You are on page 1of 6

1.

กรณีศึกษาการใช้ระบบ WMS จัดการคลังสินค้าของบริษัท บุญถาวร


เซรามิค จำกัด

กรณีศึกษาการใช้ระบบ WMS

บริษัทบุญถาวร ได้มีการนำซอฟแวร์ระบบบริหารคลังสินค้า
(Warehouse Management System: WMS) มาใช้ในคลังสินค้า บริษัทได้
ลงทุนไปกว่า 20 ล้านบาท โดยมุ่งหวังที่จะให้ระบบเข้ามาช่วยบริหาร
จัดการด้านคลังสินค้า และแจ้งเตือนการเติมเต็มสินค้าอย่างต่อเนื่อง โดย
ข้อมูลจะเข้ามาที่ศูนย์กระจายสินค้า 2 ทางด้วยกัน คือ

(1) เติมสินค้าทันทีเมื่อสินค้าขาด และ

(2) เมื่อตรวจสอบข้อมูลแล้วพบว่าสินค้าที่อยู่ในคลังสาขาปริมาณเริ่ม
น้อย คลังจะทำการเติมเต็มทันที
ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องตัง้ แต่ฝ่ายขาย ฝ่ ายจัดซื้อ ฝ่ ายการตลาด รวมถึงผู้
ขาย/ซัพพลายเออร์ และโรงงานผู้ผลิตจะทราบข้อมูลจำหน่ายสินค้าของบุญ
ถาวร ทำให้บุญถาวรสามารถประสานงานกับบริษัทต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และ
จัดการสินค้าในคลังอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้ บุญถาวรยังมีเทคโนโลยี
ที่มีความสัมพันธ์กับระบบ WMS คือการใช้ Barcode Tracking ติดบน
สินค้า ซึ่งเมื่อเข้าสู่เครื่องสแกนระบบจะแจ้งไปยังศูนย์กระจายสินค้าทันที
พร้อมทัง้ ประมวล ผลการสั่งงานผ่านบนเครือข่ายไร้สาย และถ้าหากระบบ
WMS และ Barcode tracking ตรวจพบสินค้าคงคลังที่เริ่มล้าสมัย คือ
สินค้าที่วางไว้ในคลังเป็ นเวลา 3 เดือนขึน
้ ไป ระบบก็จะเตือนให้นำมาลด
ราคา ซึ่งสินค้าในคลังดังกล่าวอาจเป็ นสินค้าที่อยู่ในคลังสินค้า หรือในร้าน
สาขาเพื่อช่วยลดพื้นที่การจัดเก็บได้อีกทางหนึ่ง ปั จจุบันบุญถาวรประสบ
ความสำเร็จในดำเนินธุรกิจเป็ นอย่างมาก เนื่องจากผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ใน
การจัดการองค์การ โดยให้ความสำคัญกับ โลจิสติกส์โดยเฉพาะการใช้ระบบ
การจัดการคลังสินค้า ที่จัดได้ว่าเป็ นงานพื้นฐานหลักที่เชื่อมโยงและประสาน
งานการทำงานให้สอดคล้องกับหน่วยงานอื่นทัง้ ภายในและภายนอกบุญ
ถาวรได้เป็ นอย่างดี ส่งผลให้กิจการมียอดขายเพิ่มขึน
้ และสามารถขยาย
สาขาได้อย่างต่อเนื่อง

