You are on page 1of 15

แนวข้อสอบ 100 ข้อ

คำชี้แจง จงทำเครื่องหมำยกำกบำท (X) ลงหน้ำข้อที่ถูกต้องที่สุด


1. ลำดับกำรทำงำน 4 จังหวะเป็นอย่ำงไร
ก. ดูด-อัด-งำน-คำย ข. อัด-งำน-คำย-ดูด
ค. งำน-คำย-ดูด-อัด ง. คำย-ดูด-อัด-งำน
จ. คำย-อัด-ดูด-อัด
2. จังหวะดูดควำมดันในกระบอกสูบเป็นอย่ำงไร
ก. เพิ่มขึ้นกว่ำควำมดันปกติ
ข. เพิ่มขึ้นกว่ำควำมดันบรรยำกำศ
ค. สูงกว่ำควำมดันบรรยำกำศ
ง. เท่ำกับควำมดันบรรยำกำศ
จ. ต่ำกว่ำควำมดันบรรยำกำศ
3. จังหวะดูดเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ลูกสูบและลิน้ เคลื่อนทีอ่ ย่ำงไร
ก. เคลื่อนที่ลง ลิ้นไอดีเปิด
ข. เคลื่อนที่ขนึ้ ลิ้นไอดีปิด
ค. เคลื่อนที่ลง ลิ้นไอเสียเปิด
ง. เคลื่อนที่ขึ้น ลิ้นไอเสียปิด
จ. ถูกทุกข้อ
4. จังหวะคำยเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ลูกสูบและลิน้ เคลื่อนที่อย่ำงไร
ก. เคลื่อนที่ลง ลิ้นไอดีเปิด
ข. เคลื่อนที่ขนึ้ ลิ้นไอดีปิด
ค. เคลื่อนที่ลง ลิ้นไอเสียเปิด
ง. เคลื่อนที่ขึ้น ลิ้นไอเสียเปิด
จ. ไม่มีข้อใดถูก
5. ระยะชัก (Stroke) คือระยะที่วัดตำมลักษณะข้อใด
ก. วัดจำกก้ำนสูบถึงเพลำข้อเหวี่ยง
ข. วัดจำกจุดศูนย์ตำยบนถึงจุดศูนย์ตำยล่ำง
ค. วัดจำกเพลำข้อเหวี่ยงถึงลูกสูบ
ง. วัดจำกห้องเผำไหม้ถึงจุดศูนย์ตำยล่ำง
จ. วัดระยะทำงที่ลูกสูบเคลื่อนที่
6. เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ทำงำนครบ 1 วัฏจักร เพลำข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศำ
ก. 720 องศำ ข. 750 องศำ
ค. 800 องศำ ง. 850 องศำ
จ. 900 องศำ
7. หัวฉีดเบนซินฉีดเบนซินควำมดันเท่ำใด
ก. ประมำณ 2.5 บำร์ ข. ประมำณ 3.0 บำร์
ค. ประมำณ 3.5 บำร์ ง. ประมำณ 4.5 บำร์
จ. ประมำณ 5.5 บำร์
8. เข็มนมหนูหัวฉีดมีควำมไวเท่ำไร
ก. ประมำณ 1.0 – 2.0 มิลลิวินำที
ข. ประมำณ 2.5 - 3.0 มิลลิวินำที
ค. ประมำณ 1.5 – 2.0 มิลลิวินำที
ง. ประมำณ 3.0 - 4.5 มิลลิวินำที
จ. ประมำณ 3.5 - 5.5 มิลลิวินำที
9. ระบบจุดระเบิดไม่ใช้จำนจ่ำยใช้สญ ั ญำณจำกอะไร
ก. สวิตช์จุดระเบิด ข. ไฟแรงต่ำ
ค. ไฟแรงสูง ง. เซนเซอร์ต่ำง ๆ
จ. เซนเซอร์และสวิตช์ต่ำง ๆ
10. ระบบจุดระเบิดไม่ใช้จำนจ่ำย ตัวช่วยจุดระเบิดใช้อะไร
ก. ตัวต้ำนทำน ข. ทรำนซิสเตอร์
ค. เพำเวอร์ไดโอด ง. เพำเวอร์ทรำนซิสเตอร์
จ. ซีเนอร์ไดโอด
11. กำรตรวจขณะแยกชิ้นส่วนตรวจอย่ำงไร
ก. กำรยึดติด ข. ควำมสกปรก
ค. กำรสึกหรอ ง. รอยขีดข่วน
จ. ถูกทุกข้อ
12. เครื่องยนต์ร้อนจัดเพรำะชิ้นส่วนภำยในคืออะไร
ก. เขม่ำติดหัวลูกสูบ
ข. น้ำมันเครื่องมีน้อย
ค. ปั๊มนำ้ มันเครื่องชำรุด
