You are on page 1of 50

การปรนนิบัติบารุง

๑.ผบช.มุ่งหวังในการปบ. ในหน้าที่พลขับ (ขั้นที่ ๑)นั้นเพื่อประสงค์อะไร


ก.ต้องการให้มีงานทา ข. เพื่อต้องการเบิก สป.
ค.เพื่อเอาไปแก้ไขข้อบกพร่อง ง.เพื่อรักษาง.ยุทโธปกรณ์และเพื่อให้มีประสิทธิภาพ
๒.การปบ. เมื่อตรวจพบข้อบกพร่องหรือทางานไม่สมบูรณ์เกินขั้นที่ ๑พลขับต้องปฏิบัติอย่างไร
ก.แขวนปูายชะงักใช้งาน ข.รายงาน ผบช.ทราบทันที
ค.ทาการแก้ซ่อมเองได้เลย ง.ส่งซ่อมตามสายงานของ ผบช.
๓.จ่าสิบเอกปิยะทัศน์ฯ นา รยบ.บรรทุกน้า ขนาด ๕,๐๐๐ ลิตรไปส่งน้าขณะวิ่งอยู่ได้ยินเสียงเครื่องยนต์ดังไม่สม่าเสมอแล้วจดจา
ไป ปบ.เมื่อถึงหน่วยถือว่าเป็นการ ปบ.ห้วงใด
ก.การ ปบ.ขณะใช้งาน ข.การ ปบ.ขณะหยุดพัก ค.การ ปบ. หลังใช้งาน ง.การ ปบ.ก่อนใช้งาน
๔.ข้อใดกล่าวถูกต้องแล้ว
ก.การ ปบ.ขั้น ๑ เป็นงานในหน้าที่พลขับทาก็ได้ไม่ทาก็ได้
ข.การ ปบ.ขั้น ๑ เป็นการตรวจสภาพทั่วไปเพื่อให้ทราบข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์
ค.การ ปบ.ขั้น ๑ ต้องทาบ่อยๆ เพื่อจะได้นาไปเบิก สป.
ง.ที่กล่าวมาแล้วถูกต้องทุกข้อ
๕.การปบ.ในหน้าที่พลขับ (ขั้นที่ ๑) มีการปบ.หลักอยู่ ๓ ขั้น คือข้อใด
ก.ก่อนใช้งาน ขณะใช้งานและหลังใช้งาน ข.ก่อนใช้งาน ขณะหยุดพักและขณะใช้งาน
ค.ขณะหยุดพัก ขณะใช้งานและในโรงรถ ง.หลังใช้งาน ขณะใช้งานและในโรงรถ
๖.การปรนนิบัติบารุงเป็นหัวใจสาคัญ พลขับจะละเลยเสียมิได้ คือการ ปบ.ประเภทไหน
ก.การ ปบ.รอบ ๓ เดือน ข.การ ปบ. รอบ ๖ เดือน ค.การ ปบ.ประจาวัน ง.การ ปบ.ประจาสัปดาห์
๗.ก่อนนา รยบ.ออกไปใช้งาน พลขับทาการตรวจสภาพเรียบร้อย เป็นการตรวจสภาพทั่วไปด้วยอะไร
ก.ตรวจสภาพด้วยหู ข.ตรวจสภาพด้วยความชานาญ
ค.ตรวจสภาพด้วยจมูก ง.ตรวจสภาพด้วยสายตา
๘. พลขับทุกคนที่นารถออกใช้งานจะต้องมีบัตรการใช้รถประจาวันเสมอ แต่มีข้อยกเว้นอะไรบ้าง
ก. ขับรถเข้าขบวน,ขับรถพยาบาลฉุกเฉิน
ข. ขับรถพยาบาลฉุกเฉิน,ขับรถปฏิบัติงานทางยุทธวิธี
ค. ขับรถปฏิบัติงานทางยุทธวิธี,ขับรถรับส่งทหารกองเกียรติยศ
ง. ขับรถเข้าขบวน,ขับรถปฏิบัติงานทางยุทธวิธี
๙. การ ปบ.ประจาวันจะปฏิบัติในกรอบของแบบพิมพ์ อะไร
ก. ทบ. 468 – 360 ข. ทบ. 468 – 310 ค. ทบ. 468 – 201 ง. ทบ. 468 – 378
๑๐. พลขับจะกระทาการ ปบ.ขณะใช้งาน จะกระทาการได้อย่างไร
ก. ตรวจดูรอยบริเวณใต้รถ ข.ฟังเสียงและกลิ่นที่ผิดปกติ
ค. ตรวจเครื่องช่วยความปลอดภัยขณะขับรถ ง. สังเกตดูระดับน้าในเครื่องวัดขณะขับรถ
วิชา การปรนนิบัติบารุงยานยนต์

* ข้อใดกล่าวถูกต้องแล้ว
ตอบ : การ ปบ.ขั้น ๑ เป็นการตรวจสภาพทั่วไปเพื่อให้ทราบข้อบกพร่องของยุทโธปกรณ์
*ผบช.มุ่งหวังในการปบ. ในหน้าที่พลขับ (ขั้นที่๑) นั้นเพื่อประสงค์อะไร
ตอบ : เพื่อรักษายุทโธปกรณ์และเพื่อให้มีประสิทธิภาพ
*การปรนนิบัติบารุงของช่างประจาหน่วยผู้ใดเป็นผู้ช่วยช่างในการปบ.
ตอบ : พลขับ
*สาเหตุใดจึงต้องทาการปรนนิบัติบารุงขั้น๑ก่อน
ตอบ : เพื่อให้รู้สาเหตุแห่งการชารุดแล้วดาเนินการแก้ไข
*การเติมลมยางเติมน้าในหม้อน้าทาความสะอาดเป็นการกระทาอะไร
ตอบ : การปรนนิบัติบารุง
คุณลักษณะยานยนต์
๑.คาว่า “ รถบรรทุก ” ทางทหารหมายความว่าอะไร
ก.รถที่ใช้ล้อสาหรับเคลื่อนย้ายคน
ข.รถที่ใช้ล้อสาหรับเคลื่อนย้ายคน,สัตว์,สิ่งของ
ค.รถที่ใช้ล้อสาหรับเคลื่อนย้ายคน,อาวุธ,กระสุน,และเครื่องมือเครื่องใช้
ง.รถที่ใช้ล้อหรือสายพานสาหรับบรรทุกคน และสิ่งของทางทหาร
๒.รยบ.๑/๔ ตัน ๔x๔ เอ็ม ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบว่า ๔x๔ หมายความว่าอย่างไร
ก.รถที่ม๔ี ล้อ เคลื่อนที่ได้ทั้ง ๔ ล้อ ข.รถที่ม๔ี ล้อ มีกาลังขับเคลื่อน ๔ ล้อ
ค.รถที่ม๔ี ล้อ ลากจูงรถพ่วงที่มีล้อ ๔ ล้อ ง.รถที่ม๔ี ล้อ บรรทุกกาลังพลได้ ๔คน
๓.ข้อใดคือความหมายของคาว่า “น้าหนักรถ”
ก.น้าหนักสัมภาระหรือผู้โดยสาร รวมทั้งเจ้าหน้าที่ประจารถ
ข.น้าหนักทั้งหมดของรถที่ติดตั้งอุปกรณ์พร้อมด้วยเติมน้ามันเชื้อเพลิงเรียบร้อย แต่ไม่มีพลประจารถ
ค.น้าหนักทั้งหมดของรถที่ติดตั้งอุปกรณ์พร้อมเติมน้ามันเชื้อเพลิงเรียบร้อย รวมทั้งพลประจารถ
ง.น้าหนักของรถทั้งหมดที่ติดตั้งอุปกรณ์และสามารถปฏิบัติการได้ รวมทั้งพลประจารถ และน้าหนักสัมภาระ
๔.ข้อใดต่อไปนี้คือ “ ระยะสูงพ้นพื้น ” ของรถ
ก.ระยะระหว่างระดับพื้นดินกับความสูงของล้อรถ ข.ระยะระหว่างระดับพื้นดินกับพื้นใต้ท้องรถ
ค.ระยะระหว่างระดับพื้นดินกับจุดที่ต่าที่สุดใต้ท้องรถ ง.ระยะระหว่างระดับพื้นดินกับกันชนหน้ารถ
๕.ถ้าแบ่งประเภทยานยนต์ตามลักษณะการใช้งานอยากทราบว่ารยบ. ๒ ๑/๒ ตัน เอ็ม ๓๕ จะจัดอยู่ในยานยนต์ชนิดใด
ก.ยานยนต์ธุรการ ข.ยานยนต์ใช้งานทั่วไป ค.ยานยนต์ยุทธวิธี ง.ยานยนต์ติดตั้งอุปกรณ์พิเศษ
๖.ประเภทของยานยนต์แบ่งตามลักษณะการใช้งานได้กี่ชนิด
ก.๑ ชนิด ข.๒ ชนิด ค.๓ ชนิด ง.๔ ชนิด
๗.รถกู้๕ตันจัดอยู่ในยานยนต์แบบใด
ก.ยานยนต์ใช้งานทั่วไป ข.ยานยนต์รบ ค.ยานยนต์ใช้งานพิเศษ ง.ยานยนต์ติดตั้งอุปกรณ์พิเศษ
๘.การปรนนิบัติบารุงก่อนใช้งานกระทาเพื่ออะไร
ก.ดูความถูกต้องของยานพาหนะ ข.ตรวจระบบต่างๆ ของเครื่องยนต์ ค.ตรวจสภาพการยึดตรึงของตัวรถ ง.ถูกทุกข้อ
๙.ข้อใดคือความหมายของ “ รถพ่วง ” ?
ก. รถที่ออกแบบไว้สาหรับลากจูงโดยมีคาน และห่วงสาหรับเกาะ
ข. รถยนต์ที่ออกแบบไว้ลากจูงได้โดยมีห่วงสาหรับเกาะ
ค. รถยนต์ที่ออกแบบไว้สาหรับลากจูงได้ทุกสภาพถนนโดยมีห่วงสาหรับเกาะ
ง. รถยนต์ที่ออกแบบให้มีกาลังมากๆเพื่อจะได้ลากจูงได้
๑๐.รยบ. ๑/๔ ตัน ๔ x ๔ เอ็ม ๑๕๑ เอ.๑ อยากทราบว่า ๑/๔ ตัน หมายถึงอะไร ?
ก. น้าหนักรถ ข. น้าหนักบรรทุก
ค. น้าหนักบรรทุกในภูมิประเทศ ง. น้าหนักทั้งหมดของรถ

วิชา คุณลักษณะยานยนต์ทหาร

* ข้อใดต่อไปนี้คือ “ ระยะสูงพ้นพื้น ” ของรถ


ตอบ : ระยะระหว่างระดับพื้นดินกับจุดที่ต่าที่สุดใต้ท้องรถ
* น้าหนักทั้งหมดของรถที่ติดตั้งยุทโธปกรณ์พร้อมด้วยเติมน้ามันเชื้อเพลิง น้า น้ามันหล่อลื่น แต่ไม่มีพลประจารถคือความหมาย
ของคาว่าอะไร
ตอบ : น้าหนักทั้งหมด
* การแบ่งประเภทของยานยนต์ตามลักษณะการใช้งาน จะแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ : ๒ ประเภท ๑. ยานยนต์ธุรการ ๒. ยานยนต์ยุทธวิธี
* ระยะปฏิบัติการ หมายความว่าอย่างไร
ตอบ : ระยะทางที่ยานยนต์สามารถทางานได้ภายในน้ามันเชื้อเพลิงเต็มถัง
* รถกู้ ๕ ตัน จัดอยู่ในยานยนต์แบบใด
ตอบ : ยานยนต์ติดตั้งอุปกรณ์พิเศษ

การสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด
1.ข้อใดคือความหมายของการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด
ก. การปฏิบัติที่ลึกเข้าไปในดินแดนข้าศึก เปูาหมายไม่จาเป็นต้องมีการควบคุม ปฏิบัติได้ตามเสรี
ตามความริเริ่มของกองทัพอากาศ
ข. การปฏิบัติทางอากาศหรือการโจมตีทางอากาศที่กระทาต่อเปูาหมายของ ขศ. บนผิวพื้น
โดยการร้องขอจากหน่วยภาคพื้น
ค. การปฏิบัติไปตามความริเริ่มของกาลังทางอากาศหลังจากได้วางแผนร่วมกับหน่วยกาลังภาคพื้น
ง. การปฏิบัติทางอากาศหรือการโจมตีทางอากาศที่กระทาต่อเปูาหมายที่ลึกเข้าไปในดินแดนของ ขศ.
หลังจากได้วางแผนร่วมกับกาลังทางอากาศ
2.ข้อใดไม่จัดว่าเป็นประเภทของการสนับสนุนโดยใกล้ชิด
ก. การคุ้มกันขบวนเดินเท้า ข. การบินคุ้มกัน
ค. การโจมตีทางอากาศ ง. การขัดขวางทางอากาศ
3.ผู้ควบคุมอากาศยานหน้าคือใคร (FAC)
ก. ผู้ตรวจการณ์ที่ได้รับการฝึก ข. นายทหารอากาศ (นักบิน)
ค. ผู้บังคับหน่วยที่ผ่านการอบรม ง. ถูกทุกข้อ
4.ในการจัดหน่วยควบคุมทางอากาศยุทธวิธี จะมีชุดผู้ควบคุมอากาศยานหน้า (ชผคน)ที่จัดส่งออกไปปฏิบัติการร่วมกับหน่วย
กาลังภาคพื้น มีหน้าที่ให้คาแนะนาต่อ ผบ.หน่วยนั้นเกี่ยวกับการขอใช้กาลังทางอากาศและทาหน้าที่ส่งคาขอไปยังหน่วยเหนือที่มี
อานาจในการสั่งใช้กาลังทางอากาศ อยากทราบว่า ชผคน.จะจัดส่งไปหน่วยถึงหน่วยภาคพื้นระดับใด
ก. กองทัพภาค ข. กองพล
ค. กองกาลังผสม ง. กรมและกองพัน
5.ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้นาอากาศยานหน้า FORWARD AIR GUIDE (FAG)
ก. มีความรู้ยุทธวิธีภาคพื้นและยุทธวิธีอากาศยาน
ข. มีความรู้ภาษาอังกฤษและการอ่านแผนที่
ค. ผ่านการอบรมหน้าที่ ผนอ. (FAG)
ง. มีควมารู้การติดต่อสื่อสาร,ยุทธวิธีภาคพื้นและยุทธวิธีอากาศยาน
6.พื้นที่ในการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ชิด ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. จากหน้าสุดของการวางกาลังฝุายเราไปจนถึงขอบหน้าของเขตภายในข้าศึก
ข. จากแนวประสานการยิงสนับสนุนและเข้าไปในเขตภายในข้าศึก
ค. จากขอบหน้าพื้นที่การรบไปจนถึงแนวประสานการยิงสนับสนุน
ง. จากขอบหน้าพื้นที่การรบไปจนถึงเขตภายในข้าศึก
7.การส่งคาขอทันที(เร่งด่วน) จะต้องให้คาขอถึงผู้มีอานาจอนุมัติการใช้ บ. ของ ทอ. และจะได้รับการตอบสนองในเวลาอย่างช้า
เท่าไร ?
ก. 2 ชั่วโมงเข้ารหัส ข. 6 ชั่วโมงเข้ารหัส
ค. 2 ชั่วโมงไม่เข้ารหัส ง. 6 ชั่วโมงไม่เข้ารหัส
8.คาขอทันทีทันใดมีหัวข้ออะไรบ้าง ?
ก. ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร เท่าไร ข. ใคร อะไร ที่ไหน ทาไม เมื่อไร
ค. ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร ทาไม อย่างไร ง. ใคร อะไร ที่ไหน อย่างไร
9.ก่อนที่เครื่องบินจะออกจากจุดบินวน(CP) นักบินจาได้รับข้อมูลข่าวสารจากหน่วยภาคพื้นในเรื่องใดบ้าง ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. สภาพอากาศ ลักษณะที่หมาย สถานการณ์ข้าศึก
ข. นามเรียกขาน จานวนละแบบอากาศยาน เวลาในการให้การสนับสนุน
ค. สภาพอากาศ ลักษณะที่หมาย สถานการณ์ข้าศึกและการต่อต้าน แนวกาลังฝุายเดียวกัน การยิงของ
ปืนใหญ่
ง. นามเรียกขาน ลักษณะที่หมาย สภาพอากาศ เวลาในการให้การสนับสนุน
10.หลังจากเครื่องบินโจมตีเปูาหมายแล้ว หน่วยภาคพื้นจะต้องรายงานผลการโจมตีเปูาหมายให้นักบินทราบ ข้อใดกล่าวไม่
ถูกต้องในขั้นตอนนี้
ก. แจ้งตาบลระเบิดหรือตาบลกระสุนตก ข. แจ้งผลการทาลายเปูาหมายเป็นเปอร์เซ็นต์
ค. แจ้งเวลาระเบิดกระทบเปูาหมาย ง. ปรับแก้ตาบลกระสุนตกให้นักบิน
11.การพิสูจน์ฝุายเพื่อต้องการทราบว่าเป็นหน่วยทหารฝุายเดียวกันสิ่งที่ต้องแสดงนั้นอย่างไร ?
ก. แผ่นผ้าสัญญาณ VS - 17 ปูเป็นตัวอักษร ข. ลข.ควันสีแดง
ค. ทัศนสัญญาณ ง. หมายแนว หมายที่ตั้ง
12.ในการเตรียมการในระหว่างรออนุมัติคาขอ และรออากาศยานมาสนับสนุน ผู้บังคับหน่วยจะต้องกระทา
สิ่งใดบ้าง?
ก.ดารงการติดต่อสื่อสารกับ ป. หน่วยเหนือ
ข.ผบ.หน่วย ให้ พลวิทยุเป็นผูใ้ ช้วิทยุเพียงผู้เดียว
ค.ให้กาลังพลในหน่วยเฉลี่ยกระสุนเตรียมตะลุมบอน
ง.ถูกทุข้อ
13.ผู้นาอากาศยานหน้า (FAG) มีหน้าที่อย่างไร
ก. นาอากาศยานเข้าโจมตีเปูาหมายได้ ข. รายงานสภาพอากาศ
ค. แนะนา บ.โจมตี เกี่ยวกับทิศทางที่ปลอดภัย ง. ถูกทุกข้อ
14.จุดที่ได้กาหนดอ้างทางภูมิศาสตร์บนพื้นดินหรือบนผิวน้าใช้เพื่อเป็นตาบลให้เครื่องบินหรือการส่งทางอากาศมาปรากฏที่นั้น
คือความหมายอย่างไร
ก. ที่ตั้งข้าศึก ข. จุดบินวน ค. ที่ตั้งฝุายเดียวกัน ง. ทิศทางการโจมตี
15.ในการปูอักษรรหัสบอกฝุายเมื่อ บ. ใกล้ถึงที่ตั้งหน่วย ใครต้องเป็นผู้สั่งให้ปูสัญญาณ
ก. นักบิน ข. ผบ.หน่วย ค. ผนอ. ง. หน.ชุดปูแผ่นผ้า

วิชาการสนับสนุนทางอากาศ

*ข้อใดไม่จัดว่าเป็นประเภทของการสนับสนุนโดยใกล้ชิด
ตอบ : การขัดขวางทางอากาศ
*ผู้ควบคุมอากาศยานหน้าคือใคร (FAC)
ตอบ :นายทหารอากาศ (นักบิน)
*ในการจัดหน่วยควบคุมทางอากาศยุทธวิธี จะมีชุดผู้ควบคุมอากาศยานหน้า (ชผคน)ที่จัดส่งออกไปปฏิบัติการร่วมกับหน่วยกาลัง
ภาคพื้น มีหน้าที่ให้คาแนะนาต่อ ผบ.หน่วยนั้นเกี่ยวกับการขอใช้กาลังทางอากาศและทาหน้าที่ส่งคาขอไปยังหน่วยเหนือที่มี
อานาจในการสั่งใช้กาลังทางอากาศ อยากทราบว่า ชผคน.จะจัดส่งไปหน่วยถึงหน่วยภาคพื้นระดับใด
ตอบ :กรมและกองพัน
*ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้นาอากาศยานหน้า FORWARD AIR GUIDE (FAG)
ตอบ : ผ่านการอบรมหน้าที่ ผนอ. (FAG)
*การพิสูจน์ฝุายเพื่อต้องการทราบว่าเป็นหน่วยทหารฝุายเดียวกันสิ่งที่ต้องแสดงนั้นอย่างไร
ตอบ : แผ่นผ้าสัญญาณ VS - 17 ปูเป็นตัวอักษร
*ในการเตรียมการในระหว่างรออนุมัติคาขอ และรออากาศยานมาสนับสนุน ผู้บังคับหน่วยจะต้องกระทา
สิ่งใดบ้าง
ตอบ :ดารงการติดต่อสื่อสารกับ ป. หน่วยเหนือ
* จุดที่ได้กาหนดอ้างทางภูมิศาสตร์บนพื้นดินหรือบนผิวน้าใช้เพื่อเป็นตาบลให้เครื่องบินหรือการส่งทางอากาศมาปรากฏที่นั้นคือ
ความหมายอย่างไร
ตอบ : จุดบินวน
* ในการปูอักษรรหัสบอกฝุายเมื่อ บ. ใกล้ถึงที่ตั้งหน่วย ใครต้องเป็นผู้สั่งให้ปูสัญญาณ
ตอบ : นักบิน
การดารงชีพในป่า

1.การทดสอบพืชที่กินได้ กระทาได้อย่างไร
ก. ชิมคอย
ข. สอบถามชาวบ้าน
ค.ดูจากสัตว์
ง. ถูกทุกข้อ
2. กาสร้างที่พักทางทหารกระทาได้ 2 วิธี คือ
ก. เร่งด่วน , ถาวร
ข. กึ่งถาวร , ถาวร
ค. กึ่งเร่ง , เร่งด่วน , ถาวร
ง. เร่งด่วน , กึ่งถาวร
3. การทาน้าให้สะอาดมีกี่วิธีอะไรบ้าง
ก. 3 วิธี ต้ม , ยาฆ่าเชื้อ , กรอง
ข. 3 วิธี ต้ม , กลั่น , ใส่ยาฆ่าเชื้อ 2 ชนิด
ค. 3 วิธี ยาฆ่าเชื้อ , กรอง , ซื้อติดตัว
ง. ผิดทุกข้อ
4. สิ่งสาคัญที่สุดในการดารงชีพในปุาได้แก่ ?
ก. การมีอาหารรับประทานสมบูรณ์ ข. การมีน้าดื่มที่ปลอดภัย
ค. การมีที่พักที่สุขสบาย ง. การมีกาลังใจและความตั้งใจอันแน่วแน่
5. ปุาในประเทศไทยเราสามารถแบ่งปุาไม้ออกตามลักษณะของปุาเป็น 2 ชนิดได้แก่ ?
ก. ปุาแดงและปุาดงดิบ ข. ปุาดงดิบและปุาผลัดใบ
ค. ปุาดงดิบและปุาเบญจพรรณ ง. ปุาดินน้าจืดและปุาดินน้าเค็ม
6. เมื่อเราอยู่ในปุาอันตรายที่จะเกิดกับเรามี 2 ประเภทได้แก่ ?
ก. น้าปุาและสัตว์ปุา ข. พืชที่เป็นพิษและสัตว์ปุา
ค. ธรรมชาติของปุาและทหารข้าศึก ง. กินอาหารที่เป็นพิษและไข้ปุา
7. ปัญหาใหญ่ๆ ของการดารงชีพ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก่ ?
ก. พืช, สัตว์, น้า ข. อาหาร, น้า, ที่พัก
ค. กาลังพล, อาวุธยุทโธปกรณ์, ยารักษาโรค ง. อาวุธ, เครื่องนุ่งห่ม, ที่พัก

