้ ยั
ค. ซำกทรัพย์ ง. ถูกทั้ง 3 ข้ อ

70. กำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ข้อใดมิใช่ เอกสารทีต่ ้ องใช้ ในการเรียกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทนจำกบริ ษทั
ประกันภัย
ก. L/C
ข. Bill of Lading
ค. หนังสื อโต้ตอบกำรเรี ยกร้องค่ำสิ นไหมทดแทนจำกผูร้ ับขน
ง. ใบสำรวจควำมเสี ยหำย

71. Letter of Credit เป็ นเอกสำรที่ผใู้ ดเป็ นผูอ้ อกและออกให้กบั ผูใ้ ด


ก. ผูร้ ับประกันภัยออกให้กบั ผูเ้ อำประกันภัย
ข. ผูเ้ อำประกันภัยออกให้กบั ผูร้ ับประกันภัย
ค. ธนาคารของผู้ซื้อออกให้ กบั ผู้ขายสิ นค้ า
ง. ผูข้ ำยออกให้กบั ผูซ้ ้ื อ

72. เมื่อเจ้ำของสิ นค้ำติดต่อขอรับสิ นค้ำจำกคลังสิ นค้ำแล้วพบว่ำสิ นค้ำเสี ยหำย เจ้ าของสิ นค้ าจะต้ องร้ องขอเอกสาร
ใดจากคลังสิ นค้ า
ก. Damaged Cargo List (D M C) ข. Air Way Bill (A WB)
ค. Claim Statement ง. Survey Report

73. ใบตรำส่ งสิ นค้ำ (Bill of Lading) หมำยถึงอะไร


ก. เอกสารใบรับสิ นค้ าของผู้รับขนส่ ง ซึ่งประกอบไปด้ วยรายละเอียดของสิ นค้ าทีข่ นส่ ง
ข. เอกสำรใบรับสิ นค้ำของผูข้ ำย ซึ่ งประกอบด้วยรำยละเอียดของสิ นค้ำที่ส่งมอบ
ค. เอกสำรใบรับสิ นค้ำของผูซ้ ้ื อ ซึ่ งประกอบด้วยรำยละเอียดของสิ นค้ำที่สั่งซื้ อ
ง. เอกสำรใบรับสิ นค้ำของเจ้ำของเรื อ ซึ่งประกอบด้วยรำยละเอียดของสิ นค้ำที่จะบรรทุกในเรื อ

73. เมื่อเกิดควำมเสี ยหำยต่อสิ นค้ำ โดยทำงตัวแทนเรื อหรื อสำยกำรบินได้ออกเอกสำรให้กบั ผูเ้ อำประกันภัยแล้ว


ผู้เอาประกันภัยจะต้ องทาหนังสื อเรียกร้ องความเสี ยหายไปทีต่ ัวแทนทั้งสองหรือไม่
ก. ไม่ตอ้ ง เพรำะต้องทำหนังสื อเรี ยกร้องไปที่บริ ษทั ประกันภัยเท่ำนั้น
ข. ต้ องทาหนังสื อเรี ยกร้ องเพือ่ รักษาสิ ทธิในการเรียกร้ องแทนผู้รับประกันภัย
ค. ให้บริ ษทั ประกันภัยทำหนังสื อเรี ยกร้องโดยตรง
ง. ให้บริ ษทั Survey ของผูร้ ับประกันภัยเป็ นผูเ้ รี ยกร้อง

75. เอกสารทีส่ ายการบินออกให้ กบั ผู้ส่งสิ นค้ าไว้เป็ นหลักฐำนกำรรับสิ นค้ำ ได้แก่
ก. Master Airway Bill ข. House Airway Bill
ค. Bill of Lading ง. Claim Statement
76. เมื่อเจ้ำของสิ นค้ำ ติดต่อขอรับสิ นค้ำจำกท่ำเรื อแล้วพบว่ำสิ นค้ำเสี ยหำย เจ้ าของสิ นค้ าจะต้ องรัองขอเอกสารจาก
ท่าเรือ
ก. Survey Report ข. Bill of Lading
ค. Wharf Survey Note ง. Claim Statement
77. รำยกำรสำรวจสิ นค้ำ (Survey Report ) ที่ออกโดยกำรท่ำเรื อแห่งประเทศไทย มีรำยละเอียดที่สำคัญระบุไว้
อย่ำงไร
ก. รำยละเอียดของสิ นค้ำ น้ ำหนัก และรำคำสิ นค้ำต่อหน่วย
ข. รำยละเอียดกำรคำนวณภำษีนำเข้ำ
ค. รายละเอียดของเครื่องหมายและเลขหมาย จานวนสิ นค้ า และรายละเอียดสิ นค้ าทีเ่ สี ยหาย
ง. รำยละเอียดกำรคำนวณควำมเสี ยหำย

