You are on page 1of 137

1 Introduction to Wood & Timber

• Natural material:
– โครงสรางขนาดเล็ก/กลาง/ (ใหญ)
– ขึ้นอยูก
 ับ design + technique

• Working life: 20-30 years approximately


– แหง/เปยกตลอดเวลา
– ไมผุจากมอด/เชื้อรา
• ชืน
้ สูง/อุณหภูมิปานกลาง/อากาศ
– ปองกัน/อาบน้ํายาเคมี
1 Wood Property
• Popularity
– (used to be) cheap – Easy for construction &
– Resists to vibration demolition
– Resists to heat • เครื่องมือธรรมดา
– Beautiful texture & surface • ใชงานชั่วคราว: นัง่ ราน ค้าํ ยัน
ไมแบบ
– Various sizes available

• Properties necessary for structural use:


– Physical
– Mechanical
1 Wood Property

Physical Properties

cellular organic material


– 60 % cellulose ผนังเสี้ยนไม
– 28 % lignin ยึดประสานเสี้ยนไม
– 12 % others: น้ําตาล, etc.
1 Wood Property

Physical
Properties
• Textural Structure
– Pitch ใหกําลังต่ํา/ถือเปนตําหนิ
– Heartwood เซลลที่ไมใชงาน/โครงตน/ใหกําลังสูง
– Sapwood เซลลสูบอาหารจากรากสูใบ
– Cambium layer เยื่อบางๆ/สรางเนือ ้ ไม + เปลือกไม
– Inner Bark ชืน
้ /ออน/สงอาหารจากใบไปสวนอืน ่
– Outer Bark เยื่อไมแหง
• Annual rings
• สีจางชวงสมบรูณ
• สีเขมชวงแหงแลง
1 Wood Property

Physical Properties
• Moisture Content: น้ําในโพรง + น้ําในผนังเสี้ยนไม
– % of [ water weight : dried wood weight ]
– dried wood: at 214-220 deg. F. for 1-2 days
– Fiber Saturation Point: (25-30%)
• น้ําในโพรง + น้ําในเสี้ยนไมอิ่มตัว
– Equilibrium Moisture Content:
• ดูด/คาย Moisture จนสมดุลกับบรรยากาศ

• Weight & Specific Gravity: ไมไทย 0.5-1.20


1 Wood Property
Physical Properties

• Shrinkage
• Grain
• Durability แกน > กระพี้ (อาบน้ํายา)
1 Wood Property

Physical Properties

Wood Defects
– Knots: ตาไม / bending for beam
– Checks: shear
– Shakes: shear
1 Wood Property

Mechanical Properties

• Bending Stress
– หนวยแรงดัด/คาน/ตง [ความลึก + รูปตัด]
• Modulus of Rupture
– หนวยแรงดัดที่จุดประลัย
• Modulus of Elasticity
– ความยืดหยุน/ตานทาน vertical deflectn
• Compressive Stress Parallel to Grain
– หนวยแรงอัดขนานเสี้ยน
• Compressive Stress Perpendicular to Grain
– หนวยแรงอัดตั้งฉากเสี้ยน
1 Wood Property

Mechanical Properties

• Tensile Stress Parallel to Grain


– หนวยแรงดึงขนาดเสีย
้ น
• Shearing Stress Parallel to Grain
– หนวยแรงเฉือนขนานเสี้ยน
– ตานทานการแยก(slide)
• Hardness
– ความแข็ง
– ตานทานการกดเปนรอย

¾ ขึ้นอยูก
 ับ : ชนิด, ตําหนิ, MC, W, SG, แนวเสี้ยนไม เปนตน
1 Wood Property

– Hard Wood:
• broad leaf tree
• used for primary members (W, SG สูง)

– Soft Wood:
• long leaf tree
• used for secondary members (W, SG ต่ํา)
1 Wood Property

Standard of Structural Timber:

ไมที่ใชในการกอสราง
– ตองเปนไมที่ดี ปราศจากตัวมอด
– หนาเรียบ เลื่อยไดเหลี่ยม ไดฉาก
– ขนาดแตกตางเนื่องจากการแปรรูปไดเล็กนอย
– เมื่อไสแลวจะตองไมเล็กกวามาตรฐานของไมไสแลว
1 Wood Property

Standard of Structural Timber: 4 class

แบงออกตามขนาดและชัน
้ ตามขนาดและชนิดของตําหนิ

o ไมกอสรางชัน
้ 1
o ไมกอสรางชัน้ 2
o ไมกอสรางชัน ้ 3
o ไมดอยคุณภาพ

โดยกําหนดมาตรฐานสําหรับไมกอสรางชัน ้ 2 ขึ้น
สวนไมกอสรางชัน
้ อืน
่ ๆ เทียบจากมาตรฐานของไมชนั้ 2
1 Wood Property
ไมกอสรางชัน
้ 2 จะตองมีตําหนิไมเกินทีร่ ะบุตอ
 ไปนี้
ตาไม
• คาเฉลี่ยของเสนผาศูนยกลางที่กวางที่สุดและแคบที่สุด ผลบวกของ
เสนผาศูนยกลางของตาทั้งหมดที่อยูในชวงครึ่งกลาง (middle half) ของ
ความยาวคาน จะตองไมเกินขนาดความกวางของไมที่มีตานั้น
• และขนาดสูงสุดของตาจะยอมไดไมเกินตารางที่ 1.1
รอยแตก ราว
• ความกวางของรอยแตก ราว วัดที่ปลายไมตามแนวดิ่ง ยอมใหไดไมเกินตาราง
ที่ 1.2
เสี้ยนขวาง
• มุมของเสี้ยนขวางจะตองไมชันกวา 1:15 กับแนวขอบไมทางยาว
กระพี้
• ยอมใหมีไดสําหรับการกอสรางชั่วคราว ถาเปนสิ่งกอสรางถาวรจะตองมีเนื้อที่
บนไมทั้ง 4 หนาไมเกิน 15% หรือตองอาบน้ํายากันผุกอนใช
1 Wood Property
ตารางที่ 1.1 ขนาดของตาไม
ขนาดไม ขนาดสูงสุดของตาไม (นิ้ว)
(นิ้ว) บนหนาแคบและ ¼ จากแตละขอบของหนากวาง บนครึ่งกลางของหนากวาง
3 ¾ ¾
4 1 1
6 1½ 1½
8 1¾ 2
10 2 2½
12 2*1/8 3
14 2¼ 3¼
16 2½ 3½
หมายเหตุ ตาหลุด ตาผุ รูมอด (ที่ไมมีตัว) ยอมใหมีไดในขนาดเดียวกับตาดีซึ่งยึดแนนกับเนิ้อไม
1 Wood Property
ตารางที่ 1.2 ขนาดรอยแตกของไม

ขนาดไม ขนาดกวางสูงสุดของรอยแตก ราว (นิ้ว)


(นิ้ว) ไมเปยก ไมแหง
3 ¾ 1
4 1 1¼
6 1½ 2
8 2 2*5/8
10 2½ 3¼
12 3 4
14 3½ 4*5/8
16 4 5¼
1 Wood Property
มาตรฐานของไมกอสรางชัน
้ อืน
่ ๆ

ไมกอสรางชัน้ 1
– ยอมใหมีตําหนิได 0.5 เทาของไมกอสรางชั้น 2
– ไมใหมีตาหลุด ตาผุ
– มุมของเสี้ยนขวางตองไมชน ั กวา 1/20 กับขอบไมทางยาว
ไมกอสรางชัน ้ 3
– มีตําหนิไดถงึ 1.5 เทา ของไมกอสรางชัน ้ 2
– มุมของเสี้ยนขวางยอมใหชันไดถึง 1/12 กับขอบไมทางยาว
ไมดอยคุณภาพ
– ไมที่มค
ี ุณภาพต่ํากวาไมกอสรางชัน
้ 3 ถือเปนไมดอยคุณภาพ
– เหมาะสําหรับสิ่งกอสรางชั่วคราว เชน ค้าํ ยัน ไมแบบ เปนตน
1 Wood Property
•Safety Factor
สวนปลอดภัย สําหรับไมกอสรางชั้น 2
ชนิดหนวยแรงที่ยอมให งานในรม งานกลางแจง งานในที่เปยกชืน้
แรงดัดในคาน แรงดึงขนานเสี้ยน 6.5 8 9
แรงเฉือนตามเสี้ยน 9 9 9
แรงเฉือนตามแนวนอนในคาน 13 13 13
แรงอัดขนานเสี้ยน 5.75 6.5 7.75
แรงอักตั้งฉากเสี้ยน 2.5 3.5 3.75

คาหนวยแรงที่ยอมใหทุกชนิดของไมกอสรางชั้น 1 ,ชั้น 3 และไมดอยคุณภาพ


ใหคูณคาที่ไดจากไมกอสรางชั้น 2 ดวย 1.17, 0.83 และ 0.75 ตามลําดับ
1 Wood Property

Allowable Stress
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดคาหนวยแรงทีย
่ อมใหของไม 5
ประเภท
• ไมเนือ
้ ออนมาก
• ไมเนือ้ ออน
• ไมเนือ ้ ปานกลาง
• ไมเนือ ้ แข็ง
• ไมเนือ ้ แข็งมาก

คาหนวยแรงที่ยอมใหไดมาจากการใชคา ผลการทดลองกลสมบัติ
ของไมตามวิธีการทดลองไม ตามมาตรฐานสากลหารดวยคาสวน
ปลอดภัย
1 Wood Property

Allowable Stress

คาหนวยแรงทีย ่ อมใหในตารางที 1.4


ใชกบ ั ไมกอ
 สรางตามมาตรฐาน
ที่มีสภาวะรับน้ําหนักบรรทุกปกติ
และสภาวะการใชงานที่แหงตลอดเวลา

สวนคาหนวยแรงที่ยอมใหของไมที่มีสภาวะแตกตางออกไป
ใหลดหรือเพิ่มคาจากคาที่ใหไวในตารางที่ 1.4
1 Wood Property
ตารางที่ 1.4 คาหนวยแรงทีย่ อมใหของไม
ประเภทของไม หนวยแรงดัด โมดูลัสความ หนวยแรงอัด กก./ซม.2 หนวยแรง
หรือแรงดึง ยืดหยุน เฉือนขนาน
ขนาน ตั้งฉาก
ขนานเสีย้ น โดยประมาณ เสีย้ น
2 2
เสีย้ น เสีย้ น
กก./ซม. กก./ซม. กก./ซม.2
ไมเนื้อออนมาก 60 78900 45 12 6
ไมเนื้อออน 80 94100 60 16 8
ไมเนื้อปานกลาง 100 112300 75 22 10
ไมเนื้อแข็ง 120 136300 90 30 12
ไมเนื้อแข็งมาก 150 189000 110 40 15
1 Wood Property
ขนาดเดิม (Nominal Sizes)
o ขนาดทีร่ วมทั้งสวนที่หายไปเนือ
่ งจากคลองเลื่อยในขณะที่เลื่อย
o ขนาดของไมที่จะสั่งซื้อและคิดเงิน
o ถาวัดดูจะนอยกวาขนาดเดิมเสมอ
Quantity
• Volume : cu. ft.
• Cross section :in.×in.
• Length : m.

