You are on page 1of 43

บทที่ 4

อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์
Forest Products Industries

BY: MR. KITIPONG TANGKIT


DEPARTMENT OF FOREST PRODUCTS
FACULTY OF FORESTRY : KASETSART UNIVERSITY
บทนํา (Introduction)
อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์

ไม้ เป็ นทรัพยากรธรรมชาติท่เี กิดขึ้นใหม่ได้ (Renewable Natural Resource) ซึ่งมนุษย์สามารถบริหาร


จัดการให้ ไม้ สามารถมีใช้ ได้ อย่างพอเพียงตามความต้ องการของผู้บริโภคและอุปโภค หากมีการจัดการที่ดี
โดยลักษณะทางกายวิภาค คุณสมบัติทางฟิ สิกส์ ทางกล และทางเคมีของเนื้อไม้ ท่ีมีความ
แตกต่างไปจากวัสดุประเภทอื่นๆ ทั้งยังมีคุณสมบัติท่แี ตกต่างกันไปตามแต่ละชนิดพันธุ์ ก่อเกิดคุณสมบัติ
ที่หลากหลาย ดังที่กล่าวมาแล้ วโดยละเอียดในบทที่ 3 เรื่องคุณสมบัติเบื้องต้ นของกระบวนการแปรรูปทาง
วนผลิตภัณฑ์ และการวัดคุณค่าการใช้ ประโยชน์วนผลิตภัณฑ์
จากคุณลักษณะและคุณสมบัติของไม้ เหล่ านี้ ทําให้ ไม้ มีความคล่องตัวที่จะนําไปใช้ ทาํ เป็ น
วัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสมได้ อย่างมากมายหลากหลาย
Chapter Content
เนื้ อหาบทที่ 4 อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์

4.1 อุตสาหกรรมที่ใช้ ไม้ เป็ นวัตถุดิบ


4.2 อุตสาหกรรมไม้ และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
4.3 ผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้ จากอุตสาหกรรมไม้
4.4 ความสําคัญของวนผลิตภัณฑ์ต่างๆ ต่อเศรษฐกิจของประเทศ
4.5 อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย

ดัดแปลงจาก : ศ.ดร.นิยม เพชรผุด, อุตสาหรรมป่ าไม้ ขนาดย่อม


4.1 อุตสาหกรรมทีใ่ ช้ไม้เป็ นวัตถุดิบ
ลักษณะการจํ าแนกอุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็ นวัตถุดิบ อาจจํ าแนกได้โดย

4.1.1 การนําไม้ ไปใช้ ประโยชน์โดยตรงหลักจากที่ได้ ตัดโค่นออกจากพื้นที่


4.1.2 การนําไม้ ไปผ่านกระบวนการผลิต
4.1.1 การนําไม้ไปใช้ประโยชน์โดยตรงหลักจากที่ได้ตดั โค่นออกจากพื้ นที่

โดยปกติการนําไม้ ไปใช้ ประโยชน์ อาจเริ่มต้ นจากการทําไม้ (Logging) โดยอาจถือว่ าเป็ นการตัดโค่นต้ นไม้ และ
ดําเนินการขนส่งไม้ จากแหล่ งกําเนิดมายังโรงงานผลิต ในสภาพท่อนซุง เพราะการนําไม้ ไปใช้ ประโยชน์โดยตรงดังกล่ าว ซึ่งไม้
ดังกล่าวเกือบไม่ได้ ผ่านกระบวนการผลิตอย่างใดเลย หรือหากผ่านกระบวนการผลิตก็เพียงเล็กน้ อย เพื่อให้ สะดวกแก่การใช้ เท่านั้น
คือเป็ นการใช้ ไม้ ในรูปลักษณะเดิม (Primary form) ของไม้ ยกตัวอย่างเช่น
-ไม้ เสา (เสาอาคาร หรือเสารบ้ าน , เสาไฟฟ้ า , เสาเข็ม)
-ไม้ ร้ัว
-ไม้ คาํ้ ยัน
-ไม้ เพื่อการทําไม้ ฟืน
-ไม้ ทาํ นั่งร้ าน
หรือบางครั้งอาจเลื่อยให้ เป็ นเหลี่ยม เพื่อเพิ่มความเรียบสนิทในการวางประกอบเพียงเล็กน้ อย และสะดวกมากยิ่งขึ้น
ในการนําไปใช้ งาน เช่น ไม้ หมอนรางรถไฟเป็ นต้ น
ตัวอย่างภาพ: การนําไม้ไปใช้ประโยชน์โดยตรงหลักจากที่ได้ตดั โค่น
4.1.2 การนําไม้ไปผ่านกระบวนการผลิต