78. ข้อใดเป็ นผลดีในกำรทำประกันภัยสิ นค้ำ ในแบบกรมธรรม์ ประกันภัยแบบเปิ ด (Open Policy)


ก. อัตรำเบี้ยประกันภัยถูกมำก
ข. เงื่อนไขกำรประกันภัยเป็ นเงื่อนไขที่ดีที่สุด
ค. คุม้ ครองสิ นค้ำจำกภัยทุกประเภท
ง. ถ้ าลืมแจ้ งเที่ยวการขนส่ งแต่ มีการแจ้ งภายหลัง ยังได้ รับความคุ้มครอง

79. ข้อใดไม่ ถูกต้ องตามวัตถุประสงค์ของกรมธรรม์ประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเลแบบเปิ ด


ก. ผูเ้ อำประกันภัยจะได้รับควำมคุม้ ครองโดยอัตโนมัติสำหรับสิ นค้ำทุกเที่ยว
ข. ผูเ้ อำประกันภัยจะสำมำรถทรำบล่วงหน้ำได้วำ่ อัตรำเบี้ยประกันภัยจะเป็ นเท่ำใด
ค. ผู้เอาประกันภัยไม่ ต้องแจ้ งผู้รับประกันภัยเมื่อมีสินค้ าเข้ ามาในระหว่ างปี
ง. ผูเ้ อำประกันภัยไม่ตอ้ งกังวลว่ำจะลืมทำประกันภัย

80. ข้อใดไม่ ถูกต้ องตำมเงื่อนไขการประกันภัยแบบเปิ ด (Open Policy)


ก. ผูเ้ อำประกันภัยได้รับควำมคุม้ ครองโดยอัตโนมัติ
ข. ผูเ้ อำประกันภัยทรำบล่วงหน้ำถึงอัตรำเบี้ยประกันภัย
ค. ผู้เอาประกันภัยจ่ ายเบีย้ ครั้งเดียวขณะทาประกันภัย โดยไม่ ต้องสนใจสิ นค้ าเข้ าออกระหว่างปี
ง. ผูเ้ อำประกันภัยไม่ตอ้ งกังวลหำกลืมแจ้ง
81. หนังสื อคุม้ ครองชัว่ ครำว (Cover Note) หมำยถึงอะไร
ก. เอกสำรที่บริ ษทั ประกันภัยออกให้แก่ผเู ้ อำประกันภัยเพื่อเป็ นหลักฐำนรับรองว่ำสิ นค้ำที่ระบุรำยละเอียดไว้
จะได้รับกำรคุม้ ครองตำมเงื่อนไขและอัตรำเบี้ยประกันภัยตำมที่ได้ระบุไว้ในหนังสื อคุม้ ครองชัว่ ครำวนั้น
ข. เอกสารทีบ่ ริษัทประกันภัยออกให้ แก่ ผ้ เู อาประกันภัยเพือ่ เป็ นหลักฐานรับรองว่ าสิ นค้ าทีร่ ะบุรายละเอียดไว้
จะได้ รับการคุ้มครองตามเงื่อนไขและตามจานวนเงินเอาประกันภัยทีไ่ ด้ ระบุไว้ ในหนังสื อคุ้มครอง
ชั่วคราว
ค. เอกสำรที่กำหนดให้ควำมคุม้ ครองแก่ผเู ้ อำประกันภัยเป็ นกำรล่วงหน้ำสำหรับกำรขนส่ งสิ นค้ำทุกเที่ยว ซึ่ ง
จะมีข้ ึนต่อมำ
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.

82. กรมธรรม์ประกันภัยระบุเส้นทำงขนส่ ง Nagoya to Bangkok สำนักงำนเจ้ำของสิ นค้ำอยูใ่ นกรุ งเทพฯ แต่ให้


ส่ ง
สิ นค้ำไปเก็บที่จงั หวัดนนทบุรี อยำกทรำบว่ำกรมธรรม์ประกันภัยจะให้ควำมคุม้ ครองถึงจังหวัดนนทบุรี หรื อไม่
ก. กรมธรรม์ประกันภัยยังคงคุม้ ครองไปถึงปลำยทำงจังหวัดนนทบุรี เพรำะอยูใ่ นปริ มณฑล
ข. กรมธรรม์ประกันภัยยังคงคุม้ ครองไปถึงปลำยทำงจังหวัดนนทบุรี เพรำะผูร้ ับสิ นค้ำมีสำนักงำนใน
กรุ งเทพฯ เพียงแต่ให้ไปเก็บสิ นค้ำที่จงั หวัดนนทบุรี
ค. ไม่ให้ควำมคุม้ ครอง เพรำะคุม้ ครองแค่ลูกค้ำรำยเดียว
ง. ไม่ ให้ ความคุ้มครอง เพราะผู้เอาประกันภัยเลือกท่ าเรือเป็ นสถานทีจ่ าหน่ ายจ่ ายแจกสิ นค้ า