ขนาดไสแลว (Dressed Size)


o ขนาดจริงเมื่อไสแลว
o ไมไสแลวจะเล็กลง
ƒ 3/8” : ตั้งแตขนาดเล็กจนถึงขนาด 6”
ƒ ½” : ตั้งแตขนาด 8” ขึ้นไป
1 Wood Property
Structural Timber Classifications

ไมกระดาน (Planks)
ƒ ใชสําหรับทําพื้นภายนอกและฝาอาคาร สวนประกอบอืน ่ ๆ เชน
เชิงชาย
ƒ ไมทน ี่ ย
ิ มใช: แดง ตะเคียนทอง พยอม ยมหิน
ƒ ไมทาํ พื้นภายใน: กะทอน กะบาก มักนิยมใชไมอาบน้ํายา เพราะ
ราคาถูก
ƒ ขนาดเดิม (Nominal Sizes) :
• ความหนา: ½”, 3/4”, 1”
• ความกวาง: 2”, 4”, 6”, 8”
1 Wood Property

Structural Timber Classifications

ไมสําหรับคาน ตง (Beams and Joists)


ƒ ไมทน ี่ ย
ิ มใช: ไมสัก เต็งรัง
ƒ พื้นภายนอก: เกือบทุกชนิด
ƒ ขนาดเดิม (Nominal Sizes):
– ความหนา: 1½ ”, 2”
– ความกวาง: 4”, (5”), 6”, 8”, 10”, 12”
– ตัวเลขในวงเล็บ มีเฉพาะความกวาง 1½”
1 Wood Property

ไมเสา (Posts)

ƒ มักจะเปนไมหนาตัดสี่เหลี่ยมจตุรัส
ƒ ควรใชแตแกนเทานัน

ƒ ตะเคียนทอง เต็งรัง เคี่ยม มะคาโมง
ƒ ขนาดเดิม (Nominal Sizes)
ƒ 2”, 3”, 4”, 6”, 8”
1 Wood Property

การออกแบบโครงสราง:

การผสมผสานระหวางศิลปะกับวิทยาศาสตรผนวกกับ
สัญชาตญาณความนึกคิดของวิศวกรผูมีประสบการณ
เกี่ยวกับพฤติกรรมของโครงสรางและพื้นฐานความรูทาง
วิศวกรรมโครงสรางและกลศาสตรวัสดุ เพื่อผลิตโครงสรางที่
ประหยัดและปลอดภัยสนองความประสงคการใชงานตาม
ความตั้งใจ
1 Wood Property

หลักการออกแบบ:

วัตถุประสงคหลัก
• ราคาต่ํา
• น้ําหนักนอยที่สุด
• เวลากอสรางสัน ้ ที่สุด
• คาแรงต่ําที่สุด
• ตนทุนผลิตต่ําสุดเมื่อใชงาน
• ประสิทธิภาพการใชงานโครงสรางสูงสุด
• ความสวยงาม
1 Wood Property

ลักษณะการออกแบบ

การออกแบบสัดสวนการใชงาน:
• เปนการออกแบบพื้นที่ใชสอย พื้นที่ระบายอากาศ ชองทางเดินและบันได การ
เครื่องยายวัสดุและอุปกรณ แสงสวาง และความสวยงามทางสถาปตยกรรม

การออกแบบสัดสวนโครงสราง:
• เปนการออกแบบขนาดองคอาคารโครงสรางเพื่อรับน้ําหนักบรรทุกกระทําอยาง
ปลอดภัยและประหยัด
1 Wood Property
ขั้นตอนการออกแบบ

• การวางแผน • การวิเคราะหโครงสราง
– กําหนดสัดสวนการใช – ตรวจสอบกําลัง ความ
งานเพื่อเลือกโครงสราง มั่นคง และรอยตอ
และกําหนดเกณฑการ • การประเมินผล
ออกแบบโครงสราง
– ตรวจสอบผลการ
• รูปรางโครงสรางเบื้องตน ออกแบบวาถูกตองตาม
– รูปรางและตําแหนงของ เงื่อนไขขอกําหนดและดี
องคอาคารโครงสราง ที่สดุ หรือไม
• กําหนดน้าํ หนักกระทําตอ • การออกแบบซ้ํา
โครงสราง – ดําเนินการขั้นตอน 3-6
• การหาขนาดองคอาคาร • สรุปผล
โครงสรางเบื้องตน
2 TIMBER FASTENERS & CONNECTORS

• กําลังรับแรงของรอยตอ
– ตานทานแรงถอน (Withdrawal Resistance)
– ตานทานแรงทางขางหรือแรงเฉือน
(Lateral Shear Resistance)
Nails & Spikes

ƒ ตะปู
ƒ ตะปูอวน
ƒ แบบลวดกลมเรียบธรรมดา
ƒ แบบแกนมีหนามแข็ง
กําลังรับแรงสูงกวาแบบลวด
กลมเรียบทีม่ ีขนาดเทากัน
น้ําหนักเพนนี 2d 4d 6d 8d 10d 12d 16d 20d 30d 40d 50d 60d

ความยาว, นิ้ว 1 11/2 2 21/2 3 31/4 31/2 4 41/2 5 51/2 6


ขนาด ตะปู 1.83 2.50 2.87 3.33 3.76 3.76 4.11 4.88 5.26 5.72 6.20 6.68
เสน
ตะปู 4.88 4.88 5.26 5.71 6.20 6.68 7.19 7.19
ผา
อวน
ศูนย
ตะปู 3.05 3.05 3.43 3.43 3.76 4.50 4.50 4.50 4.50 4.50
กลาง แบบ
มม. แกนมี
หนาม
แข็ง

ขนาด: นิยมเรียกเปน “เพนนี”

ตะปูขนาด 10 เพนนี (10d)


= ตะปูจํานวน 1000 ตัว
หนัก 10 ปอนด
Nails & Spikes
Nails & Spikes

• กําลังรับแรงของตะปู
– กําลังรับแรงถอน (Holding Power)
– กําลังรับแรงทางขางหรือแรงเฉือน (lateral shear resistance)
Nails & Spikes

• กําลังรับแรงของตะปู – ทิศทางการตอกเทียบ
• ขึน
้ อยูก
 ับ กับเสี้ยนไม:
– ชนิดและคุณภาพไม – แทรกระหวางเสี้ยน
(ความถวงจําเพาะ) – ตั้งฉากกับเสีย้ น
– ระยะหางจากขอบไม – ขนานเสี้ยน
– ระยะฝงในเนือ ้ ไม – ตอกทีป ่ ลายไม
– ความชืน ้ ของเนื้อไมในขณะที่ตอก – ตําแหนงที่ตอก:
หรือถอน – ใกลตาํ หนิไม
• SF= 6 – ไกลตําหนิไม
• กําลังรับแรงทั้งหมด=ผลรวมของแตละตัว
Nails & Spikes
• แรงถอนแนวตั้งฉากเสี้ยนไม P = 95(G2.5)(D ) กก./ระยะฝง 1
ซม.
• แรงทางขางในแนวขนานเสี้ยนไม P = K1D (1.5) กก./ตัว
G = ความถวงจําเพาะของไม (อบแหงในเตาอบ)
D = ขนาดเสนผาศูนยกลางของแกนตะปู, ซม.
K1 = 121, 229, 255, 296
สําหรับ G = 0.6, 0.7, 0.8 , 0.9 กลุม 4,3,2,1
ระยะฝงของแกนตะปู ≥ 14, 13, 11, 10 (D)

• แรงถอนในแนวขนานเสี้ยนไมและแรงทางขางในทีป ่ ลายเสี้ยนไม
(ตั้งฉากกับเสี้ยนไม) จะมีคา 2/3 ของคาที่กําหนดขางตน

