You are on page 1of 82

1/82

2102-252: บทที่ 5
เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


สารบัญ
2/82

โครงสรางของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
หลักการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
วงจรสมมูลและแผนภาพเฟสเซอร
กําลังและแรงบิดของเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส
การทดสอบเพื่อหาพารามิเตอรของเครื่องกําเนิด
ไฟฟาซิงโครนัส
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลดและโวลเตจเรกูเลชัน
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 1/12
3/82

หนาที่: แปลงพลังงานกลไปเปนพลังงานไฟฟา
สเตเตอร (stator) : ฝงขดลวดอารเมเจอรที่จายไฟฟากระแสสลับใหโหลด

ชองวางอากาศ

pole)
โรเตอรแบบทรงกระบอก
(Cylindrical rotor)
โรเตอร แบบขัว้ ยื่น
ปอนไฟฟากระแสตรง

(Salient
ใหขดลวดสนาม เพลา (shaft)

ฐานตั้ง ฐานตั้ง
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 2/12
4/82

สเตเตอร:

ขดลวดอารเมเจอร =
ขดลวดสเตเตอร =
ขดลวดที่จายแรงดันไฟฟา 3
เฟสใหโหลด
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 3/12
5/82

โรเตอร: แบบทรงกระบอก หรือ nonsalient pole


ในรูปเปนแบบ 2 ขั้ว
BR = ฟลักซจากขดลวดสนาม

N N

End view Side view


ขดลวดสนาม = ขดลวดโรเตอร = ขดลวดที่รับไฟฟากระแสตรงเพื่อสรางสนามแมเหล็ก
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 4/12
6/82

โรเตอร: แบบทรงกระบอก ในรูปเปนแบบ 2 ขั้ว

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


โครงสราง 5/12
7/82

โรเตอร: แบบขั้วยื่น ในรูปเปนแบบ 6 ขั้ว


N

S แหวนลืน่
S

N
N
S
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 6/12
8/82

โรเตอร: แบบขั้วยื่น ในรูปเปนแบบ 8 ขั้ว


ขั้วยื่นกอนพัน
ขดลวดสนาม

ขั้วยื่นทีพ่ นั
ขดลวดสนาม
แลว

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


โครงสราง 7/12
9/82

วิธีปอนกระแสสนาม
ปอนกระแสตรงผานแหวนลื่น (slip ring) และ
แปรงถาน (Brush)
สรางกระแสตรงดวยอุปกรณที่ติดตั้งบนเพลาของ
เครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัส (มักเรียกวา
Brushless exciter)

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


โครงสราง 8/12
10/82

วิธีปอนกระแสตรงผานแหวนลื่น
ขดลวดสนามบนโรเตอร แหลงจายไฟกระแสตรง
แปรงถาน
ฉนวนไฟฟา

โรเตอร

แหวนลืน่

ขอเสีย: แปรงถานสึกหรอทําใหตองมีการบํารุงรักษาและมีกําลังสูญเสียที่แปรงถาน
ขอดี: ราคาไมแพง จึงมักใชกับเครื่องกําเนิดไฟฟาซิงโครนัสขนาดเล็ก
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 9/12
11/82

วิธีสรางกระแสตรงดวยอุปกรณที่ติดตั้งบนเพลา #1
ขดลวดอารเมเจอร วงจรดัดไฟ 3 เฟส ขดลวดสนามหลัก
ของ Exciter
IF = กระแสสนาม
โรเตอร

ขดลวดสนาม
RF= ความตานทานปรับ ของ Exciter
กระแสสนาม
แรงดันไฟฟา 3 เฟส
สเตเตอร

ที่จายใหโหลด

ขดลวดอารเมเจอร
แหลงจายไฟ 3 เฟส
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 10/12
12/82

วิธีสรางกระแสตรงดวยอุปกรณที่ติดตั้งบนเพลา #2
ขดลวดอารเมเจอร ขดลวดสนามหลัก
ของ Exciter
โรเตอร

วงจรเรียง
แมเหล็กถาวร กระแส
3 เฟส

RF ขดลวดสนาม
ของ Exciter
วงจรเรียง
สเตเตอร

กระแส แรงดันไฟฟา 3 เฟส


3 เฟส ที่จายใหโหลด

ขดลวดอารเมเจอร ขดลวดอารเมเจอร
ของ Exciter นํารอง
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
โครงสราง 11/12
13/82