83. กรมธรรม์ประกันภัยระบุเส้นทำงขนส่ ง Nagoya to Bangkok ผูเ้ อำประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำออกจำกท่ำเรื อ


นำส่ งให้ลูกค้ำในกรุ งเทพฯ 3 รำย อยำกทรำบว่ำกรมธรรม์ประกันภัยจะให้ควำมคุม้ ครองกำรขนส่ งสิ นค้ำถึง
ลูกค้ำทั้ง 3 รำย หรื อไม่
ก. ให้ควำมคุม้ ครองไปถึงลูกค้ำ 3 รำย
ข. ให้ควำมคุม้ ครองเพรำะอยูใ่ นกรุ งเทพฯ
ค. ไม่ให้ควำมคุม้ ครอง เพรำะคุม้ ครองแค่ลูกค้ำรำยเดียว
ง. ไม่ ให้ ความคุ้มครองผู้เอาประกันภัยเลือกท่ าเรื อเป็ นสถานทีจ่ าหน่ ายจ่ ายแจกสิ นค้ า

84. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ความเสี ยหายทีเ่ สมือนเสี ยหายโดยสิ้นเชิง คืออะไร


ก. ค่ำขนส่ ง และค่ำซ่อมแซมสิ นค้ำมีมูลค่ำเกินกว่ำจำนวนเงินเอำประกันภัยหรื อรำคำสิ นค้ำ
ข. ควำมเสี ยหำยของสิ นค้ำที่หมดสภำพของกำรเป็ นวัตถุที่เอำประกันภัย เช่น ผลปูนกลำยเป็ นคอนกรี ต
ค. สิ นค้ำตกทะเล ไม่สำมำรถกูข้ ้ ึนมำได้
ง. สิ นค้ าถูกไฟไหม้

85. ในกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล การเปลีย่ นแปลงของภัยแบบใดทีบ่ ริษัทประกันภัย จะให้ ความคุ้มครอง


ต่ อไปนี้ เมื่อผูเ้ อำประกันภัยแจ้งให้ผใู ้ ห้ผรู ้ ับประกันภัยทรำบโดยทันที และจ่ำยเบี้ยประกันภัยเพิ่มเติม
ก. ควำมจำเป็ นต้องขนสิ นค้ำลงกลำงทะเลและขนขึ้นเรื อใหม่ หรื อกำรถ่ำยลำเรื อในกรณี ที่เกิดควำมเสี ยหำย
ต่อเรื อที่ใช้ขนส่ งจนต้องเข้ำรับกำรซ่อมแซมกลำงทำง หรื อจำเป็ นต้องเปลี่ยนเรื อใหม่
ข. เรื อแล่นออกนอกเส้นทำงไปช่วยเรื อลำอื่นที่กำลังประสบภัยพิบตั ิ
ค. สั ญญาการขนส่ งจาต้ องสิ้นสุ ดกลางทาง ด้ วยเหตุการณ์ ทอี่ ยู่นอกเหนือการควบคุมของผู้เอาประกันภัยและ
สิ นค้ าจาต้ องถูกขาย ณ สถานที่น้ ัน หรือนาส่ งต่ อไปยังจุดหมายปลายทางที่กาหนดครั้งแรกโดยพาหนะ
อืน่
ง. สิ นค้ำซึ่ งในทำงปฏิบตั ิตอ้ งขนส่ งโดยบรรทุกไว้ใต้ระวำงเรื อ แต่ได้มีกำรขนส่ งโดยไว้บนดำดฟ้ ำเรื อ

86. กำรเปลี่ยนแปลงของภัยแบบใดที่บริ ษทั ประกันภัยจะให้ควำมคุม้ ครองต่อไป โดยผู้เอาประกันภัยไม่ ต้องแจ้ งให้


ผู้รับประกันภัยทราบ
ก. เรือแล่นออกนอกเส้ นทางเดินเรือปกติ
ข. มีกำรเปลี่ยนแปลงเดินเรื อไปจำกเดิมโดยจงใจ
ค. สิ นค้ำซึ่ งเข้ำใจกันในทำงปฏิบตั ิวำ่ ต้องขนส่ งโดยบรรทุกไว้ใต้ระวำงเรื อแต่ควำมเป็ นจริ งมีกำรขนส่ งโดย
ไว้บนดำดฟ้ ำ
ง. ถูกทุกข้อ