คือการเพิ่มกระบวนการ หรือการผ่านกระบวนการผลิตบางอย่างก่อนนําไม้ ไปใช้ ประโยชน์ ซึ่งวิธดี ังกล่าวอาจเรียกว่า “การใช้ ไม้ เป็ น


วัตถุดิบในอุตสาหกรรม” ซึ่งกระบวนการอาจจําแนกเป็ นกระบวนการหลักๆได้ ดังนี้
-การแปรรูปทางกล (Mechanical processing)
-การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)
4.1.2 การนําไม้ไปผ่านกระบวนการผลิต

4.1.2.1 การแปรรูปทางกล (Mechanical processing)

คืออุตสาหกรรมที่ให้ ผลิตภัณฑ์ท่ผี ลิตมีสภาพของเนื้อไม้ อยู่ คือเป็ นกระบวนการผลิตที่เปลี่ยนลักษณะทาง


กายภาพของไม้ เท่านั้น
ไม้ ท่แี ปรรูปทางกลส่วนใหญ่ ได้ แก่ไม้ ซุงสําหรับเลื่อยเป็ นไม้ แปรรูป (Saw log for lumber)
และไม้ ซุงสําหรับผลิตเป็ นไม้ บาง (Log and bolt for veneer) หรือ ไม้ ประกับ (Laminated wood)
ตัวอย่างวิดีทศั น์การแปรรูปไม้ทางกล
ตัวอย่างวิดีทศั น์การแปรรูปไม้ทางกล
4.1.2 การนําไม้ไปผ่านกระบวนการผลิต
4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)

สําหรับการแปรรูปทางเคมีเป็ นการเปลี่ยนแปลงสภาพทางเคมีของไม้ ยกตัวอย่างเช่น


1.การกลันทํ่ าลายไม้ (Destructive distillation of wood) การกลั่นไม้ เป็ นการให้ ความ
ร้ อนแก่ไม้ ในที่ท่มี ีอากาศไม่เพียงพอ ผลผลิตที่ได้ มีมากมายยกตัวอย่างเช่น
-ใช้ ผลิตถ่าน ซึ่งใช้ เป็ นเชื้อเพลิงให้ ความร้ อน ใช้ ในการถลุงแร่
-ใช้ ผลิตสารเคมี เช่น คาร์บอนไดซัลไฟด์ (Carbon disulfide) ประโยชน์คือใช้ ทาํ Viscose
และ Rayon ซึ่งประโยชน์ของ Viscose และ Rayon ใช้ ในการทําเซลลโลเฟน (Cellophane) และ Sodium
cyanide ซึ่งเป็ นสารออกฤทธิ์ในนํา้ ยาฆ่าเชื้อโรค (Disinfectant)
การกลั่นไม้ ยังพบมีสารระเหยได้ (Volatile products) ออกมาหลากหลายชนิด เมื่อนําไป
ผ่านเครื่องควบแน่น (Condenser) ก็จะกลั่นตัวออกเป็ นสารประกอบชนิดต่างๆ เช่น methyl alcohol,
Acetone, Acetic acid , Tar และ Pitches ซึ่งได้ จากการกลั่นตัวในไม้ ใบกว้ าง (Hardwood) หรือ จากไม้
ใบแคบ (Softwood) เช่น นํา้ มันสน (turpentine) , softwood tar และ hardwood tar ซึ่งเป็ นประโยชน์ใน
การป้ องกันรักษาเนื้อไม้ อกี ด้ วย
ตัวอย่างภาพผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากการกลันทํ
่ าลายไม้
ตัวอย่างภาพผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากการกลันทํ
่ าลายไม้
4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)