ง. พัดลมระบำยควำมร้อนชำรุด
จ. ถูกทุกข้อ
13. ควำมดันเบนซินในระบบฉีดเบนซินสูงเท่ำไร
ก. 2.1 – 3.1 บำร์ ข. 3.1 – 3.5 บำร์
ค. 3.5 – 4.5 บำร์ ง. 4.5 – 5.5 บำร์
จ. 5.5 – 6.5 บำร์
14. หลังจำกดับเครื่องยนต์ 5 นำที ควำมดันเบนซินสูงเท่ำไร
ก. 1.5 บำร์ ข. 2.0 บำร์
ค. 2.5 บำร์ ง. 3.0 บำร์
จ. 5.5 บำร์
15. ควำมสิ้นเปลืองน้ำมันเครื่อง ไม่ใช่ ข้อใด
ก. น้ำมันเครื่องรั่ว
ข. ควำมเร็วรอบเครื่องยนต์
ค. กำรสึกหรอของกระบอกสูบ
ง. กำรสึกหรอแบริ่งก้ำนสูบ
จ. กำรสึกหรอปลอกลิ้น
16. ลิ้นฝำหม้อน้ำเปิดที่ควำมดันเท่ำไร
ก. 0.5 บำร์ ข. 2.0 บำร์
ค. 2.5 บำร์ ง. 3.0 บำร์
จ. 5.5 บำร์
17. กำรตรวจปะเก็นฝำสูบรั่วอย่ำงง่ำย ๆ ใช้วิธีใด
ก. เปิดฝำสูบ ข. ตรวจรอบ ๆ เครื่องยนต์
ค. ตรวจทำงท่อน้ำล้น ง. ตรวจทำงหม้อน้ำ
จ. ตรวจทำงท่อไอเสีย
18. สำเหตุทตี่ ้องวัดกำลังอัดคืออะไร
ก. ปรับเครื่องเดินเบำไม่ได้
ข. ไอเสียมีควันออกมำก
ค. สิ้นเปลืองน้ำมันเครื่องมำก
ง. กำลังเครื่องยนต์ตก
จ. ถูกทุกข้อ
19. กำลังอัดรั่วออกทำงลิ้นเครื่องยนต์ได้อย่ำงไร
ก. ลิ้นปิดไม่สนิท ข. ลิ้นแตก
ค. ลิ้นไหม้ ง. บ่ำลิ้นไหม้
จ. ถูกทุกข้อ
20. ข้อใด ไม่ใช่ สำเหตุฝำสูบแตก
ก. ขำดน้ำหล่อเย็น
ข. ลิ้นหลุดกระแทก
ค. สำยพำนเพลำลูกเบี้ยวขำด
ง. เครื่องยนต์ทำงำนหนักมำก
จ. เพลำลูกเบี้ยวหลุดหรือหัก
21. เสื้อสูบ ไม่เป็น ตัวจับยึดอะไร
ก. หัวฉีด ข. หัวเทียน
ค. เบำะลิ้น ง. ปะเก็นฝำสูบ
จ. เพลำลูกเบี้ยว
22. ปลอกนำก้ำนลิ้นทำหน้ำที่อะไร
ก. ป้องกันน้ำรั่วเข้ำไปในห้องเผำไหม้
ข. ป้องกันไม่ให้เบนซินรั่วเข้ำไปในห้องเผำไหม้
ค. บังคับทิศทำงกำรเคลื่อนที่ของลิ้น
ง. หล่อลื่นก้ำนลิ้น
จ. ระบำยควำมร้อนลิ้น
23. ปะเก็นฝำสูบป้องกันอะไรรั่ว
ก. ไอดี ข. น้ำหล่อเย็น
ค. ไอเสีย ง. น้ำมันเครื่อง
จ. ถูกทุกข้อ
24. ปลอกก้ำนลิ้นทำหน้ำที่อะไร
ก. บังคับกำรเคลื่อนที่ของลิ้น
ข. บังคับกำรเคลื่อนที่ของลิ้นไอดี
ค. บังคับกำรเคลื่อนที่ของลิ้นไอเสีย
ง. บังคับกำรเคลื่อนที่ของสปริงลิ้น
จ. บังคับกำรเคลื่อนที่ของลิ้นไอดีและลิ้นไอเสีย
25. ทำไม ไม่นิยม ใช้เฟืองขับเพลำลูกเบี้ยว
ก. รำคำแพง
ข. มีเสียงดัง
ค. น้ำหนักมำก
ง. ต้องหล่อลื่น
จ. ต้องบำรุงรักษำ
26. ข้อดีของสำยพำนเพลำลูกเบี้ยวคืออะไร
ก. คงทนแรงนับได้มำก
ข. รำคำถูก
ค. เสียงเบำ คงทน
ง. เสียงเบำ ไม่ต้องบำรุงรักษำ
จ. ใช้งำนไม่ลื่น
27. ทำไมใช้ลูกกระทุง้ ลิ้นแบบไฮดรอลิกส์
ก. ไม่ต้องตั้งลิ้น
ข. ไม่ต้องซ่อมลิ้น
ค. คงทนมำก
ง. อัตรำเร่งเครื่องยนต์ดี
จ. ประสิทธิภำพเครื่องยนต์สูง
28. ระยะห่ำงลิ้นทั่วไปประมำณเท่ำไร
ก. 0.10 – 0.20 มม.