88. ผูเ้ อำประกันภัยมีมูลค่ำสิ นค้ำ 5,000,000 บำท ทำกำรขนส่ งสิ นค้ำทำงเรื อ โดยบริ ษทั ประกันภัย กำหนดเงื่อนไข
ขีดความปลอดความรับผิด (Franchise) ไว้จานวน 6,000 บาท ในกรมธรรม์ประกันภัยทำงทะเลและขนส่ ง
ขณะขนส่ งสิ นค้ าได้ รับความเสี ยหายจานวน 10,000 บาท กรณี น้ ีบริ ษทั ประกันภัยต้องชดใช้ควำมเสี ยหำย
เท่ำใด
ก. 2,500 บำท ข. 6,500 บำท
ค. 10,000 บาท ง. ไม่ตอ้ งชดใช้
การประกันภัยตัวเรือ
89. กำรประกันภัยตัวเรือให้ควำมคุม้ ครองทรัพย์สินใดบ้ำง
ก. โครงสร้ำงตัวเรื อ เฟอร์ นิเจอร์ และสิ่ งติดตั้งตรึ งตรำ
ข. โครงสร้ำงตัวเรื อ และสิ่ งติดตั้งตรึ งตรำ
ค. โครงสร้ำงตัวเรื อ
ง. โครงสร้ างตัวเรือ และเครื่องจักรอุปกรณ์ ต่างๆ ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของเรือ

90. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับมาตรฐานคุณภาพเรื อตำมเงื่อนไข Institute Classification Clauses


ก. เป็ นเรือเหล็ก ข. มีขนำดไม่ต่ำกว่ำ 50 ตันกรอส
ค. อำยุไม่เกิน 30 ปี ง. สำมำรถลำกจูงได้

91. โดยทัว่ ไปกำรประกันภัยขนส่ งสิ นค้ำทำงทะเล ผูร้ ับประภัยจะเก็บเบี้ยประกันภัยเพิ่มในกรณี ที่เรื อมีอายุเกินกว่ า


ก. 10 ปี ข. 15 ปี
ค. 20 ปี ง. 25 ปี

92. กำรกำหนดอายุเรือโดยทั่วไปจะกาหนดไว้ สูงสุ ดเท่ าไร จึงจะถือว่ำเป็ นเรื อที่มำตรฐำนตำมเงื่อนไข Institute


Classification Clauses
ก. 10 ปี ข. 15 ปี
ค. 20 ปี ง. 25 ปี

93. กำรขนส่ งสิ นค้ำโดยใช้ เรื อทีม่ ีอายุเกินกว่ าทีก่ าหนด ไว้เป็ นมำตรฐำนตำมเงื่อนไข Institute Classification
Clauses จะมีผลต่อกำรทำประกันภัย อย่ำงไร
ก. ไม่สำมำรถทำประกันภัยได้ ข. ไม่มีผลใดๆ ต่อกำรทำประกันภัย
ค. ต้ องจ่ ายเบีย้ ประกันภัยเพิม่ ขึน้ ง. ต้องมีกำรกำหนด Excess ในสัดส่ วนที่สูงขึ้น

94. โดยปกติกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรื อจะให้ควำมคุม้ ครองในระยะเวลำเท่ำใด


ก. ตำมระยะเวลำกำรเดินเรื อจำกเมืองท่ำต้นทำงไปยังเมืองปลำยทำง
ข. 3 เดือน
ค. 1 ปี
ง. ตำมระยะเวลำกำรเดินเรื อจำกเมืองท่ำต้นทำงไปยังเมืองท่ำปลำยทำงขำด 30 วัน
95. ข้อใดมิใช่กำรสิ้ นสุ ดโดยอัตโนมัติของกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรื อ
ก. กำรเปลี่ยนแปลงกำรเป็ นเจ้ำของเรื อ
ข. กำรเช่ำเหมำลำ
ค. กำยยึดโดยสิ ทธิตำมกฎหมำย
ง. การเปลี่ยนแปลงกับตันและลูกเรือ

96. ข้อใดอธิบำยลักษณะของเรื อแบบ Bulk Carrier ได้ดีที่สุด


ก. ไม่มีเส้นทำงและตำรำงเวลำที่แน่นอน
ข. มีเส้นทำงเดินเรื อประจำ มีตำรำงเดินเรื อแน่นอน
ค. ใช้ ขนส่ งสิ นค้ าแบบเทกอง ไม่ มีการบรรจุหีบห่ อ
ง. ใช้เรื อแบบธรรมดำ หรื อดั้งเดิม ไม่มีกำรใช้ตคู ้ อนเทนเนอร์