2.การสกัดสารต่างๆจากไม้ (Extraction Process)

เป็ นกระบวนการที่ใช้ นาํ้ หรือตัวทําละลายอื่นๆเพื่อแยกเอา Extraneous material ต่างๆที่อยู่ในเนื้อไม้ เป็ น


ต้ นว่า แทนนิน (tannin) , นํา้ มันสน (Turpentine) , ชัน (Rosin) และนํา้ มันหอมระเหย (Essential oil)
ออกจากไม้ ซึ่งกรรมวิธนี ้ ใี ช้ ได้ กับไม้ บางชนิด ไม่สามารถนําไปใช้ กับไม้ ทุกชนิด คือใช้ กับไม้ ท่มี ี extractive
1-20 % เช่นในพวกตอไม้ สนก็จะได้ นา้ํ มันสน และชันสน นํา้ มันสนก็ใช้ เป็ นทินเนอร์ (thinner) ในสีทา
บ้ าน ชันสนก็ใช้ ในการทําสบู่ อุตสาหกรรมกระดาษ สีและนํา้ มันชักเงา (Varnish)
ถ้ าเป็ นการสกัดจากเปลือกไม้ บางชนิด เช่น เปลือกโกงกาง ก็จะได้ แทนนินซึ่งใช้ ในการฟอก
หนังเป็ นต้ น
4.1.2.2 การแปรรูปทางเคมี (Chemical processing)

3. การทําเยือ่ กระดาษ (Chemical pulping process)

เป็ นการผลิตเยื่อกระดาษโดยวิธีทางเคมี คือการใช้ ช้ ินไม้ สับ (wood chip) ทําปฏิกิริยากับนํา้ ยาเคมี ซึ่งทํา
ให้ โครงสร้ างของเซลล์เนื้อไม้ ซ่ึงประกอบด้ วยเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ซึ่งนํา้ ยาเคมีทาํ ให้ ลิกนินในเนื้อไม้ ซ่ึง
ทําหน้ าที่เชื่อมเซลล์ของไม้ ให้ ติดกันจะถูกละลายออก เซลล์ของเนื้อไม้ แยกตัวออกจากกัน เราเรียกว่าเยื่อ
(pulp) ซึ่งใช้ ในอุตสาหกรรมกระดาษ
ซึ่งอุตสาหกรรมกระดาษจัดเป็ นอุตสาหกรรมสําคัญในประเทศไทย ส่วนเยื่อที่ผ่านการแปร
รูปทางเคมีท่ใี ห้ เยื่อที่มีความบริสุทธิ์มากๆ ซึ่งเตรียมขึ้นเป็ นพิเศษที่เรียกว่ า “dissolving pulp” ก็ใช้ ใน
อุตสาหกรรมเรยอน (rayon) , อุตสาหกรรมพลาสติกจากไม้ , อุตสาหกรรมเซลลูโลสแซนเทต (Cellulose
xanthate) ซึ่งใช้ ผลิตเส้ นใยสังเคราะห์ในอุตสาหกรรมสิ่งทอเป็ นต้ น
ตัวอย่างแสดงการแปรรูปทางกล-ทางเคมี
ตัวอย่างกระบวนการแปรรูปทางเคมี
ตัวอย่างกระบวนการผลิตใยวิสโคสเรยอน
(Viscose rayon)
Pulp แช่ (steep)
เยือ่ สารละลาย NaOH ขจัดเฮมิเซลลูโลสที่ละลายในด่างออก

ทําเพื่อขจัดสารละลาย NaOH ส่วนเกิน และการตัดเพิ่ม


การกดอัด (Pressing)/การตัด (shredding)
พื้นที่ผิวให้ เกิดปฏิกริ ิยาที่ดีข้ นึ ในขั้นตอนต่อไป
หมัก (Aging) คุมความหนืดและความยาวของสายโพลิเมอร์
ควบคุมความหนืด เพื่อควบคุมคุณสมบัติของเรยอน
(Xanthation)
เปลีย่ นเซลลูโลสเป็ นเซลลูโลสแซนเทท