• เมื่อใชแผนปะกับเหล็ก ใหเพิ่มคาแรงทางขางไดอีก 25%


• ความตานทานตอแรงถอน&แรงทางขาง
(Holding Power of Nails) Nails & Spikes
ชนิดไม ความ แรงถอน กก. ตอ ซม. ของระยะฝง แรงทางขาง กก. ตอตะปูหนึ่งตัว
ถวงจํา ตะปู 2” ตะปู 3” ตะปู 4” ตะปู 2” ตะปู 3” ตะปู 4”
เพาะ
∅ 2.3 ∅ 3.5 ∅ 4.6 ∅ 2.3 ∅ 3.5 ∅ 4.6
มม. มม. มม. มม. มม. มม.
ยาง 0.68 5.9 8.2 11.2 23.3 46.0 63.7
พนอง 0.81 10.2 13.4 15.3 38.0 65.7 79.7
เขล็ง 1.05 * 19.0 28.8 36.7 71.3 93.7
ไขเขียว 0.91 4.1 4.8 9.2 30.5 57.0 81.8
ตะเคียนหิน 0.88 * * * 34.8 63.0 97.5
ตะเคียนทอง 0.69 8.9 14.5 17.0 33.3 65.5 89.5
มะคาโมง 0.77 10.0 15.1 18.7 35.0 66.0 80.8
แดง 0.98 10.5 14.9 17.6 35.8 65.7 90.3
เต็ง 0.90 2.7* 3.6* 3.7* 19.7 40.8 71.0
ประดู 0.88 10.7 18.8 26.5 39.8 69.0 97.0
• หมายเหตุ เครื่องหมาย * แสดงไมมีรอยแตกหลังตอกตะปู
2 TIMBER FASTENERS & CONNECTORS

Wood Screw
• ตะปูควงมาตรฐานจะมีสวนทีเ่ ปนเกลียว ประมาณ (2/3)L
• การยึดตรึงใชวิธีขันเขาที่ดวยไขควงในรูเจาะนําที่มี φ = 0.7-0.9 D
ของแกนตะปูควงที่ใช
2 TIMBER FASTENERS & CONNECTORS
Wood Screw
• มีระยะหางจากขอบ จาก
ปลาย ระยะระหวางแถว
และระยะระหวางศูนยกลาง
เชนเดียวกับเรื่องของตะปู

• ระยะฝงลึกคิดจากระยะฝง
ตัวของสวนเกลียวของตะปู
ควงในสวนของโครงสราง
ที่ถก
ู ยึดตรึง

• ปกติไมออกแบบใหตะปู
ควงรับแรงถอนทีป ่ ลาย
เสี้ยน (ขนานเสี้ยน)
Wood Screw
• กําลังรับแรงตะปูควงในไมแหง
ƒ แรงถอนแนวตั้งฉากเสี้ยนไม P = 200(G2)(D ) กก./ระยะฝง1ซม.
ƒ แรงทางขางในแนวขนานเสี้ยนไม P = K2D2 กก./ตัว
G = ความถวงจําเพาะของไม (อบแหงในเตาอบ)
D = ขนาดเสนผาศูนยกลางของแกนตะปูควง (ซม.)
K2 = 177, 228, 287, 337
สําหรับ G = 0.6, 0.7, 0.8, 0.9

• ระยะฝงประมาณ 7 D
• ในกรณีที่ระยะฝงนอยกวาทีก่ าํ หนด ใหลดคากําลังรับแรงเปนสัดสวน
• อยางไรก็ตามระยะฝงไมควรนอยกวา 4D
• เมื่อใชแผนปะกับเหล็ก ใหเพิ่มคาแรงทางขางไดอีก 25%
Wood Screw
แรงตานทานทางขางที่ยอมใหของตะปูควงในแนวตั้งฉากกับเสี้ยน (กก.)
กลุมไม ขนาดของตะปูควง
g = 6 7 8 9 10 12 14 16 18 20 24
D = .351 .384 .146 .450 .483 .548 .614 .681 .747 .813 .945

7D= 2.457 2.688 2.916 3.147 3.378 3.840 4.303 4.765 5.227 5.690 6.614

4D= 1.404 1.536 1.664 1.800 1.932 2.192 2.456 2.724 2.988 3.252 3.780

D2 = .123 .147 .173 .202 .233 .300 .377 .464 .558 .661 .893

กลุม 1 41.5 49.5 58.3 68.1 78.5 101.1 127.0 156.4 188.0 222.8 300.9

กลุม 2 34.2 40.9 48.1 56.2 64.8 83.4 104.8 129.0 155.1 183.8 248.3

กลุม 3 28.0 33.5 39.4 46.1 53.1 68.4 86.0 105.8 127.2 150.7 203.6

กลุม 4 21.8 26.0 30.6 35.8 41.2 53.1 66.7 82.1 98.8 117.0 158.1
2 TIMBER FASTENERS & CONNECTORS

Lag Screw
• ตะปูเกลียวหรือสลักเกลียวปลายปลอย
• ใชแทนสลักเกลียวในโอกาสที่ไมตอ  งการใหหัวเกลียวขัน (nut) ยืน
่ ออก
• การยึดตรึงใชวิธีขันเขาที่โดยใชประแจเลื่อนในรูเจาะนําทีม
่ ีขนาด
เสนผาศูนยกลางของรูเจาะประมาณ 0.65 - 0.85 D ของสวนกานของ
สลักเกลียว
• มีความลึกของรูเจาะ≥ L ของสวนเกลียว
• ระยะฝงลึกของสวนเกลียวประมาณ 7-10 D ของสวนกาน ซึ่งขึ้นอยูก  ับG
ของไม
Lag Screw

• กําลังรับแรงของตะปูเกลียวหรือสลักเกลียวหรือสลักเกลียวปลายปลอย
ในไมแหง
– แรงถอนในแนวตัง้ ฉากเสี้ยนไม P = 160(G1.5)(D0.75 )
กก./ระยะฝง 1 ซม.
– แรงทางขางในแนวขนานเสี้ยนไม P = K3D2 กก./ตัว

G = ความถวงจําเพาะของไม (อบแหงในเตาอบ)
D = ขนาดเสนผาศูนยกลางตะปูเกลียวปลายปลอย( ซม.)
K3 = 127, 186 สําหรับไมทม
ี่ ีG = 0.6 และ 0.9 ตามลําดับ
Lag Screw
• แรงถอนในแนวขนานเสี้ยนไม = 75% ของแรงถอนในแนวตั้งฉาก
เสี้ยนไม

• แรงทางขางในแนวตั้งฉากเสี้ยนไม มีคา ประมาณ 0.5, 0.55, 0.65,


0.76, 0.85 และ 0.97 เทาของแรงทางขางในแนวขนานเสี้ยนไม
สําหรับตะปูเกลียวขนาดเสนผาศูนยกลาง 1”, ¾”, ½”, 3/8”, 5/10”,
1/74” ตามลําดับ

• เมื่อใชแผนปะกับเหล็ก เพิ่มคาแรงทางขางไดอีก 25%

• ถาแรงทางขางทํามุม θ กับเสี้ยนไม (ระหวาง 0 องศา ถึง 90 องศา)


ใหคํานวณหากําลังรับแรงจากสูตรของฮันกินสัน (ดูเรือ่ งสลักเกลียว)

• ตําแหนง ใหจัดระยะเหมือนสลักเกลียว
2 TIMBER FASTENERS & CONNECTORS

Drift Bolt
• สลักไมมีเกลียวมีรูปตัดกลมปลายแหลม
• ใชตอกลงในรูเจาะที่มี φ ที่เล็กกวา D = 1/8 นิว้
• คาของแรงถอนทีป ่ ลอดภัย จากแรงถอนประลัย (SF= 5) สําหรับสลักไม
มีเกลียว ทีต
่ อกแทรกโดยตั้งฉากกับเสี้ยนในไมแหง
ƒ แรงถอนในแนวตัง้ ฉากเสี้ยนไม

P= 85(G2)(D) กก./ระยะฝง 1 ซม.

G = ความถวงจําเพาะของไม (อบแหงในเตาอบ)
D = ขนาดเสนผาศูนยกลางของสลักไมมีเกลียว (ซม.)
2 TIMBER FASTENERS & CONNECTORS

Turned Bolt/Bolt

• สลักเกลียวแรงดึงธรรมดา

• ใชเปนอุปกรณยึดไมสําหรับโครงไมเพื่อตานทานแรงทางขางที่กระทํา
ตั้งฉากหรือขนานกับแนวเสี้ยนที่จุดตอตางๆ ในโครงไม

• อาจใชตอ
 กันโดยใชไมหรือโลหะ เชน เหล็กเปนแผนปะกับได

• การยึดตรึงทําโดยสอดสลักเกลียวเขาไปในรูเจาะนํา ซึ่งมี ประมาณ 2


มม. แลวขันแปนเกลียวใหยึดตรึงแนนโดยมีแหวนรองอยูระหวางไมกับ
สลักเกลียว และระหวางไมกับแปนเกลียว
Turned Bolt

• กําลังความตานทานแรงทางขางนี้ ขึ้นอยูก
 ับ

ƒ แรงกด (Bearing) ระหวางไมกับสลักเกลียว


ƒ ระนาบรับแรงเฉือน
ƒ ความยาวของสลักเกลียวในสวนทีอ ่ ยูในโครงสรางหลัก
ƒ ขนาดเสนผาศูนยกลางของสลักเกลียว
ƒ ชนิดของเนื้อไม
Turned Bolt

• แรงกดระหวางไมกับสลักเกลียวนีไ
้ มสม่ําเสมอตลอดความหนาของไม

– แรงกดในแผนไมปะกับ A มีคา ศูนยทรี่ ิมนอก


– แรงกดในแผนไมปะกับ A มีคาสูงสุดที่รม ิ ในทีช
่ ิดกับไมแผน B
– แรงกดในแผน B จะเปนศูนยที่กลางแผน
– แรงกดในแผน B มีคาสูงสุดที่รม
ิ ที่ตด
ิ กับแผน A และแผนเหล็ก
– สวนแรงกดในแผนเหล็กจะมีคาสม่ําเสมอตลอดความหนา
Turned Bolt

• กําลังรับแรงทางขางของสลักเกลียวมี 2 อยาง
– แรงกระทําขนานแนวเสี้ยนไม P
– แรงกระทําตัง้ ฉากเสี้ยนไม Q

• เนื่องจากกําลังรับแรงทางขางของสลักเกลียวขึ้นอยูกับขนาด
เสนผาศูนยกลางของสลักเกลียว และความยาวของสลักเกลียวที่อยูใ น
โครงสรางหลัก ดังนัน้ ตองพิจารณาใชคาของ P และ Q ที่เสนอให
ถูกตอง ดังนี้
Turned Bolt
• กรณีสลักเกลียวรับแรงเฉือนระนาบเดียว