97. ข้อใดอธิบำยลักษณะของเรื อแบบ Liner Vessel ได้ดีที่สุด


ก. ไม่มีเส้นทำงและตำรำงเวลำที่แน่นอน
ข. มีเส้ นทางเดินเรือประจา มีตารางเดินเรือแน่ นอน
ค. ใช้ขนส่ งสิ นค้ำแบบเทกอง ไม่มีกำรบรรจุหีบห่ อ
ง. ใช้เรื อแบบธรรมดำ หรื อดั้งเดิม

98. ข้อใดอธิบำยลักษณะของเรื อแบบ Conference Ship ได้ดีที่สุด


ก. เป็ นเรื อที่มีเส้นทำงเดินเรื อประจำ มีตำรำงเดินเรื อที่แน่นอนโดยเจ้ำเรื อเป็ นกลุ่มบุคคลซึ่ งมีเรื อในสังกัด
หลำยลำ
ข. เป็ นเรือทีม่ ีเส้ นทางเดินเรือประจา มีตารางเดินเรือที่แน่ นอนโดยเจ้ าเรือเจ้ าของเรือได้ ลงนามในข้ อตกลงกับ
เจ้ าของเรืออื่นในการรักษาระดับพิกดั อัตราค่ าระวางเรือ และเงื่อนไขในการขนส่ ง
ค. เป็ นเรื อที่มีเส้นทำงเดินเรื อประจำ แต่ไม่มีตำรำงเวลำที่แน่นอนโดยเจ้ำของเรื อเป็ นกลุ่มบุคคลซึ่ งมีเรื อใน
สังกัดหลำยลำและได้ลงนำมในข้อตกลงกับเจ้ำของเรื อกลุ่มอื่นเพื่อรักษำพิกดั อัตรำค่ำระวำงเรื อและ
เงื่อนไขกำรขนส่ ง
ง. เป็ นเรื อที่ไม่มีเส้นทำงเดินเรื อประจำ และไม่มีตำรำงเวลำที่แน่นอนโดยเจ้ำเรื อได้ลงนำมในข้อตกลงกับ
เจ้ำของเรื อกลุ่มอื่นในกำรรักษำพิกดั อัตรำค่ำระวำงเรื อและเงื่อนไขกำรขนส่ ง

99. ข้อใดอธิบำยลักษณะของเรื อแบบ Tram Vessel / Charter Vessel ได้ดีที่สุด


ก. ไม่ มีเส้ นทางและตารางเวลาที่แน่ นอน
ข. มีเส้นทำงเดินเรื อประจำ มีตำรำงเดินเรื อที่แน่นอน
ค. ใบขนส่ งสิ นค้ำแบบกอง ไม่มีกำรบรรจุหีบห่อ
ง. เรื อแบบธรรมดำ หรื อดั้งเดิม ไม่มีกำรใช้ตคู ้ อนเทนเนอร์

100. ข้อใดอธิบำยลักษณะของเรื อแบบ Container Vessel ได้ดีที่สุด


ก. เรื อบรรทุกสิ นค้ำทัว่ ไป
ข. เรือบรรทุกตู้สิน
ค. มีเส้นทำงเดินเรื อประจำ มีตำรำงเดินเรื อที่แน่นอน
ง. ไม่มีเส้นทำงและตำรำงเวลำที่แน่นอน

101. สมำคมรับรองมำตรฐำนเรื อ Classification Society คืออะไร


ก. สมำคมที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดมำตรฐำนของเรื อที่จะใช้ในกำรเดินทะเลตำมเขตน่ำนน้ ำต่ำงๆ
ข. สมำคมที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อกำหนดมำตรฐำนของเรื อที่จะใช้ในกำรขนส่ งสิ นค้ำแบบต่ำงๆ
ค. สมำคมที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อตรวจสอบสภำพเรื อและแบ่งชั้นมำตรฐำนของเรื อเพื่อใช้เป็ นข้อมูลในกำรกำหนด
พิกดั อัตรำค่ำระวำงและเส้นทำงกำรเดินเรื อ
ง. สมาคมทีจ่ ัดตั้งขึน้ เพือ่ ตรวจสอบเรือและจัดแบ่ งชั้ นมาตรฐานของเรือเพือ่ ใช้ เป็ นข้ อมูลสาหรับผู้รับ
ประกันภัย