ข. 0.20 – 0.30 มม.
ค. 0.30 – 0.40 มม.
ง. 0.40 – 0.50 มม.
จ. 0.50 – 0.60 มม.
29. ลำดับจุดระเบิดเครื่องยนต์ 4 สูบ ข้อใดถูกต้อง
ก. 1 → 3 → 4 → 2
ข. 1 → 2 → 4 → 3
ค. 1 → 2 → 3 → 4
ง. 1 → 4 → 2 → 3
จ. 1 → 3 → 2 → 4
30. อย่ำให้สำยพำนเพลำลูกเบี้ยวเป็นอย่ำงไร
ก. ถูกน้ำ ข. ถูกน้ำมัน
ค. ปรับตึงมำก ง. บิดกลับหน้ำ
จ. ถูกทุกข้อ
31. ชิ้นส่วนใดต่อไปนี้เป็นชิ้นส่วนที่อยู่กับที่
ก. ลูกสูบ ข. ก้ำนสูบ
ค. กระบอกสูบ ง. แหวนลูกสูบ
จ. สลักลูกสูบ
32. ปลอกสูบที่ผิวสัมผัสโดยตรงกับน้ำระบำยควำมร้อนคือปลอกสูบแบบใด
ก. ปลอกสูบแบบแห้ง
ข. ปลอกสูบแบบเปียก
ค. ปลอกสูบเยื้องศูนย์
ง. ปลอกสูบมีครีบ
จ. ปลอกสูบแบบ 2 ชั้น
33. ก้ำนสูบยึดติดอยู่กับลูกสูบโดยชิ้นส่วนใด
ก. แบริ่งเพลำข้อเหวี่ยง
ข. สลักลูกสูบ
ค. สลักฝำประกับก้ำนสูบ
ง. แบริ่งก้ำนสูบ
จ. สกรูก้ำนสูบ
34. ข้อใด ไม่ใช่ หน้ำที่ของแหวนลูกสูบ
ก. ป้องกันไอดีรั่ว
ข. ระบำยควำมร้อน
ค. ลดควำมฝืด
ง. ควบคุมกำรหล่อลื่น
จ. ป้องกันไอเสียรั่ว
35. กระบอกสูบสึกเพียงใดต้องคว้ำนเปลี่ยนลูกสูบ
ก. ประมำณ 0.10 มม.
ข. ประมำณ 0.20 มม.
ค. ประมำณ 0.30 มม.
ง. ประมำณ 0.40 มม.
จ. ประมำณ 0.50 มม.
36. ลูกสูบเครื่องยนต์ได้รับควำมร้อนสูงเท่ำไร
ก. 2,250C ข. 2,300C
ค. 2,500C ง. 2,800C
จ. 2,900C
37. แหวนอัดทำด้วยโลหะอะไร
ก. เหล็กหล่อ ข. เหล็กเหนียว
ค. เหล็กหล่อพิเศษ ง. เหล็กควำมแข็งแรงสูง
จ. เหล็กหล่อผสมแกรไฟต์
38. ทำไมนิยมใช้แหวนน้ำมันแบบเป็นชุด 3 ตัว
ก. ขยำยพื้นที่กวำดนำ้ มันได้
ข. ขจัดปัญหำสะสมเขม่ำ
ค. กรองน้ำมันเครื่องมีประสิทธิภำพ
ง. ป้องกันน้ำมันเครื่องเข้ำห้องเผำไหม้ไอดี
จ. ถูกทุกข้อ
39. ก่อนถอดแยกชิ้นส่วนทำไมต้องทำเครื่องหมำย
ก. เพื่อควำมปลอดภัยในกำรถอด
ข. เพื่อควำมปลอดภัยในกำรตรวจ
ค. เพื่อควำมปลอดภัยในกำรซ่อม
ง. เพื่อควำมปลอดภัยในกำรประกอบ
จ. เพื่อควำมปลอดภัยของชิ้นส่วน
40. ทำไมต้องใช้เหล็กดูดในงำนถอดชิ้นส่วน
ก. เพื่อควำมรวดเร็ว ข. เพื่อควำมสะอำด
ค. เพื่อควำมปลอดภัย ง. เพื่อรักษำสภำพชิ้นส่วน
จ. เพื่อควำมเที่ยงตรง
41. ในเครื่องยนต์ 4 สูบ เพลำข้อเหวี่ยงประกอบด้วยข้ออกกี่ข้อ