2. กรณีศึกษาระบบ VMI ระหว่าง P&G และ Walmart

P&G ได้มีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในฐานะผู้ซ้อ
ื -ผู้ขายกับ Walmart
ซึ่งจัดได้ว่าเป็ นผูค
้ ้าปลีกรายใหญ่ของสหรัฐอเมริกามาตัง้ แต่ปี ค.ศ.1985
โดยหนึ่งในความสัมพันธ์ที่ร่วมมือกัน ได้แก่ ระบบ vendor managed
inventory (VMI) ภายใต้ระบบ VMI นี ้ P&G จะทำหน้าที่บริหารจัดการ
สินค้าของ P&G ที่อยู่ในคลังของ Walmart โดยทัง้ สองหน่วยงานได้ทำการ
ตกลงถึงระดับของสินค้าคงคลังที่เหมาะสมในการจัดเก็บภายในคลังสาขา
ของ Walmart สำหรับสินค้าแต่ละตัว รวมถึงนโยบายต่าง ๆ ที่จะใช้เพื่อ
รักษาระดับสินค้าคงคลังของ Walmart ให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยที่ทาง
P&G ได้จัด และพัฒนาคณะทำงานทีทำ
่ งานอย่างทุ่มเทให้กับการจัดการ
สินค้าคงคลังของ Walmart โดยวัตถุประสงค์หลักของการจัดตัง้ ทีมงาน เพื่อ
อำนวยการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง 2 บริษัท และดำเนินการกิจกรรมโลจิ
สติกส์ การจัดส่งสินค้า การจัดการระบบสารสนเทศ บัญชีและการเงิน และ
กิจกรรมอื่นๆ โดยที่ทาง Walmart ได้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับการ
ขายสินค้า ณ จุดขาย จากห้างสาขาของ Walmart ทุกห้าง โดยข้อมูลจะส่ง
ตรงไปยัง P&G ผ่านระบบสารสนเทศ และภายหลัง Walmart ยังอนุญาตให้
P&G สามารถเข้าถึงข้อมูลที่จำเป็ นได้ง่ายโดยเฉพาะข้อมูลการขายสินค้าให้
กับลูกค้า และรูปแบบของการซื้อสินค้าของลูกค้า คณะทำงาน Walmart
ของ P&G จะรับผิดชอบในการขาย และการทำตลาดตัวสินค้าของ P&G
ภายในห้าง Walmart ซึง่ การดำเนินการด้วยระบบ VMI ดังกล่าวนี ้ ช่วยเพิ่ม
สมรรถนะของ P&G ในด้านความตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า ความ
รวดเร็วในการเติมเต็มสินค้ารวมทัง้ สามารถเพิ่มรอบการหมุนเวียนของ
สินค้าคงคลังให้เร็วขึน
้ อีกด้วย ในขณะที่ทาง Walmart เองสามารถลด
ต้นทุน และทรัพยากรอื่นๆที่ต้องใช้ในการบริการสินค้าคงคลัง รวมถึง
สามารถลดความเสี่ยงในการขาดคราวของสินค้าต่าง ๆ

กรณีศึกษาระบบ VMI ระหว่าง P&G และ Walmart

3. กรณีศึกษาการใช้ RFID ระดับรายชิน


้ สินค้าของบริษัท I.T.’S

บริษัท I.T.’S เป็ นบริษัทผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป และเครื่องประดับของ


ญี่ปุ่น มีสาขาอยู่ทงั ้ หมด 13 สาขา (ข้อมูลปี ค.ศ. 2010) ได้มีการนำเอา
เทคโนโลยี RFID มาใช้ในการจัดการสินค้าคงคลัง และการดำเนินงานภายใน
ร้านสาขา โดยการติด RFID เป็ นการคิด Tag ไปที่เสื้อผ้า และเครื่องประดับ
แต่ละชิน
้ RFID Tag จะได้รับการติดมาจากโรงงานผลิตเสื้อผ้าและเครื่อง
ประดับ เมื่อสินค้าส่งมาที่ศูนย์กระจายสินค้า ที่ศูนย์สามารถรับสัญญาณ
RFID จาก สินค้าที่อยู่ในกล่องบรรจุทุกชิน
้ สามารถทำการตรวจสอบรายการ
สินค้าที่ถูกจัดส่งมาทัง้ หมดได้ด้วยความรวดเร็วผ่านระบบคอมพิวเตอร์ที่
เชื่อมโยงกับ ระบบ RFID จากนัน
้ สินค้าเหล่านีจ
้ ะถูกส่งไปยังร้านสาขาซึง่ ทาง
ร้านสาขาสามารถตรวจสอบความถูกต้องของสินค้าที่สั่งได้อย่างรวดเร็วเช่น
เดียวกัน ซึ่งการใช้ RFID รายชิน
้ นีช
้ ่วยประหยัดเวลาในการทำงานภายใน
ร้านสาขา ซึ่งแต่ละร้านสาขาจะมีรายการสินค้ามากกว่า 15,000 รายการใน
แต่ละร้าน ซึง่ การตรวจนับสินค้าด้วย RFID tag สามารถช่วยลดระยะเวลา
ในการตรวจนับสต๊อกสินค้า จากเดิมที่ต้องใช้เวลาถึง 4 วัน ให้เหลือเพียง 2
ชั่วโมง ทำให้ร้านสาขาสามารถตรวจนับ สต๊อกสินค้าได้บ่อยขึน
้ (ทุกเดือน)
ทำให้ข้อมูลสต๊อกสินค้าในระบบมีความถูกต้องเพิ่มมากขึน
้ อีกด้วย
กรณีศึกษาการใช้ RFID

You might also like