วิธีสรางกระแสตรงดวยอุปกรณที่ติดตั้งบนเพลา #3
Exciter ขดลวดสนาม
ขอสังเกต: Brushless
exciter มักติดตั้ง
แหวนลืน่ และแปรง
ถานไวในกรณีที่อาจ
เกิดเหตุฉุกเฉิน
Rectifier

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


โครงสราง 12/12
14/82

Exciter
ขั้วยื่น

พัดลมระบายความรอน

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


หลักการทํางาน 1/5
15/82

ซิงโครนัส หมายถึงการที่ความถี่ของแรงดันไฟฟา, fe ,
ที่เครือ่ งกําเนิดไฟฟาจายใหโหลดขึ้นกับความเร็วทางกล
ของโรเตอร, nm , กลาวคือ
(ความเร็วโรเตอร= ความเร็วซิงโครนัส)
nm P 120fe
fe = ⇒ nm =
120 P
เมื่อ fe = ความถี่ของแรงดันไฟฟา, Hz
nm = ความเร็วทางกลของโรเตอร, รอบตอนาที (RPM)
P = จํานวนขั้ว
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
หลักการทํางาน 2/5
16/82

แรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา, EA จากบทที่ 4
2 NC
E A = 2π NCφ fe = π feNCφ = φωe
2 2
KP
E A = Kφωe = φωm [Vrms ]
2

ดังนัน้ จึงอาจกลาวไดวาขณะที่เครื่องกําเนิดไฟฟาทํางานขนาด
ของ EA จะขึ้นกับฟลักซ φ และความเร็วของโรเตอร ωm
เทานัน้ (K เปนคาคงที่)
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
หลักการทํางาน 3/5
17/82

Magnetization curve (O/C characteristic curve)


แตฟลักซ φ มี E A

ความสัมพันธที่ไมเปน
เชิงเสนกับกระแสสนาม
If เนื่องจากการอิ่มตัว
ωm = ωsync = คาคงที่
ของแกนเหล็ก ดังนั้น
E A = f ( IF ) IF
จึงอาจมีลักษณะดังรูป
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
หลักการทํางาน 4/5
18/82

Ex.1 เครื่องกําเนิดไฟฟาของโรงจักรไฟฟาพลังน้ําที่
เขื่อนภูมิพลหมุนดวยความเร็ว 300 RPM จงหา
จํานวนขั้วของโรเตอร (ประเทศไทยใชความถี่ 50 Hz)
nm P 120fe
fe = ⇒ P=
120 nm
120 ⋅ 50
P= = 20
300
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
หลักการทํางาน 4/5
19/82

Ex.2 เครื่องกําเนิดไฟฟาของโรงจักรไฟฟาพลังงาน
ความรอนที่ปางปะกงหมุนดวยความเร็ว 1500 RPM
จงหาจํานวนขั้วของโรเตอร (ประเทศไทยใชความถี่
50 Hz)
nm P 120fe
fe = ⇒ P=
120 nm
120 ⋅ 50
P= =4
1500
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 1/14
20/82

EA ที่กลาวเปนแรงเคลือ
่ นเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นภายใน
ขดลวดอารเมเจอรของเครื่องกําเนิดไฟฟา
แรงดันที่ขั้วขดลวดของเครือ่ งกําเนิดไฟฟา Vφ อาจมี
คาสูงหรือต่ํากวา EA ได ขึ้นอยูกับประเภทโหลดที่ตอ
กับเครื่องกําเนิดไฟฟา
เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาไมมีโหลดเทานั้น (กระแสอาร
เมเจอร IA = 0) ที่ EA = Vφ ทําไม???
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 2/14
21/82

สาเหตุที่ Vφ ≠ EA
อารเมเจอรรแี อกชัน (armature reaction)
ความเหนี่ยวนํารั่วไหลของขดลวดอารเมเจอร
ความตานทานของขดลวดอารเมเจอร
ลักษณะรูปรางของโรเตอรแบบขั้วยื่น (จะเรียนใน
วิชา Electrical Machines II)

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


วงจรสมมูล 3/14
22/82

ผลของอารเมเจอรรีแอกชัน #1
เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาจายกระแสใหโหลด กระแสที่ไหล
ผานขดลวดอารเมเจอรจะสรางฟลักซขึ้นมา ซึ่งจะไป
เปลี่ยนแปลงการกระจายของ ฟลักซเดิมที่สรางขึน้ จาก
ขดลวดสนาม
ในรูปถัดไปเปนการอธิบายผลของอารเมเจอรรีแอกชันโดย
สมมุติวาโรเตอรมีสองขั้วและสเตเตอรเปนแบบสามเฟส
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 4/14
23/82