• เหล็กปะกับ : L= 2t ของไม

• ในกรณีที่จุดตอมีไม 2 ชิน

– ถาความหนาของไมทั้งสองชิ้นเทากัน คิดตามความยาวของ
สลักเกลียวที่อยูในโครงสรางหลักเปน 2 เทาของความหนา
ของไมชน ิ้ ใดชิน
้ หนึ่ง กําลังรับแรงใชเทากับ P/2 และ Q/2

– ถาความหนาของไมทั้งสองชิ้นไมเทากัน คิดตามความยาว
ของสลักเกลียวทีอ ่ ยูในโครงสรางหลักเปน 2 เทาของความ
หนาของไมชนิ้ ทีบ
่ างกวา กําลังรับแรงใชเทากับ P/2 และ
Q/2
Turned Bolt

• กรณีสลักเกลียวรับแรงเฉือน 2 ระนาบ
• เหล็กปะกับ 2 ขาง : L= t ของไม
• ไม 3 ชิน
้ คือไมแผนกลาง 1 ชิน ้ และไมปะกับขาง 2 ชิน

– ถาความหนาของไมปะกับขางแตละชิน ้ ≥ 0.5 t ของไมแผนกลาง
• ความยาวของสลักเกลียวที่อยูในโครงสรางหลัก= t ไมแผน
กลาง
• กําลังรับแรงใช = P และ Q
– ถาความหนาของไมปะกับขางแตละชิน ้ < 0.5 t ของไมแผนกลาง
• ความยาวของสลักเกลียวที่อยูในโครงสรางหลัก= 2 t ของไม
ปะกับขาง
• กําลังรับแรงใชเทากับ P และ Q
Turned Bolt

• กรณีสลักเกลียวรับแรงเฉือน > 2 ระนาบ

• ในกรณีที่จุดตอมีไม > 3 ชิน


้ พิจารณาทีละระนาบ

• กําลังรับแรงใช = P/2 หรือ Q/2 สําหรับระนาบนัน


้ ๆ
• เมื่อใชแผนเหล็กปะกับดานขาง Turned Bolt
– คาของแรง P เพิ่มอีก 25%
– แตคาของ Q ไมเพิ่มขึ้น
• หากสลักเกลียวตองรับแรงกระทําเปนมุม θ กับแนวเสี้ยน สูตร
Hankinson

N = PQ/(Psin2 θ + Qcos2 θ)
N = แรงตานทานทางขางเปนมุม θ กับเสี้ยนไม
P, Q = แรงตานทานทางขางที่ขนานและตั้งฉากเสี้ยนไม
ตามลําดับ

• เมื่อใชสลักเกลียว> 1 ตัวที่จุดตอ กําลังรับแรงทั้งหมดจะเปนผลบวก


ของคารับน้าํ หนักที่ยอมใหของสลักเกลียวแตละตัว
• โดยทีร่ ะยะเรียง ระยะขอบ และระยะปลายของสวนโครงสราง ตองมี
ระยะเพียงพอใหสลักเกลียวแตละตัวสามารถรับแรงที่ยอมใหไดเต็มที่
• คาความตานทานโดยปลอดภัยของสลักเกลียว
รับแรงเฉือน2ระนาบ
Turned Bolt
• สําหรับความยาวของสลักเกลียวที่อยูในโครงสรางหลัก = 2 นิ้ว

ชนิดไม ความ P แรงขนานเสี้ยน กก./สลักเกลียว Q แรงตั้งฉากเสี้ยน กก./สลักเกลียว


ถวงจําเพาะ

∅ ½” ∅ 5/8” ∅ ¾” ∅ ½” ∅ 5/8” ∅ ¾”

ยาง .67 640 660 1340 420 382* 440*


เคี่ยม .79 1000 1400 3060 472 500* 504*
ตงจีน .72 920 1480 3360 540 394* 546*
มะคาแต .78 1460 2320 4240 624 716* 584*
ตะเคียนหิน .71 960 1620 3800 540 480* 526*
ตะเคียนทอง .74 1020 1460 3020 456 492* 482*
มะคาโมง .83 1880 2560 4660 1080 880* 838*
แดง .88 1380 3080 3380 570 628* 648*
เต็ง .93 1060 2100 3200 620 664* 524*
ชัน .71 940 1800 2820 680 600* 740*

• หมายเหตุ เครื่องหมาย * แสดงถึงไมแตกกอนไดคาจริง


Turned Bolt

• การจัดตําแหนงใหของสลักเกลียว (Bolt Arrangement)

• ตองจัดตําแหนงของสลักเกลียวใหมีการรับแรงเทากันทุกตัว
• แนวแกนของแตละทอนที่ตอกันจะตองตัดกันที่จุดศูนยถวง
ของความตานทานของกลุมสลักเกลียว
Turned Bolt

• การจัดตําแหนงใหของสลักเกลียว (Bolt Arrangement)


• ระยะจากศูนยกลางระหวางสลักเกลียว ≥ 4D
• ระยะจากปลายไม ≥ 7D สําหรับแรงตึง หรือ ≥ 4D สําหรับแรงอัด
• ระยะจากขอบไม ≥ 1 1/2D เมื่อแรงขนานเสี้ยน หรือ ≥ 4D เมื่อแรงตั้งฉากเสี้ยน
Turned Bolt

• การจัดตําแหนงใหของสลักเกลียว (Bolt Arrangement)

• รูเจาะในไมมีขนาดใหญกวาขนาดสลักเกลียว 1/16 นิ้ว (2 มม.)


• สําหรับระยะระหวางแถวตองพิจารณาจากเนือ
้ ทีห
่ นาตัดสุทธิ (net
area) สําหรับทอนรับแรงดึง
2 TIMBER FASTENERS & CONNECTORS

• Split Ring Connector


Split Ring Connector

แหวนยึดไมแบบวงแหวนผาและการประกอบ

• อุปกรณยึดไมที่ใชสําหรับตานทานแรงทางขางในโครงไมตางๆ
เชนเดียวกับสลักเกลียว
• ใชแทนอุปกรณยึดไมอน ื่ ๆ เมื่อตองการกําลังที่สูงกวา
• มีลักษณะเปนวงแหวนโลหะ หนาพอสมควร และผาใหปลายแยกจากกัน
เพื่อจับไมไดสนิท
• ใชสําหรับยึดไม 2 ชิน
้ หรือมากกวาเขาดวยกัน โดยไมตองใชแผนเหล็ก
ปะกับชวย
Split Ring Connector
แหวนยึดไมแบบวงแหวนผา

แหวนยึดไมแบบวงแหวนผาและการประกอบ

• ใชเครือ
่ งมือเจาะรองวงกลม มีเสนผาศูนยกลางเทากับขนาดของวง
แหวน มีความกวางของรองมากกวาความหนาของแหวนเล็กนอย
• ความลึกของรองเทากับครึ่งหนึ่งของความสูงของแหวน
• เพื่อใหแหวนฝงลงในรองที่เจาะในไมแตละแผนเทาๆ กัน แลวจึงใชสลัก
เกลียวขัน รัดไมเขาดวยกัน
Split Ring Connector
ขนาด เสนผา ความ ขนาด เสนผาศูนย ความ ความกวาง ความหนา ระยะ
แหวน ศูนย สูงของ สลัก กลางของรอง ลึกของ ของไม ของไม จาก
กลาง แหวน เกลียว ภาย ภาย รอง ยัง ไสแลว เจาะ เจาะ ขอบ
ภาย ซม. ใน ซม. นอก ซม. ไมไส ซม. รอง รอง ซม.
นอก ซม. นิ้ว หนา สอง
ซม. เดียว หนา
∅ 2½” 7.2 1.9 ∅ ½” 6.5 7.4 1.0 4 (9.0) 1*1/2'” 3” (6.5) 0.9
(3.2) ซม.
ซม.
∅ 4” 11.2 2.5 ∅ ¾” 10.4 11.4 1.3 6 (13.7) 2” 3” 1.3
(4) ซม (6.5
ซม.)

• หมายเหตุ ขนาดในวงเล็บ () เปนขนาดไมที่ไสแลว


Split Ring Connector

• กําลังความตานทานของแหวนยึดแบบวงแหวนผา
(เชนเดียวกับในการยึดดวยสลักเกลียว)
– แรงกระทําขนานเสี้ยน
– ตั้งฉากเสี้ยน

• คากําลังตานทานของแหวนยึดขึ้นอยูกับ
– ขนาดเสนผาศูนยกลางของแหวนยึด
– ความหนาของไม
– ระนาบรับแรงเฉือน
– ชนิดหรือประเภทของไม
Split Ring Connector

• ไดจากแรงกด (Bearing) ระหวางตัวแหวนและไมทเี่ ปนวงกลมภายใน


ซึ่งลอมรอบดวยรองที่เจาะ

• แรงกดมีคาสูงสุดที่จุกศูนยกลางเทากับคาแรงเฉือนของไม
• มีคาเปน 0 ทีร่ ิมทัง้ สองขางของแหวน

• การชํารุดเสียหาย เปนลักษณะที่ไมภายในวงกลมทีล ่ อมรอบดวยรอง


ที่เจาะถูกเฉือนขาดเปนแวน ซึ่งเปนจุดทีใ่ หคาของแรงประลัย
(Ultimate Load)

้ ตัวแหวนจะถูกอัดจนเบี้ยว แลวตัวแหวนจะยันไมใหแยก
• หลังจากนัน
จากกัน ซึ่งเปนการชํารุดโดยสิ้นเชิงของจุดตอ (Joint)
Split Ring Connector