ละลาย (Dissolving) บ่ม (Ripening)


เปลีย่ น xanthate crumb เป็ น วิสโคส (viscose) ขจัดฟองอากาศ

กรอง (Filteration)
ขจัดสิ่งปนเปื้ อน ปั น่ เส้นใย (spinning)
ล้างและตกแต่ง (Washing and Finishing)
อ้ างอิง : ดร. ศศิประภา รัตนดิรก ณ ภูเก็ต,
Cite: www.thaitextile.org
ภาพกระบวนการผลิตใยวิสโคสเรยอน
(Viscose rayon)
ตัวอย่างอุตสาหกรรมทีใ่ ช้ไม้เป็ นวัตถุดิบ
อุตสาหกรรมหลายชนิดที่ใช้ไม้เป็ นวัตถุดิบที่สําคัญๆได้แก่ ซึ่งเป็ นเพียงส่วนหนึง่ ของอุตสาหกรรมที่ใช้ไม้เป็ นวัตถุดิบ
อุตสาหกรรมแปรรูปไม้ โรงเลื่อย อุตสาหกรรมอบไม้ ไสไม้
อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ อุตสาหกรรมบ้ านสําเร็จรูป
อุตสาหกรรมวงกบ กรอบประตู หน้ าต่าง อุตสาหกรรมประตู หน้ าต่าง
อุตสาหกรรมไม้ บาง-ไม้ อดั อุตสาหกรรมไฟเบอร์บอร์ด
อุตสาหกรรมไม้ แบบสําเร็จ อุตสาหกรรมปาร์ติเกิ้ลบอร์ด
อุตสาหกรรมไม้ ประกับ อุตสาหกรรมแกะสลักไม้
อุตสาหกรรมไม้ ขีดไฟ และไม้ จ้ มิ ฟัน อุตสาหกรรมกระดาษ
อุตสาหกรรมเผาถ่าน และ Activated Charcoal อุตสาหกรรมไม้ พ้ ืนปาร์เก้ โมเสค
อุตสาหกรรมต่อเรือ อุตสาหกรรมต่อเนื่องอุตสาหกรรมต่อรถยนต์
อุตสาหกรรมไม้ หมอน อุตสาหกรรมอาบนํา้ ยาไม้
อุตสาหกรรมเครื่องดนตรี อุตสาหกรรมแผ่นรองยก และลังไม้ เพื่อการขนส่ง ฯลฯ
4.2 อุตสาหกรรมไม้และอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง
อุตสาหกรรมไม้ เกือบทุกประเภทตามที่กล่าวไว้ ในหัวข้ อ 4.1 นั้นมีความสัมพันธ์ต้องอาศัยซึ่ง
กันและกัน กล่ าวคือ อุตสาหกรรมชนิดหนึ่งต้ องอาศัยผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมชนิ ดหนึ่ง
หรือหลายชนิดมาเป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมของตน หรือมิฉะนั้นก็ส่งผลิตภัณฑ์ของตนให้ เป็ น
วัตถุดิบของอุตสาหรรมอื่นๆ แทบจะไม่มีอุตสาหกรรมไม้ ชนิดใดเลยที่สามารถผลิต ผลิตภัณฑ์
ให้ แ ก่ ผ้ ู บ ริ โ ภคได้ โ ดยอิส ระ เป็ นต้ น ว่ า อุ ต สาหกรรมแปรรู ป ไม้ อุ ต สาหกรรมเฟอร์ นิ เ จอร์
อุตสาหกรรมแกะสลัก อุตสาหกรรมไม้ บาง-ไม้ อัด ลัวนแต่มีความสัมพันธ์และอาศัยซึ่งกันและ
กัน
ตัวอย่างภาพความเกีย่ วเนือ่ งกันของอุตสหากรรมไม้
4.3 ผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากอุตสาหกรรมไม้
ผลิตภัณฑ์อุตหสาหกรรมไม้ มีหลากหลายด้ วยกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของอุตสาหกรรมนั้นเป็ นต้ น
ไม้ ผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ (Lumber industry) หรื อโรงเลื่อย (Sawmill)
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ็ คื อ ไม้ แปรรู ป ขนาดต่ า งๆ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรมไม้ บาง ก็ คื อ ไม้ บาง
อุตสาหกรรมไม้ อดั ก็คือไม้ อดั อุตสาหรรมฟอร์นิเจอร์ ก็คือเครื่องเรือนต่างๆ เช่น โต๊ะ ตู้ เตียง
เป็ นต้ น
ผลิ ตภัณฑ์อุตสาหกรรมไม้ ต่ างๆตามที่ยกตัวอย่ างมานี้ เราพอจะแบ่ งออกเป็ น
ประเภทใหญ่ๆ โดยการถือเอาขั้นตอนของการผลิตและความพร้ อมที่ผ้ ูบริโภคจะนําผลิตภัณฑ์
นั้นไปใช้ เป็ นหลักซึ่งพอจะแบ่งออกได้ เป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆคือ
4.3.1 ผลิตภัณฑ์เบื้องต้ น (Primary products)
4.3.2 ผลิตภัณฑ์ก่งึ สําเร็จรูป (Intermediate products)
4.3.3 ผลิตภัณฑ์สาํ เร็จรูป (End products)
ประเภทของผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากอุตสาหกรรมไม้

4.3.1 ผลิตภัณฑ์เบื้ องต้น (Primary products)

ได้ แก่ผลิตภัณฑ์ ซึ่งได้ ผ่านการผลิตในระยะแรกมาแล้ ว คือผลิตภัณฑ์ท่เี ป็ นผลผลิตของอุตสากรรมเบื้องต้ น (Primary Industries)


ซึ่งผู้ บริโภคยังไม่ อาจใช้ ประโยชน์จากผลิ ตภั ณฑ์น้ันได้ ทันที จะต้ องนําไปผ่ านกระบวนการผลิ ตเพิ่มเติม จึงจะใช้ ประโยชน์จาก
ผลิตภัณฑ์น้ัน ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ เป็ นวัตถุดิบใน Wood-based secondary industries เป็ นต้ นว่ า ไม้ บาง เยื่อกระดาษ หรือพวก
บรรดาไม้ แปรรูป ซึ่งผู้บริโภคจะใช้ ประโยชน์จาก “ไม้ บาง” โดยตรงนั้นมีน้อย จนกว่ าจะได้ นาํ ไปประกอบขึ้นเป็ นไม้ อัด หรือ ไม้
ประกับ
ในกรณีของเยื่อกระดาษก็เช่ นกัน ยังนําไปใช้ ประโยชน์อะไรไม่ ได้ จนกว่ าจะนําไปผลิตเป็ นกระดาษประเภทต่ างๆ
ผู้บริโภคจึงจะใช้ ประโยชน์ในรูปการเขียน การพิพมพ์ การห่อบรรจุภัฑณ์ ได้
หรือในกรณีของไม้ แปรรูป ก็เช่ นกันไม้ ท่ตี ้ องผ่านกระบวนการในการแปรรูปยังไม่ สามารถใช้ ประโยชน์ได้ โดยตรง
หากแต่ต้องผ่านขั้นตอนต่างๆก่อน เพื่อที่ผ้ ูบริโภคจะนําไปทําอาคารบ้ านเรือน สิ่งก่อสร้ าง หรือ เฟอร์นเิ จอร์ ได้
ประเภทของผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากอุตสาหกรรมไม้(ต่อ)

4.3.2 ผลิตภัณฑ์กึง่ สําเร็จรูป (Intermediate products)