ผลของอารเมเจอรรีแอกชัน #2 EA,max

พิจารณาขดลวดเฟส a ในภาวะที่
เครื่องกําเนิดไฟฟาไรโหลด BR

สนามแมเหล็กของโรเตอร BR
จะสรางแรงเคลื่อนเหนีย่ วนํา EA ωm

ในขดลวดอารเมเจอร
กําหนดให เวกเตอร BR และ
เฟสเซอร EA ชี้ในแนวเดียวกัน
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 5/14
24/82

ผลของอารเมเจอรรีแอกชัน #3 EA,max

สมมุตวิ าเครื่องกําเนิดไฟฟากําลัง IA,max

จายโหลดแบบลาหลัง (lagging BR
PF, R-L, load)
คายอดและเฟสเซอรของกระแส
ωm
อารเมเจอร IA จะลาหลังคายอด
และเฟสเซอรของ EA

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


วงจรสมมูล 6/14
25/82

ผลของอารเมเจอรรีแอกชัน #4 EA,max
IA,max
กระแสอารเมเจอร IA จะสราง
สนามแมเหล็กของตัวเอง BS ขึ้นมา BR

โดยเวกเตอร BS จะลาหลังเฟสเซอร
ของ IA อยู 90 องศา ωm

BS จะสรางแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา Estat
BS

ขึ้นในขดลวดอารเมเจอร โดยเฟสเซอร Estat


Estat จะชี้ในแนวเดียวกับ BS
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 7/14
26/82

ผลของอารเมเจอรรีแอกชัน #5 EA,max

IA,max
ผลรวมของสนามแมเหล็กที่โร
เตอรสรางขึ้นและที่เกิดขึ้นเมื่อ BR
Bnet

เครื่องกําเนิดไฟฟาจายโหลดมีคา
เทากับ Bnet = BR + BS ωm
BS
แรงดันที่ขั้วขดลวดจึงมีคาเปน
Vφ = E A + Estat Estat

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


วงจรสมมูล 8/14
27/82

โมเดลที่แทนผลของอารเมเจอรรแี อกชัน
เราจะสังเกตไดวา Estat ตามหลัง
o
IA อยู 90 และขนาดของ Estat jX IA

แปรผันตามขนาดของ IA
ถาให X เปนคาคงที่ เราสามารถ
แสดงผลของอารเมเจอรรีแอกชัน ~
+
-
EA Vφ

ทางคณิตศาสตรไดดังนี้
Estat = − jXI A
แรงดันที่ขั้วขดลวดจึงมีคาเปน
Vφ = E A + Estat = E A − jXI A
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 9/14
28/82

ผลของความเหนี่ยวนํารั่วไหลของขดลวดอารเมเจอร
การพันขดลวดอารเมเจอรบน jX jXA
IA
สเตเตอรจะทําใหเกิดความ +
EA
~
เหนี่ยวนํารั่วไหล XA ดวย - Vφ

แรงดันที่ขั้วขดลวดจึงมีคาเปน
Vφ = E A − jXI A − jX AI A
jXS IA
= EA − j ( X + X A ) IA +
~ EA Vφ
= E A − jX S I A
-

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


29/82

วงจรสมมูล 10/14
ผลของความตานทานของขดลวดอารเมเจอร
ขดลวดอารเมเจอรปกติจะทําจาก
ทองแดง ดังนั้นจึงมีความ
ตานทาน RA อยูดวย
jXS RA IA

แรงดันที่ขั้วขดลวดจึงมีคาเปน
+
Vφ = E A − jX S I A − RAI A ~-
EA Vφ

= E A − ZS I A

X S : Synchronous reac tan ce E A : Internal induced voltage


ZS : Synchronous impedance Vφ :Terminal voltage
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 11/14
30/82

วงจรสมมูลเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบ 3 เฟส
jXS RA IA1

Radj ทําหนาที่อะไร? EA1 +


~- Vφ1

IF

Radj
LF jXS RA IA2

+
VF (DC) EA2 ~- Vφ2
RF

jXS RA IA3

แรงดัน EA1, EA2 และ EA3 มี EA3 +


~- Vφ3
เฟสตางกัน 120o ทางไฟฟา
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 12/14
31/82

การตอเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เฟสแบบ Δ
IL

- EA
VT = Vφ ~+

φ
IL = 3I A
V
jXS
VT

IA
+ RA
~-

~
+
-
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
วงจรสมมูล 13/14
32/82

การตอเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 เฟสแบบ Y
IL

VT = 3Vφ IA


+
~- ~-
+
EA
IL = I A VT
~-
+

jXS

RA

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


วงจรสมมูล 14/14
33/82

วงจรสมมูลทั่วไปของเครื่องกําเนิดไฟฟา
IF jXS RA IA

RF
VF +
~
-
EA Vφ
LF

วงจรนี้ใชไดเฉพาะในกรณีที่โหลดของเครื่องกําเนิดไฟฟาเปนแบบสมดุล
(ขนาดของ IA1 = IA2 = IA3 และมีเฟสตางกัน 120o ทางไฟฟา)
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
34/82

แผนภาพเฟสเซอร 1/3
โหลดแบบตัวตานทาน (PF = 1)
Vφ = E A − jX S I A − RAI A
= E A − ZS I A
EA
jXSIA

IA Vφ IARA

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


35/82

แผนภาพเฟสเซอร 2/3
โหลดแบบลาหลัง (PF < 1, lagging)
Vφ = E A − jX S I A − RAI A
= E A − ZS I A EA
jXSIA


IA IARA

เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาจายกระแสใหโหลดที่แรงดัน Vφ เทากันกับในกรณีที่
โหลดเปนตัวตานทาน เราตองเพิ่ม EA (เพิ่ม IF)
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
36/82

แผนภาพเฟสเซอร 3/3
โหลดแบบนําหนา (PF < 1, leading)
Vφ = E A − jX S I A − RAI A
= E A − ZS I A
EA jXSIA

IA
Vφ IARA

เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาจายกระแสใหโหลดที่แรงดัน Vφ เทากันกับในกรณีที่
โหลดเปนตัวตานทาน เราตองลด EA (ลด IF)
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
กําลังและแรงบิด 1/4
37/82

กําลังของเครื่องกําเนิดไฟฟา
Pconv = τ ind ωm = 3E AI A cos γ

Pin = τ appωm τ ind ωm


Pout = 3VT IL cosθ
I2R = 3Vφ I A cosθ
Core
Friction & windage losses
losses
Stray losses
Pcore Qout = 3VT IL sinθ
losses
Pf &w = 3Vφ I A sinθ
Pstray

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


กําลังและแรงบิด 2/4
38/82

กําลังของเครื่องกําเนิดไฟฟาเมื่อละเลย RA
δ = torque angle EA θ
θ = PF angle X s I A cos θ = E A sin δ
jXSIA

δ γ Vφ
θ
IA 3Vφ E A sin δ
Pout = 3Vφ I A cosθ = = Pconv
XS
3Vφ E A
Pout ,max =
XS
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
กําลังและแรงบิด 3/4
39/82

กําลังของเครื่องกําเนิดไฟฟาเมื่อละเลย RA
กําลังไฟฟา Pout,max เรียกวา static stability limit
ของเครื่องกําเนิดไฟฟา
ในภาวะปกติที่เครื่องกําเนิดไฟฟาจายโหลดเต็ม
พิกัด torque angle จะมีคาประมาณ 15 - 20O O

โดยปกติโหลดตองการแรงดัน Vφ คงที่ ดังนั้น


Pout จึงขึ้นกับ IA cosθ หรือ EA sinδ
Qout จึงขึ้นกับ IA sinθ
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
กําลังและแรงบิด 4/4
40/82

แรงบิดของเครื่องกําเนิดไฟฟาเมื่อละเลย RA
จากบทที่ 4 เราไดทGราบวGา G G
τ ind = kBR × BS = kBR × Bnet
ซึ่งมีขนาดเทากับ
τ ind = kBR Bnet sin δ
จากสมการกําลัง
3Vφ E A sin δ 3Vφ E A sin δ
Pconv = τ ind ωm = ⇒ τ ind =
XS ωm X S
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 1/18
41/82

มีพารามิเตอรของเครื่องกําเนิดไฟฟา 3 ตัวที่เรา
ตองหาจากการทดสอบ คือ
– ความสัมพันธของแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา EA กับ
กระแสสนาม IF
– รีแอกแตนซ (synchronous reactance) XS
– ความตานทานของขดลวดอารเมเจอร RA

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 2/18
42/82

การทดสอบเปดวงจร (O/C test)


ปลดโหลดออกจากเครื่องกําเนิดไฟฟาและปรับ
กระแสสนาม IF ใหมคี าเทากับศูนย
หมุนเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ความเร็วพิกัด ωm
เนื่องจากเครื่องกําเนิดไฟฟาไมมโี หลด กระแส
อารเมเจอร IA จึงเทากับศูนย ดังนั้น EA = Vφ
ปรับกระแสสนาม IF เปนขั้นแลววัดคา VT
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 3/18
43/82

