You are on page 1of 2

นิบาต อัพยยศัพท์ นิบาตบอกปฏิเสธ

น, โน ไม่ อลํ พอ(ละ), อย่าเลย


นิบาต ใช้ลงในระหว่างนามศัพท์บ้าง กิริยาศัพท์บ้าง เพื่อบอก คือศัพท์ที่ไม่ได้แจกด้วยวิภัตติทั้ง ๗ อย่างนามศัพท์ คงรูปอยู่อย่างเดียว
มา อย่า ว เทียว
อาลปนะ (ภนฺเต), กาล (หิยฺโย), ที่ (อนฺโต), ปริจเฉท (ยาว), อุปไมย (วิย), แบ่งเป็น ๓ คือ ๑. อุปสัค ๒. นิบาต ๓. ปัจจัย
วินา, อญฺตฺร เว้น เอว นั่นเทียว
ปการ (ยถา), ปฏิเสธ (โน), ความได้ยินเล่าลือ (กิร), ความปริกัป (สเจ),
ความถาม (กึ), ความรับ (อาม), ความเตือน (หนฺท) เป็นต้น อุปสัค นิบาตบอกความได้ยินเล่าลือ
อุปสัค ใช้นำ�หน้านามนาม คุณนาม และกิริยา ให้พิเศษขึ้น กิร, ขลุ, สุท ํ ได้ยินว่า
นิบาตบอกอาลปนะ
เมื่อนำ�หน้านาม อุปสัคนั้นมีอาการคล้ายคุณนาม นิบาตบอกปริกัป
ยคฺเฆ ขอเดชะ
ภนฺเต, ภทนฺเต ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (ผู้น้อยพูดกับผู้ใหญ่) เมื่อนำ�หน้ากิริยา อุปสัคนั้นมีอาการคล้ายกิริยาวิเสสนะ เจ หากว่า อปฺเปว นาม ชื่อแม้ไฉน
ภเณ พนาย (คนผู้ดีเรียกคนใช้) อติ ยิ่ง; เกิน, ล่วง อุป เข้าไป, ใกล้; มั่น สเจ, อถ ถ้าว่า ยนฺนูน กระไรหนอ
อมฺโภ แน่ะผู้เจริญ (ใช้เรียกชายด้วยวาจาสุภาพ) อธิ ยิ่ง, ใหญ่; ทับ นิ เข้า, ลง ยทิ ผิว่า
อาวุโส ดูก่อนผู้มีอายุ (พระพรรษาแก่ เรียกพระพรรษาอ่อน, อภิ ยิ่ง, ใหญ่; เฉพาะ; ข้างหน้า นิ ไม่มี, ออก
อนุ น้อย; ภายหลัง, ตาม ป ทั่ว; ข้างหน้า, ก่อน; ออก นิบาตบอกความถาม
พระเรียกคฤหัสถ์) กึ หรือ, อะไร กจฺจ ิ แลหรือ
เร, อเร; เห เว้ย, โว้ย; เฮ้ย. (ใช้เรียกคนเลวทราม) อป ปราศ, หลีก ปฏิ เฉพาะ; ตอบ, ทวน, กลับ
อปิ, ปิ ใกล้, บน ปริ รอบ นุ หนอ กถํ อย่างไร
เช แม่ (ใช้เรียกสาวใช้) นนุ มิใช่หรือ เสยฺยถีท ํ อย่างไรนี้
อุ ขึ้น, นอก วิ วิเศษ, แจ้ง, ต่าง
นิบาตบอกกาล อว, โอ ลง สํ พร้อม, กับ, ดี อุทาหุ, อาทู หรือว่า
ทิวา (ในเวลากลาง)วัน ปาโต ในเวลาเช้า ปรา กลับความ สุ ดี, งาม; ง่าย นิบาตบอกความรับ
หิยฺโย หีโย ในวันวาน, เมือ่ วาน สายํ ในเวลาเย็น อา ทั่ว, ยิ่ง; กลับความ ทุ ชั่ว, ยาก อาม, อามนฺตา เออ (ครับ, ค่ะ, จ๊ะ, ใช่ ...)