เป็ นผลิตภัณฑ์ท่อี ยู่ก่ึงกลางระหว่างผลิตภัณฑ์เบื้องต้ นกับผลิตภัณฑ์สาํ เร็จรูป เป็ นต้ นว่ากระดาษเหนียว (Kraft Paper) ที่จะนําไป
ผลิตเป็ นกระดาษลูกฟูก เพื่อใช้ ทาํ กล่องกระดาษ ลังกระดาษ ถุงกระดาษ เพื่อใส่สนิ ค้ า
หรือยกตัวอย่าง ส่วนประกอบของบ้ านไม้ สาํ เร็จรูป ที่ได้ เตรียมส่วนประกอบส่วนต่างๆไว้ ในโรงงาน เช่ นส่วนของฝา
บ้ าน ฝากั้นห้ อง พื้น คาน ที่เตรียมไว้ ภายในโรงงานรอการเคลื่อนย้ ายชิ้นส่วนต่างๆเหล่านั้นไปยังสถานที่ก่อสร้ างและประกอบเป็ น
บ้ านไม้ สาํ เร็จรูปเป็ นต้ น หรือส่วนประกอบของโต๊ะ เก้ าอี้ ตู้ เตียงที่ยังไม่ถูกประกอบให้ เป็ นผลิตภัณฑ์สาํ เร็จรูป เป็ นต้ น
ประเภทของผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากอุตสาหกรรมไม้(ต่อ)

4.3.3 ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูป (End products)

เป็ นผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้ ผ่านกระบวนการผลิตมาจนถึงขั้นสุดท้ ายแล้ ว ผู้บริโภคสามารถนําผลิตภัณฑ์น้ันไปใช้ ประโยชน์ได้ ทนั ทีตามสภาพ


ลักษณะ และวั ตถุ ประสงค์ในการใช้ ประโยชน์ของผลิ ตภั ณฑ์น้ันๆ เช่ น เฟอร์ นิเจอร์ กระดาษพิ มพ์ เขียน ถ่ านไม้ ซึ่ งผลิ ตภั ณฑ์
สําเร็จรูปนี้อาจเป็ นผลผลิตใน Wood-based primary industries หรือ Wood-bases secondary industries ก็ได้ ข้ ึนอยู่กับการนํา
ผลิตภัณฑ์น้ันไปใช้
สรุปการแบ่งประเภทของผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้จากอุตสาหกรรมไม้

อย่างไรก็ตามการแบ่งผลิตภัณฑ์ออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆ เป็ นการแบ่งโดยถือหลักกว้ างๆ ในบางครั้งผลิตภัณฑ์บางอย่างก็อยู่ใน


ลักษณะกํา้ กึ่งกัน คือ อาจเป็ นได้ ท้ังสองประเภทในคราวเดียว เป็ นต้ น เช่ น ไม้ อัดซึ่งผลิตมาจากไม้ บาง อาจเป็ นทั้งผลิตภัณฑ์ก่ึง
สําเร็จรูป ถ้ าหากว่ าเอาไปใช้ ทาํ เฟอร์นิเจอร์ คือใช้ เป็ นวัตถุดิบในการผลิตเฟอร์นิเจอร์ เช่นทําเป็ นฝาตู้ ลิ้นชัก หรือพื้นโต๊ะ เป็ นต้ น
แต่ในขณะเดียวกันอาจเป็ นผลิตภัณฑ์สาํ เร็จรูปใช้ ประโยชน์ได้ เลย ถ้ าเรานําไปทําฝ้ าเพดานบ้ านเรือน หรือเป็ นฝากั้นห้ อง หรืออย่าง
กระดาษสีนาํ้ ตาล (Kraft paper) เราไม่นาํ ไปขึ้นรูปเป็ นแผ่นเพื่อการผลิตกล่องกระดาษ แต่เรานําไปห่ อของทันที ซึ่งทําให้ กระดาษสี
นํา้ ตาลกลายเป็ นผลิตภัณฑ์สาํ เร็จรูปขึ้นมาได้
อย่างไรก็ตาม การจําแนกผลิตภัณฑ์ออกเป็ นประเภทดังกล่ าว เพื่อต้ องการจะชึ้ให้ เห็นว่ าผลิตภัณฑ์ประเภทใดที่ให้
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากที่สดุ อันจะได้ กล่าวในตอนต่อไป
4.4 ความสําคัญของวนผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ต่อเศรษฐกิจของประเทศ
ระยะเวลา 5 ปี ระยะเวลา 10 ปี ระยะเวลา 20 ปี
พัฒนาคลัสเตอร์ และอุตสาหกรรมใหม่ พร้ อมการเชื่อมโยง บริหารจัดการระบบการผลิต การตลาด และบริการ และสร้ าง บริหารจัดการภาพลักษณ์ สินค้ าไทยในตลาดโลก
ฐานการผลิต และบริการในกลุ่มอาเซียน ภาพลักษณ์ ในตลาดอาเซียนและภูมภิ าค