ก. 2 ข้อ ข. 3 ข้อ
ค. 4 ข้อ ง. 5 ข้อ
จ. 6 ข้อ
42. เพลำข้อเหวี่ยง 4 สูบ มีข้อก้ำนกี่ข้อ
ก. ข้อก้ำน 2 ข้อ ข. ข้อก้ำน 3 ข้อ
ค. ข้อก้ำน 4 ข้อ ง. ข้อก้ำน 5 ข้อ
จ. ข้อก้ำน 6 ข้อ
43. แบริ่งเครื่องยนต์ทำด้วยโลหะอะไร
ก. โลหะแข็ง ข. โลหะทนกำรสึกหรอ
ค. โลหะอ่อน ง. โลหะผสมตะกั่ว
จ. โลหะทนควำมร้อน
44. ตัวสมดุลแรงหมุนสั่นใช้กำลังอะไร
ก. กำจัดควำมฝืด ข. กำจัดแรงสั่นสะเทือน
ค. กำจัดควำมร้อน ง. กำจัดแรงกระแทก
จ. กำจัดแรงหมุนสั่น
45. ล้อช่วยแรงรับแรงเครื่องยนต์จังหวะใด
ก. จังหวะดูด ข. จังหวะคำย
ค. จังหวะอัด ง. จังหวะคำยและจังหวะอัด
จ. จังหวะงำน
46. ล้อช่วยแรงช่วยเครื่องยนต์อย่ำงไร
ก. เครื่องยนต์ทำงำนไม่ร้อน
ข. เครื่องยนต์ทำงำนไม่สั่น
ค. เครื่องยนต์ทำงำนไม่กระตุก
ง. เครื่องยนต์ทำงำนไม่ดับ
จ. เครื่องยนต์ทำงำนไม่ดับและไม่สั่น
47. เนื้อโลหะแบริ่งมีกี่ชั้น
ก. อย่ำงน้อย 2 ชั้น ข. อย่ำงน้อย 3 ชั้น
ค. อย่ำงน้อย 4 ชั้น ง. อย่ำงน้อย 5 ชั้น
จ. อย่ำงน้อย 6 ชั้น
48. ทำไมแบริ่งข้ออกครึ่งล่ำงไม่มีร่องน้ำมันเครื่อง
ก. ไม่อุ้มน้ำมันเครื่อง ข. ไม่ให้แบริ่งละลำย
ค. ให้รักษำควำมดันน้ำมันเครื่อง ง. รับแรงสั่นสะเทือนมำก
จ. รับแรงกระแทกมำก
49. ทำไมเนื้อโลหะแบริ่งอ่อนกว่ำเพลำข้อเหวี่ยง
ก. เพื่อหล่อลื่นเพลำ
ข. เพื่อไม่ให้แบริ่งเกิดอันตรำย
ค. เพื่อรองรับแรงสั่นสะเทือน
ง. เพื่อไม่ให้แบริ่งแตกร้ำว
จ. เพื่อไม่ให้เพลำเกิดอันตรำย
50. แบริ่งอันเดอร์ไซซ์หมำยถึงอะไร
ก. แบริ่งที่มีควำมหนำกว่ำปกติ
ข. แบริ่งที่มีควำมหนำน้อย
ค. แบริ่งที่มีควำมหนำปำนกลำง
ง. แบริ่งที่มีควำมหนำมำก
จ. แบริ่งที่มีควำมหนำไม่มำตรฐำน
51. ระยะห่ำงหล่อลื่นลูกสูบกับกระบอกสูบเท่ำไร
ก. 0.10 มม. ข. 0.15 มม.
ค. 0.20 มม. ง. 0.25 มม.
จ. 0.30 มม.
52. ระยะห่ำงปำกแหวนลูกสูบเท่ำไร
ก. 0.10 มม. ข. 0.15 มม.
ค. 0.20 มม. ง. 0.25 มม.
จ. 0.30 มม.
53. ระยะเบียดข้ำงแหวนลูกสูบเท่ำไร
ก. 0.10 มม. ข. 0.15 มม.
ค. 0.20 มม. ง. 0.25 มม.
จ. 0.30 มม.
54. ระยะกดแบริ่งข้ออกของเก่ำเท่ำไร
ก. 0.10 มม. ข. 0.15 มม.
ค. 0.20 มม. ง. 0.25 มม.
จ. 0.30 มม.
