You are on page 1of 3

การค้ าผ่ านแดน Cross Border

การค้าข้ามแดน หรือการค้าผ่านแดน     
    (CROSS BORDER )
    การค ้าผ่านแดน หรือ การปฏิบต ั พ ี ารผ่านแดน ซงึ่ หมายถึงการทีป
ิ ธิ ก ่ ระเทศทีม
่ พ
ี รมแดนติดต่อ
กันยินยอมให ้มี การขนสง่ สน ิ ค ้าผ่านอาณาเขตของตนเพือ ่ สง่ ออกต่อไป ประเทศทีส ่ าม โดยไม่มก ี าร
เรียกเก็บอากรสำหรับสน ิ ค ้า ทีน
่ ำผ่านแดนเข ้าในอาณาเขตของตนแต่อย่างใดเพราะว่า โดยปกติ
แล ้ว ประเทศทัง้ สองจะมีข ้อตกลงเกีย ่ วกับการ ดำเนินการดังกล่าว เพือ ่ ประโยชน์ซงึ่ กันและ กัน
ั ่ ึ ิ
ตามความ สมพันธ์ของแต่ละประเทศ ซงการได ้รับสทธิผา่ นดินแดน ดังกล่าว จะต ้องปฏิบต ั ต
ิ าม
ระเบียบและเงือ ่ นไขข ้อกำหนด ของประเทศ ทีย ่ น
ิ ยอมให ้มีการนำสนิ ค ้าผ่านแดนเพือ ่ สง่ ออกต่อไป 
ภายใต ้กรอบขอบ เขตอธิปไตยของประเทศ นัน ้ ๆ เชน ่
ี่ ารขนสง่ สน
       กรณีทก ิ ค ้าจากประเทศไทยผ่าน ไปลงเรือทีม ี หรือสงิ คโปร์  มีขน
่ าเลเซย ั ้ ตอนใน
การดำเนิน การในฝั่ งประเทศไทยดังต่อไปนี้
ิ ค ้าออก
        1.จัดใบขนสน
ี น
        2.จัดทำใบบัญชส ิ ค ้า
ี น
        3.จัดทำบัญชส ิ ค ้า(ศ.บ.3)
        4.ผ่านพิธก
ี ารศุลกากร
ิ ค ้าผูกดวงตราศุลกากร
        5.ตรวจปล่อยสน
        6.รับบรรทุกการสง่ ออกนอกราชอาณาจักรไทย
       7.สง่ มอบสำเนาเอกสารการตรวจปล่อยให ้กับผู ้ขน สง่ เพือ
่ ไปดำเนินการนำเข ้าผ่านแดนต่อไป
การดำเนินในการนำเข ้าเพือ่ ผ่านแดนเข ้าประเทศมาเลเชยี เพือ
่ สง่ ออกทีท
่ า่ เรือประเทศมาเลเชย ี

หรือผ่านต่อไป สงออกทีป ิ
่ ระเทศสงคโปร์ จะต ้องดำเนินตามเงือ ่ นไขของ ประเทศทีส ิ
่ นค ้าต ้องผ่าน
แดนกำหนด โดยตามเงือ ่ นไขของ ประเทศมาเลเชย ี กำหนดดังนี้
ิ ค ้านำเข ้าผ่านแดนตามแบบฟอร์มหมายเลข 8 (APPLICATION/PERMIT
     1. จะต ้องจัดทำใบสน
TO TRANSHIP /REMOVEGOODS) พร ้อมยืน ่ เอกสารการสง่ ออกทีไ่ ด ้ผ่านศุลกากรไทยเป็ น
เอกสารประกอบ โดยทีใ่ น เอกสารจะต ้องมีการสำแดงท่าปลายทางทีจ ่ ะทำการสง่ ออก 
      2. จะต ้องขนสง่ ด ้วยระบบคอนเทนเนอร์ หรือรถ ตู ้ทึบ (VAN CLOSED) เท่านัน

      3. กรณีทค ั คัชซไี ม่ตด
ี่ อนเทนเนอร์กบ ิ จะต ้องทำ  การต่ดเวือ
่ มให ้ติดกัน   
      4. จะต ้องขนสง่ ตามเสนทางที
้ ท ี กำหนด
่ างประเทศมาเลเซย
      5. รถขนสง่ จะต ้องเป็ นรถทีไ่ ด ้รับอนุญาตเท่านัน