8. การนอนในปุาที่ถูกต้องในการดารงชีพควรเลือกให้ทหารนอนอย่างไร ?
ก. นอนสูงกว่าพื้นดิน ข. นอนในพื้นที่โล่งแจ้ง
ค. นอนเอาศีรษะเข้าหาต้นไม้ใหญ่ๆ ง. นอนใกล้กองไฟ
9. การแสวงหาอาหารในปุาแบ่งออก 2 ชนิด ใหญ่ๆ คือ ?
ก. ในน้า,บนพื้นดิน ข. น้า, ที่พัก
ค. ในปุาดงดิบ,ในปุาโปร่ง ง. สัตว์,พืช
10. การแบ่งประเภทปัญหาใหญ่ๆซึ่งเกี่ยวกับการดารงชีพให้เหมาะสมกับภูมิภาคมีอยู่ด้วยกัน 4 ประการ คือ ?
ก. ชุดดารงชีพในปุา ข. ชุดดารงชีพในทะเล
ค. ชุดดารงชีพในทะเลทราย ง. ถูกทุกข้อ
11. วิธีการติดไฟในขณะที่เราอยู่ในปุาซึ่งไม่มีไม้ขีดไฟหรือไฟแช็คที่นาติดตัวไปวิธีการติดไฟที่ยากที่สุดได้แก่ชนิดใด ?
ก. หินและเหล็ก ข. ใช้ไม้ถูกัน
ค. กระจกและแสงแดด ง. ใช้เชือกปุาน ถูกับไม้
12. ร่างกายของคนเรามีต้องการน้า 1 คน/วันนั้น 2 - 5 ลิตรการทาน้าแสวงหาได้จากในปุาให้สามารถ ทาให้สามารถดื่มได้ด้วย
วิธีการใส่ยาฆ่าเชื้อ ฮาราโฮน 2 เม็ดต่อน้า 1 กระติก ควรใส่ยาแล้วทิ้งไว้กี่นาที ?
ก. 3 นาที ข. 10 นาที ค. 30 นาที ง. 40 นาที
13. ผลไม้และพืชต่างๆที่เราพบในปุาซึ่งจะนามาประกอบอาหารหรือกินนั้นมีวิธีปฏิบัติด้วยกัน 4 วิธีวิธีใดที่ไม่ปลอดภัย 100 %
การปฏิบัติ 4 วิธี ?
ก. สอบถามชาวบ้าน ข. ดูจากสัตว์
ค. ความคุ้นเคย ง. ชิมแล้วคอย
14.เรื่องที่สาคัญที่สุดในการดารงชีพอยู่ในปุา ซึ่งเป็นกุญแจที่จะนาไปสู่ความสาเร็จ 8 ประการ คือข้อใด ?
ก. SERVIVAL ข. SURVIVEL
ค. SURVIVAL ง. SEVRIVAL
15. พืชในประเทศไทยมีประมานกี่ชนิด
ก. สองแสนห้าหมื่นชนิด ข. สามแสนกว่าชนิด ค. นับไม่ถ้วน ง. ข้อ ก. และ ข. ถูกต้องที่สุด

การดารงชีพในป่า
*. เมื่อเราอยู่ในปุาอันตรายที่จะเกิดกับเรามี 2 ประเภทได้แก่
ตอบ : ธรรมชาติของปุาและทหารข้าศึก
* การนอนในปุาที่ถูกต้องในการดารงชีพควรเลือกให้ทหารนอนอย่างไร
ตอบ : นอนสูงกว่าพื้นดิน
* การแสวงหาอาหารในปุาแบ่งออก 2 ชนิด ใหญ่ๆ คือ
ตอบ : สัตว์,พืช
*วิธีการติดไฟในขณะที่เราอยู่ในปุาซึ่งไม่มีไม้ขีดไฟหรือไฟแช็คที่นาติดตัวไปวิธีการติดไฟที่ยากที่สุดได้แก่ชนิดใด
ตอบ : ใช้ไม้ถูกัน
*ร่างกายของคนเรามีต้องการน้า 1 คน/วันนั้น 2 - 5 ลิตรการทาน้าแสวงหาได้จากในปุาให้สามารถ ทาให้สามารถดื่มได้ด้วย
วิธีการใส่ยาฆ่าเชื้อ ฮาราโฮน2 เม็ดต่อน้า 1 กระติก ควรใส่ยาแล้วทิ้งไว้กี่นาที
ตอบ : 30 นาที
*ผลไม้และพืชต่างๆที่เราพบในปุาซึ่งจะนามาประกอบอาหารหรือกินนั้นมีวิธีปฏิบัติด้วยกัน 4 วิธีวิธีใดที่ไม่ปลอดภัย 100 % การ
ปฏิบัติ 4 วิธี
ตอบ : ชิมแล้วคอย
* เรื่องที่สาคัญที่สุดในการดารงชีพอยู่ในปุาซึ่งเป็นกุญแจที่จะนาไปสู่ความสาเร็จ 8 ประการ คือข้อใด
ตอบ : SURVIVAL
* พืชในประเทศไทยมีประมาณกี่ชนิด
ตอบ : สามแสนกว่าชนิด
วิชาครูทหาร
๑. ข้อใดเป็นเหตุผล และความจาเป็นที่ต้องศึกษาวิชาครูทหาร?
ก. เพราะเป็นวิชาที่เรียนง่าย ข. เพื่อความก้าวหน้าทางราชการ
ค. เพื่อเป็นหลักในการอบรมสั่งสอนผู้อื่น ง. เพื่อให้มีความรู้ขั้นต้น
๒.การจะเป็นครูที่ดีและประสบความสาเร็จนั้น จะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร สาคัญที่สุด ?
ก. มีความรู้กว้างขวางทุกวิชาและประสบการณ์ในสนามมาก
ข. มีความรู้ในบทเรียนที่สอนและมีเทคนิคการสอนดี
ค. สอนแบบเดิม ที่รุ่นพี่เคยสอน
ง.ควรมียศและตาแหน่งสูงกว่าผู้เรียน
๓.ลักษณะของครูที่ดีประการหนึ่งคือ จะต้องมีวิญญาณครู คาว่า “วิญญาณครู” นั้นมีความหมายตรงกับ
ของใด?
ก. มีบุคลิกลักษณะเหมาะสมที่จะเป็นครู ข. มีความสามารถในการสอนเป็นอย่างดี
ค. มีจิตรักการสอนและพอใจในอาชีพครู ง. เป็นผู้คงแก่เรียน
๔. การฝึกภาคสนามของหลักสูตรต่างๆ นั้น เป็นการนาเอาหลักการสอนข้อใดมาใช้มากที่สุด ?
ก. การเร้าใจ ข.ความสมจริง ค. ความรู้เดิม ง. การกระตุ้น
๕. องค์ประกอบของการกล่าวนาที่ต้องนามากล่าวเสมอในครั้งแรกของการสอน คืออะไร ?
ก. การแนะนาอุปกรณ์การสอน ข. การแนะนาตัวครู
ค.ความมุ่งหมายและเหตุผลในการเรียน ง. ต้องกล่าวทั้งหมดทุกข้อ

๖. วิธีสอนมีอยู่หลายวิธี การเลือกใช้วิธีการสอนแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับปัจจัยในเรื่องอะไรบ้าง ?


ก.จานวนนักเรียน ข.ความรู้เดิม
ค. พื้นฐานความรู้ของนักเรียน ง. ต้องพิจารณาทุกข้อที่กล่าวมา
๗. วิธีการสอนแบบใด ที่ไม่ทาให้เกิดความสนใจ และไม่ส่งเสริมให้นักเรียนมีทัศนคติในการเรียน?
ก. วิธีสอนแบบเชิงแสดง ข. วิธีสอนแบบเชิงประชุม
ค.วิธีสอนเชิงบรรยาย ง. ทุกวิธีที่กล่าวมา
๘.ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับการพูดของครู ?
ก. พูดเช่นเดียวกับการให้โอวาท ข. จังหวะการพูดต้องสม่าเสมอ
ค. พูดเช่นเดียวกับการพูดสนทนา ง. ระดับเสียงในการพูดต้องสม่าเสมอ
๙. ผู้ที่ทาหน้าที่ครูจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในเรื่องที่สอน มีเทคนิคการสอนที่ดี และที่สาคัญคือ
จะต้องมีศิลปะในการพูดที่ดีด้วย ดังนั้น การพูดจึงเป็นการสร้างสัมผัสที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน อยาก
ทราบว่า “การสร้างสัมผัสระหว่างครูกับนักเรียน” ตรงกับข้อใด ?
ก. พูดเมื่อนักเรียนตั้งใจฟัง
ข. เตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี
ค. มีทัศนคติที่ดี
ง. เตรียมการกล่าวนามาเป็นอย่างดี
๑๐.ในการเตรียมการสอนของครู เรื่องใดๆ นั้น สิ่งแรกที่ครูจะต้องนามาพิจารณา คืออะไร ?
ก. การทาแบบการสอน ข. วิธีดาเนินการสอน
ค. เอกสารหรือหลักฐานอ้างอิง ง.ความมุ่งหมายของบทเรียน
๑๑.แผนการสอน ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด ?
ก. เพื่อใช้เป็นคู่มือการสอน ข. เพื่อให้สามารถสอนแทนกันได้
ค. เพื่อใช้เป็นตารามาทาการสอน ง. เพื่อใช้เป็นหลักฐานการรับตรวจ
๑๒. หลังจากทาแผนการสอนเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะต้องทาอะไรก่อนทาการสอน ?
ก. เข้าสอนได้ทันที ข. เตรียมหลักฐานทางธุรการให้เรียบร้อย
ค. ต้องมีการตรวจสอบครั้งสุดท้าย ง. ต้องมีการสักซ้อมทดลอง
๑๓.“ครูจะต้องเป็นผู้ที่สามารถนาเอาหลักการ วิธีการและเทคนิคการสอนต่างๆ ไปใช้ให้บังเกิดผลดี” ข้อความ
ดังกล่าวอยู่ในคุณลักษณะครูที่ดีข้อใด?
ก. มีความรู้ในบทเรียนที่สอน ข. มีบุคลิกลักษณะในการเป็นผู้นา
ค. มีความรู้ในเทคนิคการสอน ง. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพครู
๑๔.การสอนวิธีใดๆ ก็ตาม แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ กล่าวนา อธิบาย และสรุป หรือ ทบทวน อยากทราบว่า
การกล่าวนากระทาเพื่อความมุ่งหมายอะไร ?
ก.ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน ข. กล่าวเปิดการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
ค. กล่าวในสิ่งที่ดีตื่นเต้น ง. บอกเกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
๑๕. วิธีสอนแบบใด เร้าใจให้นักเรียนสนใจ และระวังตัวเพื่อตอบคาถามอยู่ตลอดเวลาที่ครูสอน ?
ก. วิธีสอนเชิงบรรยาย ข. วิธีสอนเชิงประชุม
ค. วิธีสอนแบบเชิงแสดง ง. วิธีสอนแบบอภิปราย
๑๖.แผนบทเรียนอย่างน้อยต้องประกอบด้วยกี่ส่วน ?
ก. ๔ ส่วน ข. ๓ ส่วน
ค. ๒ ส่วน ง. ๑ ส่วน

๑๗.เมื่อท่านได้ศึกษาหลักของวิชาครูจบลงแล้ว อยากทราบว่าสิ่งที่ท่านจะได้รับอะไรต่อไปในชีวิต ?
ก. ความเป็นครู ข. ความก้าวหน้า
ค. ความรอบรู้ด้านวิชาการ ง. ความมั่นใจ
๑๘. หลักการสอนที่ว่าด้วย “บอกความมุ่งหมาย” จะนามาใช้ในขั้นตอนใดขณะทาการสอน ?
ก. ขั้นตอนการกล่าวนา ข. ขั้นการอภิปราย
ค. ขั้นการสรุป ง. ขั้นตอนไหนก็ได้แล้วแต่โอกาส
๑๙. ขณะทาการสอนหรือเมื่อสอนจบบทเรียนแล้ว นักเรียนถามคาถามว่า จานวนคาถามจะเป็นเครื่องบ่งชี้ถึง
เรื่องอะไรมากที่สุด ?
ก. บทเรียนนั้นเป็นเรื่องที่ยากมาก ข. บทเรียนนั้นครูสอนได้ดีมาก
ค.´บทเรียนนั้นมีความสาคัญมาก ง. นักเรียนสนใจเรียนในวิชานั้น
๒๐. แบบหรือวิธีการสอน ที่ใช้ในเนื้อหา จะมีทั้งหมดกี่แบบ ?
ก. ๒ แบบ ข. ๓ แบบ
ค. ๔ แบบ ง. ๕ แบบ
วิชาครูทหาร
*ข้อใดเป็นเหตุผล และความจาเป็นที่ต้องศึกษาวิชาครูทหาร
ตอบ : เพื่อเป็นหลักในการอบรมสั่งสอนผู้อื่น
*การจะเป็นครูที่ดีและประสบความสาเร็จนั้น จะต้องมีคุณลักษณะอย่างไร สาคัญที่สุด
ตอบ : มีความรู้ในบทเรียนที่สอนและมีเทคนิคการสอนดี
*ลักษณะของครูที่ดีประการหนึ่งคือ จะต้องมีวิญญาณครู คาว่า “วิญญาณครู” นั้นมีความหมายตรงกับ
ของใด
ตอบ :มีจิตรักการสอนและพอใจในอาชีพครู
*หลักการสอนที่ว่าด้วย “บอกความมุ่งหมาย” จะนามาใช้ในขั้นตอนใดขณะทาการสอน
ตอบ :ขั้นตอนการกล่าวนา
*ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับการพูดของครู
ตอบ :พูดเช่นเดียวกับการพูดสนทนา
* ผู้ที่ทาหน้าที่ครูจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในเรื่องที่สอน มีเทคนิคการสอนที่ดี และที่สาคัญคือจะต้องมีศิลปะใน
การพูดที่ดีด้วย ดังนั้น การพูดจึงเป็นการสร้างสัมผัสที่ดีระหว่างครูกับนักเรียน อยากทราบว่า “การสร้างสัมผัสระหว่างครูกับ
นักเรียน” ตรงกับข้อใด
ตอบ :เตรียมการกล่าวนามาเป็นอย่างดี
*ในการเตรียมการสอนบทเรียนเรื่องใดนั้น สิ่งแรกที่ครูจะต้องนามาพิจารณา คืออะไร
ตอบ :ความมุ่งหมายของบทเรียน
*เปูาหมายหรือแนวทางซึ่งผู้บังคับบัญชาได้นามาใช้ในการวางแผน ที่เน้นผลการปฏิบัติจะเริ่มต้นและจบลงที่ใด
ตอบ :วัตถุประสงค์ในการฝึก
* หลังจากทาแผนการสอนเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปจะต้องทาอะไรก่อนทาการสอน
ตอบ :ต้องมีการตรวจสอบครั้งสุดท้าย
*หน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องการฝึกนั้น ผู้อานวยการฝึก คือ ผู้ที่รับผิดชอบในเรื่อง การวางแผนการฝึก , การจัด
ระเบียบการฝึก , การดาเนินการฝึกและการประเมินผลการฝึก ส่วนผู้ฝึกหรือครูฝึกมีหน้าที่แตกต่างจากผู้อานวยการฝึกในเรื่อง
อะไร
ตอบ :การเตรียมการฝึก
วิชาผู้นาทางทหาร
๑. เครื่องชี้ความเป็นผู้นามีอยู่ด้วยกันหลายประการ อยากทราบว่าข้อใดไม่ใช่เครื่องชี้ความเป็นผู้นา?
ก. วินัย
ข.กล้าหาญ
ค. ขวัญ
ง. สมรรถภาพ
๒. ข้อความใดมีความหมายตรงกับคาว่า “ความรักหมู่คณะ” ?
ก.ความจงรักภักดี ความภาคภูมิใจ ความศรัทราต่อหน่วยและบุคคลที่อยู่ร่วมกัน
ข.ความจงรักภักดี ความภาคภูมิใจ ความศรัทราในตัวผู้นาและหน่วยที่มีประสิทธิภาพ
ค.ความจงรักภักดี ความภาคภูมิใจ ความศรัทราต่อหน่วยที่สมาชิกแต่ละบุคคลของหน่วย
แสดงออกให้เห็น
ง.ความจงรักภักดีที่บุคคลในหน่วยมีให้ซึ่งกันและกัน
๓. “ความเป็นผู้เชื่อถือได้” มีความหมายตรงกับข้อใด?
ก. ได้รับความไว้วางใจและความเชื่อถือจากสังคม
ข. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความถูกต้อง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
ค.การได้รับความไว้วางใจในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
ง. ปฏิบัติงานตามหน้าที่ให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
๔. บุคคลที่สามารถปฏิบัติงานได้ทุกสภาวะและตัดใจจากสิ่งยั่วยุได้ จึงนาไปสู่ความสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไม่
ว่าจะอยู่สภาพแวดล้อมใดๆ ก็ตามบุคคลเช่นนี้มีคุณลักษณะของผู้นาเรื่องใด ?
ก.ความอดทน
ข. ความเด็ดขาด
ค. ความกล้าหาญ
ง. ทุกข้อที่กล่าวมา
๕. ผู้นาที่ไม่หาความสะดวกสบายและความก้าวหน้าให้กับตนเองจากความเดือดร้อนของผู้อื่นและ
ผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นคุณลักษณะของผู้นาข้อใด?
ก. ความจงรักภักดี
ข. ความซื่อสัตย์
ค. ความไม่เห็นแก่ตัว
ง. ความยุติธรรม
๖. ข้อใดเป็นอานาจหน้าที่ตามกฎหมายของแต่ละบุคคลในหน่วยทหาร ที่มีต่อผู้ใต้บังคับบัญชาชั้นยศ
และอานาจที่ได้รับมอบ ?
ก. ผู้นา ข. ผู้บังคับบัญชา
ค. การบังคับบัญชา ง. การจัดการ
๗. ข้อใดเป็นรากฐานของพฤติกรรม?
ก.ความต้องการบังคับบัญชา ข.ความต้องอันเกิดจากการเรียน
ค. ความต้องการรวมกลุ่ม ง. ถูกทุกข้อ
๘. ผู้นาอาศัยหลักเกณฑ์อะไรเพื่อเป็นเครื่องบ่งบอกผลการปฏิบัติงานของหน่วยว่าจะสาเร็จหรือล้มเหลว ?
ก. หลักการผู้นา ข. คุณลักษณะผู้นา
ค. เครื่องชี้วัดความเป็นผู้นา ง. พฤติกรรมมนุษย์
๙. ความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาการของโลก นั้นจะเจริญก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้งและมีการ
พัฒนาให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไปตลอดเวลา ท่านจะพิจารณาคุณลักษณะของผู้นาในเรื่องใดจึงจะได้ชื่อ
ว่าเป็นผู้นาที่ทันสมัย?
ก.ความรู้
ข. กาลเทศะ
ค. ความกระตือรือร้น
ง. ความเป็นผู้เชื่อถือได้
๑๐. การปกครองบังคับบัญชาอย่างตรงไปตรงและ ไม่มีอคติต่อผู้บังคับบัญชาคนใด ด้วยความเสมอภาค
การ ปฏิบัติเช่นนี้ตรงกับ คุณลักษณะผู้นาเรื่องใด?
ก. ความจงรักภักดี
ข. ความกล้าหาญ
ค.ความไม่เห็นแก่ตัว
ง.ความยุติธรรม
๑๑. ข้อใด ผู้นาไม่ควรนาใช้มากที่สุดในการจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา ?
ก. การให้รางวัลควรให้ในเวลามีการประชุมชี้แจง
ข. การตาหนิควรตาหนิในที่ประชุมเท่านั้น เพื่อให้ทราบด้วยทั่วกัน
ค. การให้รางวัลควรใช้เป็นคาชมเชยมากกว่าเป็นสิ่งของ
ง. การตาหนิควรเรียกมาตาหนิสองต่อสอง
๑๒. คาพูดที่ว่า “ ไม่ฆ่าน้อง ไม่ฟูองนาย ไม่ขายเพื่อน” ไม่นาปัญหาส่วนตัวของผู้ใต้บังคับบัญชาของตน
ไปนินทาให้ผู้อื่นฟัง ไม่วิพากษ์วิจารณ์ผู้บังคับบัญชาของตนต่อหน้าผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นคุณลักษณะ
ผู้นาเรื่องใด?
ก.กาลเทศะ
ข.วิจารณญาณ
ค.ความจงรักภักดี
ง.การไม่เห็นแก่ตัว
๑๓.เครื่องชี้ความเป็นผู้นาเป็นสิ่งที่จะชี้ให้เห็นถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลวในการเป็นผู้นาทางทหาร
นั้นได้แก่อะไรบ้าง?
ก.สมรรถภาพ
ข.หลักการของผู้นา
ค.คุณลักษณะของผู้นา
ง.พฤติกรรมของมนุษย์
๑๔. การปฏิบัติตนยึดมั่นอยู่ในหลักธรรมและรักษาสัจจะวาจาโดยสม่าเสมอพูดสิ่งใดก็ปฏิบัติตามนั้นเป็น
คุณลักษณะของผู้นาเรื่องใด ?
ก. วิจารณญาณ
ข. ความอดทน
ค. ความยุติธรรม
ง.ความซื่อสัตย์
๑๕. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของความเป็นผู้นา ?
ก.ตัวผู้นา สิ่งแวดล้อม สถานการณ์
ข.ตัวผู้นา หน่วยทหาร สถานการณ์
ค. ตัวผู้นา หน่วยทหาร สิ่งแวดล้อม
ง. ตัวผู้นา พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม
๑๖.ถ้ากาลังพลในหน่วยงานของท่านมีขีดความสามารถในการปฏิบัติงานตามหน้าที่หรือภารกิจที่ได้รับ
มอบอยู่ในระดับมาตรฐานที่สูง แสดงว่าหน่วยของท่านมีสถานภาพอย่างไร?
ก.มีความรักหมู่คณะ
ข.มีขวัญดี
ค.มีวินัยดี
ง.มีสมรรถภาพดี
๑๗. ความเป็นผู้นาทางทหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ที่จะจูงใจและอานวยการให้ทหารปฏิบัติภารกิจสาเร็จ
โดยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตอบสนองอย่างไร ?
ก. เอาอกเอาใจเรา
ข. ประจบสอพลอและเอาของกานัลมาให้
ค. เชื่อฟัง นับถือและร่วมมืออย่างจริงใจ
ง. ปฏิบัติงานตามคาสั่ง
๑๘.การสร้างความประทับใจ ให้เป็นที่นิยมของผู้อื่นอยู่ตลอดเวลา ทั้งกาย วาจา ใจ คือข้อใด?
ก.การวางท่าทาง
ข.ความยุติธรรม
ค.สมรรถภาพ
ง.การยอมรับนับถือ
๑๙. บุคลิกลักษณะของบุคคลย่อมจะไม่เหมือนกันจะเปลี่ยนแปลงไปได้ทุกเวลา ปัจจัยต่างๆที่จะก่อให้เกิด
บุคลิกลักษณะมีอะไรบ้าง?
ก.ประสบการณ์ กรรมพันธุ์ สถานการณ์
ข.สิ่งแวดล้อม ประสบการณ์ สถานการณ์
ค.กรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม ประสบการณ์
ง.กรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม สถานการณ์
๒๐. ข้อใด คือ ตัวกาหนดที่จะเป็นผู้นาที่ดีและไม่ดี ?
ก.มนุษยสัมพันธ์
ข.ต้นทุนชีวิต
ค.จิตสานึกของบุคคล
ง.ความต้องการทางร่างกาย
วิชา ผู้นาทางทหาร

*ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์สุดท้ายของความเป็นผู้นาทางทหาร
ตอบ : การปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดีโดยสิ้นเปลืองเครื่องมือและเวลาน้อยที่สุด
*ข้อใดมีความหมายตรงกับคาว่า “วินัย”
ตอบ :ทัศนคติของบุคคลหรือกลุ่มของบุคคลที่พร้อมจะเชื่อฟังคาสั่งในทันที และมีความริเริ่มที่จะปฏิบัติในกรณีที่ไม่ได้รับ
คาสั่ง
*คาว่า “สมรรถภาพ” มีความหมายตรงกับข้อความใด
ตอบ :ขีดความสามารถของบุคคลและของหน่วยทั้งในทางเทคนิค ทางยุทธวิธี และทางร่างกาย
*บุคลิกลักษณะของบุคคลย่อมจะไม่เหมือนกันจะเปลี่ยนแปลงไปได้ทุกเวลา ปัจจัยต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดบุคลิกลักษณะมีอะไรบ้าง
ตอบ :กรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม ประสบการณ์
*ความต้องการขั้นมูลฐานของมนุษย์มีอะไรบ้าง
ตอบ :ความต้องการทางกาย ความต้องการอันเกิดจากการเรียนรู้
*ความต้องการอันเกิดจากการเรียนรู้ที่สาคัญมีอะไรบ้าง
ตอบ :ความปลอดภัย ความยินยอมของสังคม การยอมรับนับถือ
* “ความจงรักภักดี” มีความหมายตรงกับข้อใด
ตอบ :เป็นคุณสมบัติของความซื่อสัตย์ที่มีต่อประเทศชาติ กองทัพบก หน่วยของตน ผู้อาวุโส
ผู้ใต้บังคับบัญชา มิตรสหาย
*ผู้นาที่ไม่หาความสะดวกสบาย และความก้าวหน้าให้กับตนเองจากความเดือดร้อนของผู้อื่นเป็นคุณลักษณะของผู้นาข้อใด
ตอบ : ความไม่เห็นแก่ตัว
*ในขณะที่กาลังเผชิญหน้าอยู่ในภาวะคับขันและอันตราย แต่สามารถควบคุมจิตใจตนเองให้ปฏิบัติงานต่อ
ไปได้อย่างไม่สะทกสะท้าน ผู้นาเรื่องนั้นมีคุณลักษณะผู้นาเรื่องใด
ตอบ :ความกล้าหาญ
*ผู้ใต้บังคับบัญชาของท่านคนหนึ่งปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง และได้รับความไว้วางใจตลอดมา
ท่านว่าผู้ใต้บังคับบัญชาของท่านคนนั้นมีคุณลักษณะผู้นาเรื่องใด
ตอบ :ความเป็นผู้เชื่อถือได้
วิชาการอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ
1. รูปลายเส้นที่เขียนแสดงผิวพื้นพิภพ ลงบนพื้นราบตามมาตราส่วน สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและที่ปรากฏตามธรรมชาติจะแสดง
ด้วยสัญลักษณ์เส้นและสี เป็นความหมายของอะไร ?
ก. สัญลักษณ์ของแผนที่ ข. สัญลักษณ์ทางทหาร
ค. แผนที่ ง. ถูกทุกข้อ
2. แผนที่ที่มีใช้อยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งได้กี่ประเภท ?
ก. 3 ประเภท ข. 5 ประเภท
ค. 7 ประเภท ง. ไม่มีข้อถูก
3.ข้อใดมีความหมายเช่นเดียวกับคาว่า “เส้นละติจูด” ?
ก. เส้นรุ้ง, เส้นแวง ข. เส้นลองติจูด, เส้นแวง
ค. เส้นขนาน, เส้นลองติจูด ง. เส้นรุ้ง, เส้นขนาน
4. แผนที่ที่มีใช้อยู่ในประเทศไทย ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด ?
ก. 1 : 25,000 มีอยู่ทุกจังหวัด ข. 1 :50,000 มีอยู่ 830 ระวาง
ค. 1 : 250,000 มีอยู่ 53 แผ่น ง. ถูกทุกข้อ
5. แผนที่ที่เหมาะแก่การใช้รบในเมือง คือแผนที่อะไร ?
ก. L 9013 ข. แผนที่ตัวเมือง
ค. 1 : 12,500 ง. ถูกทุกข้อ
6. ข้อใดไม่ใช่สีที่ใช้เขียนสัญลักษณ์บนแผนที่ ?
ก. สีน้าเงิน (ฟูา) ข. สีเหลือง
ค. สีเขียว ง. สีน้าตาลแดง
7. ในปัจจุบันประเทศไทยได้ปรับปรุงแก้ไขแผนที่ชุดล่าสุดออกมาใช้งานเพื่อให้เกิดความทันสมัยและมีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น มี
ชื่อว่าอะไร ?
ก. L 7018 ข. 1501
ค. L 8019 ง. L 9013
8. แผนที่ชุดปัจจุบัน มาตราส่วน 1 : 50,000 ที่มีการปรับปรุงแก้ไขโดยใช้พื้นหลักฐานอ้างอิงทางราบ WGS– 84 จะมี
หมายเลขระวางเหมือนเดิม แต่ชื่อระวางอาจเปลี่ยนไปเนื่องจากสาเหตุอะไร ?
ก. มีการเลื่อนขอบระวาง ข. ขอบเขตของแผนที่เลื่อนไปจากเดิม
ค. มีการเปลี่ยนระบบในการจัดทา ง. ขนาดแผนที่ใหญ่ขึ้นกว่าเดิม
9. ในการศึกษาเรื่องรายละเอียดขอบระวาง เพราะสาเหตุใดจึงหยิบยกแผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 มาเป็นแนวทาง ?
ก. หน่วยทหารส่วนใหญ่ใช้แผนที่ 1 : 50,000
ข. มีรายละเอียดมากกว่าแผนที่อื่นๆ และศึกษาทาความเข้าใจง่าย
ค. มีความชัดเจนเนื่องจากแผนที่ 1 : 50,000 มีความเป็นมาตรฐานในรายละเอียดค่อนข้างสูง ง.
ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
10. จะปรากฏอยู่ที่กึ่งกลางขอบระวางด้านบนและด้านล่างทางซ้าย ปกติใช้ชื่อภูมิประเทศเด่นทางภูมิศาสตร์หรือสื่อทาง
ธรรมชาติ หรือใช้ชื่อเมืองที่ใหญ่ เป็นความหมายของคาว่าอะไร ?
ก. ชื่อชุด ข. ชื่อมาตราส่วน
ค. ชื่อระวาง ง. หมายเลขลาดับชุด
11. เส้นขนาน คือเส้นวงกลมเล็กที่ลากรอบโลก และขนานกับเส้นศูนย์สูตร อยากทราบว่าเส้นขนานแต่ละเส้นมีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. 15 องศา ข. 8 องศา
ค. 6 องศา ง. 1 องศา
12. เส้นเมอริเดียน คื อเส้นที่ลากเชื่อมโยงระหว่างขั้วโลกเหนือกับขั้วโลกใต้ โดยที่ปลายของเส้นจะบรรจบกันที่ขั้วโลกทั้งสอง
อยากทราบว่าเส้นเมอริเดียนรอบโลกมีกี่เส้น ?
ก. 360 เส้น ข. 180 เส้น
ค. 90 เส้น ง. ถูกทุกข้อ
13. ตามราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 36 เมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2462 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 เม.ย. 2463 กาหนดให้เวลาสาหรับ
กรุงสยามทั่วราชอาณาจักรเป็น 7 ชม. ก่อนเวลากรีนิช ตรงกับสมัยรัชกาลที่เท่าไร ?
ก. รัชกาลที่ 5 ข. รัชกาลที่ 6
ค. รัชกาลที่ 7 ง. ไม่มีข้อถูก
14.ในการทาแผนที่ระบบ UTMกริด ได้แบ่งโลกออกเป็นกี่โซน ?
ก. 15 โซน ข. 30 โซน
ค. 45 โซน ง. 60 โซน
15. มาตราส่วนสามารถแยกแผนที่ทางทหารได้กี่ขนาด ?
ก. 4 ขนาด ข. 3 ขนาด
ค. 2 ขนาด ง. ถูกทุกข้อ
16. การเขียนมาตราส่วนของแผนที่ข้อใดถูกต้อง?
ก. 1 ข. 1/50,000
50,000
ค. 1 : 50,000 ง. ถูกทุกข้อ
17.ทิศมีอยู่ทั้งหมด 8 ทิศ อยากทราบว่าทิศแต่ละทิศทามุมเท่ากันกี่องศา ?
ก. 120 องศา ข. 90 องศา
ค. 45 องศา ง. 30 องศา
18. การหาความสูงสาหรับประเทศไทย ใช้พื้นระดับน้าทะเลปานกลาง โดยเลือกที่เกาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ใช้
ระยะเวลาในการคิดคานวณ 5 ปี มีค่าเฉลี่ยความสูงเท่าไร ?
ก. 1.4477 เมตร ข. 1.7744 เมตร
ค. 1.4747 เมตร ง. ไม่มีข้อถูก
19. ในแผนที่แต่ละระวางของประเทศไทย ผู้ใช้แผนที่จะเห็นได้ว่า.....เมื่อทาการวัดมุมหรือขีดมุมบนแผนที่ทุกครั้ง ไม่ต้องนาค่า
มุมกริดแม่เหล็กมาคิดคานวณเลย ทั้งนี้เป็นเพราะสาเหตุอะไร ?
ก. ทิศเหนือแม่เหล็กกับทิศเหนือกริดเป็นทิศเดียวกัน
ข. ทิศเหนือกริดกับทิศเหนือจริงเป็นทิศเดียวกัน
ค. ประเทศไทยมีเส้นแรงแม่เหล็กที่มีค่าเบี่ยงเป็น 0 (ศูนย์)
ง. ถูกทุกข้อ
20. จากหลักฐานที่ได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร อยากทราบว่าประเทศใดมีการใช้เข็มทิศเป็นประเทศแรกของโลก ?
ก. ประเทศอิตาลี ข. ประเทศจีน
ค. ประเทศอเมริกา ง. ประเทศสวีเดน
วิชา การอ่านแผนที่

*ทิศทางหลัง เป็นทิศทางที่ใช้เป็นแนวเริ่มต้นในการวัด มี ๓ ชนิด ได้แก่ ทิศเหนือจริง (รูปดาว),ทิศเหนือกริด(อักษรGN) และทิศ


เหนือแม่เหนือแม่เหล็ก(หัวลูกศรผ่าซีก) อยากทราบว่าทิศเหนือจริง ใช้รูปดาวอะไร
ตอบ : ดาวเหนือ
*ที่หน้าปัดเข็มทิศ เป็นแผ่นใสลอยตัวอยู่บนแกน และหมุนไปมาได้ ซึ่งมีมาตราวัดมุมภาคทิศเหนือ อยู่ ๒ ชนิด อยากทราบว่าที่
มาตราวัดมุมเป็นองศา มีค่าตัวเลขเขียนกากับไว้ช่วงละเท่าไร
ตอบ : ๒๐ องศา
*เส้นชั้นความสูงที่เขียนด้วยเส้นประทั้งเส้น มีทั้งหลักและรองเขียนแสดงพื้นที่บริเวณที่ได้ข้อมูลจากภาพถ่ายทางอากาศไม่
สมบรูณ์หรือบริเวณที่บินถ่ายภาพทางอากาศไม่ได้ เป็นความหมายของเส้นชั้นความสูงอะไร
ตอบ : เส้นชั้นความสูงโดยประมาณ
*การกาหนดจุดที่อยู่ ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ตอบ : การกาหนดจุดที่อยู่ของตนเอง และการกาหนดจุดที่อยู่ของที่หมาย
* แผนที่ที่มีใช้อยู่ในกองทัพบก ซึ่งอยู่ใน อจย. ของหน่วย อยากทราบ ว่าหน่วยใดเป็นผู้รับผิดชอบ
ตอบ : กองบัญชาการกองทัพไทย
* การกาหนดจุดที่หมายลงบนแผนที่โดยวิธีโปล่า เป็นวิธีที่เหมาะอะไร
ตอบ : หน่วยขนาดเล็กที่ปฏิบัติการในสนาม
*จากโครงการร่วมมือกันระหว่างประเทศไทย กับประเทศสหรัฐอเมริกา ทาให้ประเทศไทยได้มีแผนที่ภูมิประเทศ ชุดแรกใช้
โดยกรมแผนที่ทหารเป็นผู้รับผิดชอบ อยากทราบว่า กรมแผนที่ทหารสังกัดอยู่หน่วยงานใด
ตอบ : กองบัญชาการกองทัพไทย
* ทาการแบ่งโลกออกเป็นพื้นที่กว้าง ๖ องศา ตะวันตก – ตะวันออก และยาว ๘ องศาเหนือ – ใต้ จากนั้นกาหนดด้วย “เลขและ
อักษร” เรียกว่าอะไร
ตอบ : เลขอักษรประจากริดโซน
* การอ้างกริดทางทหาร (อ่านพิกัดกริด) ที่ถูกต้อง อย่างน้อยต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ : อักษรประจาจัตุรัส ๑๐๐,๐๐๐ เมตร และเลขพิกัดที่ต้องการ
* ครอบหน้าปัดเข็มทิศ ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ตอบ : กระจกที่มีขีดพรายน้า กับวงแหวนมีร่องอยู่ ๑๒๐ ร่อง
* การวัดมุมภาคทิศเหนือ ด้วยวิธีจับเพื่อยกขึ้นเล็ง มีวิธีการปฏิบัติอย่างไร
ตอบ : ยกเข็มทิศให้อยู่ในระดับสายตา เล็งผ่านช่องเล็งหลังตรงไปยังเส้นหน้า และที่หมาย
การเล็ดลอดหลบหนี
1. ความมุ่งหมายของการเล็ดลอดหลบหนี เพื่อให้ทราบหลักการในข้อใด ?
ก. เมื่อตนเองหรือหน่วยถูกตัดขาดจากกาลังส่วนใหญ่
ข. เมื่อตนอยู่ในเขตหลังของข้าศึก
ค. เมื่อตกเป็นเชลยศึก
ง. ทุกข้อที่กล่าวมา
2. การปลอมแปลง ปิดบัง โดยการเดินทางปะปนไปกับพลเรือน เป็นการเล็ดลอดหลังแนววิธีใด ?
ก. โดยการแทรกซึม ข. เล็ดลอดโดยการลวง
ค. ปฏิบัติการแบบกองโจร ง. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
3. การเล็ดลอดชนิดใด ปฏิบัติต่อจากการหลบหนี
ก. ระยะใกล้ ข. ระยะไกล
ค. แทรกซึม ง. การรบแบบกองโจร
4. การตกลงใจทาการตั้งรับณที่มั่นปัจจุบันต้องอาศัยปัจจัยอะไรบ้าง ?
ก. เวลา, ลักษณะภูมิประเทศ, ลมฟูาอากาศ
ข. สถานการณ์, กาลังข้าศึก, ภารกิจ
ค. กาลังฝุายเรา, กาลังฝุายข้าศึก, ลักษณะภูมิประเทศ
ง. เวลา, ข่าวสารเกี่ยวกับข้าศึก, สป.ต่าง ๆ , กาลังที่จะทาการต้านทาน ณ ที่มั่นตั้งรับ
5. การเล็ดลอดหมายถึง ?
ก. การปฏิบัติทุกวิถีทางเพื่อให้พ้นจากที่คุมขัง
ข. การปฏิบัติทุกวิถีทางเพื่อให้พ้นจากการทรมาน
ค. การปฏิบัติทุกวิถีทางเพื่อให้พ้นจากการถูกจับ
ง. การปฏิบัติทุกวิถีทางเพื่อให้พ้นจากพื้นที่การรบ
6. เมื่อท่านตกเป็นเชลยศึกควรตอบคาถามในเรื่องอไรบ้าง ?
ก. ยศ, ชื่อ, สกุล, หมายเลขประจาตัว
ข. ยศ, ชื่อ, สกุล, ภูมิลาเนา, หมายเลขประจาตัว
ค. ยศ, ชื่อ, สกุล, ภูมิลาเนา, สังกัด, หมายเลขประจาตัว
ง. ยศ, ชื่อ, สกุล, วันเดือนปีเกิด, หมายเลขประจาตัว
7. การวางแผนในการเล็ดลอดหลบหนีวิธีแทรกซึมจะอาศัยปัจจัยที่สาคัญอะไรบ้าง ?
ก. ที่อยู่ปัจจุบัน, การวางกาลังของข้าศึก, ทัศนวิสัย, สมรรถภาพของผู้เล็ดลอด
ข. เวลา, ข้าศึก, ภูมิประเทศ, ลมฟูาอากาศ
ค. เวลา, ข้าศึก, ขวัญ, ทัศนวิสัย
ง. ข้าศึก, ภูมิประเทศ, ลมฟูาอากาศ
8. การปฏิบัติการเล็ดลอดหลบหนี ทบ.ได้มอบความรับผิดชอบให้กับหน่วยใด ?
ก. ขว.ทบ. ข. ขกท.ทบ.
ค. นสศ. ง. ศปก.ทบ.
9. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ไม่คิดจะหลบหนี ?
ก. ขาดการฝึก ข. ไม่วางแผน
ค. ความเพิกเฉย ง. ความหวาดกลัว
10. ข้อใดไม่ใช่คุณค่าของการหลบหนี ?
ก. อิสระภาพ ข่าวสารทางทหาร ข. เพิ่มกาลังให้ฝุายเดียวกันควบคุมไว้
ค. บัน่ ทอนกาลังรบข้าศึกให้เกิดความวุ่นวาย ง. ทาให้ข้าศึกขวัญต่า
11.ประเภทของการเล็ดลอดแบ่งออก 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง ?
ก. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทระยะยาว
ข. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทหลังแนวรบ
ค. 1.ประเภทระยะใกล้ 2.ประเภทระยะไกล
ง. 1.ประเภทใกล้ประชิด 2.ประเภทไม่ประชิด
12.ข้อใดกล่าวถึงการเล็ดลอดระยะใกล้ได้ถูกต้อง ?
ก. มีสภาพร่างกายดี,รู้ทิศทางระยะทาง ข. รู้ที่ตั้ง,การวางกาลังของข้าศึก
ค. มีอาหารและเสื้อผ้า ง. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
13.การเล็ดลอดระยะไกลวิธีใดเป็นวิธีที่ดีที่สุด ?
ก. การแทรกซึม
ข. การลวง
ค. กองโจร
ง. แบบผสม
14.การส่งกลับข้าศึกไปยังพื้นที่ส่วนหลักต้องทาการส่งกลับไปจนถึงหน่วยระดับใด ?
ก. กองทัพภาค ข. กองพล ค. กรม ง. กองพัน
15.การปฏิบัติต่อเชลยศึกข้อใดถูกต้องที่สุด ?
ก. จับกุม,ค้น,แยก,รวดเร็ว,พิทักษ์
ข. ค้น,จับกุม,แยก,เงียบ,รวดเร็ว
ค. จับกุม,ค้น,แยก,เงียบ,รวดเร็ว,
ง. ค้น,แยก,เงียบ,เร็ว.พิทักษ์
วิชาการเล็ดลอดหลบหนี

*เมื่อท่านตกเป็นเชลยศึกควรตอบคาถามในเรื่องอไรบ้าง
ตอบ :ยศ, ชื่อ, สกุล, วันเดือนปีเกิด, หมายเลขประจาตัว
*การวางแผนในการเล็ดลอดหลบหนีวิธีแทรกซึมจะอาศัยปัจจัยที่สาคัญอะไรบ้าง
ตอบ :ที่อยู่ปัจจุบัน, การวางกาลังของข้าศึก, ทัศนวิสัย, สมรรถภาพของผู้เล็ดลอด
*การปฏิบัติการเล็ดลอดหลบหนี ทบ.ได้มอบความรับผิดชอบให้กับหน่วยใด
ตอบ : นสศ.
*ข้อใดเป็นสาเหตุที่ไม่คิดจะหลบหนี
ตอบ :ความหวาดกลัว
*ข้อใดไม่ใช่คุณค่าของการหลบหนี
ตอบ :ทาให้ข้าศึกขวัญต่า
*การเล็ดลอดระยะไกลวิธีใดเป็นวิธีที่ดีที่สุด
ตอบ : การแทรกซึม
*การส่งกลับข้าศึกไปยังพื้นที่ส่วนหลักต้องทาการส่งกลับไปจนถึงหน่วยระดับใด
ตอบ : กองทัพภาค
*การปฏิบัติต่อเชลยศึกข้อใดถูกต้องที่สุด
ตอบ :ค้น,แยก,เงียบ,เร็ว.พิทักษ์