55. กำรใส่แหวนลูกสูบจะต้องจัดให้ด้ำนใดอยู่ด้ำนบน
ก. ให้เอำตัวหนังสือไว้ด้ำนบน ข. จะเอำตัวหนังสือไว้บนหรือล่ำงก็ได้
ค. ให้เอำตัวหนังสือไว้ด้ำนล่ำง ง. เอำด้ำนลบขอบไว้ด้ำนบน
จ. ไม่มีข้อใดถูก
56. กำรใส่ลูกสูบใช้เครื่องมืออะไรที่จำเป็น
ก. คีมถ่ำงปำกแหวน ข. เหล็กรัดแหวนลูกสูบ
ค. เครื่องมือขูดเขม่ำลูกสูบ ง. ค้อนไม้เนื้อแข็ง
จ. ฟีลเลอร์เกจ
57. ทำไมใช้แบริ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน
ก. เพื่อให้มีควำมแข็งแรง ข. เพื่อไม่ให้ผิวเพลำเป็นอันตรำย
ค. เพื่อลดเสียงดังของเพลำ ง. เพือ่ ไม่ให้น้ำมันเครื่องไหลหนี
จ. เพื่อลดอำกำรสั่นของเพลำ
58. ถ้ำระยะเบียดแบริ่งและเพลำแคบมำก ทำให้เกิดอันตรำยเพรำะอะไร
ก. หล่อลื่นมีเสียงดัง ข. หล่อลื่นไม่ทั่วถึง
ค. หล่อลื่นด้วยน้ำมันเครื่องไม่ได้ ง. เพลำข้อเหวี่ยงหมุนยำก
จ. หล่อลื่นทำให้เครื่องยนต์ร้อนจัด
59. ระยะห่ำงหล่อลื่นแบริ่งและเพลำห่ำงมำก ระบบหล่อลื่นจะเกิดอะไร
ก. น้ำมันเครื่องร้อนจัด ข. น้ำมันเครื่องรั่วไหล
ค. นำ้ มันเครื่องควำมดันตก ง. น้ำมันเครื่องเกิดเขม่ำ
จ. นำ้ มันเครื่องควำมดันสูง
60. แนะนำให้ขันสกรูทั่วไป 3 รอบ เพื่ออะไร
ก. ค่อย ๆ แน่นอย่ำงสม่ำเสมอ ข. เพื่อป้องกันปะเก็นแตก
ค. เพื่อให้เกิดแรงกดสม่ำเสมอ ง. เพื่อป้องกันสกรูเป็นอันตรำย
จ. เพื่อไม่ให้เปลืองแรงขัน
61. ทำไมช่วงกำรบำรุงรักษำรถยนต์กำหนดเป็นกิโลเมตร
ก. เพรำะรถเคลื่อนที่ได้ ข. เพรำะเคยปฏิบัติมำเช่นนั้น
ค. เพรำะมีมำตรวัดระยะทำง ง. เพรำะใช้รถไปบริกำรที่ใดก็ได้
จ. เพรำะเข้ำใจได้ง่ำย
62. ทำไมต้องกำหนดช่วงบำรุงรักษำเครื่องยนต์
ก. องค์ประกอบครบช่วงใช้งำน ข. องค์ประกอบใช้คุ้มรำคำ
ค. องค์ประกอบหมดอำยุกำรใช้งำน ง. องค์ประกอบเสื่อมสภำพมำก
จ. องค์ประกอบสึกหรอมำก
63. เครื่องยนต์แก๊สโซลีนร้อนจัดสำเหตุเกิดจำกอะไร
ก. ตั้งไฟจุดระเบิดผิด
ข. ขำดน้ำมันเครื่องหรือปั๊มเสีย
ค. ขำดน้ำมันเบนซินหรือไส้กรองตัน
ง. ขำดนำ้ ระบำยควำมร้อนหรือท่อน้ำรั่ว
จ. เฟืองมอเตอร์สตำร์ตติดขัด
64. เครื่องยนต์แก๊สโซลีนสตำร์ตไม่หมุนเพรำะอะไร
ก. ขั้วสำยแบตเตอรี่สกปรกหรือหลวม
ข. ขำดน้ำมันเครื่องหรือปั๊มเสีย
ค. ขำดน้ำมันเบนซินหรือไส้กรองตัน
ง. ขำดนำ้ ระบำยควำมร้อนหรือท่อน้ำรั่ว
จ. เฟืองมอเตอร์สตำร์ตติดขัด
65. ทำไมต้องเปลี่ยนหม้อกรองน้ำมันเครื่องตำมกำหนด
ก. ครบอำยุกำรใข้งำน ข. ไส้กรองรั่ว