ปรหิยโฺ ย, ปเร ในวันซืน, เมือ่ วานซืน อถ, อโถ ครั้งนั้น, ล�ำดับนัน้
เสฺว, สุเว ในวันพรุ่ง อภิกฺขณํ เนืองๆ
นิบาตบอกความเตือน
นิบาตบอกปริจเฉท อิงฺฆ เชิญเถิด หนฺท, ตคฺฆ เอาเถิด
ปรสุเว ในวันมะรืน สมฺปติ บัดเดี๋ยวนี้ กีว เพียงไร สมนฺตา โดยรอบ
สุเว สุเว ในวันๆ (=ทุกวัน) อายตึ ต่อไป ยาว เพียงใด ตาว เพียงนั้น นิบาตสำ�หรับผูกศัพท์และประโยค
เทวสิก ํ ทุกวัน ยาวเทว เพียงใดนั่นเทียว ตาวเทว เพียงนั้นนั่นเทียว ปน, ตุ ก็, ส่วนว่า, แต่ว่า ปิ อปิ แม้, บ้าง
ยาวตา มีประมาณเพียงใด ตาวตา มีประมาณเพียงนั้น หิ ก็, จริงอยู่, เพราะว่า อปิจ เออก็, อีกอย่างหนึ่ง
นิบาตบอกที่
กิตฺตาวตา มีประมาณเท่าใด เอตฺตาวตา มีประมาณเท่านั้น จ ก็, จริงอยู่, อนึ่ง; ด้วย อถวา อีกอย่างหนึ่ง
อุทฺธํ, อุปริ เบื้องบน โอรํ ฝั่งใน
วา หรือ; บ้าง, ก็ด,ี ก็ตาม
อโธ เบื้องต�่ำ ปารํ ฝั่งนอก นิบาตบอกอุปมาอุปไมย
เหฏฺฐา ภายใต้ หุร ํ โลกอื่น ยถา, เสยฺยถาปิ (แม้)ฉันใด วิย ราวกะ นิบาตสักว่าเป็นเครื่องทำ�บทให้เต็ม
อนฺโต, อพฺภนฺตรํ ภายใน สมฺมุขา ต่อหน้า ตถา, เอวํ ฉันนั้น อิว; ยถา (ในคาถา) เพียงดัง นุ, วต หนอ เว, หเว เว้ย, แล สุ สิ
ติโร, พหิ, พหิทธฺ า, พาหิรา-รํ ภายนอก ปรมฺมุขา ลับหลัง นิบาตบอกประการ โข แล โว โว้ย, แล
อนฺตรา-เร ระหว่าง รโห ที่ลับ ยถา, กถํ โดยประการใด ตถา, เอวํ โดยประการนั้น • PaliDict ๑๙ มิ.ย. ๖๓ •
นิบาตมีเนื้อความต่างๆ ปัจจัย • ตฺร ตฺถ ห ธ ธิ หึ หํ หิญฺจนํ ว ปัจจัย ใช้ลงท้ายสัพพนาม
เป็นเครื่องหมาย สัตตมีวิภัตติ แปลว่า ใน
ปุน อีก สห, สทฺธึ กับ, พร้อม ลงท้ายนามศัพท์ เป็นเครื่องหมายวิภัตติ ตฺร ตฺถ หึ หํ ห ธ ธิ หิญจฺ นํ ว
ปุนปฺปุนํ บ่อยๆ สยํ, สามํ เอง ลงท้ายธาตุ เป็นเครื่องหมายกิริยาและวิภัตติ ยตฺร, ยตฺถ, ยหึ, ยหํ ใน…ใด
เตนหิ ถ้าอย่างนั้น นูน แน่ • โต ปัจจัย ใช้ลงท้ายนามนามและสัพพนาม ตตฺร, ตตฺถ, ตหึ, ตหํ ใน…นั้น