สะกดรอย
1. การสะกดรอยด้วยสายตามิใช่ของใหม่แท้จริงคือของเก่าที่พรานปุาได้ปฏิบัติมาแล้วหรือนักเรียนก็เคยปฏิบัติมานักสะกดรอย
จะต้องเป็นผู้มีความรู้ในเรื่องใด ?
ก. รู้จักการเอาใจใส่ ข. รู้จักการสังเกตสิ่งเล็กๆน้อยๆ
ค. รู้หลักการตรวจการณ์ ง. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
2. ลักษณะการปฏิบัติงานของชุดสะกดรอยมีหลายประการเช่นเป็นชุดแก้ปัญหาให้ ผบช.ปฏิบัติงานเมื่อ ผบช.สั่ง, ชุดสะกดรอย
ปฏิบัติงานใกล้ข้าศึก 100 - 200 เมตรจุดอ่อนของนักสะกดรอยได้แก่ ?
ก. ห้ามขาดการฝึกฝนเกิน 3 เดือนและต้องฝึกตนเองสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ข. ห้ามขาดการฝึกฝนเกิน 2 เดือนและต้องฝึกตนเองสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ค. ห้ามขาดการฝึกฝนเกิน 2 เดือนและต้องฝึกตนเองสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
ง. ห้ามขาดการฝึกฝนเกิน 3 เดือนและต้องฝึกตนเองสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
3.คุณลักษณะของนักสะกดรอยที่ดีประกอบด้วย สายตาดี, ปัญญาดี, ความจาดี, อดทน, แข็งแรง เป็นพล ลว.นาดี ประเภทการ
สะกดรอย 3 อย่าง คือ ?
ก. สายตา, ดมกลิ่น. การสังเกต ข. สายตา, จมูกดี, การสังเกต
ค. สายตา, ดมกลิ่น, การฟังเสียง ง. สายตา, จมูกดี, การจาดี
4. สิ่งที่นักสะกดรอยไม่ควรทา 5 ประการคืออย่าก้มหน้าหารอยตลอดเวลา, อย่าเสียงดัง, อย่าจับต้นไม้,
อย่าหลอกตัวเอง, อย่าไปเมื่อเหนื่อยปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสะกดรอยมีอะไรบ้าง ?
ก. แดด, ลม, ฝุุน, ระยะทาง ข. แสง, เสียง, เวลา, เหนื่อย
ค. แดด, ลม, ฝน, เวลา ง. แสง, เสียง, ฝน, เวลา
5. ลักษณะรอยที่พบเกิดจากข้าศึกเคลื่อนที่เร็ว ๆ หรือ วิ่ง รอยจะมีลักษณะอย่างไร ?
ก. รอยห่าง, รอยกระจาย, รอยตื้น ข. รอยห่าง, รอยค่อย, รอยลึก
ค. รอยห่าง, รอยกระจาย, รอยเป็นแนวเดียวกัน ง. รอยห่าง, รอยลึก, รอยเป็นแนวเดียวกัน
6. ประเภทของรอยมีรอยบนพื้นดินและรอยระดับสูงเมื่อท่านสะกดรอยแล้วรอยหายท่านควรทาอย่างไร ?
ก. ถอยหลังกลับไปเริ่มต้นใหม่ ข. แยกกันเดินหาให้ทั่ว
ค. ถอยหลังไป 4 - 5 ก้าวเริ่มค้นหาอย่างเป็นระบบ ง. จบภารกิจ
7. ข่าวสารอะไรที่ได้จากรอย ?
ก. จานวนคน, ทิศทาง, อายุคน, เพศชาย – หญิง ข. ทิศทาง, ความเร็ว, อายุของรอย, มีของหนักหรือไม่
ค. เพศชาย – หญิง, ยุทโธปกรณ์, เวลา, ขวัญ ง. ยุทโธปกรณ์, เวลา, ทิศทาง, มีของหนัก
8. การคานวณจานวนคนมีสูตรการคานวณอย่างไร ?
ก. ขีดกรอบยาว36 นิ้วหารด้วย 2 ข. ขีดกรอบยาว18 นิ้ว
ค. หารอยเท้าหลัก ง. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
9. รอยต่อไปนี้อะไรจัดเป็นรอยบนพื้นดิน ?
ก. รอยน้ากระเพื่อม ข. รอยมือจับบนต้นไม้
ค. กิ่งไม้หรือใบไม้หัก ง. ใยแมลงมุม
10. การลวงและการต่อต้านการสะกดรอยเป็นลักษณะพึงประสงค์ของหน่วยทหาร เพื่อการต่อต้านการติดตามของข้าศึก ข้อใด
ไม่ใช่
ก. จงใจนาออกนอกทาง, ลวงเข้าพื้นที่ซุ่ม ข. คงหลังคอยกลบเกลื่อนร่องรอย
ค. แยกออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ง. หักกิ่งไม้ทาเครื่องหมายตลอดทาง
11. การหาจานวนคนรอยเท้า ถ้ารอยเท้าไม่ชัดเจน จะใช้วิธีใดในการหาจานวนคนจากรอย
ก. ขีดกรอบยาว 36 นิ้ว แล้ว หารด้วย 2 ข. ขีดกรอบยาว 18 นิ้ว
ค. หารอยเท้าหลัก ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
12.ข้อไม่ใช่การลวง ?
ก. เดินถอยหลัง ข. ค่อยๆ วิ่งทีละคน ค. กวาดรอยบนพื้นทางเดิน ง. เดินในร่องน้า
13. ปัจจัยที่ช่วยในการสังเกตการณ์เกี่ยวกับเงามี ๒ ลักษณะคือ ?
ก. เงาตามธรรมชาติและเงาที่มนุษย์สร้างขึ้น
ข. เงาจากแสงอาทิตย์และเงาจากแสงไฟ
ค. เงาภายในและเงาภายนอก
ง. เงาบนพื้นดินและเงาเหนือพื้นดิน
14.ประเภทของรอยมีอยู่ 2 ประเภทได้แก่อะไร ?
ก. รอยระดับสูง,รอยบนพื้นดิน ข.รอยระดับต่า,รอยระดับสูง
ค. รอยระดับสูง,รอยระดับกลาง ง. รอยระดับสูง,รอยระดับเดียวกัน
15.ข้อใดคือคุณลักษณะของรอย ?
ก. ลักษณะเฉพาะตัว,การแบนราบ ข. การเคลื่อนย้าย,การเปลี่ยนสี
ข. สิ่งที่ถูกทิ้งไว้หรือขยะ,การรบกวน ง. ถูกทุกข้อ
วิชาการสะกดรอย

* ลักษณะการปฏิบัติงานของชุดสะกดรอยมีหลายประการเช่นเป็นชุดแก้ปัญหาให้ผบช.ปฏิบัติงานเมื่อผบช.สั่ง, ชุดสะกดรอย
ปฏิบัติงานใกล้ข้าศึก 100 - 200 เมตรจุดอ่อนของนักสะกดรอยได้แก่
ตอบ :ห้ามขาดการฝึกฝนเกิน 3 เดือนและต้องฝึกตนเองสัปดาห์ละ 2 ครั้ง
*คุณลักษณะของนักสะกดรอยที่ดีประกอบด้วย สายตาดี, ปัญญาดี, ความจาดี, อดทน, แข็งแรง เป็นพล ลว.นาดี ประเภทการ
สะกดรอย 3 อย่าง คือ
ตอบ : สายตา, ดมกลิ่น, การฟังเสียง
* สิ่งที่นักสะกดรอยไม่ควรทา 5 ประการคืออย่าก้มหน้าหารอยตลอดเวลา, อย่าเสียงดัง, อย่าจับต้นไม้,
อย่าหลอกตัวเอง, อย่าไปเมื่อเหนื่อยปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสะกดรอยมีอะไรบ้าง
ตอบ : แดด, ลม, ฝน, เวลา
*ลักษณะรอยที่พบเกิดจากข้าศึกเคลื่อนที่เร็ว ๆ หรือ วิ่ง รอยจะมีลักษณะอย่างไร
ตอบ :รอยห่าง, รอยลึก, รอยเป็นแนวเดียวกัน
* ประเภทของรอยมีรอยบนพื้นดินและรอยระดับสูงเมื่อท่านสะกดรอยแล้วรอยหายท่านควรทาอย่างไร
ตอบ :ถอยหลังไป 4 - 5 ก้าวเริ่มค้นหาอย่างเป็นระบบ
* ข่าวสารอะไรที่ได้จากรอย
ตอบ :ทิศทาง, ความเร็ว, อายุของรอย, มีของหนักหรือไม่
*รอยต่อไปนี้อะไรจัดเป็นรอยบนพื้นดิน
ตอบ : รอยน้ากระเพื่อม
* การลวงและการต่อต้านการสะกดรอยเป็นลักษณะพึงประสงค์ของหน่วยทหาร เพื่อการต่อต้านการติดตามของข้าศึก ข้อใด
ไม่ใช่
ตอบ : หักกิ่งไม้ทาเครื่องหมายตลอดทาง

ข้อสอบวิชาสื่อสาร ๒๐ ข้อ
๑. ชุดวิทยุ PRC-624 สามารถตั้งความถี่ล่วงหน้าได้กี่ช่อง ?
ก. ๒ ช่อง ข. ๕ ช่อง ค. ๑๐ ช่อง ง. ๑๒ ช่อง
๒. ข่ายวิทยุใน มว.ปล. ของกองร้อย อวบ. มีวิทยุ PRC-624 จานวนกี่เครื่อง ?
ก. ๔ เครื่อง ข. ๕ เครื่อง ค. ๖ เครื่อง ง. ๘ เครื่อง
๓. ชุดวิทยุ AN/PRC-77 มีย่านความถี่ใช้งานตั้งแต่เท่าไรถึงเท่าไร ?
ก. 30.00 – 75.95 MHz ข. 53.95 – 70.95 MHz
ค. 30.00 – 52.95 MHz ง. 53.95 – 75.95 MHz
๔. ชุดวิทยุ AN/PRC - 77 มีระยะการสื่อสารประมาณเท่าไร ?
ก. 8 และ 12 กม. ข. 5 และ 8 กม. ค. 8 และ 12 ไมล์ ง. 5 และ 8 ไมล์
๕. ชุดวิทยุ AN/PRC-77 สามารถตั้งความถี่ล่วงหน้าได้กี่ช่องสถานี ?
ก. ๒ ช่อง ข. ๓ ช่อง ค. ๑๐ ช่อง ง. ๕ ช่อง
๖. อุปกรณ์ชนิดใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบชุดของ CE-11 ?
ก. RL-39 (โครงล้อ) ข. ST-34 , 35 (สายผ้าใบ)
ค. TA-1/PT ง. DR-8 (ล้อม้วนสาย)
๗. โทรศัพท์สนาม TA-1/PT เป็นโทรศัพท์ใช้กาลังงานประเภทใด ?
ก. หม้อไฟร่วมเฉพาะสัญญาณเรียก ข. กาลังงานเสียง
ค. หม้อไฟประจาเครื่อง ง. หม้อไฟร่วม
๘. โทรศัพท์ TA – 1/PT เมื่อใช้กับสาย WD – 1/TT สามารถทาการติดต่อสื่อสาร ในระยะทางไกลสุดเท่าไร ?
ก. ๑๕ กม. ข. ๑๖ กม.
ค. ๑๗ กม. ง. ๑๘ กม.
๙. เมื่อมีสัญญาณเรียกเข้า TA-1/PT จะแสดงสัญญาณเตือนการเรียกเข้าในลักษณะใดบ้าง .?
ก. เสียงสัญญาณ ข. แสงสัญญาณ
ค. เสียงสัญญาณและแสงสัญญาณ ง. เสียงสัญญาณและทัศนะสัญญาณ
๑๐. โทรศัพท์ TA – 312/PT มีระยะในการกริ่งเรียก ไกลสุดเท่าไร ?
ก. ๓๕ กม. ข. ๓๖ กม.
ค. ๓๗ กม. ง. ๓๘ กม.
๑๑. ตู้สลับสายฉุกเฉิน SB – 993/GT ประกอบด้วย อะแดพเตอร์ U – 184/GT ๗ ตัว ซึ่งทาด้วยพลาสติกใส
ทาให้สามารถรับทางสายได้สูงสุด กี่ทางสาย ?
ก. ๖ ทางสาย ข. ๗ ทางสาย
ค. ๘ ทางสาย ง. ๙ ทางสาย
๑๒. ตู้สลับสาย SB – 22/PT หนักประมาณ ๓๐ ปอนด์ สามารถรับทางสายได้ ๑๒ ทางสาย ถ้าต่อพ่วง ๒ เครื่อง
เข้าด้วยกัน สามารถรับทางสายได้สูงสุด กี่ทางสาย ?
ก. ๒๔ ทางสาย ข. ๒๕ ทางสาย
ค. ๒๙ ทางสาย ง. ๓๐ ทางสาย
๑๓. ตู้สลับสาย SB – 22/PT หนักประมาร ๓๐ ปอนด์ สามารถรับทางสายได้ ๑๒ ทางสาย ถ้าต่อพ่วง ๒ เครื่อง
เข้าด้วยกัน สามารถรับทางสายได้สูงสุด กี่ทางสาย ?
ก. ๒๔ ทางสาย ข. ๒๕ ทางสาย
ค. ๒๙ ทางสาย ง. ๓๐ ทางสาย

๑๔. ข่ายการสื่อสารทางสายของ พัน.ร. ต้องใช้ ตู้สลับสาย SB – 22/Pt กี่ตู้ ?


ก. ๑ ตู้ ข. ๒ ตู้
ค. ๓ ตู้ ง. ๔ ตู้
๑๕. ตู้สลับสาย SB – 86/P สามารถรับทางสายได้ ๓๐ ทางสาย ถ้าต่อพ่วง ๒ เครื่องเข้าด้วยกัน สามารถรับ
ทางสายได้สูงสุด กี่ทางสาย ?
ก. ๕๘ ทางสาย ข. ๕๙ ทางสาย
ค. ๖๐ ทางสาย ง. ๖๑ ทางสาย
๑๖. ระเบียบการวิทยุโทรศัพท์กาหนดขึ้นเพื่ออะไร ?
ก. เร่งรัดการส่งข่าวให้เร็วขึ้นและลดความผิดพลาดให้น้อยลง
ข. ช่วยลดการฝุาฝืนการรักษาความปลอดภัยให้น้อยลง
ค. ช่วยให้ใช้การติดต่อสื่อสารทางวิทยุมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
ง. หลีกเลี่ยงความสับสนระหว่างตัวอักษร
๑๗. ตัวอักษรภาษาไทยสองตัวที่จะต้องอ่านออกเสียงต่างออกไปจากปกติ คือ ?
ก. ขอ – ข้าว และ สอ – เสือ ข. ขอ – ข้าว และ สอ – สิงโต
ค. ขอ – ไข่ และ สอ – สิงโต ง. ขอ – ไข่ และ สอ – เสือ
๑๘. นามสถานีเป็นนามที่ตั้งขึ้นมาเพื่ออะไร ?
ก. แทนชื่อนามหน่วย ข. แทนชื่อนามข่าย
ค. แทนชื่อนามรวม ง. แทนชื่อนามเรียกขาน
๑๙. นามในการเรียกขาน มี ๓ ชนิด อะไรบ้าง ?
ก. นามสถานี นามรวม นามหมู่ ข. นามสถานี นามรวม นามข่าย
ค. นามสถานี นามหน่วย นามข่าย ง. นามสถานี นามรวม นามหน่วย
๒๐. ในกรณีที่ท่านส่งข่าวผิด (พูดผิด) ท่านจะใช้คาพูดตามระเบียบการวิทยุโทรศัพท์ ว่าอย่างไร ?
ก. ผิด – หยุด ข. ผิด – จุด ค. ผิด – ขอแก้ ง. ผิด – ขอแก้ไข
วิชาสื่อสาร
การสื่อสารทางสาย
* การสื่อสารทางสายใช้สาหรับทาอะไร ข้อใดกล่าวผิด
ตอบ : การส่งคาสั่งยุทธการ / คาสั่งการรบอื่นๆที่มีข้อความยาวมากๆ
* สายโทรศัพท์สนาม WD – 1 / TT หนึ่งเส้นหรือสายตัวนา ๑ คู่สาย ที่ระยะความยาว ๑ ไมล์ มีจานวน รอยต่อ
สายเท่าไร ถึงจะถือว่าเป็นสายที่เสื่อมสภาพ
ตอบ : จานวน ๓๐ รอยต่อ