ลักษณะเฉพาะขณะเปดวงจร (O/C characteristic, OCC)


VT , V Air-gap line
OCC

ωm = ωsync = คาคงที่

IF , A
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 4/18
44/82

การทดสอบลัดวงจร (S/C test)


ลัดวงจรขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟาผาน
แอมปมิเตอรและปรับกระแสสนาม IF ใหมคี า
เทากับศูนย
หมุนเครื่องกําเนิดไฟฟาที่ความเร็วพิกัด ωm
ปรับกระแสสนาม IF เปนขั้น แลววัดคากระแส
อารเมเจอร IA หรือกระแสโหลด IL
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 5/18
45/82

การทดสอบลัดวงจร
EA
jXS RA IA
IA

IARA jXSIA
+
~-
EA Vφ = 0

BR

Bnet
Bs

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 6/18
46/82

การทดสอบลัดวงจร
เมื่อลัดวงจรขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟา กระแสอาร
เมเจอร IA เกือบจะตั้งฉากกับแรงดันเหนี่ยวนํา EA
(เพราะ RA << XS)
ฟลักซที่เกิดจากกระแสอารเมเจอร Bs จึงมีทิศ
เกือบตรงขามกับฟลักซที่สรางจากโรเตอร BR ทํา
ให Bnet มีคานอย
แกนเหล็กของเครื่องกําเนิดไฟฟาจึงไมอิ่มตัว
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 7/18
47/82

ลักษณะเฉพาะขณะลัดวงจร (S/C characteristic, SCC)


IA , A

SCC

ωm = ωsync = คาคงที่

IF , A
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
48/82

การทดสอบ 8/18
jXS RA IA
จากวงจรสมมูลของการทดสอบลัดวงจรจะพบวา
E A,SC
Zs = R + X = 2
A
2
S +
I A,SC ~ EA Vφ = 0
-
แต RA << XS และ E A.SC = Vφ ,OC

E A,SC Vφ ,OC VT ,OC / 3


Xs ≈ = =
I A,SC I A,SC I A,SC at FI

RA หาไดจากการวัดความตานทานของขดลวดอารเมเจอรดวย
Wheatstone bridge หรือเครื่องวัดความตานทานอื่นที่เหมาะสม
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 9/18
49/82

คา XS มีคาไมคงที่เพราะ Vφ,OC เกิดการอิ่มตัว


VT , V Air-gap line OCC
IA , A
XS , Ω
XS,air-gap
XS,OCC
SCC

ωm = ωsync = คาคงที่

IF , A

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 10/18
50/82

Ex.3 เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 200 kVA 480 V 50


Hz ตอแบบ Y มีผลการทดสอบเมื่อปอนกระแสสนาม
พิกัดเทากับ 5 A ดังนี้
– แรงดันเปดวงจร VT,OC = 540 V
– กระแสลัดวงจร IL,SC = 300 A
– เมื่อปอนแรงดันกระแสตรงขนาด 10 V เขาที่ขั้ว วัด
กระแสได 25 A
จงหาคา XS และ RA ของเครื่องกําเนิดไฟฟา
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 11/18
51/82

IDC = 25 A

+
+
~- ~
-
EA
~- VDC = 10 V
+

VDC
jXS
2RA =
IDC
VDC 10
RA RA = = = 0.2 Ω
2IDC 2 ⋅ 25

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 12/18
52/82

IL = 0

+
+
~- ~
- VT ,OC
EA
E A = Vφ ,OC =
~- VT,OC 3
+
540
= = 311.8 V
jXS 3

RA

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 13/18
53/82

IL,SC

IA,SC

+
+
~- ~
-
EA
I A,SC = IL,SC = 300 A
~-
+

jXS

RA

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 14/18
54/82

R +X =
2
A
2
S
E A,OC
I A,SC
ถาละเลยผลของ RA
E A,OC 311.8
0.2 + X S =
2 2 311.8
= 1.039 XS = =
300 I A,SC 300
X S = 1.02 Ω = 1.04 Ω
IF j1.02 Ω 0.2 Ω IA

RF
VF +
~
-
EA = 312 V Vφ
LF

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 15/18
55/82

อัตราสวนลัดวงจร (S/C ratio, SCR)


If ที่ตองการเพื่อสรางแรงดันพิกัดขณะเปดวงจร
SCR =
If ที่ตองการเพื่อสรางกระแสพิกัดขณะลัดวงจร
Of ′ V ,VT Air-gap line IA , A
= V T,rate
OCC
Of ′′
I A Vφ ,rate X S,rate SCC
SCR = = IA,rate
I A,rate Vφ ,rate XS IA

