You are on page 1of 31

55

หน่วยที่
หน่วยที่

การเลือกใช้และแนวทางการสร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล

จุดประสงค์
เมื่อท่านศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมในหน่วยนี้ แล้ว สามารถปฏิบตั ิสิ่งต่อไปนี้
1. ระบุประเภทของเครื่ องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการทำวิจยั ในชั้นเรี ยนได้
2. อธิบายวิธีการหาคุณภาพของเครื่ องมือรวบรวมข้อมูลได้
3. เลือกและสร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการทำวิจยั ในชั้นเรี ยนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ได้อย่างเหมาะสม

ขอบข่ายเนื้ อหา
ในหน่วยนี้มีเนื้ อหาสาระเกี่ยวกับ ความสำคัญของเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล การวัดพฤติกรรมในการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ประเภทของเครื่ องมือ
รวมรวมข้อมูล ตัวอย่างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล และการหาคุณภาพของเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล

กิจกรรม
หลังจากวิทยากรนำเข้าสู่ กิจกรรมด้วยการให้ความรู้โดยใช้ภาพจากโปรแกรม Power Point ประกอบการนำเสนอ แล้วให้ท่านปฏิบตั ิ
กิจกรรม ดังต่อไปนี้
1. ศึกษาเอกสารชุดฝึ กฯในหน่วยที่ 5 ทุกหัวข้อให้ละเอียด
2. ทำกิจกรรมตามประเด็นที่กำหนดให้ ในใบกิจกรรมที่ 5 ให้ครบทุกประเด็น

เวลาที่ใช้ 3 ชัว่ โมง

พุทธิพิสัย
วิเคราะห์ตวั แปรตามที่ตอ้ งการ พฤติกรรมด้าน
ทักษะพิสัย
หน่วยที่ 5
การเลือกใช้และแนวทางการสร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล จิตพิสัย
กำหนดวิธีการวัดตัวแปรตาม
ในการดำเนินการวิจยั ในชั้นเรี ยน ผูว้ ิจยั จำเป็ นต้องดำเนินการรวบรวมข้อมูลในรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่งหรื อหลายรู ปแบบแล้วแต่ความเหมาะ
สม เพื่อนำมาวิเคราะห์หาคำตอบตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ที่ต้ งั ไว้วา่ ต้องการศึกษาหาคำตอบอะไร ต้องการทราบอะไร พฤติกรรมใด สิ่ งที่อยากรู้
หลังการวิจยั ในชั้นเรี ยนก็คือ ตัวแปรตาม นัน่ เอง ดังนั้นวิธีการที่จะรวบรวมข้อมูลดังกล่าวได้ตรงกับความต้องการก็จะต้องใช้เครื่ องมือ รวบรวม เรี ยกว่า
เลือกประเภทของเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม
(Research instrument)
เครื่ องมือการวิจยั อีกอย่างหนึ่งนอกเหนือจากนวัตกรรมการเรี ยนการสอน ซึ่งถือว่าเป็ นเครื่ องมือวิจยั เช่นเดียวกัน
การเลือกใช้และการสร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม มีคุณภาพ หลากหลายรู ปแบบ สามารถใช้วดั ความสามารถของผูเ้ รี ยนได้จริ ง ทำให้สามารถนำ
มาสรุ ปผลการวิจยั ในการพัฒนาการเรี ยนรู้ของ ผูเ้ รี ยน จำแนกและอธิบายความก้าวหน้าในการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนได้อย่างชัดเจน ดังนั้นเครื่ องมือรวบรวม
การสร้างเครื่ องมือเก็บจรวบรวมข้
ข้อมูลจึงเป็ นสิ่ งที่จำเป็ นและสำคัญอย่างมากในกระบวนการวิ ยั ใน อชัมู้ นล เรี ยน สรุ ปเป็ นแผนภูมิแสดงขั้นตอนได้ดงั นี้

การหาคุณภาพของเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล

เวลา
การวางแผนการใช้เครื่ องมือ รู ปแบบการนำไปใช้

ผูใ้ ช้

รวบรวม วิเคราะห์ สรุ ป นำเสนอ


104

การสร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจยั ในชั้นเรี ยนนั้นส่ วนใหญ่จะสร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล หรื อเครื่ องมือวัดตัวแปรตามที่เป็ น

พฤติกรรมหลัก ครอบคลุมในด้านพุทธิพิสัย ทักษะพิสัย และจิตพิสัย นัน่ เอง ซึ่งสามารถสรุ ปเป็ นพฤติกรรมใหญ่ได้ 9 ประการ คือ
1. ความจำ หมายถึง ความสามารถของสมองในการที่จะเก็บสะสมความรู้หรือ ข้อเท็จจริ งที่ได้ประสบพบเห็นมาให้คงอยูไ่ ด้ พฤติกรรม