ค. ไส้กรองตัน ง. ไส้กรองเสื่อมสภำพ
จ. ไส้กรองแตก
66. กำรเร่งไฟจุดระเบิดได้สูงสุดเพียงใด
ก. 5 องศำก่อน TDC ข. 8 องศำก่อน TDC
ค. 10 องศำก่อน TDC ง. 15 องศำก่อน TDC
จ. 20 องศำก่อน TDC
67. ทำไมตรวจสภำพกำรเผำไหม้ที่หน้ำหัวเทียน
ก. หน้ำหัวเทียนสัมผัสแก๊สเผำไหม้
ข. หน้ำหัวเทียนมีขนำดเล็ก
ค. หน้ำหัวเทียนได้รบั ไฟจุดระเบิด
ง. หน้ำหัวเทียนสัมผัสส่วนผสมไอดี
จ. หน้ำหัวเทียนสัมผัสควำมร้อน
68. ทำไมหัวเทียนไหม้ต้องตรวจระยะห่ำงเขี้ยวก่อนใส่เสมอ
ก. มีกำรอัดแน่นภำยหลังกำรผลิต ข. เป็นหลักกำรที่ต้องปฏิบัติ
ค. เพื่อควำมแน่นอนในกำรใช้งำน ง. ฝึกหัดตั้งเขี้ยวหัวเทียน
จ. ผู้ผลิตไม่ได้ตั้งใจ
69. ตั้งลิ้นแคบเกินไปอำจมีผลอย่ำงไร
ก. มีกำรอัดแน่นภำยหลังกำรผลิต ข. ลิ้นเสียงดัง
ค. ลิ้นไหม้เพรำะปิดไม่สนิท ง. ลิ้นร้อนจัด
จ. ผู้ผลิตไม่ได้ตั้งใจ
70. ควำมเร็วรอบเดินเบำควรปรับไว้อย่ำงไร
ก. ประมำณ 550 รอบ/นำที ข. ประมำณ 650 รอบ/นำที
ค. ประมำณ 850 รอบ/นำที ง. ประมำณ 750 รอบ/นำที
จ. ประมำณ 950 รอบ/นำที
71. ควำมดันอำกำศในจังหวะอัดเป็นเท่ำใด
ก. ควำมดัน 20 – 30 กก./ซม.2 ข. ควำมดัน 30 – 40 กก./ซม.2
ค. ควำมดัน 40 – 50 กก./ซม.2 ง. ควำมดัน 50 – 60 กก./ซม.2
จ. ควำมดัน 60 – 65 กก./ซม.2
72. ห้องเผำไหม้เครื่องยนต์ดีเซลมีหน้ำที่อะไร
ก. เพื่อให้เกิดกำรเผำไหม้รวดเร็ว ข. เพื่อให้เกิดกำรเผำไหม้ทันใจ
ค. เพื่อให้เกิดกำรเผำไหม้สมบูรณ์ ง. เพื่อให้เครื่องทำงำนไม่สนั่
จ. เพื่อให้เครื่องไม่ร้อนจัด
73. ห้องเผำไหม้แบบเปิดมีข้อดีอย่ำงไร
ก. เพื่อให้เกิดกำรเผำไหม้รวดเร็ว ข. เพื่อให้เกิดกำรเผำไหม้ทันใจ
ค. เพื่อให้เกิดกำรเผำไหม้สมบูรณ์ ง. เพื่อให้เครื่องทำงำนไม่สนั่
จ. เพื่อให้เครื่องไม่ร้อนจัด
74. ทำไมห้องเผำไหม้แบบเปิดไม่ต้องใช้หัวเผำ
ก. ฉีดน้ำมันดีเซลเข้ำห้องเผำไหม้ใหญ่ ข. ฉีดน้ำมันดีเซลเข้ำห้องเผำไหม้เล็ก
ค. พื้นที่ถ่ำยเทควำมร้อนมีน้อย ง. พื้นที่ถ่ำยเทควำมร้อนมีมำก
จ. กำรหมุนเวียนอำกำศภำยในไม่ดี
75. ทำไมห้องเผำไหม้แบบพำวนต้องใช้หัวเผำ
ก. ฉีดน้ำมันดีเซลเข้ำห้องเผำไหม้ใหญ่ ข. ฉีดน้ำมันดีเซลเข้ำห้องเผำไหม้เล็ก
ค. พื้นที่ถ่ำยเทควำมร้อนมีน้อย ง. พื้นที่ถ่ำยเทควำมร้อนมีมำก
จ. กำรหมุนเวียนอำกำศภำยในไม่ดี
76. ข้อดีของห้องเผำไหม้แบบพำวนคืออะไร
ก. กำรเผำไหม้ชักช้ำ ข. กำรเผำไหม้รวดเร็วดี