1
= IF , A
p.u. X S O f’ f ’’
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 16/18
56/82

Ex.4 เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 45 kVA 220 V 6 ขั้ว


50 Hz ตอแบบ Y มีผลการทดสอบดังนี้
– แรงดันเปดวงจร VT,OC = 220 V เมื่อปอน IF = 2.84 A
– กระแสลัดวงจร IL,SC = 118 A เมื่อปอน IF = 2.20 A
– กระแสลัดวงจร IL,SC = 152 A เมื่อปอน IF = 2.84 A
– จาก air-gap line แรงดันเปดวงจร VT,ag = 202 V เมื่อ
ปอน IF = 2.20 A
จงหาคา SCR, XS,unsat และ XS,sat
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
การทดสอบ 17/18
57/82

VArate 45000
I A,rate = = = 118 A
3VT ,rate 3 ⋅ 220

If ที่ตองการเพื่อสรางแรงดันพิกัดขณะเปดวงจร
SCR =
If ที่ตองการเพื่อสรางกระแสพิกัดขณะลัดวงจร
2.84
= = 1.29 A
2.20

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


การทดสอบ 18/18
58/82

ที่ IF = 2.20 A ที่ IF = 2.84 A


VT ,ag 202 VT ,OC 220
E A,ag = = = 116.7 V E A,OC = = = 127 V
3 3 3 3
VT ,ag 202 VT ,OC 220
= = = 0.92 p.u. = = = 1 p.u.
Vrate 220 Vrate 220
IL,SC = 118 A = 1 p.u. 152
IL,SC = 152 A = = 1.29 p.u.
116.7 118
X S,unsat = = 0.987 Ω 127
118 X S,sat = = 0.836 Ω
0.92 152
= = 0.92 p.u. 1
1 = = 0.775 p.u.
1.29
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 1/24
59/82

ในบทนี้เราจะศึกษากรณีที่มี เครื่องกําเนิดไฟฟา
เพียงตัวเดียวจายโหลด
การทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟาจะขึ้นอยูกับ
ประเภทโหลดที่ตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา

3φ Synchronous
VT โหลดที่คา PF ตางๆ
generator มักตองการ VT & f คงที่

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 2/24
60/82

สมมุติฐานที่ใช
โรเตอรหมุนดวยความเร็วคงที่เสมอเพราะเครื่อง
กําเนิดไฟฟาตองจายความถี่ 50 Hz ใหโหลด
แรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา EA มีคาคงที่เสมอ ยกเวนจะมี
การปรับกระแสสนาม IF
โดยทั่วไปจะไมคํานึงถึงความตานทานของขดลวด
อารเมเจอร RA
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 3/24
61/82

โหลดแบบ PF ลาหลัง - กระแสเพิ่มในขณะที่ PF คงที่


EA

jXSIA’
jXSIA
δ
θ δ’ Vφ’ Vφ
IA แรงดัน Vφ และแรงดันที่ขั้ว
IA’ VT มีขนาดลดลงเมื่อกระแส
อารเมเจอร IA เพิ่มขึ้น
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 4/24
62/82

โหลดแบบความตานทาน (PF=1)
EA

δ’ jXSIA’ jXSIA
δ
IA IA’ Vφ’ Vφ
แรงดัน Vφ และแรงดันที่ขั้ว
VT มีขนาดลดลงเมื่อกระแส
อารเมเจอร IA เพิ่มขึ้น
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 5/24
63/82

โหลดแบบ PF นําหนา - กระแสเพิ่มในขณะที่ PF คงที่

EA
IA’ jXSIA’
IA
δ’ jXSIA
δ
θ
Vφ Vφ’
แรงดัน Vφ และแรงดันที่ขั้ว
VT มีขนาดเพิ่มขึ้นเมื่อ
กระแสอารเมเจอร IA
เพิ่มขึ้น
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 6/24
64/82

โวลเตจเรกกูเลชัน (Voltage regulation, VR)


Vnl − Vfl
VR = ⋅ 100 %
Vfl
เมื่อ
Vnl = แรงดันที่ขั้วเมื่อไรโหลด, V
Vfl = แรงดันที่ขั้วเมื่อจายโหลดเต็มพิกัด, V
ดังนัน้ VR มีคาเปนบวก เมือ
่ เครื่องกําเนิดไฟฟาจายโหลดแบบ PF ลาหลัง
VR มีคาเปนลบ เมือ
่ เครื่องกําเนิดไฟฟาจายโหลดแบบ PF นําหนา
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 7/24
65/82