• กําลังตานทานโดยปลอดภัยของแหวนยึดไมแบบวงแหวนผา

ชนิดไม กําลังตานทานของแหวนยึด ∅ 2½” กําลังตานทานของแหวนยึดขนาด ∅ 4”


(กก. ตอหนึ่งแหวน) (กก. ตอหนึ่งแหวน)
แหวนสองหนา แหวนหนาเดียว แหวนสองหนา แหวนหนาเดียว
// ⊥ // เสี้ยน ⊥ เสี้ยน // เสี้ยน ⊥ เสี้ยน // เสี้ยน ⊥ เสี้ยน
เสี้ยน เสี้ยน
ยาง 1130 870 1050 845 2540 1400 2340 1400
ตะเคียนทอง 1380 1170 1320 1230 2340 2340 2040 2000
เต็ง 1380 1340 1610 1610 3230 1680 2980 2170
แดง 1285 1310 1395 1130 2330 1310 2310 2065
มะคา 1625 1430 1802 2180 3746 1900 3781 4050
Split Ring Connector
• ถาแนวแรงทํามุม θ กับเสี้ยนไม ใหคํานวณเอาจากสูตรของ Hankinson
• เมือ่ ใชแหวนยึดมากกวา1ตัวที่จุดตอ กําลังรับแรงทั้งหมดเปนผลบวกของคา
กําลังรับแรงที่ยอมใหของแหวนแตละตัว
• ระยะจากขอบไมถึงศูนยกลางของแหวนยึด
– ≥ 5 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 2½” และ ≥ 7 ซม. สําหรับแหวน ∅ 4”
• ระยะระหวางศูนยกลางของแหวนยึดในแถวเดียวกัน
– เมื่อแรงกระทําขนานเสี้ยนไม : ≥ 17 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 2½”
≥ 22 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 4”
– เมื่อแรงกระทําตั้งฉากเสี้ยนไม : ≥ 9 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 2½”
≥ 13 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 4”
Split Ring Connector

• ระยะจากปลายไมถึงศูนยกลางของแหวนยึด

– สําหรับทอนรับแรงดึง : ≥ 14 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 2½”


≥ 18 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 4”
– สําหรับทอนรับแรงอัด : ≥ 10 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 2½”
≥ 14 ซม. สําหรับแหวนยึด ∅ 4”

• แตอาจลดระยะจากปลายไมเหลือประมาณครึ่งหนึ่ง
ซึ่งตองลดกําลังรับแรงเหลือ 62.5%
3 Flexural Members
ตง/คาน
สวนของอาคารไมบางชนิด เชน แปจันทัน และอะเส
ลักษณะและทิศทางของน้ําหนักทีก ่ ระทําจะตั้งฉากกับแกน
สะเทิน (Neutral axis) ของรูปตัด (Cross-section) ของคาน
Flexural Stress
Structural Analysis

•สมมติใหตงและคานเปน Determinate Structures


•คานทีต่ อเนือ
่ งกันหลายๆ ชวง จะถูกคิดแบบคานชวงเดียว (Simple
span) เพราะในการกอสรางอาจมีการตอไมทเี่ สาทุกๆ ชวงคานก็ได
เนื่องจากหาไมยาวไมพอ

•โมเมนต
•แรงเฉือน
Flexural Members Design
การออกแบบองคอาคารรับแรงดัด
-เลือกขนาดของคานเพือ
่ รับน้ําหนักปลอดภัยที่ตองการ
-พิจารณาและตรวจสอบ
•หนวยแรงดัด (Flexural Stress)

•หนวยแรงเฉือนตามแนวนอน (Horizontal Shear Stress)


•หนวยแรงกดตั้งฉากเสี้ยน (Bearing Stress Perpendicular to Grain)

•ระยะโกงตามแนวดิ่ง (Vertical Deflection)

•ระยะโกงดานขาง (Lateral Deflection)

•สัมประสิทธิ์ของความลึก (Depth Factor)

•สัมประสิทธิ์ของรูปตัด (Form Factor)

ถาคานที่เลือกมาใชมรี ป
ู ตัดสี่เหลียมผืนผา และความลึกไมเกิน 30 ซม.
พิจารณาขอ 1 ถึงขอ 5
1 Wood Property
ตารางที่ 1.4 คาหนวยแรงทีย่ อมใหของไม
ประเภทของไม หนวยแรงดัด โมดูลัสความ หนวยแรงอัด กก./ซม.2 หนวยแรง
หรือแรงดึง ยืดหยุน เฉือนขนาน
ขนาน ตั้งฉาก
ขนานเสีย้ น โดยประมาณ เสีย้ น
2 2
เสีย้ น เสีย้ น
กก./ซม. กก./ซม. กก./ซม.2
ไมเนื้อออนมาก 60 78900 45 12 6
ไมเนื้อออน 80 94100 60 16 8
ไมเนื้อปานกลาง 100 112300 75 22 10
ไมเนื้อแข็ง 120 136300 90 30 12
ไมเนื้อแข็งมาก 150 189000 110 40 15
Flexural Stress

หนวยแรงดัด (Flexural Stress)

•หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง (Actual Bending Stress, fb)


ƒคํานวณไดจากสูตรแรงดัด (Flexure Formula)
•หนวยแรงดัดที่ยอมให (Allowable Bending Stress, Fb)
ƒกําหนดขึ้นเพื่อความปลอดภัย
ƒคาขึ้นอยูก
 ับชนิดของไม (ตาราง)
ƒ fb ≤ Fb
Flexural Stress
Method 1: b

• ถารูปตัดของคานเปนรูปสี่เหลียมผืนผา
• มีความกวางหรือหนา = b
• ความลึกเทากับ = d d

• คา fb จะหาไดจากสูตรของแรงดัด
fb = Mc/I = M/S≤ Fb
fb = หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง กก./ซม.2
M = โมเมนตสูงสุดที่เกิดขึ้นในคาน กก.-ซม.
S = โมดูลัสของรูปตัดของคาน ซม.3
I = โมเมนตอน
ิ เนอรเชียรอบแกนสะเทิน ซม.4
c = ระยะจากขอบไมตามแนวดิ่งถึงแกนสะเทิน ซม.
Flexural Stress
Method 2:
• ถาทราบคาของโมเมนตและหนวยแรงดัดที่ยอมให
• สามารถหาขนาดของรูปตัดของคานได โดยการแทนคาสูตร
bd2 = 6M/Fb
•สมมติคาของ b ก็จะหาคาของ d ได
•โดยทัว่ ไป
ƒความกวางของตง : 1 1/2 นิ้ว
ƒความกวางของคาน : 2 นิ้ว
•อัตราสวนของ d ตอ b ที่ประหยัดที่สุด ในการออกแบบ
ƒ ตง : d/b = 2 - 4
ƒ คาน : d/b = 3 - 6
Horizontal Shear Stress

หนวยแรงเฉือนตามแนวนอน

•แรงเฉือนในคานทีร่ ับน้าํ หนักกระทํา


• แรงเฉือนตามแนวนอน หรือขนานแนวเสี้ยน
• แรงเฉือนตามแนวดิ่ง หรือตั้งฉากแนวเสี้ยน
•แตเนือ
่ งจากแรงเฉือนตามแนวดิ่งมีคาแรงตานทานสูงมาก จึงไม
นํามาคํานวณออกแบบหรือตรวจสอบ
Horizontal Shear Stress
• คํานวณหนวยแรงเฉือน b
ที่เกิดขึ้นจริง

fh = VQ/Ib
= 3V/2bd d
≤ Fh 4 d

fh = หนวยแรงเฉือนตามแนวนอนทีเ่ กิดขึ้นจริง กก./ซม.2


V = แรงเฉือนสูงสุดในคาน กก.
Q = พื้นที่ของรูปตัดเหนือแกนสะเทิน ซม.3
x ระยะจากจุดศูนยถวงของพื้นที่ถึงแกนสะเทิน
I = โมเมนตอนิ เนอรเชียรอบแกนสะเทิน ซม.4
b =ความหนาของคานรอบแกนสะเทิน ซม.
Horizontal Shear Stress
• ในกรณีที่ตองการบากปลายคาน (notched beam) หนวยแรง
เฉือนตามแนวนอนจะมีคาเพิ่มขึ้นเปนสัดสวนกับคาความลึกของ
คานทีล
่ ดลง จะไดคาหนวยแรงเฉือน f’ ทีป
่ ลายคาน

fh’ = fh d/d’ = 3V/2bd’


Bearing Stress Perpendicular to Grain

หนวยแรงกดตั้งฉากเสี้ยน

•ตรวจสอบ คาหนวยแรงกดวาจะตอง ≤ หนวยแรงกดหรือหนวยแรงอัด


ตั้งฉากเสี้ยนทีย่ อมให ซึ่งใชไดกับพื้นทีส
่ ําหรับแรงกดทีม ี วามยาว >
่ ค
15 ซม.
•บริเวณฐานรอง
•บริเวณที่มีแรงกระทําเปนจุด (point load)

•ในกรณีที่มีความยาว< 15 ซม.