∗ มีฐานการผลิตและบริ การในภูมิภาคอาเซียนโดยมีระบบการผลิตกับฐาน ∗ เป็ นศูนย์กลางการผลิตและจัดการเครื อข่ายการผลิตและบริ การในกลุ่ม ∗ เป็ นผูบ้ ริ หารจัด การตราสิ น ค้าและมีก ารสร้ างเครื อข่ ายการผลิ ต และ
การผลิตต่างๆในภูมิภาค อาเซียน บริ การในภูมิภาคต่างๆของโลก

∗ เป็ นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่มนี วัตกรรมใหม่ของโลกรองรับ ∗ มีฐานการผลิตและบริ การในภูมิภาค ∗ มีผปู้ ระกอบการไทยเริ่ มก้าวเข้าสู่การเป็ นบริ ษทั ชั้นนําในโลก

∗ คลัส เตอร์ มีผูป้ ระกอบการ SMEs ที่ มี มาตรฐานการผลิ ต ที่ มีค วาม ∗ มีตราสินค้าที่มีเครื อข่ายการจัดจําหน่ายในภูมิภาค ∗ มีตราสินค้าที่เป็ นที่รู้จกั และมีเครื อข่ายการจัดจําหน่ายในประเทศต่างๆ
เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน

∗ มีหน่วยงานหลักที่บริ หารจัดการบูรณาการในแต่ละอุตสาหกรรมที่ เป็ น ∗ ผูป้ ระกอบการขนาดกลางมีการเชื่อมโยงการผลิตร่ วมกับบริ ษ ัทขนาด ∗ เป็ นแหล่างการค้าการลงทุนด้านการผลิตและบริ การ ที่เป็ นที่ยอมรับใน
เอกภาพโดยมีเอกชนเป็ นผูน้ าํ ใหญ่ ภูมิภาค

∗ มี ร ะบบการผลิ ต บุ ค ลากรเพี ย งพอในการรองรั บ การเติ บ โตของ ∗ ผู้ประกอบการ SMEs มีการสร้ างทรัพย์ สินทางปั ญญาและนวัตกรรม ∗ ส่งออกสินค้าด้านการบริ การในภูมิภาคต่างๆของโลก
ภาคอุตสาหกรรม ไทย

∗ มีกฏระเบียบที่ผอ่ นคลายรองรับกับอุตสาหกรรม ∗ มี ฐ านการวิ จ ัย และพัฒ นาสิ น ค้า ในอาเซี ย นมี ก ารสร้ า งและกํา หนด ∗ มีแรงงานระดับมันสมอง ส่ งออกไปสู่ ภูมภิ าคต่างๆของโลก
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่เป็ นที่ยอมรับของสากล

∗ มีโ ครงสร้ า งสนับสนุ น พื้น ฐานในการวิ จ ัย พัฒ นาอุ ต สาหกรรมอย่ า ง ∗ มี Industrial zone ที่รองรับการผลิตที่รักษาสภาพแวดล้อม
ต่อเนื่อง เช่นศูนย์การทดสอบมาตรฐานสินค้า
สภาพอุตสาหกรรมประเทศไทย

การพัฒนาในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย เป็ นแบบการเพิ่มมูลค่า (Value added) ในกระบวนการผลิตมากกกว่า


การสร้างคุณค่า (Value creation)