การสื่อสารทางวิทยุ
*วัตถุประสงค์ในการฝึก -ศึกษา เรื่องการสื่อสารทางวิทยุ ในหลักสูตรของท่าน มีไว้เพื่ออะไร ยกเว้น ข้อใดที่
กล่าวไม่ถูกต้อง
ตอบ : ปูองกันอุปกรณ์ชารุดเนื่องจากขาดการปรนนิบัติบารุง และลดอันตรายจากไฟฟูาแรงสูงได้
* ข้อดีของการสื่อสารทางวิทยุ ที่กล่าวว่า มีความอ่อนตัวหมายความว่าอย่างไร ข้อใดที่กล่าวไม่ถูกต้อง
ตอบ : เป็นวิธีการสื่อสารที่รักษาความปลอดภัยได้ดี
*การเลือกที่ตั้งสถานีวิทยุที่ดีควรเลือกที่ตั้งในข้อใด
ตอบ : พื้นดินมีความชื้นสูงซึ่งสามารถนาไฟฟูาได้ดี
ระเบียบการวิทยุโทรศัพท์
*ระเบียบการวิทยุโทรศัพท์กาหนดขึ้นเพื่ออะไร
ตอบ :เร่งรัดการส่งข่าวให้เร็วขึ้นและลดความผิดพลาดให้น้อยลง
* ตัวอักษรภาษาไทยสองตัวที่จะต้องอ่านออกเสียงต่างออกไปจากปกติ คือ
ตอบ : ขอ – ข้าว, สอ – สิงโต
* ตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัว “ T ”อ่านว่าอะไร
ตอบ :TAMGO (แท้ง – โก)
การเขียนข่าว
*กระดาษเขียนข่าวแบบ สส.๗ หนึ่งชุดจะมีอยู่ ๓ แผ่น (๓ สี) ประกอบด้วยสีอะไรบ้าง
ตอบ :สีขาว สีเหลือง สีชมพู
*ลักษณะของข่าวที่ดี ๓ ประการ คืออะไร
ตอบ :ชัดเจน กะทัดรัด สมบูรณ์
วิชายุทธวิธี
๑. ความมุ่งหมายหลักของการรบด้วยวิธีรุก คือข้อใด ?
ก. เพื่อยึดรักษาภูมิประเทศสาคัญ
ข. เข้าประชิดและตรึงกาลังข้าศึกไว้
ค. ทาลายกาลังรบของข้าศึก
ง. เพื่อลวงและหันเหการปฏิบัติของข้าศึก
๒. ข้อความที่กล่าวสั้น ๆ ว่า “ ค้น–ตรึง–สู้รบ–ติดตาม และ ทาลาย ” เป็นหลักการทางยุทธวิธีข้อใด ?
ก. ความมุ่งหมายของการรบด้วยวิธีรุก
ข. หลักนิยมในการรบด้วยวิธีรุก
ค. หลักพื้นฐานของการรบด้วยวิธีรุก
ง. แบบของการดาเนินกลยุทธ์
๓. ผลสาเร็จของการรบด้วยวิธีรุก คือข้อใด ?
ก. เป็นการรบผสมเหล่า
ข. มีการจู่โจม และอ่อนตัว
ค. มีความอ่อนตัว
ง. สามารถยึดที่หมาย และทาการรบแตกหัก
๔. หลักพื้นฐานการรบด้วยวิธีรุก มีกี่ประการ ?
ก. ๘ ประการ ข. ๙ ประการ
ค. ๑๐ ประการ ง. ๑๑ ประการ
๕. หลักพื้นฐานทางยุทธวิธีของการรบด้วยวิธีรุก ผบ.หน่วย ได้คิดและดัดแปลงมาจาก ?
ก. หลักการสงคราม ข. หลักนิยมการรบทางยุทธวิธี
ค. หลักการรบด้วยวิธีรุก ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๖. หลักพื้นฐานทางยุทธวิธีของการรบด้วยวิธีรุก ข้อใด ? จะใช้ในโอกาสที่ยังมิได้ปะทะกับข้าศึก หรือ
เมื่อข้าศึกผละออกจากการรบ
ก. ให้ได้เปรียบและดารงการเกาะ ข. คลี่คลายสถานการณ์
ค. ขยายผลเมื่อทราบจุดอ่อนของข้าศึก ง. ครองความเป็นฝุายริเริ่ม
๗. อานาจกาลังรบสูงสุด และการเข้าโจมตีต่อที่หมายได้อย่างรุนแรง จะได้ผลจะต้องประกอบด้วย ?
ก. กาลัง ที่ตั้ง การประกอบกาลัง และการวางกาลัง
ข. การเข้าตีด้วยการยิง ผสมผสานกับ การดาเนินกลยุทธ์
ค. การเตรียม และ การวางแผนที่ดี
ง. มีการลาดตระเวนที่ดี และให้เสรีการปฏิบัติแก่ ผบ.หน่วยรอง
๘. การจัดการระวังปูองกัน และความมั่นคงแก่หน่วย เป็นหลักพื้นฐานทางยุทธวิธีของการรบด้วยวิธีรุก
ข้อหนึ่ง อยากทราบว่า การจัดการระวังปูองกัน มีลักษณะอย่างไร ?
ก. เป็นการจัดระเบียบใหม่ ข. การเสริมความมั่นคง
ค. การรายงานผลการปฏิบัติ ง. การจัดยามคอยเหตุ
๙. หลักพื้นฐานทางยุทธวิธีของการรบด้วยวิธีรุก เป็นการปฏิบัติการที่จาเป็น เพื่อทราบเกี่ยวกับ กาลัง
ที่ตั้ง การประกอบกาลัง และ การวางกาลังของข้าศึก คือข้อใด ?
ก. คลี่คลายสถานการณ์
ข. ให้ได้เปรียบและดารงการเกาะ
ค. ยึดและควบคุมภูมิประเทศสาคัญ
ง. ครองความเป็นฝุายริเริ่ม
๑๐. ลักษณะของการเข้าตี แบ่งออกได้กี่ลักษณะอะไรบ้าง ?
ก. ๒ ลักษณะ คือ เข้าตีเร่งรีบ และ เข้าตีเร่งด่วน
ข. ๒ ลักษณะ คือ เข้าตีเร่งรีบ และ เข้าตีประณีต
ค. ๓ ลักษณะ คือ เข้าตีประสาน , เคลื่อนที่เข้าปะทะ และ เข้าตีประณีต
ง. ๓ ลักษณะ คือ เข้าตีเร่งรีบ , เคลื่อนที่เข้าปะทะ และ ไล่ติดตาม
๑๑. แบบของการดาเนินกลยุทธ์ ข้อใดกล่าวถูกต้อง ?
ก. เคลื่อนที่เข้าปะทะ , การเข้าตี , การขยายผล และ การไล่ติดตาม
ข. ตีตรงหน้า , เจาะ , โอบ , ตลบ และ แทรกซึม
ค. ตีตรงหน้า , เจาะ , โอบล้อม , โอบ ๒ ปีก และ แทรกซึม
ง. ถูกทุกข้อ
๑๒. แบบของการดาเนินกลยุทธ์ แบบใดที่มีความเหมาะสมน้อยที่สุด ?
ก. ตีโอบ ข. ตีตรงหน้า
ค. ตีเจาะ ง. ตีตลบ
๑๓. ความมุ่งหมายของการตีโอบ เพื่ออะไร ?
ก. เข้าตีทางปีกที่ค้นพบ ข. หลีกเลี่ยงการรบแตกหัก
ค. เข้ายึดที่หมาย ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๑๔. ข้อพิจารณาของ ผบ.หน่วย ในการเลือกใช้แบบของการดาเนินกลยุทธ์ แบบใดนั้น ขึ้นอยู่กับ ?
ก. การวิเคราะห์ภารกิจ และ ลักษณะของพื้นที่ปฏิบัติการ
ข. การวางกาลังของทั้ง ๒ ฝุาย (ฝุายเรา,ฝุายข้าศึก)
ค. กาลังรบเปรียบเทียบของทั้ง ๒ ฝุาย
ง. ทุกข้อที่กล่าวมาไม่น่าจะผิด
๑๕. ชนิดของการรบด้วยวิธีรุก มีกี่ชนิด อะไรบ้าง ?
ก. ๔ ชนิด คือ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ ,การเข้าตี ,การขยายผล และ การไล่ติดตาม
ข. ๔ ชนิด คือ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ , การเข้าตีเร่งด่วน ,การเข้าตีประณีต และการไล่ติดตาม
ค. ๓ ชนิด คือ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ , การเข้าตีประสาน และการขยายผล
ง. ๓ ชนิด คือ การเคลื่อนที่เข้าปะทะ , การเข้าตี และ การเสริมความมั่นคง ณ ที่หมาย
๑๖. ความมุ่งหมายของการเคลื่อนที่เข้าปะทะ คือข้อใด ?
ก. เข้าปะทะหรือได้ปะทะกับข้าศึก
ข. คลี่คลายสถานการณ์ด้วยการเข้าตีเร่งด่วน หรือเข้าตีประณีต
ค. การที่ทหารเคลื่อนที่เข้าหาข้าศึกแต่ยังไม่มีการปะทะ
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
๑๗. วิธีการเคลื่อนที่ หรือเทคนิคการเคลื่อนที่แบบใดที่เหมาะสมที่สุดในโอกาสที่ปะทะกับข้าศึก ?
ก. การเคลื่อนที่ทางยุทธวิธี ข. การเดินทาง
ค. การเดินทางเฝูาตรวจ ง. การเดินทางเฝูาตรวจสลับ
๑๘. วิธีการเดินทางเฝูาตรวจสลับ ในระหว่างที่ชุดยิง ก.หยุดการเคลื่อนที่เฝูาตรวจชุดยิง ข. เคลื่อนที่ไป
ข้างหน้า ปกติจะเคลื่อนที่ล้าไปข้างหน้าระยะประมาณเท่าใด ?
ก. ไม่เกิน ๑๕๐ เมตร ข. ๒๐๐ เมตร
ค. ๒๕๐ เมตร ง. ๓๐๐ เมตร
๑๙. ในการเคลื่อนที่เข้าปะทะของหมวดปืนเล็ก ซึ่งทาหน้าที่เป็นหมวดนา ปกติ ผบ.มว.จะได้รับมอบอะไร
จาก ผบ.ร้อย. ?
ก. ที่หมาย , เส้นแบ่งเขต ข. ที่หมาย , เขตจากัดการรุก
ค. ที่หมาย , เส้นหลักการรุก ง. ที่หมาย , ข่าวสารข้าศึก
๒๐. ข้อใดไม่ใช่ภารกิจ ของหมวด เมื่อเป็นหมวดนา ?
ก. ปูองกันการจู่โจม แจ้งที่ตั้งข้าศึก และเครื่องกีดขวาง
ข. ช่วยเหลือการเคลื่อนที่ของกองร้อยไปข้างหน้า
ค. ทาลายข้าศึกตามความสามารถของหมวด และคลี่คลายสถานการณ์อย่างรวดเร็ว
ง. เข้าประชิด และทาลายข้าศึก
๒๑. ภารกิจของ มว.ปล.ในการเข้าตี คือข้อใด ?
ก. เข้าประชิดข้าศึก ทาลายข้าศึก หรือจับข้าศึกเป็นเชลย
ข. ยับยั้งข้าศึกด้วยการยิง
ค. ผลักดันข้าศึกด้วยการรบประชิด
ง. ไม่มีข้อใดถูกก
๒๒. การจัดกาลังในการเข้าตีประกอบด้วย ๓ ส่วน คือส่วนอะไรบ้าง ?
ก. ส่วนบังคับบัญชา , ส่วนดาเนินกลยุทธ์ , ส่วนกองหนุน
ข. ส่วนบังคับบัญชา , ส่วนดาเนินกลยุทธ์ , ส่วนยิงสนับสนุน
ค. ส่วนระวังปูองกัน , ส่วนดาเนินกลยุทธ์ , ส่วนยิงสนับสนุน
ง. ส่วนบังคับบัญชา , ส่วนเข้าตีหลัก , ส่วนเข้าตีสนับสนุน
๒๓. หมู่ ปก.เอ็ม.๖๐ , คจตถ.ในอัตราของ มว.ปล.ใครเป็นผู้สั่งใช้โดยตรง ?
ก. ผบ.หมู่ ปล. ข. ผบ.มว.ค.๖๐
ค. ผบ.มว.ปล. ง. ผบ.ร้อย.
๒๔. แผนการเข้าตี ประกอบด้วย แผนใดบ้าง ?
ก. แผนการบังคับบัญชา ข. แผนการดาเนินกลยุทธ์
ค. แผนการยิงสนับสนุน ง. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
๒๕. แผนการดาเนินกลยุทธ์ คือ แผนการใช้ หมู่ ปล.ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนดาเนินกลยุทธ์ แผนนี้จะต้อง
ประกอบด้วยสิ่งใดบ้าง ?
ก. เส้นทาง , รูปขบวน , การเข้าตะลุมบอน , การเสริมความมั่นคง , การควบคุม
ข. เส้นทาง , รูปขบวน , การเข้าตะลุมบอน , การใช้ระหว่างเคลื่อนที่ , การควบคุม
ค. การเคลื่อนที่ , การผ่านแนว , การปะทะข้าศึก , การปะทะข้าศึก , การเข้าตะลุมบอน
ง. การใช้ในขั้นต้น , การใช้ระหว่างเคลื่อนที่ , การเข้าตะลุมบอน , การควบคุม
๒๖. แผนการดาเนินกลยุทธ์ คือ แผนการใช้อาวุธในอัตรา และ อาวุธสมทบ เพื่อสนับสนุนการเข้าตี การ
ใช้ หมู่ ปก. มีการใช้อยู่กี่หนทางปฏิบัติ ?
ก. ๒ หนทางปฏิบัติ ข. ๓ หนทางปฏิบัติ
ค. ๔ หนทางปฏิบัติ ง. ๕ หนทางปฏิบัติ
๒๗. พื้นที่ที่เหมาะสมใช้เป็นที่รวมพล ควรมีลักษณะอย่างไร ?
ก. มีการกาบังและซ่อนพราง ข. พื้นที่กว้างขวางกระจายกาลังได้
ค. พ้นจากระยะยิงของ ป.และ ค. ง. ถูกทุกข้อ
๒๘. ในที่รวมพล ต้องเตรียมการปฏิบัติในเรื่องใดบ้าง ?
ก. การจัดกาลังรบ ข. การซ่อมบารุง
ค. การส่งกาลัง ง. ถูกทุกข้อ
๒๙. “ ที่ตั้งซึ่งมีการกาบังและซ่อนพรางแห่งสุดท้ายใกล้แนวออกตี ซึ่งหมวดจะวางกาลังในรูปขบวนเข้าตี
และประสานการปฏิบัติครั้งสุดท้ายก่อนผ่านแนวออกตี มว.ปล.จะติดดาบปลายปืน ณ พื้นที่นี้ ”
หมายถึงข้อใด ?
ก. ที่รวมพล ข. แนวออกตี
ค. ฐานออกตี ง. ที่หมาย
๓๐. แนวออกตี คือ แนวซึ่งประสานการเริ่มต้นในการเข้าตี ซึ่งอยู่ห่างจากที่รวมพลระยะประมาณเท่าใด ?
ก. ๔ กม.หรือ เดินประมาณ ๑ ชม. ข. ๔ – ๖ กม.หรือ เดินประมาณ ๒ ชม.
ค. ๓ – ๔ ไมล์ หรือ เดินประมาณ ๓ ชม. ง. ๕ – ๖ ไมล์ หรือ เดินประมาณ ๔ ชม.
๓๑. แนวปะสานการปฏิบัติขั้นสุดท้าย ใช้ในการปรับรูปขบวน เลื่อนหรือย้ายการยิงสนับสนุน แนวนี้จะ
อยู่ห่างจากที่หมายประมาณเท่าใด ?
ก. ๕๐ – ๑๐๐ เมตร ข. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร
ค. ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร
๓๒. ลักษณะที่หมายของ มว.ปล.ซึ่ง ผบ.ร้อย.กาหนดให้ ควรมีลักษณะใด ?
ก. สังเกตเห็นง่ายในภูมิประเทศ ข. ต้องบรรลุความสาเร็จร่วมกัน
ค. เมื่อยึดได้ต้องควบคุมได้ ง. ถูกทุกข้อ
วิชายุทธวิธี
หลักการรบด้วยวิธีรุก
*ความมุ่งหมายหลักของการรบด้วยวิธีรุก คือข้อใด
ตอบ : การทาลาย กาลังรบข้าศึก
*การปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุก การเข้าตีมี ๒ ลักษณะอะไรบ้าง
ตอบ : การเข้าตีเร่งรีบ, การเข้าตีประณีต
*หน่วยใด เป็นหน่วยที่เหมาะสมในการขยายผล
ตอบ : หน่วยยานเกราะและทหารราบยานเกราะ
*แนวประสานการปฏิบัติขั้นสุดท้าย ใช้ในการเลื่อนหรือย้ายการยิงสนับสนุนและการปรับรูปขบวนของ
กาลังส่วนเข้าตีก่อนเข้าตะลุมบอน แนวนี้จะอยู่ห่างจากที่หมายในระยะประมาณเท่าใด
ตอบ : ๑๐๐ - ๑๕๐ ม.
*แนวออกตี คือ แนวซึ่งประสานการเริ่มต้นในการเข้าตี ซึ่งอยู่ห่างจากที่รวมพลระยะประมาณ เท่าใด
ตอบ : ๔ กม. หรือเดินประมาณ ๑ ชม.
บุคคลทาการรบและยุทธวิธีขั้นพื้นฐาน

* การกาหนดระยะเปูาหมายอาจจะเป็นกลุ่มทหาร ยานพาหนะ ยุทโธปกรณ์ อาคารโรงเรือน ด้วยสายตาหรือยุทโธปกรณ์ โดยมี


ความคลาดเคลื่อนไม่เกินกี่เปอร์เซ็นต์
ตอบ : ๒๐ %
* ระเบียบการนาหน่วยขั้นที่ 1 การรับภารกิจ สามารถรับได้ในลักษณะใดบ้าง
ตอบ : 1. คาสั่งเตรียม 2. คาสั่งยุทธการ 3. คาสั่งเป็นส่วนๆ
* คาสั่งยุทธการจะกล่าวถึงภารกิจของหน่วย กล่าวถึงการปฏิบัติอย่างย่อที่จะให้หน่วยปฏิบัติให้สมบูรณ์และความมุ่งหมายในการ
ปฏิบัติ ภารกิจนามาจากการวิเคราะห์ เมื่อทาการประมาณสถานการณ์ ภารกิจต้องกล่าวซ้า ๒ ครั้งเสมอโดยตลอด องค์ประกอบ
ของภารกิจมีอะไรบ้าง
ตอบ : ใคร ,ทาอะไร,เมื่อใด,ที่ไหน,และทาไม
* ทหารปฏิบัติการยืนลักษณะท่าตรงสะพายอาวุธปืน M.16ด้านไหล่ขวาชูมือขึ้นเหนือศรีษะเหยียดตรงนิ้วทั้งห้าเรียงชิดติดกัน
เวียงแขนไปด้านหลังลักษณะวงกลมเป็นการให้ทัศนะสัญญาณอะไร
ตอบ : รูปขบวนแถวตอน
รูปขบวนทาการรบ
* รูปขบวนทาการรบของหมู่ ปล. รูปขบวนที่เหมาะสมที่จะเข้าตะลุมบอนต่อข้าศึก คือ
ตอบ : รูปขบวนหน้ากระดาน
* รูปขบวนหมู่แถวตอน เป็นรูปขบวนที่เหมาะสาหรับใช้ในการเคลื่อนที่ข้อดีมีไว้ว่าอย่างไร
ตอบ : 1. สะดวกในการควบคุม 2. การระวังปูองกันรอบตัว 3. เคลื่อนที่ได้เร็ว
* ผบ.หมู่เรียกกาลังพลให้จัดรูปขบวนแถวตอน โดยแต่ละชุดยิงอยู่ในรูปขบวนสามเหลี่ยมแหลมหน้า อยากทราบว่ากาลังพลแต่
ละชุดยิงระยะต่อ ระยะเคียงห่างเท่าไร
ตอบ : ๑๐ เมตร
* การที่ ผบ.หมู่ ให้สัญญาณจัดรูปขบวนหน้ากระดานอยากทราบว่า หน.ชุดยิง ก. และ ข. ห่างจาก ผบ.หมู่ กี่เมตร
ตอบ : ๒๕ เมตร
* เมื่อจัดรูปขบวนหมวดแถวหน้ากระดาน เพื่อเตรียมตะลุมบอนต่อข้าศึก มีข้อดีคือ
ตอบ : อานาจการยิงข้างหน้าดี
* ปืนกลเป็นอาวุธยิงสนับสนุนของหมวด อยากทราบว่า ๑ หมู ปก. มีกาลังพลกี่นาย
ตอบ : ๙ นาย
* ในเมื่อจัดรูปขบวนหมวดสามเหลี่ยมแหลมหน้า หมู่นากับหมู่ทางปีกขวา และปีกซ้าย ระยะห่างระหว่าง หมู่นากับหมู่ทางปีก
ระยะกี่เมตร
ตอบ : ๘๐ เมตร
ระบบปฏิบัติการในสนามรบ , การเตรียมตัวเพื่อทาการรบ
* โดยปกติ ผบ.หน่วย จะอาศัยข่าวกรองจากที่ใดเป็นหลักในการปฏิบัติภารกิจทุกครั้ง
ตอบ : หน่วยเหนือ
* ข่าวสารต่าง ๆ ที่ได้มา จะสมบูรณ์จนกลายเป็นข่าวกรอง หลังจาก
ตอบ : ตีความแล้ว
* การจัด มว.ปล.ของหน่วย ร.มาตรฐาน (๕๐ นาย) ประกอบไปด้วยส่วนใดบ้าง
ตอบ : บก.มว. , ๑ หมู่ ปก. , ๓ หมู่ ปล.
* เครื่องมือหลักในการดาเนินกลยุทธ์ของ ผบ.มว. คือ
ตอบ : ๓ หมู่ ปล.ในอัตรา
* โดยปกติการปฏิบัติงานหลักด้านการช่วยรบ ภายใน มว.ปล. จะมีใครบ้างเป็นผู้ช่วยเหลือ ผบ.มว.
ตอบ : รอง ผบ.มว. , ส.ประจาหมวด
* การวางแผนการใช้เวลาของ ผบ.หน่วย จะกาหนดไว้อย่างไร
ตอบ : ใช้เวลาไม่เกิน ๑/๓
หลักการรบด้วยวิธีรับ
*ข้อใดกล่าวถึง ระดับของการต้านทาน ในการรบด้วยวิธีรับ ได้ถูกต้อง
ตอบ : การตั้งรับ – การรบหน่วงเวลา - ฉากกาบัง
*แนวขอบหน้าพื้นที่การรบ ของหน่วย ที่แท้จริง จะเกิดขึ้นเมื่อใด
ตอบ : กาลังของ มว.ปล.ในแนวหน้าได้เข้าพื้นที่วางตัวเรียบร้อยแล้ว
*พื้นที่ที่ไม่มีกาลังเข้ายึดครอง และไม่อยู่ในระยะยิงหวังผลของอาวุธเบา คือ พื้นที่ในข้อใด
ตอบ : ช่องว่างระหว่างหน่วยในการตั้งรับ
*พื้นที่ที่ไม่มีกาลังเข้ายึดครอง แต่อยู่ในระยะยิงหวังผลของอาวุธเบา คือ พื้นที่ในข้อใด
ตอบ : ระยะเคียงระหว่างหน่วยในการตั้งรับ
*ระยะระหว่างที่ตั้งจริงของหมู่ ปล.กับที่ตั้งเพิ่มเติมของหมู่ ปล. เป็นคาจากัดความของระยะในข้อใด
ตอบ : ช่องว่าง
*ภารกิจของ มว.ปล.ในการตั้งรับ คือข้อใด
ตอบ : ยับยั้งข้าศึกด้วยการยิงหน้าที่มั่น , ผลักดันข้าศึกด้วยการยิงสนับสนุน
*ในการจัดตั้งยามระวังปูองกัน เป็นมาตรการระวังปูองกันในการตั้งรับ ประเภทใด
ตอบ : มาตรการเชิงรับ
๑. ลาดับขั้นตอนมาตรฐานของ มว.ปล.ในการตั้งรับ ประกอบด้วย ขั้นตอนใดบ้าง
ก. การวางแผน , การตกลงใจ , การปฏิบัติ
ข. การเตรียมการ , การวางแผน , การปฏิบัติ
ค. การเตรียมการ , การตกลงใจ , การปฏิบัติ
ง. การเตรียมการ , การปฏิบัติ , การเสริมความมั่นคงฯ
๒. ข้อใดกล่าวถึง การปฏิบัติ ในขั้นตอนของการเตรียมกาลังเข้าทาการรบ ได้ถูกต้อง
ก. เลือกใช้เส้นทางที่มีการกาบังและซ่อนพราง ข. การตรวจสอบ และการเบิกรับ สป.ต่างๆ
ค. การเลือกพื้นที่ระดมยิงของหมวด ง. การปรับปรุงที่มั่นตั้งรับ
๓. ข้อใดกล่าวถึง การปฏิบัติ ในขั้นตอนของการค้นหาข้าศึก ได้ถูกต้อง
ก. เลือกใช้เส้นทางที่มีการกาบังและซ่อนพราง ข. การตรวจสอบ และการเบิกรับ สป.ต่างๆ
ค. การเลือกพื้นที่ระดมยิงของหมวด ง. การใช้เครื่องมือเฝูาตรวจเวลากลางคืน
๔. ข้อใดกล่าวถึง การปฏิบัติ ในขั้นตอนของการต้านทานในการตั้งรับ ได้ถูกต้อง
ก. การเลือกพื้นที่ระดมยิงของหมวด และการสร้างลวดหนามและสนามทุ่นระเบิด
ข. ปก.และ อว.อัตโนมัติทาการยิงในแนวทิศทางยิงหลัก หรือ ในแนวยิงฉากปูองกันขั้นสุดท้าย
ค. การร้องขอและปรับการยิง อว.เล็งจาลอง เมื่อข้าศึกเข้ามาในระยะยิงทาลายได้สูงสุด
ง. การจัดการระวังปูองกัน และการจัดตั้งข่ายการติดต่อสื่อสารขึ้นใหม่
๕. ข้อใดกล่าวถึง การปฏิบัติ ในขั้นตอนของการเสริมความมั่นคงและการจัดระเบียบใหม่ ได้ถูกต้อง
ก. การเลือกพื้นที่ระดมยิงของหมวด และการสร้างลวดหนามและสนามทุ่นระเบิด
ข. ปก.และ อว.อัตโนมัติทาการยิงในแนวทิศทางยิงหลัก หรือ ในแนวยิงฉากปูองกันขั้นสุดท้าย
ค. การร้องขอและปรับการยิง อว.เล็งจาลอง เมื่อข้าศึกเข้ามาในระยะยิงทาลายได้สูงสุด
ง. การจัดการระวังปูองกัน และการจัดตั้งข่ายการติดต่อสื่อสารขึ้นใหม่
๖. การตรวจการสร้างลวดหนามและสนามทุ่นระเบิด เพื่อให้แน่ใจว่าลวดหนามปูองกันตนอยู่ห่างจากแนว
ที่มั่นพ้นระยะขว้างลูกระเบิด และแนวลวดหนามยุทธวิธีวางถัดจากแนวยิงฉากปูองกันฯเข้ามาทางแนว
ที่มั่นฝุายเรา จัดอยู่ในขั้นตอนใดของการตั้งรับ
ก. ขั้นการเตรียมกาลังเข้าทาการรบ ข. ขั้นการเคลื่อนที่ไปยังที่มั่นตั้งรับ
ค. ขั้นการจัดเตรียมที่มั่นตั้งรับ ง. ขั้นปฏิบัติเมื่อเกิดการปะทะข้าศึก
๗. เมื่อ ผบ.มว.ค้นพบข้าศึก และทาการร้องขอและปรับการยิง อว.เล็งจาลอง รวมทั้งการยิงของ อว.เล็งตรง
ตั้งแต่ระยะไกล จัดอยู่ในขั้นตอนใดของการตั้งรับ
ก. ขั้นการเตรียมที่มั่นตั้งรับ ข. ขั้นการค้นหาที่ตั้งข้าศึก
ค. ขั้นปฏิบัติเมื่อเกิดการปะทะข้าศึก ง. ขั้นการต้านทานข้าศึก
๘. การติดต่อสื่อสารจาก ทก.หลัก ของ มว.ไปยัง ทก.ร้อย. โดยปกติ จะใช้เครื่องมือสื่อสาร ชนิดใด
ก. ใช้โทรศัพท์ ข. ใช้วิทยุ
ค. ใช้โทรศัพท์ และวิทยุ ง. ใช้โทรศัพท์ และพลนาสาร
๙. การติดต่อสื่อสารจาก ทก.หลัก ของ มว.ไปยัง ทก.สารอง ของ มว. โดยปกติ จะใช้เครื่องมือสื่อสาร ชนิดใด
ก. ใช้โทรศัพท์ ข. ใช้วิทยุ
ค. ใช้โทรศัพท์ และวิทยุ ง. ใช้โทรศัพท์ และพลนาสาร
๑๐. อาวุธหลักของหมวดในการตั้งรับ ที่ใช้ยิงต่อทหารราบเดินเท้าของข้าศึก ได้แก่ อาวุธชนิดใด
ก. ปืนกล ข. ปืนเล็ก
ค. เครื่องยิงจรวดต่อสู้รถถัง ง. ปืนยิงเครื่องยิงลูกระเบิด
๑๑. แนวยิงที่กาหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อการยิงกวาดสกัดการเข้าตะลุมบอนของข้าศึก คือแนวยิงในข้อใด
ก. แนวยิงในทิศทางยิงหลัก ข. แนวยิงในทิศทางยิงสารอง
ค. แนวยิงปูองกันระยะใกล้ ง. แนวยิงฉากปูองกันขั้นสุดท้าย
๑๒. ในการวางการยิงของปืนกล โดยปกติจะวางไปในทิศทางใด
ก. วางตามแนวยิงฉากปูองกันขั้นสุดท้าย
ข. วางตามทิศทางยิงหลัก
ค. วางได้ทั้ง ข้อ ก และข้อ ข พร้อมกัน
ง. วางได้ตามข้อ ก หรือ ข้อ ข อย่างใดอย่างหนึ่ง
๑๓. ผู้ที่เลือกที่ตั้งยิงขั้นต้น และเขตการยิงให้กับ อาวุธต่อสู้รถถัง ที่มีอยู่ใน หมวดหรือมาสมทบ คือใคร
ก. ผบ.มว. ข. รอง ผบ.มว.
ค. ผบ.หมู่ ปล.ที่ อว.ตถ.ตั้งยิงในพื้นที่ ง. พลยิงอาวุธต่อสู้รถถัง
๑๔. ที่มั่นที่ทหาร หรือพลประจาปืน หรือหน่วยใช้ทาการตั้งรับจนบรรลุภารกิจของตนเองได้ คือที่มั่นชนิดใด
ก. ที่มั่นรบ ข. ที่มั่นหลัก
ค. ที่มั่นสารอง ง. ที่มั่นเพิ่มเติม
๑๕. ที่มั่นซึ่งทหารแต่ละคน พลประจาปืน หรือทั้งหน่วยสามารถทาการตั้งรับได้ครอบคลุมเขตรับผิดชอบ
เหมือนที่มั่นตั้งรับหลัก คือที่มั่นชนิดใด
ก. ที่มั่นรบ ข. ที่มั่นหลัก
ค. ที่มั่นสารอง ง. ที่มั่นเพิ่มเติม
๑๖. ที่มั่นตั้งรับของหมู่ปืนเล็ก โดยทั่วไปหมู่ปืนเล็กสามารถวางกาลังตั้งรับและรับผิดชอบกว้างด้านหน้า ได้ประมาณเท่าใด
ก. ประมาณ ๓๐ - ๑๐๐ เมตร ข. ประมาณ ๑๕๐ - ๒๐๐ เมตร
ค. ประมาณ ๒๐๐ - ๒๕๐ เมตร ง. ประมาณ ๒๕๐ - ๓๐๐ เมตร
๑๗. ข้อพิจารณาในการกาหนดระยะห่างระหว่างที่มั่นภายในหมู่ ขึ้นอยู่กับปัจจัยในข้อใด
ก. ความกว้างเขตการตั้งรับของหมู่
ข. การระวังปูองกันการแทรกซึมของข้าศึก
ค. การปูองกันอันตรายจากลูกระเบิดขว้างของข้าศึก
ง. ที่กล่าวมาคือปัจจัยที่ต้องพิจารณาทั้งสิ้น
๑๘. การกาหนดมาตรการควบคุมการยิงในการตั้งรับต่ออาวุธทุกชนิด จะมีผู้รับผิดชอบในการควบคุมแต่ละ
ชนิดของอาวุธ อยากทราบว่า ปืนเล็กกล ,ปืนเล็กยาว และ เอ็ม.๒๐๓ ใครเป็นผู้ควบคุมการยิง
ก. ผบ.มว.ปล. ข. รอง ผบ.มว.ปล.
ค. ผบ.หมู่ ปล. ง. ผบ.หมู่ ปล.และ หน.ชุดยิง
๑๙. มาตรการควบคุมการยิง ที่ใช้เพื่อมอบความรับผิดชอบ และให้อาวุธต่างๆวางการยิงให้ครอบคลุมกว้างด้านหน้า และทาบ
ทับกันกับหน่วยข้างเคียงด้วย คือ มาตรการควบคุม ในข้อใด
ก. เขตการยิง ข. พื้นที่ระดมยิง
ค. จุดระดมยิง ง. พื้นที่สังหาร
๒๐. มาตรการควบคุมการยิง ที่ใช้เพื่อรวมอานาจการยิงของอาวุธชนิดต่างๆไปยังพื้นที่นั้นๆ คือ มาตรการ
ควบคุม ในข้อใด
ก. เขตการยิง ข. พื้นที่ระดมยิง
ค. จุดระดมยิง ง. พื้นที่สังหาร
๒๑. ในการประสานงานของหน่วยระหว่าง หมู่ หมวดข้างเคียง ในพื้นที่ตั้งรับ โดยปกติแล้วมักจะกระทาใน
ลักษณะใด
ก. จากหน่วยทางขวาไปยังหน่วยทางซ้าย
ข. จากหน่วยทางซ้ายไปยังหน่วยทางขวา
ค. จากด้านหน้าไปทางด้านหลัง
ง. กระทาตามข้อ ข และข้อ ค รวมกัน
๒๒. ข้อใด คือ ความมุ่งหมายหลักของการยิงฉากปูองกันขั้นสุดท้าย ในการตั้งรับ
ก. เพื่อทาลายการเข้าตะลุมบอนในระยะใกล้ของข้าศึกต่อที่มั่นฝุายตั้งรับ
ข. เพื่อทาลายการเข้าตะลุมบอนในระยะไกลของข้าศึกต่อที่มั่นฝุายตั้งรับ
ค. เพื่อทาลายข้าศึก ก่อนการเข้าโจมตีในระยะใกล้ของข้าศึกต่อที่มั่นฝุายตั้งรับ
ง. เพื่อทาลายข้าศึก ก่อนการเข้าโจมตีในระยะไกลของข้าศึกต่อที่มั่นฝุายตั้งรับ
๒๓. การส่งกาลังเพิ่มเติมในการตั้งรับของหมวดปืนเล็ก จะใช้ระบบ “ตามแผนงาน” ซึ่งมีอยู่ ๓ วิธี อยากทราบ
ว่า เมื่อกองร้อยส่ง สป.และยุทโธปกรณ์ไปยังหลุมบุคคลแต่ละหลุม เป็นการส่ง สป.วิธีใด
ก. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบส่งถึงที่ตั้งหลุมบุคคล
ข. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบแจกจ่าย ณ ตาบลจ่าย
ค. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบวางสิ่งอุปกรณ์ไว้ล่วงหน้า
ง. ใช้ได้ทุกวิธีที่กล่าวมา
๒๔. การส่งกาลังเพิ่มเติม โดยทหารต้องออกจากหลุมบุคคลของตนมารับ สป.ยังตาบลจ่ายของกองร้อย
เป็นการส่ง สป.วิธีใด
ก. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบส่งถึงที่ตั้งหลุมบุคคล
ข. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบแจกจ่าย ณ ตาบลจ่าย
ค. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบวางสิ่งอุปกรณ์ไว้ล่วงหน้า
ง. ใช้ได้ทุกวิธีที่กล่าวมา
๒๕. การส่งกาลังเพิ่มเติม โดยกองร้อยวาง สป.และยุทโธปกรณ์ไว้ล่วงหน้าตามเส้นทางที่หมวดจะไปวางกาลัง
ตามแผนของกองร้อย และจัดเป็นวิธีที่ใช้กันมากในการรบด้วยวิธีรับ คือ การส่ง สป.วิธีใด
ก. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบส่งถึงที่ตั้งหลุมบุคคล
ข. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบแจกจ่าย ณ ตาบลจ่าย
ค. วิธีการส่งกาลังเพิ่มเติมแบบวางสิ่งอุปกรณ์ไว้ล่วงหน้า
ง. ใช้ได้ทุกวิธีที่กล่าวมา