102. P & I Club คืออะไร


ก. กลุ่มของเจ้ำของเรื อที่รวมตัวกันขึ้น ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์ในกำรเพิ่มอำนำจในกำรต่อรองกับบริ ษทั ประกันภัย
สำหรับกำรกำหนดอัตรำเบี้ยประกันภัย
ข. กลุ่มของเจ้ าของเรือที่รวมตัวกันขึน้ ซึ่งมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้ ความคุ้มครองความเสี ยหายทีเ่ กิดแก่ตัวเรือ
ของสมาชิ กจากภัยบางประเภททีไ่ ม่ สามารถเอาประกันภัยกับผู้รับประกันภัยทัว่ ไปได้
ค. กลุ่มของเจ้ำของเรื อที่รวมตัวกันขึ้น ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ควำมคุม้ ครองควำมเสี ยหำยที่เกิดขึ้นแก่ตวั
เรื อ ของสมำชิกจำกภัยทุกประเภท โดยมิตอ้ งเอำประกันภัยกับผูร้ ับประกันภัยทัว่ ไป
ง. กลุ่มของเจ้ำของเรื อที่รวมตัวกันขึ้น เพื่อจัดกำรเรื่ องกำรกำหนดเส้นทำงเดินเรื อและเงื่อนไขกำรขนส่ ง
สิ นค้ำ รวมทั้งพิกดั อัตรค่ำระวำงเรื อ

103. P & I Club ย่อมำจำกคำว่ำอะไร


ก. Portal and Insurance Club ข. Portal and Indemnity Club
ค. Protection and Indemnity Club ง. Protection and Indemnity Club
104. ในกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรื อ เงื่อนไข Institute Voyage Clauses มีระยะเวลำคุม้ ครองเป็ นแบบใด
ก. 3 เดือน ข. 6 เดือน
ค. เทีย่ วการเดินทาง 1 เทีย่ ว ง. เที่ยวกำรเดินทำงหลำยเที่ยว

105. ในประกันภัยตัวเรื อแบบเฉพำะเที่ยว (Voyage Policy) การสิ้นสุ ดของกรมธรรม์ ประกันภัย จะเกิดขึ้นเมื่อใด


ก. ถึงวันและเวลำที่ได้ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
ข. เรือได้ เมืองท่ าปลายทางทีร่ ะบุไว้ ในกรมธรรม์ ประกันภัย
ค. ครบกำหนด 7 วัน หลังจำกที่เรื อได้ถึงเมืองท่ำปลำยทำงที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย
ง. ครบกำหนด 10 วัน หลังจำกที่เรื อได้ถึงเมืองท่ำปลำยทำงที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย

106. ในกำรเรี ยกร้องควำมเสี ยหายทีเ่ สมือนเสี ยหายโดยสิ้นเชิง (Constructive Total Loss) สำหรับกำร
ประกันภัยตัวเรื อ ผูเ้ อำประกันภัยต้องดำเนิ นกำร อย่ำงไร
ก. ต้ องแจ้ งให้ ผ้ ูรับประกันภัยทราบ โดยการทาหนังสื อแจ้ งการสละทิง้ (Notice Of Abandonment)
ข. ต้องแจ้งให้ผรู ้ ับประกันภัยทรำบ โดยกำรทำหนังสื อเรี ยกร้องค่ำเสี ยหำยและกำรประมูล(Notice Of
Claim and Tenders)
ค. ต้องแจ้งให้ผรู ้ ับประกันภัยทรำบ และทำบันทึกสละสิ ทธิ กำรเรี ยกร้องจำกผูท้ ำละเมิด
ง. ต้องแจ้งให้ผรู ้ ับประกันภัยทรำบ ว่ำเรื อได้รับควำมเสี ยหำยโดยดำเนินกำรใดๆ ตำมปกติ

107. เงื่อนไข Tow and Assist ในกำรประกันภัยตัวเรื อ หมำยถึงอะไร


ก. ผูเ้ อำประกันภัยรับรองว่ำเรื อที่เอำประกันภัยจะมิถูกใช้ในกำรลำกจูงและช่วยเหลือเรื อลำอื่นๆ
ข. ผูเ้ อำประกันภัยแจ้งให้ผรู ้ ับประกันภัยทรำบว่ำเรื อที่เอำประกันภัยนั้นจะสำมำรถนำไปใช้ในกำรลำกจูง
และช่วยเหลือเรื อลำอื่นๆ
ค. ผู้เอาประกันภัยรั บรองว่ าเรือทีเ่ อาประกันภัยนั้นจะไม่ ถูกเว้ นแต่ เป็ นประเพณีปฏิบัติหรือมีความจาเป็ นที่
ต้ องได้ รับความช่ วยเหลือ
ง. ผูเ้ อำประกันภัยรับรองว่ำเรื อที่เอำประกันภัยนั้นจะสำมำรถนำไปใช้ในกำรลำกจูงและช่วยเหลือเรื อลำอื่นๆ
ได้ เฉพำะเท่ำที่จำเป็ นหรื อเป็ นประเพณี ปฏิบตั ิ