ความจำจะมีคำกริ ยาแสดงการกระทำหรื อการแสดงออก เช่น ชี้บ่ง บอกชื่อ นิยาม บรรยาย ให้รายการจับคู่ เลือก ขีดเส้นใต้ บอกหัวข้อ ฯลฯ

ตัวอย่างการแสดงออก นักเรี ยนบอกสูตรเคมี เช่น โพแทสเซียมเปอร์มงั กาเนต (KMnO4) ที่ครู เคยสอนมาแล้วได้ถูกต้องและสามารถ

เขียนให้ดูได้ดว้ ย

2. ความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถในการแปลความ ตีความ และขยายความสถานการณ์น้ันๆ ได้ สมรรถภาพนี้ สูงกว่าความรู้ ความจำ

พฤติกรรมความเข้าใจจะมี คำกริ ยาแสดงการกระทำหรื อการแสดงออก เช่น แปล อธิบาย สรุ ปย่อ เปรี ยบเทียบ พยากรณ์ ตีความ พูดใหม่ ฯลฯ

ตัวอย่างการแสดงออก นักเรี ยนสามารถเปรี ยบเทียบลักษณะของสิ่ งหนึ่งกับของอีกสิ่ งหนึ่งได้ เช่น เห็นดินน้ำมันสามารถบอกได้ว่าเหมือน

กับดินเหนียวอย่างไร

3. การนำไปใช้ หมายถึง ความสามารถในการแก้ปัญหา โดยการนำเอาประสบการณ์หนึ่งไปใช้ในอีกประสบการณ์หนึ่งได้ผลดี สมรรถภาพ


สูงกว่าความเข้าใจ คือ ต้องเข้าใจก่อนจึงแก้ปัญหาได้ พฤติกรรมการนำไปใช้จะมีคำกริ ยาแสดงการกระทำหรื อการแสดงออก เช่น สาธิต คำนวณ แก้ปัญหา

เปลี่ยนลักษณะนิสัย ปรับเปลี่ยน กระทำ ปฏิบตั ิ ฯลฯ

ตัวอย่างการแสดงออก นักเรี ยนทดลองวิทยาศาสตร์ ไม่มีน ้ำกรด รู้จกั เอาสารเปรี้ ยวๆ มาแทนน้ำกรด

4. การวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะดูวา่ สิ่งนั้นประกอบด้วยอะไร การเกิดสิ่งนั้นขึ้นอาศัยเหตุผลใด สามารถจำแนกได้ว่า


สิ่ งใดสำคัญมาก สิ่ งใดมีความสัมพันธ์กนั และการเกิดปรากฏการณ์น้ นั ๆ ขึ้นอาศัยหลักการใด พฤติกรรมการวิเคราะห์จะมีคำกริ ยาแสดงการกระทำหรื อการ

แสดงออก เช่น จำแนก แยกแยะ ค้นหา ประมาณค่า เปรี ยบเทียบ ความสัมพันธ์ สรุ ปเหตุ สั่ง แบ่งย่อย ฯลฯ

ตัวอย่างการแสดงออก เมื่อเกิดไฟซ๊อตที่บา้ น รู้สาเหตุวา่ เพราะหม้อหุงข้าวไฟฟ้ าเก่าและเสื่ อมคุณภาพ