หลักการร่นถอย
* ข้อใดไม่ใช่การปฏิบัติการร่นถอย
ตอบ : การลดระยะห่างข้าศึก
* แบบการร่นถอยมีกี่แบบอะไรบ้าง
ตอบ : ๓ แบบ คือ การถอนตัวจากการรบ, การรบหน่วงเวลา และ การถอย
* การถอนตัวเมื่อข้าศึกกดดัน หน่วยปฏิบัติจะจัดกาลังอย่างไร
ตอบ : ส่วนใหญ่ และ ส่วนกาบัง
* หมวดปืนเล็กถอนตัวนอกความกดดัน เมื่อจัดผู้แทนไปตรวจที่มั่นตั้งรับแห่งใหม่ ผู้บังคับหมวดจะแนะนา
ให้ปฏิบัติในเรื่องต่างๆ เพื่อลดความสับสนของหน่วย ข้อใดไม่ใช่
ตอบ : ที่หมายและแนววางกาลังหน่วยข้างเคียง
* การปฏิบัติของส่วนที่เหลือไว้ปะทะของหมวด ถ้า นร. เป็น ผบ.ส่วนที่เหลือไว้ปะทะ จะนากาลังพลไปพบ
ใคร ณ ทีร่ วมพลของกองร้อย
ตอบ : รอง ผบ.ร้อย
* กาลังส่วนใหญ่และส่วนที่เหลือไว้ปะทะ จะถูกนาไปจากที่รวมที่พลของกองร้อยไปเข้าที่มั่นใหม่ โดยจะพบ
กับตัวแทนของหมวด ณ ที่ใด
ตอบ : จุดแยกหมวด
๑. การปฏิบัติทางทหารที่กระทาเพื่อก่อให้เกิดการสูญเสียแก่กาลังข้าศึกให้มากที่สุดเท่าที่สถานการณ์จะอานวยให้ และปฏิบัติ
ตามลาดับคือ การตั้งรับ, การรบด้วยวิธีรุก การถอนตัวจากการบ และการรบหน่วงเวลา ในทุกโอกาสที่จะก่อให้เกิดการสูญเสีย
ต่อข้าศึก โดยใช้การยิงและการดาเนินกลยุทธ์ให้ได้ผลสูงสุด เมื่อกาลังรบของฝุายเข้าตีมีขีดความสามารถเท่าเทียมกับฝุายตั้งรับ
จะต้องเริ่มปฏิบัติการรบด้วยวิธีรุกโดยการใช้หน่วยกองหนุนของตน สาหรับการปฏิบัติการรบด้วยวิธีร่นถอย หน่วยปฏิบัติมักมี
ขวัญและกาลังใจต่า ดังนั้นเพื่อให้หน่วยสามารถปฏิบัติภารกิจได้เป็นผลสาเร็จ ผู้บังคับหน่วยจะต้องมีวิธีการฟื้นฟู ดารงรักษา
ขวัญ กาลังใจ ให้ทหารภายใต้การบังคับบัญชาของตนมีขวัญและจิตใจรุกรบอยู่เสมอ การปฏิบัติในข้อใดไม่ถูกต้อง ?
ก. ขจัดข่าวลือ
ข. การกวดขันระเบียบวินัย
ค. ใช้ลักษณะผู้นาอย่างสูง
ง. การโฆษณาชวนเชื่อ
๒. ความมุ่งหมายของการปฏิบัติการร่นถอย ก็เพื่อจะรักษาความเป็นกลุ่มก้อนของกาลังรบเอาไว้ จนกว่าจะมีโอกาสที่จะทาการบ
ด้วยวิธีรุก การปฏิบัติการร่นถอยจะกระทา เพื่อเหตุผลประการใดประการหนึ่งหรือหลายประการก็ได้ อยากทราบว่าแบบ/
ประเภทของการรบด้วยวิธีการ่นถอยมีกี่แบบ?
ก. ๒ แบบ นอกความกดดัน, ภายใต้ความกดดัน
ข. ๒ แบบ ไม่สมัครใจ, สมัครใจ
ค. ๓ แบบ การถอนตัว, การรบหน่วงเวลา, การถอย
ง. ๔ แบบ การรบหน่วงเวลาหน้า, การถอนตัว, การตั้งรับ, การถอย
๓. “การจัดกาลังเคลื่อนที่ห่างออกจากข้าศึก โดยอาจเกิดจากการบังคับหรือความสมัครใจก็ได้แต่ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม ในการ
เคลื่อนย้ายมาข้างหลังจะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาชั้นสูงก่อนเสมอ การปฏิบัติการนี้จะปฏิบัติเพื่อรบกวน สร้าง
ความยุ่งยาก ทาให้ข้าศึกกระจัดกระจาย เสียเวลา และทาลายข้าศึก การปฏิบัติการนี้เพื่อให้ได้เวลา หลีกเลี่ยงการรบภายใต้
เงื่อนไขที่เสียเปรียบหรือดึงข้าศึกให้เข้ามาอยู่ในพื้นที่ที่ไม่เอื้ออานวย” กล่าวถึงการรบชนิดใด ?
ก. การรบด้วยวิธีรุก ข. การรบด้วยวิธีรับ
ค. การรบด้วยวิธีร่นถอย ง. การรบหน่วงเวลา
๔.วัตถุประสงค์ในการรบด้วยวิธีร่นถอย ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. หลีกเลี่ยงการรบภายใต้สภาพการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ของฝุายเรา
ข. ดึงข้าศึกเข้าสู่พื้นที่ที่เกื้อกูลต่อการปฏิบัติของฝุายเรา
ค. รบกวนข้าศึกทาให้ข้าศึกอ่อนกาลังลง
ง. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
๕. ปกติผู้บังคับบัญชามักจะเลือกใช้การร่นถอยในลักษณะใด เป็นวิธีที่พึงประสงค์ในการถอนตัวของหน่วย เป็นวิธีที่ดีที่สุด ?
ก. ข้าศึกไม่กดดัน ข. ข้าศึกกดดัน
ค. ไม่สมัครใจ ง. ถอนตัวกลางวัน
๖. การถอนตัวภายใต้ความกดดัน ปกติ ผบ.ร้อย มักจัดส่วนกาบังของกองร้อย เอง โดยพิจารณาจัดจากหน่วยในข้อใด ?
ก. ส่วนระวังปูองกัน ข. ส่วนตั้งรับหน้า
ค. กองหนุน ง. หน่วยข้างเคียง
๗. การถอนตัวเมื่อข้าศึกกดดัน หน่วยปฏิบัติจะจัดกาลังอย่างไร
ก. ส่วนใหญ่ และ ส่วนกาบัง
ข. ส่วนใหญ่ และ ส่วนเหลือไว้ปะทะ
ค. ส่วนรบปะทะ, ส่วนหนุน และส่วนเพิ่มเติม
ง. ส่วนใหญ่, ส่วนน้อย และ ส่วนต้านทาน
๘. การปฏิบัติตามระเบียบการนาหน่วยของ ผบ.หน่วย ในขั้นการ ลว. ถ้า ผบ.หน่วยไม่สามารถทาการ ลว.ได้จะต้องกาหนด
ตัวแทนในการ ลว. ในการปฏิบัติการถอนตัวนั้นโดยปกติ ผบ.ร้อย.กาหนดให้ใคร เป็นผู้ที่ไป ลว. ที่มั่นใหม่แทน ผบ.ร้อย.?
ก. รอง ผบ.ร้อย. ข. รอง ผบ.มว.ปล.
ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. จ่ากองร้อย
๙. การปฏิบัติตามระเบียบการนาหน่วยของ ผบ.หน่วย ในขั้นการ ลว. ถ้า ผบ.หน่วยไม่สามารถทาการ ลว.ได้จะต้องกาหนด
ตัวแทนในการ ลว. ส่วนตัวแทนของ ผบ.มว.ปล.ได้แก่ข้อใด.?
ก. รอง ผบ.ร้อย. ข. รอง ผบ.มว.ปล.
ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. จ่ากองร้อย
๑๐. ร้อย.อวบ.ในการถอนตัว มอบภารกิจให้กับส่วนที่เหลือไว้ปะทะ ทาการลวงและต้านทานข้าศึก หากท่านปฏิบัติหน้าที่ ผบ.
ร้อย.จะแนะนาให้ส่วนที่เหลือไว้ปะทะปฏิบัติอย่างไรจึงจะมีประสิทธิภาพสูงสุดในการลวง ?
ก. เพิ่มเจ้าหน้าที่ ลว.ด้านหลังให้มากขึ้น
ข. แสร้งทาให้เหมือนกับส่วนใหญ่มากที่สุด
ค. แสดงการเคลื่อนย้ายกาลังโดยเปิดเผย
ง. ใช้แสงไฟ เสียงแตรของยานยนต์ บอกที่ตั้งการบรรทุกเมื่อส่วนใหญ่ถอนตัวแล้ว
๑๑. ในการกาหนดมาตรการควบคุมการถอนตัวผู้ที่กาหนดที่รวมพลของ มว.คือข้อใด ?
ก. ผบ.พัน. ข. ผบ.ร้อย.
ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. ผบ.มว.ปล.
๑๒. ในการกาหนดมาตรการควบคุมการถอนตัวผู้ที่กาหนดที่รวมพลของ หมู่ ปก.คือข้อใด ?
ก. ผบ.พัน. ข. ผบ.ร้อย.
ค. รอง ผบ.มว.ปล. ง. ผบ.มว.ปล.
๑๓. ในการการถอนตัวนอกความกัดดันที่รวมพลของ มว.อยู่บริเวณใดของพื้นที่กองร้อย ?
ก. หน้า มว.ปล.ในแนวหน้า ข. ด้านข้างเคียงกันกับ มว.ปล.ในแนวหน้า
ค. หน้า มว.หนุน ของกองร้อย ง. หลัง มว.หนุน ของกองร้อย
๑๔. ในระหว่างการถอนตัวนอกความกดดัน ผบ.ส่วนที่เหลือไว้ปะทะของกองร้อยคือข้อใด ?
ก. รอง ผบ.ร้อย. ข. จ่ากองร้อย
ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. ผบ.มว.ปล.
๑๕. การปฏิบัติของกองร้อยในการถอนตัว เมื่อจัดผู้แทนหน่วยไปตรวจที่มั่นใหม่ ตัวแทนกองร้อยจะแนะนาให้ปฏิบัติในเรื่องต่าง
ๆ เพื่อลดความสับสนของหน่วย ในข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ?
ก. แบ่งเขตการวางกาลังให้กับ มว.ต่าง ๆ
ข. การวางกาลังให้ดารงไว้เหมือนที่มั่นเดิม
ค. ใกล้เวลาให้รอรับกาลังส่วนใหญ่/ส่วนที่เหลือไว้ปะทะ ณ จุดแยกกองร้อย จุดแยก มว.
ง. ที่หมายและแนววางกาลังหน่วยข้างเคียง
๑๖. ส่วนที่เหลือไว้ปะทะของกองร้อย จะถอนตัวเมื่อใด ?
ก. ตามกาหนดเวลาในแผน/คาสั่ง
ข. ตามคาสั่งของ ผบ.ส่วนที่เหลือไว้ปะทะของกองร้อย
ค. ตามแผนของกองร้อย
ง. ถูกทุกข้อ
๑๗. การถอนตัวเมื่อข้าศึกกดดัน ผบ.ร้อย. ควรจะถอนอาวุธชนิดใดท้ายสุดในการถอนตัว
ก. ปก.เอ็ม.๖๐ ในหมู่ ปก. ข. เครื่องยิงลูกระเบิด เอ็ม.๒๐๓
ค. ปลย.เอ็ม ๑๖ ง. เครื่องยิงลูกระเบิด ๖๐ มม.
๑๘. ในภารกิจที่กองร้อยทาหน้าที่เป็นส่วนกาบังของกองพันในการถอนตัวเมื่อข้าศึกกดดัน ผู้ที่กาหนดที่ตั้งขั้นต้นของส่วนกาบัง
คือข้อใด ?
ก. ผบ.พัน. ข. ผบ.ร้อย.
ค. ผบ.มว.ค.๖๐ ง. ผบ.มว.ปล.
๑๙.แนวความคิดพื้นฐานสาหรับการรบหน่วงเวลาข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การรักษาเสรีของการดาเนินกลยุทธ์
ข. บีบบังคับให้ฝุายข้าศึกทาการวางกาลังอย่างต่อเนื่อง
ค. ทาการแลกเวลาที่เพื่อให้ได้พื้นที่
ง. หน่วยทาการเคลื่อนย้ายไปยังที่มั่นรบขั้นต่อไป
๒๐. วิธีการปฏิบัติการรบหน่วงเวลามีวิธีอะไรบ้าง
ก. รั้งหน่วงและตั้งรับ ข. แถวตอนและหน้ากระดาน
ค. ลาดับขั้นและสลับขั้น ง. แนวขั้นและเขตปฏิบัติการ
๒๑. หลักนิยมการหน่วงเวลาในลักษณะพื้นที่ปฏิบัติการกว้างด้านหน้ามาก มักใช้การรบหน่วงเวลาประเภทใด?
ก. การรบหน่วงเวลาที่มั่นตามลาดับขั้น ข. การรบหน่วงเวลาที่มั่นสลับขั้น
ค. การรบหน่วงเวลาที่มั่นแข็งแรง ง. การรบหน่วงเวลาที่มั่นคล่องตัว
๒๒. แนวที่มั่นรบหน่วงเวลาแต่ละแนว ควรจะห่างกันประมาณเท่าใด ในแง่คิดทางยุทธวิธีจึงจะเป็นระยะที่เหมาะสม ?
ก. พ้นระยะยิงของ ค. และ ป.ข้าศึก ข. เดินภายใน ๑ ชั่วโมง
ค. สุดระยะของ พัน.ป.ชต.ของกรม ง. ความลึกของกองพันรบหน่วงเวลา
๒๓. ปัจจัยในการเลือกแบบการรบหน่วงเวลาขึ้นอยู่กับอะไร
ก. ความกว้างของเขตปฏิบัติการ
ข. ความสัมพันธ์ของอานาจกาลังรบฝุายตรงข้าม
ค. ความคล่องแคล่วของฝุายตรงข้ามและจานวนที่ตั้งของที่มั่นรบหน่วงเวลาในทางลึก
ง. ถูกทุกข้อ
๒๔. ปัจจัยในการเลือกแบบการรบหน่วงเวลา กรณีที่ใช้อานาจกาลังรบเปรียบเทียบฝุายเราต่อฝุายข้าศึก ในอัตราส่วนเท่าใด ?
ก. ๓ : ๑ ข. ๔ : ๑
ค. ๕ : ๑ ง. ๖ : ๑
๒๕. แนวที่มั่นรบหน่วงเวลา ไม่ควรมีลักษณะอย่างไร
ก. เป็นสันเขาตัดกับแนวทางการรุกของข้าศึก มีเครื่องกีดขวางตรงหน้า
ข. มีการตรวจการณ์ และทาการยิงได้ระยะไกล
ค. มีการกาบังซ่อนพราง มีข่ายถนนและเส้นทางถอนตัวกาบังและซ่อนพราง
ง. มีภูมิประเทศสาคัญหน้าแนวที่มั่น
๒๖. การถอยเป็นการเคลื่อนย้ายหน่วย เพื่อเพิ่มระยะห่างระหว่างหน่วยถอยกับข้าศึก ให้ออกห่างจากกัน
จะปฏิบัติได้เมื่อ ?
ก. หน่วยไม่ได้ปะทะกับข้าศึก ,หน่วยได้จัดรูปขบวนการเดินทางเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ข. หน่วยพยายามผละออกจากการปะทะ
ค. หน่วยถูกกดดันด้วยกาลัง
ง. หน่วยถูกกดดันด้วยการยิงของ ค.และ ป.ข้าศึก
๒๗. โดยปกติแล้วการถอยจะไม่ปฏิบัติเมื่อใด ?
ก. ไม่ได้ปะทะกับข้าศึก ข. ข้าศึกเข้าตี
ค. หน่วยได้จัดรูปขบวนเดินทางเสร็จเรียบร้อย ง. ข้าศึกไม่กดดัน
๒๘. วิธีการปฏิบัติการในลักษณะที่เป็นการปฏิบัติของหน่วยที่ไม่ได้ปะทะกับ ขศ. ฝุายเราจัดกาลังเคลื่อนที่ไปข้างหลังออกห่าง
จากข้าศึกอย่างมีระเบียบ หมายถึงการปฏิบัติการร่นถอยแบบใด ?
ก. การถอนตัวนอกความกดดัน ข. การถอนตัวภายใต้ความกดดัน
ค. การรบหน่วงเวลา ง. การถอย
๒๙. การถอยนั้นเป็นการปฏิบัติในลักษณะที่หันหลังให้กับข้าศึกฉะนั้นในส่วนที่ ผบ.หน่วยจะต้องจัดกาลัง
ให้มีความพร้อมรบที่เข้มแข็งคือส่วนใด ?
ก. กองกระหนาบ ข. กองระวังหน้า
ค. ส่วนลาดตระเวน ง. กองระวังหลัง
๓๐. การปฏิบัติการร่นถอย เป็นการปฏิบัติการเคลื่อนย้ายหน่วยลงมาทางข้างหรือข้างหลังอย่างเป็นระเบียบ ถ้าเป็นการ
เคลื่อนย้ายด้วยเท้า ระยะที่เหมาะสม คือ ข้อใด ?
ก. ประมาณ ๒๕ กม.ลงมา ข. ประมาณ ๓๐ – ๔๐ กม.
ค. ประมาณ ๓๕ – ๔๕ กม. ง. ประมาณ ๔๕ – ๕๐ กม.
การลาดตระเวนเดินเท้าต่อต้านระเบิดแสวงเครื่อง
* การเคลื่อนที่แบบเดินทาง ผบ.หมู่ จะเคลื่อนที่อยู่ในส่วนใดของหมู่
ตอบ : ชุดยิงนา
* ในการจัดแบ่งหน้าที่ของชุดลาดตระเวนการเคลื่อนที่แบบเดินทาง อยากทราบว่า หน.ชุดยิง มีหน้าที่อะไร
ตอบ : ประเมินสถานการณ์ตลอดเวลา
* การเคลื่อนที่ในรูปขบวนตัวเอ็กซ์ (X) พลยิง เอ็ม ๒๐๓ มีหน้าที่อะไรในชุดยิงนา
ตอบ : รวป.ให้กับคู่บัดดี้ข้างหน้า
* การเคลื่อนที่ด้วยรูปขบวนตัววาย (Y) เมื่อตรวจพบวัตถุต้องสงสัย สิ่งแรกที่ต้องกระทาคือ
ตอบ : กาหนดจุดที่อันตราย
ข้อสอบการสังเกตและการประเมินสถานการณ์
* สิ่งที่ต้องกระทาก่อนการปฏิบัติงานในพื้นที่ จชต. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
ตอบ : ก่อนการใช้ถนน/เส้นทางทุกครั้ง ต้องมีการวางแผนการใช้เส้นทาง โดยการสังเกตและการประเมินภัยคุกคาม
* วงรอบการทางานผู้ก่อความไม่สงบ ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
ตอบ : 1. หาข่าว : จะมีการเฝูาติดตามการปฏิบัติงานของฝุายเราอยู่ตลอดเวลา
2. เฝูาตรวจ : เมื่อกาหนดเปูาหมายแล้ว จะเลือกโอกาสที่จะเข้าโจมตีต่อฝุายเรา
3. แน่นอนจึงลงมือ : เพื่อลดการสูญเสียและลดการถูกติดตามจับกุม

การลาดตระเวน ปปส.