ค. กำรเผำไหม้ไม่มีควันดำ ง. กำรเผำไหม้รุนแรงมำก
จ. สำมำรถทำงำนได้รอบสูง ๆ
77. คุณภำพกำรเผำไหม้ในเครื่องยนต์ดูจำกอะไร
ก. ควำมรุนแรงกำรเผำไหม้ ข. ควำมดังกำรเผำไหม้
ค. สีของไอเสีย ง. อุณหภูมิของไอเสีย
จ. กรำฟควำมดันในกระบอกสูบ
78. ปัญหำรูนมหนูหัวฉีดอุดตันเกิดจำกอะไร
ก. นมหนูร้อนไม่พอ ข. ควำมดันฉีดน้ำมันดีเซลตำ่
ค. รูนมหนูเล็กมำก ง. ควำมดันฉีดนำ้ มันดีเซลสูง
จ. นมหนูร้อนจัด
79. ข้อดีระบบน้ำมันดีเซลแบบคอมมอนเรลคืออะไร
ก. ฉีดน้ำมันดีเซลได้แม่นยำ ข. ประหยัดน้ำมันดีเซล
ค. สั่นสะเทือนน้อย ง. ลดกำรบำรุงรักษำ
จ. ถูกทุกข้อ
80. ระบบน้ำมันดีเซลแบบคอมมอนเรลควบคุมด้วยสัญญำณอะไรบ้ำง
ก. สัญญำณตำแหน่งเพลำข้อเหวี่ยง ข. สัญญำณควำมดันนำ้ มัน
ค. สัญญำณตำแหน่งแป้นคันเร่ง ง. สัญญำณอุณหภูมิอำกำศไอดี
จ. ถูกทุกข้อ
81. เครื่องยนต์ทำงำนที่อุณหภูมิต่ำมีผลกระทบอะไร
ก. กำรเผำไหม้เชื้อเพลิง ข. กำรสึกหรอของชิ้นส่วน
ค. กำรคำยไอเสีย ง. กำรขยำยตัวของชิ้นส่วน
จ. ถูกทุกข้อ
82. ถ้ำเครื่องยนต์ร้อนจัดจนน้ำแห้ง มีผลกระทบอะไร
ก. ขำดกำรหล่อลื่น ข. อันตรำยต่อลูกสูบและก้ำนสูบ
ค. ลูกสูบติด ง. อันตรำยต่อกระบอกสูบ
จ. ถูกทุกข้อ
83. กำรเปิดไฟล์งำนนำเสนอ มีวิธีอย่ำงไร
ก. ควำมดันฉีดนำ้ มันตำ่ ข. ควำมดันฉีดน้ำมันสูง
ค. น้ำมันข้นมำก ง. น้ำมันใสมำก
จ. ชุดนมหนูหมดอำยุกำรใช้งำน
84. ควำมดันเริ่มฉีดของหัวฉีดต่ำมำกเกิดจำกอะไร
ก. เข็มนมหนูหลวม ข. รูเสื้อนมหนูสึกหรอ
ค. ขันปลอกยึดนมหนูไม่แน่น ง. สปริงหัวฉีดหัก
จ. รูนมหนูสึกหรอมำก
85. หัวฉีดฉีดน้ำมันไม่เป็นละอองเกิดจำกอะไร
ก. ตั้งแรงดันเริ่มฉีดน้ำมันตำ่ ข. ชุดนมหนูสึกหรอมำก
ค. ตั้งแรงดันเริ่มฉีดน้ำมันสูงมำก ง. ชุดนมหนูหมดอำยุกำรใช้งำน
จ. บ่ำเข็มนมหนูสึกหรอมำก
86. หัวฉีดคอมมอนเรลควบคุมด้วยอะไร
ก. แรงดันไฟสูง ข. กล่อง ECU
ค. แรงดันไฟต่ำ ง. กล่อง EDU
จ. แรงดันไฟตรง
87. หัวฉีดคอมมอนเรลใช้ไฟเท่ำไร
ก. 12 โวลต์ ข. 120 โวลต์
ค. 122 โวลต์ ง. 125 โวลต์
จ. 200 โวลต์
88. กำรเพิ่มวัตถุ รูปร่ำง หรือรูปภำพ ควรใช้แท็บใด
ก. ใส่เครื่องมือวัดกำลังอัด ข. ถอดหัวฉีด
ค. อี่นเครื่องยนต์ก่อน ง. ตั้งลิ้น
จ. ตั้งไฟจุดระเบิด
89. ปกติกำลังอัดส่วนใหญ่มักจะรั่วออกมำทำงใดมำกที่สุด
ก. รูหัวฉีดและรูหัวเผำ ข. เสื้อสูบและฝำสูบ
ค. ปะเก็นฝำสูบและกระบอกสูบ ง. แหวนลูกสูบและลิน้