•หนวยแรงกดที่ยอม = (L + 0.95)/L x คาในตาราง

เมื่อ L เปนความยาวของพื้นทีส
่ ําหรับแรงกด(เซนติเมตร)
Deflection
ระยะโกงตามแนวดิ่ง

•ระยะโกงสูงสุดตามแนวดิ่งที่เกิดขึ้นจริงในคาน
•คํานวณไดจากสูตรการวิเคราะหโครงสราง
•ตองมีคา≤ระยะโกงตามแนวดิ่งที่ยอมให
• L /360 สําหรับตงหรือคานของอาคารไม
• L /200 สําหรับสะพานทางหลวง

L = ความยาวชวง (Span Length) ของคาน


Deflection

ระยะโกงตามแนวดิ่ง

• uniform load Δ = (5/384) (wL4/EI)

• point load Δ = (PL3)/(48EI)

Δ = สวนโกงมากที่สุดในแนวดิ่งที่กลางคาน ซม.
w = น้าํ หนักแผสม่ําเสมอตลอกคาน กก./ซม.
P = น้าํ หนักกระทําเปนจุดที่กลางคาน กก.
L = ชวงคาน ซม.
E = โมดูลัสยืดหยุน กก/ซม.2
I = โมเมนตเฉื่อยของรูปตัดคานรอบแกน x ซม.4
Lateral Deflection
ระยะโกงดานขาง

•เกิดขึ้นเนือ
่ งจากอัตราสวนความลึกตอความหนาของคาน (d/b) มี
คาสูง
•เมื่อคานรับน้ําหนักบรรทุกมากๆ หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้นบนรูปตัด
ของคานเหนือแกนสะเทิน จะทําใหคานเกิดการโกงทางดานขาง
(Lateral Buckling)
•คานไมสามารถ
รับน้าํ หนัก
ไดเทากับที่ออกแบบ
•การใชค้ํายันดานขาง
เปนวิธีแกที่ดีทส
ี่ ุด
Lateral Deflection
ขอกําหนดในการใชค้ํายันดานขางของคานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา
•คา d/b =
ƒ2 ไมตอ
 งใชคํายันดานขาง
ƒ3 ตองยึดปลายคานใหอยูในตําแหนง
ƒ4 ตองยึดปลายคานทั้งขอบบนและลาง
ƒ5 ขอบคานดานหนึ่งตองถูกยึดตลอด
เชน ขอบบนของตงยึดติดกับพื้นไมตลอด
ƒ6 ตองมีค้ํายันดานขางเปนระยะๆ ≤ 2.50 ม.
ƒ7 ขอบคานทั้งสองขางตองถูกยึดตลอด

• ขนาดไม ค้ํายันดานขางโดยทัว่ ไป 11/2” × 3”


2” × 3”
Depth Factor
สัมประสิทธิ์ของความลึก

•หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคานไม จําเปนตองลดคาลงมา ถาคาน


มีความลึก d ≥ 30 โดยการใชสัมประสิทธิ์ของความลึกคูณกับ
หนวยแรงดัดในสูตรของแรงดัด
Kh Fb = Mc/I

สัมประสิทธิ์ของความลึก
Kh = 0.81 (d2 + 894)/(d2 + 550) ซม. ≤ 1.0
Form Factor
สัมประสิทธิ์ของรูปตัด

•คานทีม
่ รี ูปตัดไมเปนสี่เหลี่ยมผืนผา
ƒรูปตัดวงกลม
ƒรูปตัดสี่เหลี่ยมจตุรัสมีเสนทะแยงมุมในแนวดิ่ง
ƒรูปตัด I
ƒรูปตัดสี่เหลี่ยมกลวง
Form Factor
• คูณหนวยแรงดัดที่ยอมใหดวยสัมประสิทธิ์ของรูปตัด

•สําหรับคานรูปตัดวงกลม: Kf = 1.18

•คานรูปตัดสี่เหลี่ยมจตุรส
ั มีเสนทะแยงมุมในแนวดิ่ง: Kf = 1.414

•คานรูปตัด I: Kf = 0. 81 C(1+ [(d2 + 894)/(d2 + 550) – 1])


และรูปตัดสี่เหลี่ยมกลวง

d = ความลึกทั้งหมดของคาน ซม.
C = [p2 (6 – 8p + 3 p2) (1- q)] + q
p = t1/d d d
q = t2/b
Bi-axial Bending Stresses
คานรับแรงดัด 2 แกน

•องคอาคารรับแรงดัดบางประเภท น้าํ หนักบรรทุกไมอยูในแกนหลักของรูป


ตัด
•แปไมบนโครงหลังคา เนือ ่ งจากแปไมวางบนจันทันซึ่งเอียงทํามุมθ
กับแนวราบ ทําใหเกิดโมเมนตรอบแกนหลักทั้งสองแกนของรูปตัด
Bi-axial Bending Stresses
คานรับแรงดัด 2 แกน

fbx/Fbx + fby/Fby ≤ 1.0

fbx = หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง แกน x กก./ซม.2


fby = หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง แกน y กก./ซม.2
Fbx = หนวยแรงดัดที่ยอมให แกน x กก./ซม.2
Fby = หนวยแรงดัดที่ยอมให แกน y กก./ซม.2

•ในการคํานวณหาคาแรงดัดที่เกิดขึ้นจริง ใหแตกแรงที่เกิดขึ้นเนือ
่ งจาก
น้ําหนักบรรทุกไปยังแกน x และ y เสียกอน
•สําหรับการตรวจสอบหนวยแรงชนิดอืน ่ และระยะโกง ใหตรวจสอบทั้งสอง
แกน
Built up Beams

คานประกอบ

• องคอาคารรับแรงดัด ซึ่งประกอบดวยองคอาคารมากกวา 2 ชิน ้ ประกอบ


เขาดวยกันโดยอาศัยอุปกรณ เชน ตะปู สลักเกลียว หรือแหวน เปนตัวยึด
• เพื่อใหชิ้นสวนทั้งหมดรับน้ําหนักทีก
่ ระทําเสมือนหนึ่งเปนองคอาคารชิน

เดียว
•เนื่องจากไมสามารถหาขนาดของไมที่ใหญโดยปราศจากตําหนิได
•เนื่องจากขนาดมาตรฐานไมตามทองตลาดขนาดใหญที่สุดยังไม
เพียงพอ ทีจ ่ ะรับน้ําหนักบรรทุกทีต
่ องการ
Built up Beams
•คานประกอบ 2 ประเภท

o คานประกอบทางแนวตั้ง
(Vertically laminated beams)
ƒ ใหกําลัง และ ความแข็งแรงได
ดีกวา
ƒ การออกแบบคานใหพิจารณา
เหมือนคานไมชน ิ้ เดียว

o คานประกอบทางแนวนอน
(Horizontally laminated beams)
ƒ การออกแบบตองพิจารณา
หนวยแรงเฉือนตามแนวนอนที่
รอยตอดวย
Vertically Laminated Beams

• คานประกอบทางแนวตั้ง

ƒ กําลัง (Strength) และความแข็งแรง (Stiffness) ≥ กําลังและ


ความแข็งแรงของคาน ซึ่งทําจากไมชน ิ้ เดียวและมีรปู ตัดเทากัน
ƒ เพราะคานประกอบมีตาํ หนิไมนอยกวา คานไมชน ิ้ เดียว
ƒ มีตะปูเปนตัวยึด เพื่อปองกันการโกงทางดานขาง
ƒถาคานประกอบมีความลึก > 10 นิว้ หรือ 25 ซม. ใชสลักเกลียว
ยึด
ƒ ปลายคานทั้งสองขาง ใชสลักเกลียวยึด
ƒ ตองพิจารณาหนวยแรงเฉือนตามแนวนอนทีร่ อยตอดวย
Vertically Laminated Beams
• คานประกอบทางแนวตั้ง

ƒ คานประกอบทางแนวตั้งบางชนิด (Flitch Beams) อาจใชวัสดุอน ื่ มา


ประกอบติดกับคานไม เพื่อเพิ่มกําลังของคานไม ใหรบ
ั น้ําหนักได
เพิ่มขึ้น
9แผนเหล็ก
9เหล็กรูปพรรณ
ƒการออกแบบคานประกอบประเภทนี้ใหไมและเหล็กรับน้าํ หนักบรรทุก
ตามสัดสวนของวัสดุของแตละประเภท
Horizontally Laminated Beams

• คานประกอบทางแนวนอน

ƒ กําลังและความแข็งแรงมีคาประมาณ 70% ถึง 90% ของกําลังและ


ความแข็งแรงของคานซึ่งทําจากไมชน ิ้ เดียวและมีรป
ู ตัดเทากัน
ƒ ขึ้นอยูกับชนิดของอุปกรณที่ใชยึด และลักษณะของการประกอบ
ƒ คานประกอบทางแนวนอนตามรูปจะใหกําลังรับน้าํ หนักดีที่สุด
ƒ จํานวนแหวนยึดทีร่ อยปะกับ คํานวณไดจากหนวยแรงเฉือนที่เกิดขึ้น
จริงที่จุดนัน

Trussed Beams
คานโครง

•เปนโครงสรางที่เหมาะสมสําหรับคานไมชน ิ้ เดียวแบบธรรมดา จะตอง


ใชคานที่มีความลึกมากๆ ซึ่งจะทําใหชวงสูงของหอง (Head room)
ลดนอยลงและแลดูไมสวยงามอีกดวย

•แบบเสาเดี่ยว
(King-Post
Trussed Beams)

•แบบเสาคู
(Queen-Post
Trussed Beams)
Trussed Beams
คานโครง

• คานโครงทัง้ 2 ประเภทสามารถรับน้ําหนักบรรทุกไดทั้งแบบแผกระจาย
(Uniform Loading) และแบบกระทําจุด (Concentrated Loading)
• น้ําหนักบรรทุกแบบกระทําจุดตองเกิดขึ้นที่เสา
•เกิดขึ้นแหงเดียวสําหรับคานโครงแบบเสาเดี่ยว
•เกิดขึ้นสองแหงสําหรับคานโครงแบบเสาคู
• การหาคาแรงที่เกิดขึ้นในคานโครง ตองวิเคราะหโครงสรางแบบอินดิ
เทอมิเนท
• วิธีทนี่ ย
ิ มมากวิธีหนึ่งไดแก วิธีของคาสติเกลียโน หรือ Method of
Least Work
•ผลลัพธตามตาราง W = น้ําหนักทั้งหมดบนคาน กก.
h = ความยาวแนวเอียงของลวดโลหะ เมตร
r = ความลึกแนวดิ่งของคานโครง เมตร
L = ความยาวชวงทั้งหมดของคานโครง เมตร
P = น้าํ หนักแบบกระทําจุด กก.
Trussed Beams
ชนิดของน้ําหนักบรรทุก แบบเสาเดี่ยว แบบเสาคู