๑. เมื่อผู้บังคับหมู่รู้สึกว่าอยู่ใกล้กับข้าศึก ผู้บังคับหมู่จะใช้วิธีการเคลื่อนที่แบบใด
ก. วิธีการเคลื่อนที่แบบเดินทาง
ข. วิธีการเคลื่อนที่แบบเดินทางเฝูาตรวจ
ค. วิธีการเคลื่อนที่แบบเฝูาตรวจเป็นห้วงๆ
ง. วิธีการเคลื่อนที่แบบผสม
๒. ระเบียบการนาหน่วย ขั้นที่ ๔ ในระดับหมวด ใครเป็นผู้ควบคุมหน่วย
ก. ผบ.หมู่ ปืนกล หรือ ผบ.หมู่ ปล.
ข. ผบ.หมู่ ปล. หรือ รอง ผบ.มว.ปล.
ค. รอง ผบ.มว.ปล. หรือ รอง ผบ.มว.ค.๖๐
ง. หน.ชุดยิงอาวุโส หรือ ผบ.หมู่ ปล.
๓. ระเบียบการนาหน่วย ขั้นที ๘ กล่าวถึง กิจที่ควรซักซ้อมการปฏิบัติ ข้อใดกล่าวผิด
ก. การปฏิบัติ ณ ที่หมาย
ข. การปฏิบัติ ณ พื้นที่เตรียมตะลุมบอน
ค. การปฏิบัติฉับพลัน
ง. การปฏิบัติ ณ พื้นที่เขตหลัง
๔. ระเบียบการนาหน่วย ขั้นการกากับดูแล กล่าวถึงการตรวจขั้นสุดท้ายของ ผบ.หมวดและ
รอง ผบ.หมวด อยากทราบว่าตรวจในเรื่องอะไรบ้าง
ก. ข้อบกพร่องของการตรวจคราวก่อน
ข. เครื่องแต่งกาย
ค. การพราง
ง. ถูกทุกข้อ
๕. การเคลื่อนที่แบบเดินทาง ผบ.หมู่ จะเคลื่อนที่อยู่ในส่วนใดของหมู่
ก. ชุดยิงนา
ข. ชุดยิงตาม
ค. ปิดท้ายขบวน
ง. พลยิง ปลก.
๖. การ ปปส. ที่มีความรุนแรงที่สุดคือพื้นที่อะไร
ก. พื้นที่สีแดง
ข. พื้นที่สีเหลือง
ค. พื้นที่สีเขียว
ง. พื้นที่สีส้ม
๗. พื้นที่ที่รัฐบาลกาหนดให้เป็นพื้นที่ช่วงชิง คือพื้นที่
ก. พื้นที่สีแดง
ข. สีเหลือง
ค. เขียว
ง. ส้ม
๘. พื้นที่ที่อยู่ในความควบคุมของรัฐบาล ได้แก่พื้นที่อะไร
ก. พื้นที่สีแดง
ข. พื้นที่สีเหลือง
ค. พื้นที่สีเขียว
ง. พื้นที่สีส้ม
๙. ขั้นของการก่อความไม่สงบมีกี่ขั้น
ก. ๒ ขั้น
ข. ๓ ขั้น
ค. ๔ ขั้น
ง. ๕ ขั้น
๑๐. ค้นหา จากัดกลไกและดาเนินงานของขบวนการก่อความไม่สงบเพื่อตัดสัมพันธ์และสร้าง
ก. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมช่วยเหลือประชาชน
ข. การพิทักษ์ทรัพยากรและประชาชน
ค. การปราบปรามกองกาลัง
ง. ถูกทุกข้อ
๑๑. การเคลื่อนที่แบบเดินทาง ผบ.หมู่ จะเคลื่อนที่อยู่ในส่วนใดของหมู่การปรับปรุงสภาพแวดล้อมช่วยเหลือประชาชน
ก. ชุดยิงนา
ข. ชุดยิงตาม
ค. ปิดท้ายขบวน
ง. พลยิง ปลก.
๑๒. เพื่อไม่ให้เกิดความเหนื่อยล้า ควรผลัดเปลี่ยน ลว.นา ทุกกี่นาที
ก. ๑๐ นาที
ข. ๒๐ นาที
ค. ๓๐ นาที
ง. ๔๐ นาที
๑๓. ในการจัดแบ่งหน้าที่ของชุดลาดตระเวนการเคลื่อนที่แบบเดินทาง อยากทราบว่า หน.ชุดยิง มีหน้าที่อะไร
ก. ประเมินสถานการณ์ตลอดเวลา
ข. ทาหน้าที่โจมตีขั้นต้น
ค. ทาหน้าที่คุ้มกันระวังปูองกัน
ง. วางแผนการเคลื่อนที่
๑๔. การเคลื่อนที่ในรูปขบวน ตัวเอ็กซ์ (X) พลยิง เอ็ม ๒๐๓ มีหน้าที่อะไรในชุดยิงนา
ก. ประเมินสถานการณ์ตลอดเวลา
ข. เคลื่อนที่ไปกับ หน.ชุดยิงนา
ค. เคลื่อนที่ไปกับ พล.ปล.
ง. รวป.ให้กับคู่บัดดี้ข้างหน้า
๑๕. การเคลื่อนที่ด้วยรูปขบวนตัววาย (Y) เมื่อตรวจพบวัตถุต้องสงสัย สิ่งแรกที่ต้องกระทาคือ
ก. ลว.สองข้างทาง
ข. ตรวจจุดที่อยู่ของตนเอง ๕-๑๕-๒๕
ค. กาหนดจุดที่อันตราย
ง. วิเคราะห์พื้นที่
๑๖. เมื่อมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดการปะทะกับ ผกร. ควรใช้เทคนิคการเคลื่อนที่แบบใด
ก. การเคลื่อนที่แบบเดินทาง
ข. การเคลื่อนที่แบบเดินทางเฝูาตรวจ
ค. การเคลื่อนที่แบบชุดยิงนา
ง. การเคลื่อนที่แบบเดินทางเฝูาตรวจ-เคลื่อนที่สลับ
๑๗. เมื่อผู้บังคับหมู่รู้สึกว่าอยู่ใกล้กับข้าศึก ผู้บังคับหมู่จะใช้วิธีการเคลื่อนที่แบบใด
ก. วิธีการเคลื่อนที่แบบเดินทาง
ข. วิธีการเคลื่อนที่แบบเดินทางเฝูาตรวจ
ค. วิธีการเคลื่อนที่แบบเฝูาตรวจเป็นห้วงๆ
ง. วิธีการเคลื่อนที่แบบผสม
๑๘. ระเบียบการนาหน่วย ขั้นที่ ๔ ในระดับหมวด ใครเป็นผู้ควบคุมหน่วย
ก. ผบ.หมู่ ปืนกล หรือ ผบ.หมู่ ปล.
ข. ผบ.หมู่ ปล. หรือ รอง ผบ.มว.ปล.
ค. รอง ผบ.มว.ปล. หรือ รอง ผบ.มว.ค.๖๐
ง. หน.ชุดยิงอาวุโส หรือ ผบ.หมู่ ปล.
๑๙. ระเบียบการนาหน่วย ขั้นที ๘ กล่าวถึง กิจที่ควรซักซ้อมการปฏิบัติ ข้อใดกล่าวผิด
ก. การปฏิบัติ ณ ที่หมาย
ข. การปฏิบัติ ณ พื้นที่เตรียมตะลุมบอน
ค. การปฏิบัติฉับพลัน
ง. การปฏิบัติ ณ พื้นที่เขตหลัง
๒๐. ระเบียบการนาหน่วย ขั้นการกากับดูแล กล่าวถึงการตรวจขั้นสุดท้ายของ ผบ.หมวดและรอง ผบ.หมวด อยากทราบว่า
ตรวจในเรื่องอะไรบ้าง
ก. ข้อบกพร่องของการตรวจคราวก่อน
ข. เครื่องแต่งกาย
ค. การพราง
ง. ถูกทุกข้อ
๒๑. หลักการในการปูองกันการปราบปรามการก่อความไม่สงบที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
ก. มีเอกภาพในการปฏิบัติ,ให้ข่าวกรองมากที่สุด, ลดความรุนแรงให้เหลือน้อยที่สุด
ข. การเตรียมการฝึกกาลังพลให้มีประสิทธิภาพและเข้าใจพื้นที่ปฏิบัติการ
ค. เข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น หน่วยมีงบประมาณเพียงพอ
ง. มีการวางแผนที่ดี สามารถปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุได้ตลอด ๒๔ ชม.
๒๒. การพัฒนาประเทศ, การพัฒนาชุมชน, การพัฒนาพิเศษ ( เฉพาะพื้นที่) และการช่วยเหลือประชาชน กล่าวถึง
กาหนดการในการ ปปส. เรื่องอะไร
ก. ยุทธศาสตร์พัฒนาและการเสริมความมั่นคง
ข. การใช้มาตรการหลัก ๓ เสริม ๒
ค. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมช่วยเหลือประชาชนและทรัพยากร
ง. ถูกทุกข้อ
๒๓. ภูมิประเทศสาคัญยิ่งในการปฏิบัติทางทหารในการ ปปส. คือ
ก. ฐานปฏิบัติการกองโจร
ข. หัวหน้ากลุ่มขบวนการ
ค. ประชาชนในพื้นที่
ง. พื้นที่ปฏิบัติการรับผิดชอบ
๒๔. การแบ่งพื้นที่ในการ ปปส.”กองร้อย” โดยใช้เส้นแบ่งเขตการปกครองกระทรวงมหาดไทย คือ
ก. จังหวัด
ข. อาเภอ
ค. ตาบล
ง. หมู่บ้าน
๒๕. การแบ่งมอบพื้นที่ในการ ปปส. “กองพันทหารราบ” โดยใช้เส้นแบ่งเขตการปกครองกระทรวงมหาดไทย คือ ?
ก. จังหวัด
ข. อาเภอ
ค. ตาบล
ง. หมู่บ้าน
๓๓. การเสริมความมั่นคง ณ ที่หมายและจัดระเบียบใหม่ ต้องทาทันทีที่ยึดที่หมายได้ การจัดวางกาลัง
มอบเขตการยิง ดัดแปลงภูมิประเทศ ปูองกันการตีโต้ตอบจากข้าศึก โดยใช้หลักการอะไร ?
ก. หลักการเข้าตี ข. หลักการตั้งรับ
ค. หลักการร่นถอย ง. หลักการรบหน่วงเวลา
๓๔. ภารกิจของหมู่ปืนกลในการเข้าตี คืออะไร ?
ก. สนับสนุน มว.ปล.อย่างใกล้ชิด ข. ผลักดันข้าศึก
ค. ยับยั้งข้าศึก ง. ไม่มีข้อใดถูก
๓๕. ลักษณะที่ตั้งยิงของปืนกล ควรมีลักษณะอย่างไร ?
ก. ตรวจการณ์เห็นเปูาหมาย ข. มีพื้นการยิงดี
ค. มีการกาบังและซ่อนพราง ง. ถูกทุกข้อ
๓๖. การเข้าตีในเวลากลางคืนของ มว.ปล. กระทาเพื่อสิ่งใด ?
ก. ชิงความได้เปรียบ ข. ขยายผลแห่งความสาเร็จ
ค. หลีกเลี่ยงการสูญเสีย ง. ถูกทุกข้อ
๓๗. จุดแยกหมวด ในการเข้าตีเวลากลางคืน ใครเป็นผู้กาหนด ?
ก. ผบ.พัน. ข. ผบ.ร้อย.
ค. ผบ.มว. ง. ผบ.หมู่
๓๘. แนวปรับรูปขบวน ผบ.ร้อย.เป็นผู้กาหนด อยู่ห่างจากที่หมายประมาณเท่าใด ?
ก. ๑๐๐ – ๒๐๐ เมตร ข. ๑๕๐ – ๒๐๐ เมตร
ค. ๑๐๐ – ๑๕๐ เมตร ง. ๒๐๐ – ๓๐๐ เมตร
๓๙. การติดต่อสื่อสารในการเข้าตีเวลากลางคืน จะใช้การติดต่อสื่อสารทางใดเป็นหลัก จนกว่าข้าศึก
จะตรวจพบ ?
ก. วิทยุ ข. ท่าสัญญาณ
ค. โทรศัพท์สนาม ง. เสียงสัญญาณ
๔๐. ชุดลาดตระเวนของ มว.ประกอบด้วยกาลัง ๔ – ๖ นาย มีใครบ้าง ?
ก. ตัวแทน บก.มว. ๒ นาย , ตัวแทน หมู่ ปล.หมู่ละ ๑ นาย
ข. ตัวแทน บก.มว. ๑ นาย , ตัวแทน หมู่ ปล.หมู่ละ ๑ นาย
ค. ตัวแทน บก.มว. ๒ นาย , ตัวแทนหมู่ ปล.,หมู่ ปก. หมู่ละ ๑ นาย
ง. ตัวแทน บก.มว. ๑ นาย , ตัวแทนหมู่ ปล.,หมู่ ปก.หมู่ละ ๑ นาย
วิชา พลแม่นปืน (15 ข้อ)
1. ท่ายิงที่มั่นคงที่สุดคือท่าใด ?
ก. ท่านอนยิง ข. ท่ายืนยิง
ค. ท่านั่งสูงยิง ง. ได้ทุกท่า
2. ศูนย์ “ L ” ใช้ยิงระยะเท่าใด ?
ก. เกินกว่า 300 เมตร ข. ต่ากว่า 300 เมตร
ค. 0 – 200 เมตร ง. 0 – 100 เมตร
3. การหมุนศูนย์หน้าทวนเข็มนาฬิกา จะทาให้รอยกระสุนถูกสูงขึ้นหรือต่าลง ?
ก. สูงขึ้น ข. ไม่มีผล
ค. ออกขวา ง. ต่าลง
4. วิธีแก้อาการส่ายของปืนขณะที่ทาท่ายิงและเล็งอยู่นั้น จะต้องแก้อย่างใด ?
ก. การเล็ง ข. การกะระยะ
ค. การมอง ง. ท่ายิงและการควบคุมไก
5. หนึ่งคลิกของควงมุมสูงและควงมุมทิศของปืนเล็กยาว เอ็ม.16 ในระยะ 25 เมตร จะเลื่อนรอยกระสุนถูกกี่ซม.?
ก. 0.7 ซม. ข. 2.4 ซม.
ค. 2.8 ซม. ง. 3 ซม.
6. ท่ายิงพื้นฐานในการฝึกพลแม่นปืนมีกี่ท่า
ก. 5 ท่า
ข. 4 ท่า
ค. 3 ท่า
ง. 2 ท่า
7. ในเรื่องของหลักพื้นฐานการยิงปืน 4 ประการ “ท่ายิงที่มั่นคง” ในการวางศอกข้างที่ไม่ถนัด ต้องวางในตาแหน่งใด ข้อใดกล่าว
ถูกต้องที่สุด?
ก. วางไว้ใต้ตัวปืน
ข. วางไว้ข้างตัวปืน
ค. วางไว้ในตาแหน่งที่ถนัด
ง. ไม่มีข้อถูก
8. การใช้ศูนย์หลังของ ปลย.เอ็ม 16 A 1 ในการยิงปรับปืนในสนาม 1000 นิ้ว (25 เมตร) ข้อใดถูกต้อง ?
ก. ใช้ศูนย์ระยะใกล้
ข. ใช้ศูนย์รูใหญ่
ค. ใช้ศูนย์ระยะไกล
ง. ใช้ศูนย์ R
9. ข้อใดกล่าวถึงหลักพื้นฐานการยิงปืน 4 ประการ ได้ถูกต้องที่สุด
ก. ท่ายิงที่มั่นคง, การเล็ง, การควบคุมลมหายใจ, การลั่นไก
ข. ท่ายิงที่มั่นคง, การจัดภาพศูนย์พอดี, การจัดศูนย์นั่งแท่น, การลั่นไก
ค. ท่ายิงที่มั่นคง, การเล็ง, การลั่นไก, การเล็งตาม
ง. ท่ายิงทีม่ ั่นคง, การเล็ง, การผ่อนคลาย, การลั่นไก
10. ในการปรับศูนย์ ปลย. เอ็ม 16 A 1 เมื่อต้องการให้ตาบลกระสุนถูกสูงขึ้นต้องทาอย่างไร?
ก. หมุนศูนย์หน้าตามเข็มนาฬิกา
ข. หมุนศูนย์หน้าตามลูกศร UP
ค. หมุนศูนย์หน้าตามลูกศร R
ง. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก
11. ข้อใดกล่าวถึง ความมุ่งหมายของการยิงจัดกลุ่ม ได้ต้องที่สุด?
ก. การยิงให้กระสุนถูกเปูาเป็นกลุ่มเล็ก และกลุ่มกระสุนคงที่
ข. การยิงให้กระสุนถูกกึ่งกลางเปูา
ค. การย้ายตาบลกระสุนให้ถูกเปูา
ง. ไม่มีข้อถูก
12. ข้อใดกล่าวถึงการลั่นไกได้ถูกต้องที่สุด
ก. ลั่นไกอย่างเร็ว
ข. ลั่นไกโดยการค่อยๆสร้างแรงบีบ
ค. ลั่นไกที่ละคลิก
ง. ลั่นไกโดยใช้ปลายนิ้ว โดยค่อยๆสร้างแรงบีบ
13. ในเรื่องของหลักพื้นฐานการยิงปืน 4 ประการ “การเล็ง”ประกอบด้วย ศูนย์หลัง ศูนย์หน้า และเปูา ตาผู้ยิงจะต้องจ้องที่
จุดใด?
ก. เปูา
ข. ศูนย์หลัง
ค. ศูนย์หน้า
ง. ถูกทุกข้อ
14. ในการปรับ ปลย. เอ็ม 16 A 1 เมื่อต้องการปรับให้ตาบลกระสุนถูกไปทางซ้าย ต้องปรับศูนย์หลังอย่างไร?
ก. ตามลูกศร L
ข. ตามลูกศร R
ค. ทวนลูกศร L
ง. ทวนลูกศร R
15. การปรับศูนย์ ปลย. เอ็ม 16 A 1 ในระยะ 25 เมตร ทั้งทางทิศและทางระยะ 1 คลิก จะมีค่าเท่าไร?
ก. 0.77 มิลลิเมตร
ข. 0.7 มิลลิเมตร
ค. 0.77 เซนติเมตร
ง. 0.7 เซนติเมตร
วิชา พลแม่นปืน
*ท่ายิงที่มั่นคงที่สุดคือท่าใด
ตอบ : ท่านอนยิง
*ศูนย์ “ L ” ใช้ยิงระยะเท่าใด
ตอบ : เกินกว่า300 เมตร
*การหมุนศูนย์หน้าทวนเข็มนาฬิกาจะทาให้รอยกระสุนถูกสูงขึ้นหรือต่าลง
ตอบ : ต่าลง
*วิธีแก้อาการส่ายของปืนขณะที่ทาท่ายิงและเล็งอยู่นั้นจะต้องแก้อย่างใด
ตอบ : ท่ายิงและการควบคุมไก
*ท่ายิงพื้นฐานในการฝึกพลแม่นปืนมีกี่ท่า
ตอบ : 2 ท่า
*การใช้ศูนย์หลังของ ปลย.เอ็ม16 A 1 ในการยิงปรับปืนในสนาม 1000 นิ้ว (25 เมตร) ข้อใดถูกต้อง
ตอบ : ใช้ศูนย์ระยะไกล
*ข้อใดกล่าวถึงหลักพื้นฐานการยิงปืน 4 ประการ ได้ถูกต้องที่สุด
ตอบ : ท่ายิงที่มั่นคง, การเล็ง, การควบคุมลมหายใจ, การลั่นไก
*ในการปรับ ปลย. เอ็ม16 A 1 เมื่อต้องการปรับให้ตาบลกระสุนถูกไปทางซ้าย ต้องปรับศูนย์หลังอย่างไร
ตอบ : ทวนลูกศร R
วิชา หลักยิงปืนเล็ก
*การกะระยะด้วยสายตาโดยวิธีกาหนดหน่วยหลัก100 เมตรโดยวิธีนับก้าวควรฝึกให้ทหารสามารถกะระยะได้ถูกต้องและ
แม่นยาได้ไกลสุดถึงระยะประมาณเท่าใด
ตอบ : 500 เมตร
*การยิงปลย.ให้วิถีกระสุนสูงไม่เกินความสูงของคนยืน (180 ซม.) ย่านอันตรายจะมีถึงระยะประมาณเท่าใด
ตอบ : 700 เมตร
*เปูาหมายที่มลี ักษณะความกว้างและความลึกเกือบเท่ากันเปูาหมายลักษณะนี้เรียกว่าอย่างไร
ตอบ : เปูาหมายเป็นพื้นที่
*ในการยิงตะลุมบอนเครื่องยิงลูกระเบิดเอ็ม.79 หรือเอ็ม.203 จะไม่ทาการยิงด้วยกระสุนระเบิดใกล้กับทหารฝุายเดียวกันใน
ระยะประมาณกี่เมตร
ตอบ : 31 เมตร
*ประเภทการยิงของปืนเล็กยาวและปืนเล็กกลมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบ : 2 ประเภท คือ การยิงเกี่ยวกับเปูาหมาย และการยิงเกี่ยวกับพื้นที่
*การกะระยะด้วยสายตาที่แม่นยานั้น ทหารสามารถฝึกได้ถึงระยะเท่าไร
ตอบ : 500 หลา
*ข้อใดกล่าวถึง “กระสุนวิถี” ปืนเล็กยาว ที่ถูกต้องคือข้อใด
ตอบ : ทางเดินของลูกกระสุนที่แล่นออกไปจากปากลากล้องปืน จนถึง เปูาหมายหรือตาบลกระสุนตก
*ข้ออธิบายถึง “การยิงกวาด” ได้ถูกต้องที่สุด
ตอบ : การยิงกวาด คือการยิงในระยะไม่เกิน 600 เมตร ยอดกระสุนวิถีสูงไม่เกิน 1 เมตร หรือ เอวของคนยืน
วิชาอาวุธ
ปพ.๘๖
* อัตรากระสุนมูลฐานของ ปพ.๘๖ กี่นัด
ตอบ : ๒๑ นัด/กระบอก
* ท่ายิงปกติของ ปพ.๘๖ คือข้อใด
ตอบ : ท่ายืนยิง
ปลย.๑๑
* ข้อใดคือโอกาสใช้เล็งที่ศูนย์บาก ปลย.๑๑
ตอบ : ทัศนะวิสัยไม่ดี เปูาเคลื่อนที่ระยะไม่เกิน ๑๐๐ ม.
* ปลย.๑๑ ระบายความร้อนด้วยอากาศ แต่มีระบบการทางานด้วยอะไร
ตอบ : ด้วยการถอยหลังของส่วนเคลื่อนที่
ปลย. เอ็ม ๑๖ เอ ๑
* ในระยะ ๒๕ เมตร หมุนศูนย์หน้าของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๑ ไป ๑ คลิ๊ก จะเลื่อนตาบลกระสุนไปเท่าใด
ตอบ : ๐.๗ ซม.
* ศูนย์หลังของ ปลย. เอ็ม ๑๖ เอ ๑ ที่มีเครื่องหมายตัว L ใช้สาหรับยิงระยะใด
ตอบ : ๓๐๐ - ๕๐๐ เมตร
* อัตรากระสุนมูลฐานของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๑ คือข้อใด
ตอบ : ๓๘๐ นัด
ปลย. เอ็ม. ๑๖ เอ. ๒
* การปรับศูนย์หลังทางทิศ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ.๒ จานวน ๑ คลิ๊กในระยะ ๒๕ เมตร หรือในสนาม ๑,๐๐๐ นิ้วจะเปลี่ยนตาบล
กระสุนถูกไปเท่าไร
ตอบ : ๐.๓๓ มม.
* ที่จานปรับทางระยะของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๒ สามารถเลื่อนระยะได้เท่าไรถึงเท่าไร
ตอบ : ๓๐๐ – ๘๐๐ เมตร
* ระยะยิงหวังผลเป็นจุดของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๒ ข้อใดถูก
ตอบ : ๕๕๐ เมตร
ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๔
* ก่อนทาการยิงปรับศูนย์รบของ ปลย. เอ็ม ๑๖ เอ ๔ ในสนาม ๑,๐๐๐ นิ้ว จะต้องตั้งจานปรับทางระยะเท่าใด
ตอบ : ๖/๓ +๒ คลิ๊ก
* ที่จานปรับทางระยะของ ปลย.เอ็ม.๑๖ เอ ๔ สามารถเลื่อนระยะได้เท่าไรถึงเท่าไร
ตอบ : ๓๐๐ – ๖๐๐ เมตร
ปลย.ทาโวร์
* การปรับกล้องเล็งสะท้อนภาพ MEPRO ในทางทิศและทางระยะ จานวน ๑ คลิ๊ก ในระยะ ๒๕ เมตร
หรือในสนาม ๑,๐๐๐ นิ้ว จะเปลี่ยนตาบลกระสุนถูกไปเท่าไร
ตอบ : ๑ ซม.
* ข้อใดไม่ใช่สาเหตุในการติดขัดของ ปลย.ทาโวร์ สาเหตุที่ ๑ (ตาแหน่งหน้าลูกเลื่อนปิด)
ตอบ : กระสุนซ้อน
* อะไรคือข้อได้เปรียบของปืนเล็กยาวแบบ bull pup
ตอบ : ลากล้องยาว, ปืนสั้น
ปลก. เอ็ม. ๒๔๙ (มินิมิ)
* ระยะยิง ปลก. เอ็ม. ๒๔๙ (มินิมิ) ข้อความต่อไปนี้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ตอบ : ระยะการยิงกวาดพื้นที่ลาดเสมอ ๗๐๐ ม.
* ปลก.เอ็ม.๒๔๙ มินิมิ การปรับทางระยะที่ศูนย์หลัง (ศูนย์รู) ระยะ ๑๐๐ เมตรหมุน ๑ คลิ๊กหรือครึ่งรอบจะเปลี่ยนรอย
กระสุนถูกไปเท่าไร
ตอบ : ๕ ซม.
* ปลก. เอ็ม. ๒๔๙ (มินิม)ิ การยิงปรับศูนย์รบ ในระยะ ๑๐๐ เมตร ตั้งศูนย์ระยะ ๓๐๐ เมตร มุมทิศ ๐ (ศูนย์) ต้องการให้กลุ่ม
กระสุนอยู่บริเวณใดของตาบลเล็ง
ตอบ : สูงจากตาบลเล็ง ๑๒.๕ ซม.
ปลก.เนเกฟ
* ในการปรับศูนย์ของ ปลก.เนเกฟ ในระยะ ๒๕ เมตร ในทางทิศและทางระยะที่ศูนย์หน้ามีค่าเท่ากันอยากทราบว่าหมุน ๒
คลิ๊ก จะเปลี่ยนตาบลกระสุนถูกเท่าไร
ตอบ : ๑.๔ ซม.
* ในการยิงปรับศูนย์รบ ปลก. เนเกฟ ระยะ ๒๕ เมตร กลุ่มกระสุนจะต้องอยู่บริเวณใด
ตอบ : สูงจากตาบนเล็ง ๐.๘ ซม.
* หลักการใหญ่ ๆ ในการทางานของ ปลก.เนเกฟ มีดังต่อไปนี้ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ตอบ : ทางานด้วยส่วนเคลื่อนที่
ปก.เอ็ม.๖๐
* ปก.เอ็ม.๖๐ ใน ๑ หมู่ ปก. จะมีกาลังพลกี่นาย
ตอบ : ๙ นาย
* กระสุน ปก.เอ็ม.๖๐ ขนาด ๗.๖๒ x ๕๑ มม. นาโต้มีกี่ชนิด
ตอบ : ค. ๖ ชนิด
* การอ่านมาตราที่ราวส่ายปืน ปก.เอ็ม.๖๐ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ตอบ : จากจุดกึ่งกลางไปทางขวา ๔๕๐ มิลเลียม
ปก.๓๘
* ระยะยิงหวังผลของ ปก.๓๘ เท่าไร
ตอบ : ๑,๘๐๐ ม.
* อัตรากระสุนมูลฐาน ของ ปก.๓๘ ใน ๑ กระบอกจะมีกระสุนจานวนกี่นัด
ตอบ : ๓,๑๐๐ นัด
* ปก.๓๘ เมื่อพับศูนย์หลังลง (ศูนย์รู) สามารถตั้งระยะยิงได้เท่าไร
ตอบ : ๒๐๐ – ๘๐๐ เมตร
ค.เอ็ม.๒๐๓
* ถ้าทาการยิง ค.ขนาด ๔๐ มม.เอ็ม.๒๐๓ กระสุนไม่ลั่นหรือลั่นช้าให้ทาการปฏิบัติอย่างไร
ตอบ : คอย ๓๐ วินาที
* ค.ขนาด ๔๐ มม. เอ็ม.๒๐๓ ระยะยิงหวังผลเป็นจุดและเป็นพื้นที่เท่าใด
ตอบ : เป็นจุด ๑๕๐ เมตร เป็นพื้นที่ ๓๕๐ เมตร
* ค.เอ็ม.๒๐๓ ขนาด ๔๐ มม. ระยะที่ปลอดภัยในการฝึก(กระสุนระเบิดและซ้อมยิง)คือระยะใด
ตอบ : ๘๐ เมตร
ค.อัตโนมัติ ๔๐ มม.
* อัตรามูลฐานกระสุน ค.อัตโนมัติ ๔๐ มม. มีจานวน เท่าไร (ตามคาสั่ง ทบ.)
ตอบ : ๓๒๐ นัด
* การบรรจุกระสุน ค.อัตโนมัติ ๔๐ มม. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
ตอบ : ก่อนบรรจุกระสุนต้องดึงคันรั้งลูกเลื่อนมาข้างหลังสุด
* ค.อัตโนมัติ ๔๐ มม. ระยะยิงที่ปลอดภัยในการยิงกระสุนระเบิดแรงสูงและกระสุนระเบิดแรงสูงสองความมุ่งหมายในการฝึก
กี่เมตร
ตอบ : ไม่น้อยกว่า ๒๐๐ เมตร
ปรส.ขนาด ๘๔ มม. CARL-GUSTAF M 3
* ปืนไร้แรงสะท้อน ขนาด ๘๔ มม. แบบ เอ็ม.๓ มีระยะหวังผลเท่าไร เมื่อใช้กล้องเล็งและกระสุน HEAT 551
ตอบ : เปูาหมายอยู่กับที่ ๗๐๐ เมตร เปูาหมายเคลื่อนที่ ๔๐๐ เมตร
* กระสุน ปรส.ขนาด ๘๔ มม. แบบ เอ็ม.๓ (CARL-GUSTAF M 3) ที่ใช้ทางยุทธวิธีมี ๕ ชนิด สาหรับกระสุนที่ใช้ได้
อเนกประสงค์ คือทั้งทาลายยานเกราะ,ที่ตั้งยิงและเปูาหมายอื่นๆ คือกระสุนชนิดใด
ตอบ : HEDP 502
* พื้นที่อันตรายท้ายเครื่องยิงของ ปรส.๘๔ มม.เอ็ม.๓ มีระยะเท่าไร
ตอบ : ๖๕ เมตร
เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด ๖๐ มม.
* การตั้ง ค.ปกติควรตั้งกล้องเล็งอย่างไร
ตอบ : ตั้งมุมทิศ ๐
* ข้อใดคือส่วนประกอบของกล้องเล็ง เอ็ม.๔
ตอบ : ควงมุมสูง
* ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะของ ค. ขนาด ๖๐ มม.
ตอบ : ใช้กล้องเล็ง เอ็ม.๕๓ เท่านั้น เป็นเครื่องช่วยเล็ง
อาวุธกลุ่มสังคมนิยม
* ปลย.SKS.(เซกาเซ) ซองกระสุนซึ่งติดกับตัวปืน สามารถบรรจุกระสุนได้กี่นัด
ตอบ : ๑๕ นัด
* ปลย.AK.๔๗ ใช้กระสุนขนาดกี่มม.
ตอบ : ๗.๖๒ x ๓๙ มม.
* อาวุธปืนชนิดใดที่มีดาบปลายปืนติดอยู่ทางด้านข้างของตัวปืน
ตอบ : ปลย.คาร์ไบน์ M ๑๔๙๙
วัตถุระเบิดและการทาลาย
* ระบบการจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุชนวนมีองค์ประกอบการจุดอย่างไร
ตอบ : เครื่องจุดชนวน - ชนวนฝักแคเวลา – เชื้อปะทุชนวน – ดินระเบิด
* ระบบการจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุไฟฟูา มีองค์ประกอบการจุดระเบิดอย่างไร
ตอบ : ตู้จุดระเบิด - สายไฟฟูาคู่ – เชื้อปะทุไฟฟูา- ดินระเบิด
* ดินระเบิดชนิดใด ที่ไวต่อการระเบิดมากที่สุด
ตอบ : อาร์.ดี.เอ๊กซ์
ทุ่นระเบิด
* ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลแบบ M ๑๔ ทางานด้วยน้าหนักกดเท่าไร
ตอบ : ๒๐-๓๕ ปอนด์
* ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลแบบ M ๑๘ A ๑ มีระยะหวังผลเท่าไร
ตอบ : ๕๐ เมตร
* พลุส่องสว่าง แบบ M ๔๙ A ๑ เมื่อเกิดการทางานขึ้นสามารถส่องสว่างได้นานเท่าไร
ตอบ : ๕๕ – ๗๐ วินาที
กับระเบิด
* ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการจุดระเบิด กับระเบิดแสวงเครื่องพวกใช้เชื้อปะทุชนวน
ตอบ : ดินระเบิด , เชื้อปะทุชนวน และเครื่องจุดระเบิดมาตรฐาน
* ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการจุดระเบิด กับระเบิดแสวงเครื่องพวกใช้เชื้อปะทุไฟฟูา
ตอบ : ดินระเบิด , เชื้อปะทุไฟฟูา , สวิทช์จุดระเบิด และแบตเตอรี่
* ข้อใดไม่ใช่ข้อพิจารณาในการวางกับระเบิด
ตอบ : ความไม่อยากรู้อยากเห็น
ระเบิดแสวงเครื่อง
* ANFO คือ อะไร
ตอบ : แอมโมเนียมไนเตรท + น้ามันเชื้อเพลิง
* ข้อใดคือหลักเกณฑ์ที่ใช้จาแนกวัตถุต้องสงสัยออกจากสิ่งของทั่วไป
ตอบ : ๓ ไม่ ๑ ดู
* ระบบจุดระเบิดแบบใดเหมาะสาหรับเปูาหมายเคลื่อนที่
ตอบ : บังคับจุดด้วยสายไฟฟูาคู่