ภิยฺโย ยิ่ง อทฺธา, อวสฺสํ แน่แท้ อตฺร, อตฺถ, เอตฺถ, อิธ, อิห ใน…นี้
ภิยฺโยโส โดยยิ่ง อญฺทตฺถุ โดยแท้ เป็นเครื่องหมาย ตติยาวิภัตติ แปลว่า ข้าง โดย
เป็นเครื่องหมาย ปัญจมีวิภัตติ แปลว่า จาก แต่ ... อญฺตฺร, อญฺตฺถ ใน…อื่น
สมฺมา โดยชอบ มญฺเ เห็นจะ..., น่าจะ... กตฺร, กตฺถ, กุห,ึ กหํ, กุหญ
ิ จฺ นํ, กฺว ใน…ไหน *
มิจฺฉา ผิด ปจฺฉา ภายหลัง ยโต แต่…ใด เอกโต** ข้างเดียว
ตโต แต่…นั้น อุภโต ข้างทั้งสอง กตฺถจิ ในที่ไหนๆ, ในที่บางแห่ง
มุสา เท็จ ปฏฺฐาย, ปภูติ ตั้งแต่, จ�ำเดิม สพฺพตฺร, สพฺพตฺถ, สพฺพธิ ใน…ทั้งปวง
อลิกํ ไม่จริง, เหลาะแหละ ปุถุ มาก, ต่างหาก *เอตฺโต, อโต แต่…นั่น, ข้างนั่น ปรโต ข้างอื่น, ข้างหน้า
*อิโต แต่…นี้, ข้างนี้ อปรโต ข้างอื่นอีก เอกตฺร, เอกตฺถ ใน…เดียว
มุธา เปล่า อีสกํ นิดหน่อย, เล็กน้อย อุภยตฺร, อุภยตฺถ ใน…ทั้งสอง
อุจฺจํ สูง กฺวจิ บ้าง อมุโต แต่…โน้น ปุรโต ข้างหน้า
อญฺโต แต่…อื่น ปจฺฉโต ข้างหลัง อมุตฺร ใน…โน้น
นีจํ ต�่ำ อารา ไกล
สกึ คราวเดียว อาวี, สจฺฉิ แจ้ง อญฺตรโต แต่…อันใดอันหนึ่ง ทกฺขิณโต ข้างขวา ข้าง(ทิศ)ใต้ • ทา ทานิ รหิ ธุนา ทาจนํ ชฺช ชฺชุ ปัจจัย ใช้ลงท้ายสัพพนาม
สตกฺขตฺตุํ ร้อยคราว นานา ต่างๆ สพฺพโต แต่…ทั้งปวง วามโต ข้างซ้าย เป็นเครื่องหมาย สัตตมีวิภัตติ แปลว่า ใน ลงในกาลอย่างเดียว
สณิกํ ค่อยๆ, เบาๆ, ช้า วิสุํ แยก, เฉพาะ, ต่างหาก กุโต แต่…ไหน อุตฺตรโต ข้างซ้าย ข้าง(ทิศ)เหนือ ยทา ในกาลใด, เมื่อใด อธุนา ในกาลนี้, เมื่อกี้
ขิปฺป,ํ สหสา พลัน, โดยพลัน กิญฺจาปิ แม้ก็จริง, แม้โดยแท้ กตรโต แต่…อะไร อธรโต ข้างล่าง ตทา ในกาลนั้น, เมื่อนั้น กุทาจนํ ในกาลไหน
สีฆ,ํ สีฆสีฆํ เร็ว, พลัน ตาว ก่อน อิตรโต แต่…นอกนี้ เอกทา ในกาลหนึ่ง, บางที อชฺช ในวันนี้
ลหุ, ลหุ,ํ ลหุโส เร็ว, พลัน, เบา ปฐมํ ก่อน, ทีแรก, ครั้งแรก * เอโต ไม่พบที่ใช้ ใน ไตร. สพฺพทา, สทา ในกาลทั้งปวง, สชฺช ุ ในวันมีอยู่, ในวันนี้