อดีตประเทศไทยมุ่งพัฒนาครัสเตอร์อุตสาหกรรมเชิงเศรษฐกิจ คือกลุ่มอุตสาหกรรมการผลิต ที่ใช้ ทรัพยากรอย่างเติมที่

เกิดปัญหาความเหลื่อมลํา้ ทางสังคม ปัญหาสิ่งแวดล้ อม ขาดการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ เกิดการพัฒนาประเทศที่ไม่สมดุล

กระทรวงอุตสาหกรรมจึงยกระดับครัสเตอร์อุตสาหกรรมในมิติอ่ืนๆทั้งเชิ งปริ มาณและคุณภาพ (อุตสาหกรรมในเชิ งมิติเชิ ง


อนุรักษ์ส่งิ แวดล้ อม, อุตสาหกรรมในเชิงมิติพัฒนาสังคม, อุตสาหกรรมในมิติเชิงพัฒนาศักยภาพมนุษย์) เพื่อให้ เกิดความยั่งยืนใน
อุตสาหกรรมโดยรวม
4.5 อุตสาหกรรมวนผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย
ร้อยละการส่งออกเฟอร์นเิ จอร์ในกลุ่มอาเซี ยน 2012

-ตลาดเฟอร์ นิ เ จอร์ ข องไทยอยู่ ใ นลํา ดั บ ที่ 21


ของโลก และเป็ นอันดับ 4 ของ เอเชีย รองจาก
จีน เวียดนาม และมาเลเซีย

-ส่วนแบ่งในตลาดโลกร้ อยละ 1.16

ที่มา: ส.อ.ท, สสว และเอสไอไอที (2554)


ปั ญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมไม้ในประเทศไทย
การวิจยั และพัฒนา

 ปั ญหาวัตถุดิบ และการจัดการวัตถุดิบ
 ปั ญหาเทคโนโลยีการผลิต
 ปั ญหาทรัพยากรมนุ ษย์
 ปั ญหาสาธารณู ปโภคและสิง่ แวดล้อม
 ปั ญหาการวิจยั และพัฒนา
 ปั ญหามาตรการและกฎระเบียบข้อบังคับของรัฐ
 ปั ญหาการพัฒนาการออกแบบ
 ปั ญหาการพัฒนาผลิตภัณฑ์
 ปั ญหาการลอกเลียนแบบผลิตภัณฑ์

ทีม่ า: สํานักงานนวัตกรรมแห่ งชาติ (2550)


“หัวใจของการปรับเปลีย่ นยุทธศาสตร์
อุตสาหกรรมไทย คือการต้องมีผลิตภาพ
ของภาคการผลิตทีส่ ูงกว่าทีเ่ ป็ นอยู่”
แนวทางการเตรียมความพร้อมของอุตสาหกรรมไม้ท้ งั ระบบเพือ่ รองรับ AEC
นวัตกรรม
1. การเสริมสร้างศักยภาพด้านการผลิต กระบวนการ
1.1การลดต้นทุนการผลิต ด้วยการบริหารการจัดการต้นทุน นวัตกรรม
1.2เทคโนโลยีทีท่ นั สมัยในกระบวนการผลิต เทคโนโลยี
1.3พัฒนาด้านการออกแบบอุตสาหกรรม นวัตกรรม
การบริหารจัดการ
2. การสร้างความเข้มแข็งด้าน supply Chain Management
2.1การรวมกลุ่ม Cluster
2.2ถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรูซ้ ึ่งกันและกัน Best Practice
นวัตกรรม
3. การแสวงหาตลาดทีม่ ีศกั ยภาพ การตลาด
3.1การทําตลาดเชิงรุก
3.2การสร้างเครือข่ายพันธมิตร นวัตกรรม
3.3การสร้างตราสินค้า ผลิตภัณฑ์
3.4พัฒนาผลิตภัณฑ์
3.5การออกแบบทีแ่ ตกต่าง
3.6การสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
ที่มา : สสว, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสริ ินธร 2554
Low - to - High Technology
Low - to - High Skill
Low - to - High Administration
Low - to - High Products
Low - to - High Process
New Market

You might also like