108. Sister Ship Clauses ในกำรประกันภัยตัวเรื อ มีควำมหมำยอย่ำงไร


ก. เมื่อเรื อเกิดกำรชนกัน โดยเรื อ 2 ลำ นั้นเป็ นเจ้ำของเดียวกัน ผูร้ ับประกันภัยไม่ตอ้ งรับผิดในกำรชดใช้ค่ำ
สิ นไหมทดแทน
ข. เมื่อเรือเกิดการชนกันขึน้ โดยเรือ 2 ลา นั้นเป็ นเจ้ าของเดียวกัน ผู้รับประกันภัยจะชดใช้ ค่าสิ นไหมทดแทน
ให้ เสมือนหนึ่งว่าเรือดังกล่าวไม่ ได้ เป็ นเจ้ าของเดียวกัน
ค. เมื่อเรื อที่เอำประกันภัยได้รับควำมเสี ยหำย ผูร้ ับประกันภัยจะต้องชดใช้ค่ำสิ นไหมทดแทนรวมทั้ง
ค่ำใช้จ่ำยในกำรที่ผเู ้ อำประกันภัยจะต้องเช่ำเรื อลำอื่นมำใช้แทน
ง. เมื่อเรื อที่เอำประกันภัยได้รับควำมเสี ยหำย ผูร้ ับประกันภัยจะสละสิ ทธิ ในกำรเรี ยกเก็บค่ำเบี้ยประกันภัย
สำหรับเรื อลำอื่นที่ผเู ้ อำประกันภัยจะต้องเช่ำเรื อลำอื่นมำใช้แทน
109. เงื่อนไข New for Old ในกำรประกันภัยตัวเรื อ มีควำมหมำยอย่ำงไร
ก. ผูร้ ับประกันภัยตกลงที่จะจ่ำยค่ำสิ นไหมทดแทนสำหรับกำรซ่อมแซมเรื อ โดยไม่มีกำรหักค่ำเสื่ อม
ข. ผูร้ ับประกันภัยตกลงที่จะจัดหำเรื อลำใหม่ให้แก่ผเู ้ อำประกันภัย ถ้ำเรื อได้รับควำมเสี ยหำยโดยสิ้ นเชิง
ค. ผูร้ ับประกันภัยตกลงที่จะจัดหำเรื อลำใหม่ให้แก่ผเู ้ อำประกันภัย ถ้ำเรื อได้รับควำมเสี ยหำยเสมือนหนึ่ง
ควำมเสี ยหำยสิ้ นเชิง
ง. ผูร้ ับประกันภัยตกลงที่จะใช้วสั ดุอุปกรณ์ใหม่ท้ งั หมดในกำรซ่อมแซมเรื อ

110. วัตถุแห่ งการประกันภัย Institute Time Clauses ให้ควำมคุม้ ครองอะไรบ้ำง


ก. ตัวเรือ เครื่องเรือ ความรับผิดจากการชนกัน ค่ าใช้ จ่ายต่ างๆ ในการเดินเรือ ค่ าขนส่ ง
ข. ตัวเรื อ ควำมรับผิดจำกกำรชนกัน ควำมรับผิดจำกสิ นค้ำที่บรรทุก
ค. ตัวเรื อรวมทั้งนำยเรื อ ลูกเรื อ เชื้อเพลิง
ง. ตัวเรื อ เครื่ องเรื อ ควำมรับผิดจำกกำรชนกัน ผลสื บเนื่องจำกควำมเสี ยหำยของเรื อของผูเ้ อำประกันภัย

111. ในกรมธรรม์ประกันภัยตัวเรือ เงื่อนไข Institute Time Clauses มีระยะเวลำคุม้ ครองเป็ นแบบใด


ก. 6 เดือน ข. 1 ปี
ค. 2 ปี ง. 3 ปี

112. เงื่อนไขที่ควรใช้ในกำรประกันภัยตัวเรื อ ที่ไม่ได้ใช้งำนหรื อเรือทีเ่ ทียบท่าขึน้ คานควรเป็ นเงื่อนไขใด


ก. Institute Time Clauses
ข. Institute Voyage Clauses
ค. Institute Hull Clauses (Port Risks)
ง. Institute Builders Risk Clauses

113. ในกำรประกันภัยตัวเรือ Collision Clauses มี หมำยถึงอะไร


ก. ข้ อกาหนดทีใ่ ห้ ความคุ้มครอง ความรับผิดของเจ้ าของเรือทีม่ ีต่อบุคคลภายนอก เมื่อเกิดกรณีเรือชนกัน
ข. ข้อกำหนดที่ให้ควำมคุม้ ครอง ต่อตัวเรื อ ในกรณี ที่เกิดเรื อชนกัน
ค. ข้อกำหนดที่ให้ควำมคุม้ ครอง ต่อสิ นค้ำและตัวเรื อ ในกรณี ที่เกิดเรื อชนกัน
ง. ข้อกำหนดที่ให้ควำมคุม้ ครอง ควำมรับผิดของเจ้ำของเรื อที่มีต่อบุคคลภำยนอก รวมทั้งต่อสิ นค้ำและตัว
เรื อ ในกรณี ที่เกิดเรื อชนกัน

