You are on page 1of 3

แบบฝึกหัดที่๑

ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ

คำชี้แจง จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
๑. ผู้แต่งไตรภูมิพระร่วง คือ _______________________________________________________________________________
๒. พระร่วง หมายถึง พระมหากษัตริย์สมัย_________________________________________________________________
๓. ไตรภูมิ หมายถึง โลกทั้งสาม คือ _________________ _________________ _________________
๔. ไตรภูมิพระร่วงมีแก่นของเรื่องที่เน้นเรื่องใด _____________________________________________________________
๕. "ไตรภูมพิ ระร่วง" เดิมเรียกว่าอย่างไร____________________________________________________________________
๖. กามภูมิ หมายถึง ภูมิใด _______________________________________________________________________________
๗. กามภูแบ่งเป็น ๒ ฝ่ายได้แก่อะไรบ้าง ___________________________________________________________________
๘. สุคติภูมิ หมายความว่าอย่างไร ได้แก่ ภูมิใดบ้าง หมายถึง _______________________________________________
ได้แก่ โลกมนุษย์ ๑ สวรรค์ ๖ ชั้น คือ ๑) จาตุมหาราชิกา ๒) ดาวดึงส ๓) ยามา ๔) ________________
๕) _____________________๖) ________________________________
๙. อบายภูมิ หมายความว่าอย่างไร ได้แก่ภูมิใดบ้าง หมายถึง _____________________________________________
ได้แก่ ดิรัจฉานภูมิ อสุรกายภูมิ เปรตภูมิ นรกภูมิ
๑๒. ดินแดนของพรหมที่มีรูป มีกี่ชั้น มีชื่อเรียกเฉพาะว่าอย่างไร มีลักษณะเป็นอย่างไร มี _______________ ชั้น
เรียกว่า ____________________ มีลักษณะพ้นจากกามวิสัย แต่ยังติดกับภาวการณ์มีตวั ตน