แบบแผกระจาย
(Uniform Loading)
แรงดึงในลวดโลหะ 0.312 Wh/r Wh/3r
แรงกดในเสาไม 0.625 W W/3
แรงกดในคานไม 0.312 WL/2r WL/9r
โมเมนตในคานไม (ที่เสา) - WL/32 - WL/90

แบบกระทําจุดที่เสา
(Concentrated Loading)
แรงดึงในลวดโลหะ Ph/2r Ph/r
แรงกดในเสาไม P P
แรงกดในคานไม PL/4r PL/3r

W = น้ําหนักทั้งหมดบนคาน กก.
h = ความยาวแนวเอียงของลวดโลหะ เมตร
r = ความลึกแนวดิ่งของคานโครง เมตร
L = ความยาวชวงทั้งหมดของคานโครง เมตร
P = น้ําหนักแบบกระทําจุด กก.
4 Tension & Compression Members

•องคอาคารรับแรงในแนวแกน (Axial load) เพียงอยางเดียว


• โครงหลังคาของอาคารไม
• เสาไม
• สะพานไม
• หอคอยไมรับถังน้ํา
•การออกแบบ
• แรงกระทํา
• พื้นที่หนาตัดของไม
Tension Members Design
• ft ≤ Ft
•หนวยแรงดึงทีเ่ กิดขึน
้ จริง
ft = T/Anet
ft = หนวยแรงดึงที่เกิดขึ้นจริง กก./ซม.2
T = แรงดึง กก.
Anet = พื้นที่สุทธิ (Net Sectional Area)
= Agross - Ahole
Agross = พื้นที่หนาตัดทั้งหมดของไม (Gross Sectional Area)
Ahole = พื้นที่ของรูเจาะ (Hole area)
Tension Members Design

•ถาอุปกรณที่ใชยึดเปนสลักเกลียว พื้นทีข ่ องรูเจาะมีคาเทากับ


พื้นทีข
่ องรูเจาะที่มบ
ี นรูปตัดที่ตั้งฉากกับแนวแกน
• ถาสลักเกลียวถูกจัดใหเยื้องกัน ระยะหางตามแนวขนานเสีย
้ น
ของสลักเกลียวที่ชดิ กันตอง≥ 8 เทาของเสนผาศูนยกลางของ
สลักเกลียว จึงจะใชพื้นทีส
่ ุทธิในแนวตั้งฉากเดิมได
•เสนผาศูนยกลางของรูเจาะ>เสนผาศูนยกลางสลักเกลียว 1/16”
Tension Members Design
• ไมเนื้อออน: พื้นทีส
่ ุทธิที่ระนาบวิกฤต≥ 80% ของพื้นทีร่ ับ
แรงกด (Bearing Area) ของสลักเกลียวทุกตัวที่รอยตอ
่ ุทธิที่ระนาบวิกฤต ≥ 100% ของพื้นที่รบ
• ไมเนื้อแข็ง: พื้นทีส ั
แรงกด (Bearing Area) ของสลักเกลียวทุกตัวที่รอยตอ

• ไมควรมีตาไมหรือตําหนิของไมที่ระนาบวิกฤต

• ถาหลีกเลีย ่ งไมได ใหเอาพื้นทีห


่ นาตัดของตาไมลบออกจาก
พื้นทีส
่ ุทธิที่คํานวณได
Compression Members Design

•องคอาคารรับแรงอัด
•เสาไม
•จันทันไม
•สวนอื่นๆ ของโครงไมซงึ่ รับเฉพาะแรงอัดตามแกน
•แบงออกเปน 3 ประเภท
•เสาตันธรรมดา (Columns or Posts)
•เสาปะกับพุก (Spaced Columns)
•เสาประกอบ (Built-up Columns)
Compression Members Design
•การออกแบบ
•แตกตางไปจากองคอาคารรับแรงดึง เพราะแรงอัดที่ยอม
ใหจะมีคาลดลงตามอัตราสวนของความชะลูด
(Slenderness-Ratio) หรือ L/d
L =ความยาวขององคอาคารรับ
แรงอัด โดยไมมีค้ํายันดานขาง
d =ขนาดทางดานแคบของ
องคอาคารรับแรงอัด

•จากการทดลองจะพบวา
อัตราการทดลองของ P/A
ตอคา L/d เปนไปตามรูป
Compression Members Design

•อัตราสวนของความชะลูดมีผลโดยตรงตอการพัง (Failure)
ของเสา

•เสาทีม
่ ีคา L/d สูง
จะพังโดยการโกงทางดานขาง (Lateral Buckling)

•เสาทีม
่ ีคา L/d ต่ํา
จะพัง เนือ
่ งจากเสี้ยนไมตานทานแรงอัดไมได
Compression Members Design

•เสาตันธรรมดา (Columns or Posts)


•หนวยแรงอัดทีย
่ อมใหของเสาตันธรรมดา สามารถคํานวณ
ไดจากหลายสูตรดวยกัน
•แตละสูตรใหคาที่ใกลเคียงกัน
•ทุกสูตรไดมาจากความสัมพันธของ P/A และ L/d ตามรูป
•สูตรที่นิยมใชมากมี 3 สูตร
•ทุกสูตรใชสําหรับคา L/d ≤ 50
Compression Members Design

•สูตรที่ 1 P/A = 0.3E/(L/d)2

P = แรงที่ยอมให กก.
A = พื้นที่หนาตัดของเสาไม ซม.2
E = โมดูลัสของการยืดหยุน  ของไมที่ใช กก./ซม.2
L/d = อัตราสวนของความชะลูด

• หนวยแรงอัดทีย่ อมให P/A ที่คํานวณไดตองมีคานอยกวา C//


ซึ่งไดจากตาราง
•ถาคํานวณไดมากกวา ใหใช C// พื้นที่หนาตัดของไม
Compression Members Design

•สูตรที่ 2: คํานวณหนวยแรงอัดแบบไมตองใชคา E
ƒL/d ≤ 12: P/A = C//
ƒL/d > 12: P/A = C// (1.33 - L/35d)

•สูตรที่ 3: Fourth Power Parabolic Formula


ƒL/d≤ 12: P/A = C//
ƒ12<L/d<K: P/A = C// [1-(1/3)(L/Kd)4]
ƒK < L/d ≤ 50: P/A = (π2 E)/[36(L/d)2]

K = (π/2) (√[E/6C//])
Compression Members Design

•เสาปะกับพุก (Spaced Columns)

• ประกอบดวยเสาไมแปรรูปจํานวน
2 แผนหรือมากกวา ตั้งขนานตาม
แกนยาว
• เสาไมแตละตนวางแยกหางกัน
โดยใชพก ุ ไมปลายเสาคั่นที่ปลาย
ทั้งสองขาง และพุกกลางเสาคั่นที่
จุดกึ่งกลางความยาวของเสา
•โดยทั่วไปไมแปรรูปทีม่ าประกอบ
จะมีขนาดเทากัน และยึดติดกับพุก
ไมโดยใชสลักเกลียวหรือแหวนยึด
Compression Members Design
• อาจถูกใชเปนเสาของ
อาคาร หรือชิน ้ สวนของ
โครงหลังคาไมซงึ่ รับ
แรงอัด
•จําแนกเปน 2 ประเภท
ตามสภาพการยึดปลาย
เสา
• ประเภท ก.
พุกหางจากปลายเสา
L/
20
• ประเภท ข.
พุกหางจากปลายเสา
(L/10 )- (L/20)
Compression Members Design
•ขอกําหนดในการออกแบบเสาปะกับพุก
ƒ L/d ≤ 80
ƒ L2/d ≤ 40

•การคํานวณคาหนวยแรงอัดทีย
่ อมใหของเสาปะกับพุก
‰ L/d > √[(0.3E)/C// ]

ƒประเภท ก: P/A =0.75 E/(L/d)2


ƒประเภท ข: P/A =0.90 E/(L/d)2
ƒทั้งสองประเภท คา P/A ที่คํานวณได≤ C//

‰ ถาคา L/d ≤ √[(0.3E)/C// ] คํานวณเหมือนเสาตัน


ธรรมดา
Compression Members Design
•เสาประกอบ (Built-up Columns)

•ถูกใชในโครงสรางไม เมือ ่ ไมสามารถหาขนาดของไมแปร


รูปชิน
้ เดียว เพื่อรับแรงอัดตามที่ตอ
 งการได
•อาจมีรูปลักษณะตางๆ กัน ตามรูปและถูกยึดติดกันโดยใช
อุปกรณยึดไมธรรมดา เชน ตะปู หรือ ตะปูควง
Compression Members Design
• เสาประกอบจึงไมสามารถรับแรงอัดไดเต็มทีเ่ หมือนเสาตัน
ธรรมดา
• % แรงอัดที่ยอมใหจึงเปลี่ยนแปลงตามอัตราสวนความชะลูด
L/d 6 10 14 18 22 26
% 82 77 71 65 74 82
% ของกําลังแรงอัดของเสาประกอบเมื่อเทียบกับเสาตัน
•หนวยแรงอัดทีย
่ อมใหของเสาประกอบ
•ใชสต
ู รของเสาตัน คูณดวย%ตามตาราง P’ = %P
P’ = แรงอัดปลอดภัยของเสาประกอบ
P = แรงอัดปลอดภัยของเสาตัน

•แบบ Square Box Column


ใหแทนคา d ในสูตรเสาตัน
•√d12+d22
•b < 10t
Combined Axial & Bending Stress
Member Design

•การออกแบบองคอาคารรับแรงในแนวแกนและแรงดัดรวมกัน

• องคอาคารบางประเภทในโครงสรางรับทั้งแรงในแนวแกน
และแรงดัดพรอมกัน
• คานโครง (Truss Beam)
• จันทันในโครงหลังคาซึ่งรับน้ําหนักแปกลางชวงจันทัน
• เสาไมซึ่งรับโมเมนตดัด
Combined Axial & Bending Stress
Member Design
•การคํานวณออกแบบหารูปตัดขององคอาคาร
•รับแรงดึงในแนวแกนและแรงดัด