การปรับแรงดัน Vφ และแรงดันที่ขั้ว VT ใหคงที่


ปรับกระแสสนาม IF เพื่อใหแรงเคลื่อนเหนี่ยวนํา
EA มีคาลดลงหรือเพิ่มขึ้นตามประเภทของโหลด
ที่ตออยูกับเครื่องกําเนิดไฟฟา
E
EA EA A
jXSIA IA jXSIA
jXSIA
Vφ IAR
IA IARA IA Vφ IARA Vφ
A

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 8/24
66/82

Ex.5 เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 480 V 4 ขั้ว 60 Hz ตอ


แบบ Δ มี OCC ดังรูป และมี XS = 0.1 Ω RA =
0.015 Ω เมื่อทํางานเต็มพิกัด เครื่องกําเนิดไฟฟาจาย
กระแส 1200 A ที่ 0.8 lagging PF ที่ภาวะนี้ Pf&w= 40
kW, Pcore = 30 kW และไมคํานึงกําลังสูญเสียใน
วงจรสนาม
จงตอบคําถามตอไปนี้

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 9/24
67/82

600

500

400
VT , V

300

200

100

0
0 2 4 6 8 10 IF , A
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 10/24
68/82

ก) จงหาความเร็วของโรเตอร
120fe 120 ⋅ 60
nm = = = 1800 RPM
P 4
ข) จงหากระแส IF ที่ตองใชเพื่อทําใหแรงดันที่ขั้วของ
เครื่องกําเนิดไฟฟามีคา 480 V ที่ภาวะไรโหลด
เนื่องจากเครื่องกําเนิดไฟฟาตอแบบ Δ คา Vφ = VT
และที่ภาวะไรโหลด VT = Vφ = EA จาก OCC จะ
พบวาตองใช IF = 4.5 A
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 11/24
69/82

ค) เมือ่ ตอกับโหลดที่กินกระแส 1200 A ที่ 0.8 lagging


PF เราตองปรับ IF ใหมีคาเทาใดเพื่อทําให VT = 480 V
เนื่องจากเครื่องกําเนิดไฟฟาตอแบบ Δ คา IL = 3 IA

IL 1200
IA = = = 692.8
3 3
= 692.8∠ − 36.78 A

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 12/24
70/82

EA
δ jXSIA
θ Vφ = 480∠0o V
RAIA
I A = 692.8∠ − 36.87o A

E A = Vφ + RAI A + jX S I A
= 480∠0o + 0.015 ⋅ 692.8∠ − 36.87o + 0.1∠90o ⋅ 692.8∠ − 36.87o
= 480∠0o + 10.39∠ − 36.87o + 69.28∠53.13o
= 529.9 + j 49.2 = 532∠5.3o V

ดังนั้นเพื่อให VT = 480 V EA ตองเทากับ 532 V ซึ่งจาก


OCC พบวาตองใช IF = 5.7 A
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 13/24
71/82

ง) จงหา Pout , Pin และประสิทธิภาพ η


Pout = 3VT IL cos θ = 3 ⋅ 480 ⋅ 1200 ⋅ 0.8 = 798 kW
Pin = Pout + Plosses
= Pout + ( PI 2R + Pcore + Pf &w + Pstray + Pfield )

(
= 798 + 3 ⋅ 692.82 ⋅ 0.015 ⋅ 10−3 + 30 + 40 + 0 + 0 )
= 889.6 kW
Pout
η= ⋅ 100 = 89.8 %
Pin
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 14/24
72/82

จ) เมือ่ ปลดโหลดออกจากเครื่องกําเนิดไฟฟา
ทันทีทันใดจะเกิดอะไรขึ้นกับแรงดันขั้ว VT
การปลดโหลดออกทําให IA = 0 ดังนั้น VT = EA เพราะ
เราไมไดปรับกระแสสนาม IF ดังนั้นแรงดันขั้วจะเพิ่ม
จาก 480 V ไปเปน 532 V

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 15/24
73/82

ฉ) เมือ่ ตอกับโหลดที่กินกระแส 1200 A ที่ 0.8 leading


PF เราตองปรับ IF ใหมีคาเทาใดเพื่อทําให VT = 480 V
I A = 692.8∠36.78o A

EA
jXSIA
I A = 692.8∠ − 36.87 o
A

θ δ RAIA
Vφ = 480∠0 o
V

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 16/24
74/82

E A = Vφ + RAI A + jX S I A
= 480∠0o + 0.015 ⋅ 692.8∠36.87o + 0.1∠90o ⋅ 692.8∠36.87o
= 480∠0o + 10.39∠36.87o + 69.28∠126.87o
= 446.7 + j 61.7 = 451∠7.1o V