จ. ปะเก็นฝำสูบและลิ้นเครื่องยนต์
90. กำรวัดกำลังอัดที่ต้องถอดหัวฉีดออก เพื่ออะไร
ก. เพิ่มแรงเฉื่อยของอำกำศ ข. เพื่อให้เครื่องเบำแรง
ค. ไม่ให้ฉีดนำ้ มัน ง. ทำให้ไม่เกิดแรงต้ำน
จ. ไม่ให้เกิดมลพิษ
91. กำรซ่อมฝำสูบโดยทั่วไปทำได้อย่ำงไร
ก. ขันสกรูฝำสูบ ข. ตั้งลิ้น
ค. ตรวจกำรรั่วซึม ง. เปิดฝำสูบซ่อมบนรถ
จ. ยกเครื่องออกซ่อมนอกรถ
92. สำเหตุที่ต้องเปิดฝำสูบตรวจซ่อมมักเกิดจำกอะไร
ก. ใช้งำนหนักเกิน ข. น้ำมันเครื่องแห้ง
ค. เครื่องยนต์เดินไม่ครบสูบ ง. น้ำหล่อเย็นแห้ง
จ. ขำดกำรบำรุงรักษำตำมระยะ
93. ตั้งระยะห่ำงตีนลิ้นน้อยมีผลอย่ำงไร
ก. ทำให้อำกำศผ่ำนได้น้อย ข. อำจทำให้ลิ้นปิดไม่สนิท
ค. เครื่องยนต์เดินไม่ครบสูบ ง. น้ำหล่อเย็นแห้ง
จ. ขำดกำรบำรุงรักษำตำมระยะ
94. เครื่องยนต์หมุน 4,000 รอบ/นำที ลิ้นไอดีเปิดกี่ครั้ง/นำที
ก. 1,000 ครั้ง/นำที ข. 2,000 ครั้ง/นำที
ค. 3,000 ครั้ง/นำที ง. 4,000 ครั้ง/นำที
จ. 5,000 ครั้ง/นำที
95. สำเหตุที่ต้องตั้งลิ้นคืออะไร
ก. ใช้น้ำมันเครื่องเกรดต่ำ ข. เกิดกำรสึกหรอ
ค. อุณหภูมิเปลีย่ นแปลง ง. น้ำหล่อเย็นแห้ง
จ. เหล็กไม่ดี
96. ทำไมต้องบดลิ้น
ก. เพื่อให้ลิ้นเปิดได้ในพิกัด ข. เพื่อให้ลิ้นปิดสนิท
ค. เพื่อให้ลิ้นไม่ร้อนจัด ง. เพื่อให้ลิ้นไม่ดัง
จ. เพื่อให้ลิ้นปิดพอดี
97. ทำไมลิ้นไอดีเปืดก่อนศูนย์ตำยบน
ก. เพื่อลดควำมดันไอดี ข. เพื่อขับไล่ไอเสีย
ค. เพื่อลดควำมร้อนไอดี ง. เพื่อเพิ่มปริมำณบรรจุไอดี
ง. เพื่อเพิ่มควำมดันไอดี
98. โดยทั่วไปควรตั้งลิ้นไอดีไอเสียเท่ำไร
ก. ลิ้นไอดี 0.1 มม. ลิ้นไอเสีย 0.2 มม.
ข. ลิ้นไอดี 0.2 มม. ลิ้นไอเสีย 0.3 มม.
ค. ลิ้นไอดี 0.3 มม. ลิ้นไอเสีย 0.4 มม.
ง. ลิ้นไอดี 0.4 มม. ลิ้นไอเสีย 0.5 มม.
จ. ลิ้นไอดี 0.5 มม. ลิ้นไอเสีย 0.6 มม.
99. คัตเตอร์ปำดมุมบ่ำลิ้น 3 ตัว มีมุมเท่ำไร
ก. 15 - 30 - 40
ข. 20 - 45 - 60
ค. 25 - 30 - 40
ง. 35 - 40 - 50
จ. 45 - 50 - 60
100. ขอบลิ้นไอดีไอเสียไม่ควรบำงกว่ำเท่ำไร
ก. ขอบลิ้นไอดี 1.1 มม. ขอบลิ้นไอเสีย 0.2 มม.
ข. ขอบลิ้นไอดี 1.1 มม. ขอบลิ้นไอเสีย 1.2 มม.
ค. ขอบลิ้นไอดี 1.3 มม. ขอบลิ้นไอเสีย 1.4 มม.
ง. ขอบลิ้นไอดี 1.4 มม. ขอบลิ้นไอเสีย 1.5 มม.
จ. ขอบลิ้นไอดี 1.5 มม. ขอบลิ้นไอเสีย 1.6 มม.

ด้วยความปรารถนาดี จาก...สานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ

You might also like