หล ักกฏหมายศุลกากรทีค ่ ออก ตามพระราชบ ัญญ ัติศล
่ วรทราบในการนำเข้าสง ุ กากร
พ.ศ.2469
่ ออก
การสง
  มาตรา 45 บัญญัตวิ า่ “ก่อนการสง่ ของใดๆออกนอก ราชอาณาจักร ผู ้สง่ ออกจะต ้องปฏิบต ั ใิ ห ้ครบ
ถ ้วนตาม พระราชบัญญัตน ิ ี้ และตามกฏหมายอืน
่ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง กับกรมศุลกากร กับต ้องยืน
่ ใบขนสน ิ ค ้า
โดยถูกต ้อง และ เสยี ภาษี อากรจนครบถ ้วน หรือวางเงินไว ้เป็ นประกัน การ ขอวางเงินประกันให ้เป็ น
ไปตามทีอ ่ ธิบดีกำหนด
    ในกรณีทม ี ารร ้องขอและอธิบดีเห็นว่าของใดมีความจำเป็ นที่ จะต ้องสง่ ออกนอกราชอาณาจักร
ี่ ก
โดยรีบด่วน อธิบดีม ี อำนาจให ้สง่ ของนัน ้ ออกไปได ้โดยยังไม่ต ้องปฏิบตั ิ ตาม วรรคหนึง่ ก่อน แต่ต ้อ
องปฏิบต ั ต
ิ ามอธิบดีกำหนด และใน กรณีทอ ี ภาษี อากร ให ้วางเงินหรือหลัก ประกัน
ี่ าจจะต ้องเสย
อย่างอืน
่ เป็ นทีพ ่ อใจอธิบดีเพือ
่ เป็ นประกันค่าภาษี อากรด ้วย ”
 
การนำเข้า
   มาตรา 40 บัญญัควิ า่   “ก่อนจะนำขอใดๆไปจากอารักขา ศุลกากร ผู ้นำเข ้าต ้องปฏิบต ั ใิ ห ้ครบถ ้วน
ตามพระราช บัญญัตน ิ ี้ และตามกฏหมายทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการศุลกากร กับ ต ้องยืน
่ ใบขนสนิ ค ้าโดยถูก
ต ้อง และเสยี ภาษี อากรจนครบ ถ ้วน หรือวางเงินไว ้เป็ นประกัน การขอวางเงินประกันให ้ เป็ นไปตาม
ระเบียบทีอ
่ ธิบดีกำหนด
    ในกรณีทมี่ ก
ี ารร ้องขอและอธิบดีเห็นว่าของใดมีความจำเป็ นที่ จะต ้องนำออกนอกอารักขา
ศุลกากรโดยรีบด่วน อธิบดีม ี อำนาจให ้นำของนัน ้ ไปจากอารักขาศุลกากรได ้โดยยังไม่ ต ้องปฏิบต ั ิ
ตามวรรคหนึง่ ก่อน แต่ต ้อองปฏิบต ั ต
ิ ามอธิบดี กำหนด และในกรณีทอ ี
ี่ าจจะต ้องเสยภาษี อากร ให ้
วาง เงินหรือหลัก ประกันอย่างอืน ่ เป็ นทีพ
่ อใจอธิบดีเพือ
่ เป็ น ประกันค่าภาษี อากรด ้วย ”
 
ี ภาษี
การเสย
  มาตรา 10 บัญญัตวิ า่ “บรรดาค่าภาษี นัน้ ให ้เก็บตามพระราช บัญญัตน ิ แ
ี้ ละตามกฏหมายว่าด ้วย
พิกด
ั อัตราอากร การเสย ี ภาษี อากรให ้เสยี แก่พนักงานเจ ้าหน ้าทีใ่ นเวลาทีอ ิ ค ้าให ้
่ อกใบขนสน
         .......................................................................”
   มาตรา 10 ทวิบญั ญัตวิ า่ “ความรับผิดในอันทีต ี ภาษี สำหรับ ของทีน
่ ้องเสย ่ ำเข ้าเกิดขึน
้ ในเวลาที่
นำของเข ้าสำเร็จ
        ......................................................................”
   มาตรา 10 ตรีบญ ี ภาษี สำหรับของทีส
ั ญัตวิ า่ “ความรับในอันจะต ้องเสย ่ ง่ ออกเกิดในเวลาทีส
่ ง่ ของ
ออกสำเร็จ
      การคำนวณค่าภาษี ให ้ถือตามสภาพของราคาของ และพิกด
ั อัตราศุลกากรทีเ่ ป็ นอยูใ่ นเวลาที่

ออกใบขนสนค ้าให ้
       .......................................................................”
 
่ ออก
ท่านำเข้า-สง
่ ความประสงค์แห่งการนำของเข ้า หรือสง่ ของออก หรือนำของเข ้า
      มาตรา 4 บัญญัตวิ า่ “เพือ
และสง่ ของออกและการ ศุลกากร ให ้รัฐมนตรีมอ ี ำนาจออกกฎกระทรวง
  (1) กำหนดท่า หรือทีใ่ ดๆในราชอาณาจักรให ้เป็ นท่าหรือที่ สำหรับการนำเข ้าหรือสง่ ออก หรือนำ
เข ้าและสง่ ออกซงึ่ ของ ประเภทใดๆ หรือทุกประเภททางทะเล หรือทางบก หรือให ้เป็ น ท่าหรือที่
สำหรับการสง่ ออกซงึ่ ของทีข ่ อคืนอากรขาเข ้า หรือของ ทีท
่ ัณฑ์บน ทัง้ นีโ้ ดยมีเงือ
่ นไขตามแต่จะ
เห็นสมควร
 (2) กำหนดสนามบินใดๆในราชอาณาจักรให ้เป็ นสนามบิน ศุลกากร โดยมีเงือ
่ นตามแต่จะเห็น
สมควร
 (3) ระบุเขตศุลกากร ณ ท่าใด หรือทีใ่ ด หรือสนามบินใดซงึ่ ได ้ กำหนดไว ้ข ้างต ้น ”

You might also like