ดังนั้นเพื่อให VT = 480 V EA ตองเทากับ 451 V ซึ่งจาก


OCC พบวาตองใช IF = 4.1 A

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 17/24
75/82

Ex.6 เครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 480 V 6 ขั้ว 50 Hz ตอ


แบบ Y มี XS = 1.0 Ω เมื่อทํางานเต็มพิกัด เครื่อง
กําเนิดไฟฟาจายกระแส 60 A ที่ 0.8 lagging PF ที่ภาวะ
นี้ Pf&w= 1.5 kW, Pcore = 1 kW และไมคํานึงกําลัง
สูญเสียในวงจรสนาม ขณะนี้ไดปรับกระแสสนาม
เพื่อใหแรงดันขั้วในภาวะไรโหลดมีคาเทากับ 480 V
จงตอบคําถามตอไปนี้

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 18/24
76/82

ก) จงหา VT เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาจายกระแสพิกัดที่
0.8 lagging PF, 1.0 PF และ 0.8 leading PF
เนื่องจากเครื่องกําเนิดไฟฟาตอแบบ Y คา VT = 3 Vφ
ที่ภาวะไรโหลด EA = Vφ = VT /1.732 = 277 V และ
จะมีคานี้ตลอดไปหากไมมีการปรับกระแส IF
I A = IL = 60∠ − 36.78o A
jX S I A = 1∠90o ⋅ 60∠ − 36.78o = 60∠53.13o V
2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University
ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 19/24
77/82

E A = 277 V θ
jX S I A = 60∠53.13o V
δ
θ Vφ
I A = 60∠ − 36.87o A

E = (Vφ + X S I A sinθ ) + ( X S I A cosθ )


2 2 2
A

277 = (Vφ + 1⋅ 60 ⋅ 0.6 ) + (1⋅ 60 ⋅ 0.8 )


2 2 2

76729 = (Vφ + 36 ) + 2304


2

Vφ = 263.8 V ⇒ VT = 3Vφ = 410 V

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 20/24
78/82

E A = 277 V
jX S I A = 60∠90o V
δ
I A = 60∠0o A Vφ

E = (Vφ ) + ( X S I A )
2 2 2
A

76729 = (Vφ ) + 3600


2

Vφ = 270.4 V ⇒ VT = 3Vφ = 468.4 V

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 21/24
79/82

E A = 277 V θ
I A = 60∠36.87o A jX S I A = 60∠126.87o V

θ δ

E = (Vφ − X S I A sinθ ) + ( X S I A cosθ )


2 2 2
A

277 = (Vφ − 1⋅ 60 ⋅ 0.6 ) + (1⋅ 60 ⋅ 0.8 )


2 2 2

76729 = (Vφ − 36 ) + 2304


2

Vφ = 308.8 V ⇒ VT = 3Vφ = 535 V

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 22/24
80/82

ข) จงหาประสิทธิภาพเมื่อจายกระแสพิกัดที่ 0.8 PF
lagging
Pout = 3Vφ I A cosθ = 3 ⋅ 236.8 ⋅ 60 ⋅ 0.8 = 34.1 kW
Pin = Pout + ( PI 2R + Pcore + Pf &w + Pstray + Pfield )
= 34.1 + ( 0 + 1 + 1.5 + 0 + 0 ) = 36.6 kW
Pout
η= ⋅ 100 = 93.2 %
Pin

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 23/24
81/82

ค) จงหา τin และτind เมื่อจายโหลดพิกัด


Pin Pin Pin 36.6 ⋅ 103
τ app = = = = = 349.5 Nm
ωm 2π fm 2π f 2 104.7
e
P
Pconv Pout 34.1⋅ 103
τ ind = = = = 325.6 Nm
ωm ωm 104.7

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University


ลักษณะเฉพาะเมื่อจายโหลด 24/24
82/82

ง) จงหา VR เมื่อเครื่องกําเนิดไฟฟาจายกระแสพิกัดที่
0.8 lagging PF, 1.0 PF และ 0.8 leading PF
480 − 410
0.8 PF lagging: VR = ⋅ 100 = 17.1 %
410
480 − 468
1 PF: VR = ⋅ 100 = 2.6 %
468
480 − 535
0.8 PF leading: VR = ⋅ 100 = −10.3 %
535

2102-252: Ch5 Synchronous generator Electrical Engineering Department, Chulalongkorn University

You might also like