114. ในกำรประกันภัยตัวเรื อ ผู้เอาประกันภัยสามารถโอนกรมธรรม์ ประกันภัยไปให้ ผ้ อู นื่ ได้ หรือไม่


ก. ได้ โดยต้องแจ้งบริ ษทั ประกันภัยเป็ นลำยลักษณ์อกั ษร
ข. ได้ โดยกำรสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัยและไม่จำเป็ นต้องแจ้งบริ ษทั ประกันภัย
ค. ได้ แต่ตอ้ งแจ้งให้บริ ษทั ประกันภัยทรำบและรอให้บริ ษทั ประกันภัยเห็นชอบและออกใบสลักหลัง
กรมธรรม์ประกันภัยให้
ง. ไม่ ได้

115. อายุความในการเรียกร้ องค่ าสิ นไหมทดแทนจากบริ ษัทเรือหรือผู้รับขน แตกต่ำงจำกกำรเรี ยกร้องค่ำสิ นไหม


ทดแทนจำกบริ ษทั ประกันภัย อย่ำงไร
ก. กำรเรี ยกร้องจำกบริ ษทั เรื อ กำหนดไว้ไม่เกิน 2 ปี แต่กำรเรี ยกร้องจำกบริ ษทั ประกันภัย กำหนดไว้ไม่เกิน
1 ปี
ข. การเรียกร้ องจากบริษัทเรือ กาหนดไว้ไม่ เกิน 1 ปี แต่ การเรียกร้ องจากบริษัทประกันภัย กาหนดไว้ไม่ เกิน
2 ปี
ค. กำรเรี ยกร้องจำกบริ ษทั เรื อ กำหนดไว้ไม่เกิน 2 ปี แต่กำรเรี ยกร้องจำกบริ ษทั ประกันภัย กำหนดไว้ไม่เกิน
3 ปี
ง. กำรเรี ยกร้องจำกบริ ษทั เรื อ กำหนดไว้ไม่เกิน 3 ปี แต่กำรเรี ยกร้องจำกบริ ษทั ประกันภัย กำหนดไว้ไม่เกิน
2 ปี

116. ภัยในข้อใดที่ถูกระบุไว้ ในข้ อยกเว้ น ในกรมธรรม์ ประกันภัยการขนส่ งภายในประเทศ แบบระบุภยั แต่ให้ควำม


คุม้ ครองในแบบควำมเสี่ ยงภัยทุกชนิด
ก. ควำมล่ำช้ำ
ข. การลักทรัพย์
ค. กำรเสื่ อมสภำพของทรัพย์สินที่เอำประกันภัย
ง. กำรบรรจุภณั ฑ์ที่ไม่ดีพอ หรื อไม่เหมำะสมในกำรขนส่ ง
117. ภัยในข้อใดที่ถูกระบุไว้ ในข้ อยกเว้ น ในกรมธรรม์ ประกันภัยการขนส่ งภายในประเทศ แต่ สามารถซื้อความ
คุ้มครองเพิม่ เติมได้
ก. การจลาจล การนัดหยุดงาน
ข. กำรปฏิวตั ิ กำรรัฐประหำร
ค. กำรก่อกำรร้ำย กำรก่อวินำศกรรม
ง. ควำมเสี ยหำยหรื อควำมสู ญเสี ยอันมีสำเหตุมำจำกกำรแผ่รังสี หรื อกำรแพร่ กมั มันตภำพรังสี จำกเชื้อเพลิง
นิวเคลียร์

118. หำกบริษัทประกันภัยต้ องการบอกเลิกกรมธรรม์ ประกันภัยกำรขนส่ งภำยในประเทศ ต้องแจ้งผูเ้ อำประกันภัย


ภำยในกี่วนั
ก. ไม่นอ้ ยกว่ำ 15 วัน ข. ไม่ น้อยกว่า 30 วัน
ค. ไม่นอ้ ยกว่ำ 45 วัน ง. ไม่นอ้ ยกว่ำ 60 วัน

119. อำยุควำมของกำรประกันภัยขนส่ งภำยในประเทศ สิ้ นสุ ดเมื่อใด


ก. 10 ปี นับแต่วนั เกิดควำมเสี ยหำย ข. 5 ปี นับแต่ วนั เกิดความเสี ยหาย
ค. 1 ปี นับแต่วนั เกิดควำมเสี ยหำย ง. 1 ปี นับแต่วนั เกิดควำมเสี ยหำย

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

You might also like