ป้อมสนาม
* หลุมต่อไปนี้ หลุมใดที่มีความลึกระดับเอวเท่านั้น
ตอบ : ค. ๖๐ แบบหลุมบุคคล ๒ หลุม
* ข้อใดเป็นขนาดของหลุมบุคคลเดี่ยวที่ถูกต้อง
ตอบ : กว้าง ๒ ฟุต ยาว ๓ ๑/๒ ฟุต ลึกระดับอกผู้ใช้
* มูลดินของหลุมบุคคลแบบมาตรฐาน ปกติจะมีโดยรอบหลุม ๔ ด้าน ขนาดของมูนดินที่ถูกต้องคือข้อใด
ตอบ : กว้าง ๓ ฟุต สูง ๖ นิ้ว

เครื่องกีดขวาง
* เครื่องกีดขวางลวดหนามทางยุทธวิธีจะจัดสร้างอยู่หน้าแนวตั้งรับดังนี้
ตอบ : ตามแนวยิงปูองกันขั้นสุดท้ายของฝุายเรา
* เครื่องกีดขวางลวดหนามปูองกันตนจะจัดสร้างอยู่หน้าแนวตั้งรับให้อยู่ห่างพอพ้นระยะขว้างระเบิดโดยปกติ
ตอบ : ระยะ ๓๐ – ๑๕๐ เมตร
* การพันลวดเข้ากับเสาเหล็กเกลียวมีอยู่ ๒ แบบดังนี้
ตอบ : การพันลวดกับตาบนและตากลาง
วิชา การร้องขอการปรับการยิง ค.- ป.(เพิ่ม 20 ข้อ)
1. เครื่องมือเครื่องใช้ของผู้ตรวจการณ์ ที่ใช้วัดมุมทางระดับ เพื่อนามาคานวณการย้ายยิง เรียกว่าอะไร ?
ก. แผ่นเรขายิง ข. เข็มทิศ แบบ เอ็ม.2
ค. กล้องส่องสองตา ง. ข้อ ข.และ ค. ถูกต้อง
2. เปูาหมายที่เหมาะสมจะทาการยิงด้วย ค.หรือ ป. มากกว่าการใช้อาวุธ ชนิดอื่น ๆ ทาการยิงคือ ?
ก. ปืนกล ข. คลัง
ค. ทหารขุดดิน ง. เปูาหมายที่อยู่หลังเนิน
3. การกาหนดที่ตั้งเปูาหมายด้วยวิธีพิกัดตารางที่ถูกต้องคือการบอกอะไร ?
ก. มุมภาค,พิกัด ข. พิกัด,มุมภาค
ค. พิกัด,ระยะ ง. พิกัด,มุมภาค,ระยะ
4. ความถูกต้องในการบอกที่ตั้งเปูาหมาย การย้ายทางข้างหรือการแก้ทางข้าง บอกเป็นจานวนเต็มเท่าไร ?
ก. 1 เมตร ข. 5 เมตร ค. 10 เมตร ง. 50 เมตร
5. ความถูกต้องในการบอกทิศทาง ผู้ตรวจการณ์จะต้องบอกเป็นจานวนเต็มกี่มิลเลียม ?
ก. 5 มิลเลียม ข. 10 มิลเลียม ค. 20 มิลเลียม ง. 50 มิลเลียม
6. “หัวหิน จาก สวนสน” เป็นนามเรียกขานระหว่าง ผตน.กับ ศอย. เป็นองค์ประกอบคาขอยิงว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก. คาสั่งเตือน ข. นามข่ายสื่อสาร
ค. การแสดงตนของ ผตน. ง. คาสั่งเตรียม
7. ท่านเป็น ผต.ตรวจพบที่ตั้ง ปก.2 กระบอก วัดมุมภาคได้ 6000 มิลเลียม กะระยะได้ 2300 เมตร วัดมุมดิ่ง -13 มิลเลียม ที่
อยู่ของท่านได้กรุยไว้ในแผ่นเรขายิงแล้ว ท่านตัดสินใจบอกที่ตั้งเปูาหมายด้วยวิธีใด ?
ก. วิธีพิกัดตาราง ข. วิธีย้ายจากจุดที่ทราบ
ค. วิธีโปล่าร์ ง. วิธีใช้สูตรมิลเลียม
8. เมื่อ ผตน.ส่งคาขอยิงไปหมดแล้ว นึกขึ้นได้ว่าได้ส่งระบบผิด จะต้องใช้คาพูดว่าอย่างไร ไปยัง ศอย. ?
ก. หยุดยิง ข. เลิกยิง ค. ผิดหยุด,หยุดยิง เลิกยิง ง. ผิดหยุด แล้วส่งข้อความที่ถูกไปใหม่
9. มาตรามุมทิศของ เข็มทิศ เอ็ม.2 หนึ่งขีด มีค่ากี่มิลเลียม ?
ก. 10 เมตร ข. 10 มิลเลียม
ค. 20 มิลเลียม ง. 5 เมตร
10. มาตราทางระดับหนึ่งช่อง มีค่าเท่ากับกี่มิลเลียม ?
ก. 10 เมตร ข. 10 มิลเลียม
ค. 20 มิลเลียม ง. 5 เมตร
11. เข็มทิศ เอ็ม.2 จะมีตัวเลขกากับไว้ทุก ๆ กี่มิลเลียม ?
ก. 100 มิลเลียม ข. 200 มิลเลียม
ค. 50 มิลเลียม ง. 200 เมตร
12. มาตราทางระดับของกล้องส่องสองตา แบ่งออกเป็นกี่ช่อง ?
ก. 10 ช่อง ข. 20 ช่อง
ค. 50 ช่อง ง. 40 ช่อง
13. เข็มทิศ เอ็ม.2 สามารถวัดมุมภาคได้สูงสุดกี่มิลเลียม ?
ก. 1600 มิล ข. 3200 มิลเลียม
ค. 4800 มิลเลียม ง. 6400 มิลเลียม
14. เข็มทิศ เอ็ม.2 จะมีตัวเลขคู่กากับไว้ตั้งแต่ 0 ถึง 6200 โดยเว้นห่างกันเท่าไร ?
ก. 100 มิลเลียม ข. 200 มิลเลียม
ค. 300 มิลเลียม ง. 400 มิลเลียม
15. วัสดุที่ใช้ทาแผ่นพัดตรวจการณ์ คือข้อใด ?
ก. พลาสติก ข. วัสดุโปร่งใส
ค. วัสดุโปร่งแสง ง. วัสดุหนาแข็งแรง
16. การวัดมุมด้วยมือนั้น อยากทราบว่าถ้าวัดมุมเปูาหมายได้ นิ้วชี้ถึงนิ้วนาง มีค่าเท่าใด ?
ก. 30 มิลเลียม ข. 70 มิลเลียม
ค. 100 มิลเลียม ง. 125 มิลเลียม
17. การกาหนดที่ตั้งเปูาหมายของผู้ตรวจการณ์หน้า ที่นิยมใช้มีกี่วิธี ?
ก. 1 วิธี ข. 2 วิธี
ค. 3 วิธี ง. 4 วิธี
18. การทาความสะอาดเลนส์ของกล้องส่องสองตา ควรใช้อะไร ?
ก. น้าสบู่ ข. กระดาษทิชชู่
ค. กระดาษเช็ดเลนส์ ง. กระดาษใดก็ได้
19. การกาหนดที่ตั้งเปูาหมายที่บอก “มุมภาค, ระยะ, สูงขึ้น/ต่าลง” เป็นการกาหนดที่ตั้งเปูาหมายแบบใด ?
ก. แบบพิกัดตาราง ข. พิกัดโปล่าร์
ค. แบบย้ายจากจุดที่ทราบ ง. แบบหมายตาบลระเบิด
20. การดาเนินภารกิจยิงของ ผู้ตรวจการณ์หน้า มีกี่ขั้น ?
ก. 2 ขั้น ข. 3 ขั้น
ค. 4 ขั้น ง. 5 ขั้น
วิชาการร้องขอการปรับการยิงค.- ป.
*เปูาหมายที่เหมาะสมจะทาการยิงด้วยค.หรือป.มากกว่าการใช้อาวุธชนิดอื่นๆทาการยิงคือ
ตอบ : เปูาหมายที่อยู่หลังเนิน
*ความถูกต้องในการบอกที่ตั้งเปูาหมายการย้ายทางข้างหรือการแก้ทางข้างบอกเป็นจานวนเต็มเท่าไร
ตอบ : 50 เมตร
*ความถูกต้องในการบอกทิศทางผู้ตรวจการณ์จะต้องบอกเป็นจานวนเต็มกี่มิลเลียม
ตอบ : 10 มิลเลียม
*ท่านเป็นผต.ตรวจพบที่ตั้งปก.2 กระบอกวัดมุมภาคได้ 6000 มิลเลียมกะระยะได้2300 เมตรวัดมุมดิ่ง -13 มิลเลียมที่อยู่
ของท่านได้กรุยไว้ในแผ่นเรขายิงแล้วท่านตัดสินใจบอกที่ตั้งเปูาหมายด้วยวิธีใด
ตอบ : วิธีโปล่าร์
*เมื่อผตน.ส่งคาขอยิงไปหมดแล้วนึกขึ้นได้ว่าได้ส่งระบบผิดจะต้องใช้คาพูดว่าอย่างไรไปยังศอย.
ตอบ : ผิดหยุดแล้วส่งข้อความที่ถูกไปใหม่
*มาตรามุมทิศของ เข็มทิศ เอ็ม.2หนึ่งขีด มีค่ากี่มิลเลียม
ตอบ : 20 มิลเลียม
*มาตราทางระดับหนึ่งช่อง มีค่าเท่ากับกี่มิลเลียม
ตอบ : 10 มิลเลียม
*เข็มทิศ เอ็ม.2 จะมีตัวเลขกากับไว้ทุก ๆ กี่มิลเลียม
ตอบ : 200 มิลเลียม
*มาตราทางระดับของกล้องส่องสองตา แบ่งออกเป็นกี่ช่อง
ตอบ : 10 ช่อง
*เข็มทิศ เอ็ม.2จะมีตัวเลขคู่กากับไว้ตั้งแต่ 0 ถึง 6200 โดยเว้นห่างกันเท่าไร
ตอบ : 200 มิลเลียม

You might also like