•รับแรงอัดในแนวแกนและแรงดัด
5 Timber Trusses
•โครงสรางชวงยาว
โดยไมตองมีเสา

•โครงหลังคา
(Roof truss)
•โครงสะพาน
(Bridge truss)
•คานโครง
(Trussed girder)
5 Timber Trusses
5 Timber Trusses
5 Timber Trusses
5 Timber Trusses
5 Timber Trusses
5 Timber Trusses
Timber Trusses
• องคประกอบทีส่ ําคัญในการเลือกชนิดของโครงหลังคาไม
• ความสวยงามทางสถาปตยกรรม
• ชนิดของวัสดุมงุ หลังคา
• ชนิดของเสาหรือฐานที่รองรับ
• ความประหยัดของวัสดุทใี่ ชและคาแรงงานในการประกอบ
• ชนิดและตําแหนงของน้ําหนักทีก่ ระทําตอโครงหลังคา
• สัดสวนของโครงสราง เชน ความกวางและความสูงที่
ตองการ

• ชวงความยาว (Truss Span Length): 8 - 25 เมตร


• ระยะระหวางโครง (Bay Length): 3 - 6 เมตร
Types of Trusses
5 Timber Trusses
King Post Truss
Queen Post Truss

Compound Truss

Hammer Beam Truss


Types of Trusses
•โครงหลังคาชัน (Pitched Truss)
• สามารถถายน้ําหนักของหลังคาไดดีกวา
• สะดวกตอการประกอบ
• Depth to Span Ratio: ≥1/6
• จะตองคิดแรงลม

•แบบเพรท และโฮว:
•แบงชวงยอยทางแนวดิง่ เทาๆ กัน แตไมคา้ํ ยันพาดเฉียงกลับกัน
•แบบฟง ค:
•เหมาะสําหรับหลังคาที่มค
ี วามสูงมากจําเปนตองแบงชวงยอยเทาๆ
กันทางดานจันทันแลวลากเสนตั้งฉากออกไปพบขื่อหรือไมดั้งเฉียง
Types of Trusses
•โครงหลังคาชัน (Pitched Truss)

•แบบเบลเยี่ยน:
•แบงจันทันออกเปนชวงยอยเทาๆ กันแลวลากเสนตั้งฉากมาพบขื่อ
แบบฟนเลือ่ ย
•เหมาะสําหรับโรงงานที่ตอ
 งการใหแสงเขาทางปลายดานชัน
•โครงหลังคาแบน (Flat Truss)
Types of Trusses
•เมื่อตองการความราบของหลังคา
•จะใหค้ํายันทางดานขางตรงฐานรองรับไดดีกวา
• Depth to Span Ratio: 1/8 - 1/10
•โครงหลังคาแบนควรมีความลาดเอียงของหลังคา (slope) มากกวา
15 องศา เพื่อปองกันการรัว่ ซึมของน้ําฝน
•ไมจําเปนตองคิดแรงลม เนื่องจากแรงลมเปนแบบ Suction ซึ่งจะลด
คาของแรงในสวนตางๆ ของโครงหลังคาลง

•แบบเพรท และแบบโฮว:
•ดั้งและค้ํายันมีแรงอัดและแรงดึงแตกตางกัน
•แบบวอเร็น:
• เหมาะกับโครงระบบพื้นและอืน
่ ๆ ที่ตองการใหจันทันและขื่อขนานกัน
Types of Trusses
•โครงหลังคาโคง (Bowstring Truss)
• อัตราสวนความลึกตอชวงความยาว
Depth to Span Ratio: 1/6-1/8

•แบบโบวสตริง:
•ใชกับอาคารที่ตองการหลังคาเปน
สวนโคง
•การแบงชวงยอยก็เชนเดียวกับแบบ
ของแพรทหรือโฮว
Types of Trusses
•การเลือกใชโครงหลังคาแบบตางๆ
•ลักษณะรูปรางทางดานสถาปตยกรรม
•ความเหมาะสมกับการใชงาน
•ความประหยัด

• โครงหลังคาชันเหมาะกับอาคารที่มช
ี วงกวาง≤ 10 เมตร
เพราะแรงลมจะมีผลตอโครงหลังคาชวงแคบๆ นีไ ้ มมาก

• ถาหลังคาชวงกวาง ควรที่จะใชโครงหลังคาแบน ซึ่งมีผลของ


แรงลมไมมากเพราะความชันนอย

•การใช Depth to Span Ratio ทีเ่ หมาะสม ใชไมยาว มีการตอ


นอย สําหรับจันทันและขือ
่ ชวยลดการตกหรือการโกงในแนวดิ่ง
ของโครงหลังคา
Timber Trusses

• การประกอบโครงไมจะตองยกขือ ่ ที่กลางชวงของโครง
หลังคา เมือ
่ ยกโครงหลังคาขึ้นติดตั้งเขาที่ จะมีสวนตกหรือโกง
ในแนวดิ่งพอดีกับสวนยกทําใหขื่ออยูในแนวราบพอดี
• คํานวณสวนยก

Δ = L2/H (875L + 23334) × 10-6

Δ = สวนยกทีก
่ ลางชวง ซม.
L = ชวงยาวของโครงหลังคา เมตร
H = ความลึกหรือสวนสูงของโครงหลังคา เมตร
Roof Truss Design
การออกแบบโครงหลังคาไม
•เลือกชนิด รูปรางและสัดสวน: ชวงความยาว/ลึก/ระยะระหวางโครง
•คํานวณน้ําหนักบรรทุกของโครง: dead load/live load/wind load
•วิเคราะหโครงสราง: หาแรงที่เกิดขึ้นในแตละองคอาคาร (member)
เนื่องจากน้าํ หนักบรรทุกทีก
่ ระทํา
•เลือกชนิดไม:ทําใหทราบคาหนวยแรง ที่ยอมใหของไมชนิดนัน

•ออกแบบรูปตัดของแตละสวน: เชน ออกแบบจันทัน ใหนําชวงที่มี
แรงมากที่สด ุ มาคํานวณ แลวใชขนาดเดียวกันตลอด
9 ถาจะเปลี่ยนขนาดของรูปตัดก็จะขาดความสวยงามเมื่อโครง
หลังคาไมมีเพดานปด
9 ไมหนึ่งทอนอาจยาวพอที่จะใชไดหลายชวง
• การออกแบบการตอปลายที่จุดตอ
9 อาจใชสลักเกลียวสําหรับโครงหลังคาที่ชวงไมยาว
9 ถาชวงยาวและมีแรงในสวนตางๆ ของโครงหลังคามาก ใช
แหวนยึดไมแบบวงแหวนผาซึง่ จะประหยัดกวา
5 Timber Trusses
Roof Truss Design
น้ําหนักบรรทุกคงที่ (Dead Load)
• น้าํ หนักโครงหลังคา (truss weight)
• น้ําหนักแป (purlin weight)
• น้าํ หนักวัสดุมุงหลังคา (roof weight)
• น้ําหนักฝาเพดาน (ceiling weight)

•สูตรโดยประมาณ
•โครงหลังคาชัน w = 1.024L
•โครงหลังคาแบน w = 0.688L + 8.54
•โครงหลังคาโคง w = 0.605L + 8.54

w = น้ําหนักคงที่ของโครงหลังคา กก.ตอเมตร2ของพื้นที่ราบ
L = ชวงความยาวทั้งหมดของโครง เมตร
Roof Truss Design
• น้ําหนักคงทีข
่ องแป วัสดุมุงหลังคา และฝาเพดาน

ชนิดของวัสดุ น้ําหนักคงที่ (กก./ม.2)


กระเบื้องลอนคู 14
กระเบื้องลูกฟูกลอนเล็ก 12
กระเบื้องลูกฟูกลอนใหญ 17
กระเบื้องโมเนียร 50
กระเบื้องราง 0.98 × 5 ม. 18
สังกะสี 5
แปไม 5
ฝากระเบือ้ งแผนเรียบ 20
ฝาไมอัด 15
Roof Truss Design
น้ําหนักบรรทุกจร (Live Load)
•เกิดขึน
้ ระหวางการกอสราง และการซอมแซมโครงหลังคา
•ประมาณ 30 - 50 กก./ม.2

แรงลม (Wind Load)


• หนวยของแรงลมทีก
่ ระทําตั้งฉากกับโครงหลังคา
• θ < 30 องศา: ไมตองคิดแรงลม Pn
• θ ≥ 30 องศา: Duchemin’s Formula p
θ
Pn= p[2sin θ /(1+sin2 θ)]

Pn = หนวยของแรงลม (กก./ม.2) ตั้งฉากกับหลังคา


p = หนวยของแรงลมขนานกับพื้นดิน มีคาตามเทศบัญญัติ
θ = มุมความลาดเอียงของหลังคา
Roof Truss Bracing

ค้ํายันดานขาง
•ชวยยึดโครงไม
ใหอยูในตําแหนง
ที่ตองการ
•สามารถรับ
น้ําหนักบรรทุกใน
แนวดิ่ง
•ตานทานแรงลม
ในแนวราบหรือ
แรงที่เกิดจาก
แผนดินไหว
Roof Truss Bracing
•แบงออกเปนค้ํายันในแนว
ƒระนาบของจันทัน
(Upper Chord Bracing)
ƒระนาบของขื่อ
(Lower Chord Bracing)
ƒระนาบของเสา/ผนัง
(Wall/Column Bracing)

• วัสดุ:
ƒไม
ƒลวดเหล็ก(Steel Rod)
ƒรับแรงดึงที่เกิดขึ้น
ƒไมจําเปนตองมีทุกชวงเสา

You might also like