อจิรํ ไม่นาน, เร็ว เอวํ, อิติ, อิตฺถํ อย่างนี้, เอตฺโต วา อิโต วา ข้างโน้น (นั่น) หรือ ข้างนี้, ในกาลทุกเมื่อ ปรชฺช ุ ในวันอื่น
จิร,ํ จิรสฺสํ นาน ด้วยประการฉะนี้ อิโต จิโต จ ข้างโน้นและข้างนี้ (ข้างนี้และข้างนี้) กทา ในกาลไร, เมื่อไร อปรชฺช ุ ในวันอื่นอีก
สกฺกจฺจ ํ โดยเคารพ ** เอกโต แปลว่า “โดยความเป็นอันเดียวกัน” (โดยความเป็นหนึง่ ) = เอก(ภาว)โต กทาจิ กรหจิ ในกาลไหนๆ, บางคราว อิทานิ, เอตรหิ ในกาลนี้, เดี๋ยวนี้
• โต ปัจจัย ลงท้ายนามนาม เช่น ตติยา: วิตฺถารโต โดยพิสดาร,
อสุภโต (ปสฺสโต เห็นอยู)่ โดย(ความเป็นของ)ไม่งาม (=อสุภ(ภาว)โต), • ตเว ตุํ ปัจจัย ในนามกิตก์ ใช้ลงท้ายธาตุ**
สาธุ ดีละ, ดังข้าพเจ้าขอโอกาส (ชมเชย, ขอโอกาส)
ปัญจมี: อาทิโต (ปฏฺฐาย จ�ำเดิม) แต่ต้น, นครโต จากเมือง, เป็นเครื่องหมายปฐมาวิภัตติ แปลว่า อ.อัน-, อ.การ-
สาธุ, สุฏฺฐุ ดีแล้ว (อนุโมทนา, พลอยยินดี) ปุริมปูวโต (มหนฺตตโร ใหญ่กว่า) กว่าขนมอันมีในก่อน, เป็นเครื่องหมายจตุตถีวิภัตติ แปลว่า เพื่ออัน-, เพื่อการ-
ทุฏฺฐุ ไม่ดี, น่ารังเกียจ สิกฺขนโต เพราะการศึกษา
กาตเว เพื่อการท�ำ กาตุํ เพื่อการท�ำ, อ.การท�ำ
อโห โอ (น่าอัศจรรย์; สรรเสริญ/ติเตียน; ปรารถนา)
นาม ชื่อ, ชื่อว่า, ธรรมดา, ธรรมชาติ เปรียบเทียบ • ตูน ตฺวา ตฺวาน ปัจจัย (กับทัง้ ปัจจัยทีอ่ าเทศออกจาก ตฺวา) ในกิรยิ ากิตก์
อิติ เพราะเหตุนั้น, ว่า...ดังนี้, ด้วยประการฉะนี้, ชื่อว่า ฺ
อญฺตร (นิบาต) เว้น, แยก ยโต = ยสฺมา ใช้ลงท้ายธาตุ เป็นเครื่องหมาย อัพยยกิริยา (คือแจกด้วยวิภัตติไม่ได้)

อญฺตร (สัพพนาม) ใน…อื่น (=อญฺสฺมึ) ยตฺร = ยสฺมึ กาตูน กตฺวา กตฺวาน ท�ำแล้ว
อญฺตร (สัพพนาม) คนใดคนหนึ่ง ยทา = ยสฺมึ กาเล * กตฺร กุหิญฺจนํ กฺว ไม่พบที่ใช้ หรือใช้น้อยมาก ** ทําใหเปนกิริยานาม

You might also like