แบบฝึกหัดที่ ๒
เรื่องไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ

คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
๑. จากเรื่องไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ข้อใดกล่าวถึงวิวัฒนาการขั้นสุดท้ายของก้อนเนื้อในครรภ์มารดา
ก่อนที่จะเจริญกลายเป็นตัวคน
ก. เบญจสาขาหูด ข. เปสิ ค. ฆนะ ง. เปสิ
๒. ข้อใดคือ “ เบญจสาขาหูด”
ก. มือ ๒ เท้า ๒ ศีรษะ ๑ ข. ตา ๒ หู ๒ หน้า ๑
ค. มือ ๒ เท้า ๒ หน้า ๑ ง. มือ ๒ ตา ๒ ศีรษะ ๑
๓. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของทารกที่อยู่ในท้องแม่
ก. นั่งอยูก่ ลางท้องแม่ ข. นั่งคู้เข่า กำมือแน่น
ค. นั่งห้อยหัวลง โคลงเคลงไปมา ง. สายสะดือติดอยู่กับหลังท้องแม่
๔. “ซึ่งอยู่ในท้องแม่อันเป็นที่เหม็นแลที่ออกลูกออกเต้า ที่เถ้า ที่ตายที่เร่ว.....” ข้อความข้างต้น หมายถึงสิ่งใด
ก. อัมพุทะ ข. ตัวพยาธิ ค. สายรก ง. น้ำเหลือง
๕. จากเรื่องไตรภูมิพระร่วง “สายสะดือของทารกในท้อง” มีลักษณะตามข้อใด
ก. เป็นเหมือนลำไส้ที่อยู่ติดกับตัวทารก ข. เป็นเหมือนดอกบัวที่บานอยู่ในสระ
ค. เป็นเหมือนท่อน้ำ ข้างในกลวงสำหรับส่งอาหาร ง. เป็นเหมือนสายบัว ข้างในกลวง
๖. “สิ่งอาหารอันแม่กินเข้าไปในท้องนั้นไหม้และย่อยลง ด้วยอำนาจแห้งไฟธาตุอันร้อนนั้น ส่วนตัวกุมารนั้นบ
มิไหม้....” จากเรื่องไตรภูมิพระร่วง เหตุใดจึงกล่าวว่า “ตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้.....”
ก. เพราะอำนาจแห่งไฟธาตุไม่สามารถทำลายกุมารได้
ข. เพราะกุมารมีบุญที่จะเกิดมาเป็นคน
ค. เพราะในท้องแม่ไม่ได้ร้อนมากจนทารกอยู่ไม่ได้
ง. เพราะอำนาจแห่งไฟธาตุเลี้ยงดูกุมารให้เติบโต
๗. “ผู้ใดอยู่ในท้องแม่...............แลคลอดนั้น แม้เลี้ยงเป็นคนก็ดี บ่มิได้กล้าแข็ง บ่มิทนแดดทนฝน
ได้แล” ควรเติมข้อความใดลงในช่องว่าง
ก. ๖ เดือน ข. ๗ เดือน ค. ๘ เดือน ง. ๙ เดือน
๘. ข้อใดกล่าวผิดไปจากความเป็นจริง
ก. แลกุมารนั้นนั่งกลางท้องแม่ แลเอาหลังมาต่อหนังท้องแม่
ข. ครั้นออกจากท้องแม่ แต่นั้นไปเมื่อหน้า กุมารนั้นจึงรู้หายใจเข้าออกแล
ค. คนผู้ใดจากแต่นรกมาเกิดนั้น เมื่อคลอดออกตนกุมารนั้นร้อน
ง. เมื่อถึงจักคลอดนั้นก็ดี ด้วยกรรมนั้นกลายเป็นลมในท้องแม่สิ่งหนึ่ง
๙. ข้อใดไม่มี การเปรียบเทียบ
ก. แลกุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตนดั่งคนอันท่านขังไว้ในไหอันคับแคบนักหนา
ข. กุมารอยู่ในท้องแม่นนั้ ให้เจ็บเพียงจะตายแลดุจดั่งลูกทรายอันพึ่งออกแล
ค. ตืดแลเอือนฝูงนั้นเริมตัวกุมารนั้นไสร้ ดุจดั่งหนอนอันอยู่ในปลาเน่า
ง. แต่กุมารนั้นอยู่ในท้องแม่ บ่ห่อนได้หายใจเข้าออกเสียเลย
๑๐. “ในกาลทั้ง ๓ นั้น ย่อมหลงบ่มิได้คำนึงรู้อันใดสักสิ่ง....”ข้อใด ไม่เกี่ยวข้อง กับคำที่พิมพ์ดว้ ยตัวหนา
ก. ตอนปฏิสนธิ ข. ตอนอยู่ในท้อง ค. ตอนใกล้คลอด ง. ตอนคลอด
๑๑. “...ซึ่งอยู่ในท้องแม่อันเป็นที่เหม็นแลที่ออกลูกออกเต้า ที่เถ้า ที่ตายที่เร่ว ฝูงตืดและเอือนทั้งหลายนั้นคนกัน
อยู่ในท้องแม่...” คำว่า “ที่เร่ว” ในบทประพันธ์ขา้ งต้นหมายถึงอะไร
ก. เร็ว ข. ที่ว่าง ค. ป่าช้า ง. เกิด
๑๒. ข้อใดสะท้อนความเชื่อเรื่องบุญ-กรรมชัดเจนที่สุด
ก. ด้วยอำนาจแห่งไฟธาตุอันร้อนนั้น ส่วนตัวกุมารนั้นบ่มิไหม้ เพราะว่าเป็นธรรมดาด้วยบุญกุมารนั้นจะ
เป็นคนแล จึงให้บมิไหม้บมิตายเพื่อดั่งนั้นแลแต่กมุ ารนั้นอยู่ในท้องแม่
ข. ตนเย็นนั้นแลเจ็บเนื้อเจ็บตนนักหนา ดั่งช้างสารอันท่านชักท่านเข็นออกจากประตูลักษอันน้อยนั้น
แลคับตัวออกยากลำบากนั้น ผิบ่มิดั่งนั้น ดั่งคนผูอ้ ยู่ในนรกแล
ค. เมื่อแรกมาเกิดในท้องแม่ก็ดี เมื่ออยู่ในท้องแม่ก็ดี เมื่อออกจากท้องแม่ก็ดี ในกาลทั้ง 3 นั้นย่อมหลงบ่
มิได้คำนึงรู้อันใดสักสิ่ง
ง. แลกุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตนดั่งคนอันท่านขังไว้ในไหอันคับแคบนักหนา แค้นเนื้อแค้นใจ แลเดือดเนื้อ
เดือดใจนักหนา
๑๓. ข้อใดมีลักษณะเด่นด้านการซ้ำคำเพื่อเน้นความหมาย
ก. ลมอันมีในท้องผู้น้อยค่อยพัดออกก่อน ลมอันมีภายนอกนั้นจึงพัดเข้านัน้ นักหนา
ข. ผิรูปอันจะเกิดเป็นชายก็ดีเป็นหญิงก็ดี เกิดมีอาทิแต่เกิดเป็นกลละนั้นโดยใหญ่แต่ละวันแลน้อย
ค. ผิแลคนอันมาแต่นรกก็ดี แลมาแต่เปรตก็ดี มันคำนึงถึงความอันลำบากนั้น ครั้นว่าออกมาก็รอ้ งไห้แล
ง. แลกุมารนั้นเจ็บเนื้อเจ็บตนดั่งคนอันท่านขังไว้ในไหอันคับแคบนักหนา แค้นเนื้อแค้นใจ แลเดือดเนื้อ
เดือดใจนักหนา
๑๔. ไตรภูมิพระร่วงแต่งด้วยคำประพันธ์ประเภทใด
ก. ความเรียงร้อยแก้ว ข. ร่ายสุภาพ ค. กาพย์ยานี ๑๑ ง. กลอนสุภาพ

แบบฝึกหัดที่ ๓
ไตรภูมพิ ระร่วง ตอน มนุสสภูมิ

คำชี้แจง จงเติมคำตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
๑. อิ่มสงสาร หมายถึง ______________________ ๒. อยู่ธรห้อย หมายถึง ______________________
๓. ลมกรรมชวาต หมายถึง _______________________ ๔. จตุราบาย หมายถึง ______________________
๕. กลละ หมายถึง _______________________ ๖. เอือน หมายถึง __________________________
๗. เทียร หมายถึง _______________________ ๘. ตืด หมายถึง ____________________________
๙. อัมพุทะ หมายถึง ______________________ ๑๐. เริม หมายถึง ____________________________

You might also like