5.
การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการรวมส่ วนย่อยต่างๆ ตั้งแต่สองส่ วนขึ้นไปให้เข้าด้วยกันแล้วเปลี่ยนเป็ นสิ่ งใหม่ที่มีคุณภาพ
แปลกและแตกต่างออกไป ส่วนย่อยดังกล่าวอาจจะเป็ นเหตุการณ์ สถานการณ์ ข้อเท็จจริ ง ความคิดเห็นใดๆ ก็ได้ การสังเคราะห์กค็ ือการคิดริ เริ่ ม
105
สร้างสรรค์นนั่ เอง พฤติกรรมการสังเคราะห์จะมีคำกริ ยาแสดงการกระทำหรื อการแสดงออก เช่น รวมเข้าด้วยกัน เชื่อม สร้างสรรค์ สร้างสูตร ออกแบบ
ผสมผสาน สร้างใหม่ จัดรู ปใหม่ ปรับปรุ ง ฯลฯ
ตัวอย่างการแสดงออก นักเรี ยนสามารถประดิษฐ์ของเล่นเด็กได้ โดยใช้เศษวัสดุและนำหลักการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้ ามาใช้ประกอบให้
กลไกสามารถทำงานได้ เป็ นต้น
6. - - -
การประเมินค่า หมายถึง ความสามารถในการตีราคาของสิ่ งนั้นว่า ดี เลว ชอบ ไม่ชอบ ควร ไม่ควร เหมาะสม ไม่เหมาะสมอ -
ย่างไร โดยอาศัยเหตุผลประกอบด้วย ถ้าไม่มีเกณฑ์ไม่ใช่การประเมิน เป็ นความคิดเห็นลอยๆ พฤติกรรมการประเมินค่าจะมีคำกริ ยาแสดงการกระทำ
หรื อการแสดงออก เช่น พิจารณา วิพากษ์วิจารณ์ เปรี ยบเทียบ ตัดสิ นใจ ลงสรุ ป ตีคุณค่า ฯลฯ
ตัวอย่างการแสดงออก นักเรี ยนสามารถพิจารณาเลือกรับประทานอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกายเท่านั้น ไม่รับประทานอาหารที่เป็ น
อันตรายต่อร่ างกายและพยายามหลีกเลี่ยงอยูเ่ สมอ
7. ทักษะ หมายถึง ความสามารถที่จะทำงานได้แคล่วคล่องว่องไว โดยไม่มีผิดหรือคลาดเคลื่อนจากความจริ งในสิ่งนั้น พฤติกรรมแสดง
การกระทำหรื อการแสดงออก เช่น คล่องแคล่ว ว่องไว รวดเร็ว ประณี ต ทำงานได้อย่างละเอียดรอบคอบ เป็ นต้น
ตัวอย่างการแสดงออก นักเรี ยนสามารถใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ต่างๆในการทดลองได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้องตามหลักการ หรื อ เวลา
ทดลองวิทยาศาสตร์ นักเรี ยนสามารถบอกรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของการทำปฏิกริ ยาได้อย่างดีครบถ้วน
8. เจตคติหรือทัศนคติ หมายถึง ความเชื่อศรัทธาหรือเลื่อมใสในสิ่งหนึ่งสิ่งใดจนเกิดความพร้อมในจิตใจ สามารถประพฤติปฏิบตั ิตามได้
การจะมีเจตคติตอ้ งมี 2 อย่างคือ “ความรู้สึก” ที่พร้อมจะแสดงการตอบสนองออกไปแต่ยงั ไม่ได้แสดงออก และ “เป้ าเจตคติ” เป็ นเป้ าทั้งหลายแหล่ที่รับ
ความรู้สึก พฤติกรรมที่แสดงการกระทำหรื อการแสดงออก เช่น ตระหนัก เห็นคุณค่า ซาบซึ้ ง ศรัทธา พึงพอใจ ตั้งใจ เต็มใจ ฯลฯ
ตัวอย่างการแสดงออก นักเรี ยนทำงานเกินกว่าที่ครู กำหนดให้ทุกที เช่นให้ทำ แบบฝึ กหัดวิทยาศาสตร์มา 7 ข้อ ทำมา 10 ข้อ เป็ นต้น
9. ความรับผิดชอบ หมายถึง ความสามารถในการทำงานในสิ่งที่ได้รับมอบหมายได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี พฤติกรรมที่แสดงการกระทำหรื อ
การแสดงออก เช่น อาสา ทำงานโดยที่ไม่ตอ้ งบังคับหรื อ ควบคุม อดทน พยายาม ตรงเวลา ไม่ละเลยทอดทิ้งหรื อ หลีกเลี่ยงงาน ไม่ทอ้ ถอย ฯลฯ
ตัวอย่างการแสดงออก ถ้าให้นกั เรี ยนรับผิดชอบทำความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองและจัดเก็บอย่างเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ทำงานได้
แล้วเสร็จทันตามกำหนด เป็ นต้น

ประเภทของเครื่ องมือในการรวบรวมข้อมูล สำหรับการวิจยั ในชั้นเรี ยน

เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการวิจยั ในชั้นเรี ยนนั้น อาจใช้หลายๆ ชนิดในการรวบรวมข้อมูล เช่น แบบ


ทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบวัดคุณลักษณะ แบบวัดการปฏิบตั ิ แบบตรวจผลงาน เป็ นต้น
ขั้นตอนในการสร้างเครื่ องมือที่เป็ นระบบ คือ กำหนดจุดประสงค์และกรอบเนื้ อหาของข้อมูลที่ตอ้ งการกำหนดประเภทของคำถาม ร่ าง
แบบสอบถามหรื อกรอบ ตรวจสอบ ทดลองใช้ปรับปรุ ง
เครื่ องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีคุณภาพควรมีลกั ษณะสำคัญได้แก่ มีความเที่ยงตรง มีความเชื่อมัน่ มีความเป็ นปรนัย มีความยากง่าย
พอเหมาะ มีอำนาจจำแนก ฯลฯ การใช้เครื่ องมือรวบรวมข้อมูลมีความสำคัญต่อการวิจยั หลายประการคือ ความสามารถในการเปรี ยบเทียบผลการ
วิจยั ความสามารถในการควบคุม ความสามารถในการนำวิธีการทางสถิติมาใช้ รวมทั้งความเป็ นปรนัย ความแม่นยำ การสรุ ป และอ้างอิง ดังนั้นถ้า
ต้องการให้ผลการวิจยั ในชั้นเรี ยนมีความเชื่อถือมากยิง่ ขึ้นเครื่ องมือรวบรวมข้อมูลต้องมีคุณภาพ ซึ่งจะได้ให้รายละเอียดในการหาคุณภาพของเครื่ องมือ
รวบรวมข้อมูลแต่ละประเภทต่อไป สำหรับการวิเคราะห์โดยใช้สูตรเหล่านี้ ปัจจุบนั สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ง่ายโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำเร็จรู ป

1. แบบทดสอบ (Test)

แบบทดสอบเป็ นชุดของคำถามที่เป็ นตัวแทนพฤติกรรมที่ตอ้ งการจะทดสอบมักจะนำมาใช้ในการวัดทางด้านสติปัญญา แบบทดสอบที่

2 ประเภท คือ
นำมาใช้ แบ่งได้เป็ น

1.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ เป็ นแบบทดสอบวัดความรู้ที่เรี ยนมาว่ามีความรู้มากน้อยเพียงใด เช่น แบบทดสอบวัดผล

สัมฤทธิ์ วิชาวิทยาศาสตร์ รู ปแบบของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ มีหลายประการ ได้แก่ แบบเลือกตอบ แบบจับคู่ แบบถูกผิดหรื อเรี ยงความ แบบ

ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จะแบ่งได้เป็ น 2 พวก คือ แบบทดสอบที่สร้างขึ้นเองโดยครูผสู้ อนและแบบทดสอบมาตรฐานที่สร้างจากผูเ้ ชี่ยวชาญ


106

1.2 แบบทดสอบความถนัด เป็ นแบบทดสอบที่วดั ความสามารถของบุคคลที่นอกเหนือจากวิชาที่เรี ยนมาจากในห้องเรี ยน

แต่เป็ นการวัดความสามารถในการคิดหาเหตุผล การสรุ ปความ เป็ นต้น

หลักการสร้างข้อสอบที่ดี สรุ ปได้ดงั นี้

 ข้อสอบแบบอัตนัย ควรเป็ นข้อสอบที่มีคำถามที่กะทัดรัดชัดเจนแต่อย่าให้ส้ ันจนเกินไปเพราะคำถามที่ส้ ันเกินไปจะทำให้ผอู ้ ่านตีความ

ไปได้หลายประเด็น จนยากที่จะจับจุดที่ถามได้ และเพื่อให้ครู ผสู ้ อนตรวจคำตอบให้คะแนนได้อย่างถูกต้อง ข้อสอบแบบอัตนัยอาจ

อธิบายแนวทางที่ตอ้ งการคำตอบไว้จะทำให้ นักเรี ยนตอบได้ตรงแนวทางยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ครู ควรทำเฉลยและเกณฑ์การให้คะแนน

ไว้ล่วงหน้า

 ข้อสอบแบบเลือกตอบ
คำถามควรยึดหลัก คำถามชัดเจนเข้าใจง่าย แต่ละข้อความถามเพียงเรื่ องเดียว หลีกเลี่ยงคำถามประโยคปฏิเสธ หรื อปฏิเสธซ้อน

ปฏิเสธ ถ้าเป็ นปฏิเสธให้เน้นข้อความปฏิเสธ หลีกเลี่ยงการใช้คำถาม วลี หรื อเหมือนหนังสื อเรี ยน และไม่ไปแนะคำตอบในข้ออื่น

ตัวเลือกควรยึดหลัก สอดคล้องกับคำถาม ตัวเลือกที่ผิดหรื อตัวลวงจะต้องผิดอย่างมีเหตุผล ถ้าตัวเลือกเป็ นตัวเลขควรเรี ยงจาก

น้อยไปมาก หรื อมากไปน้อย ไม่มีลกั ษณะแนะคำตอบ และควรหลีกเลี่ยงใช้ตวั เลือกว่า “ถูกทั้งข้อ ก และ ข” หรื อ “ถูกทุกข้อ”

หรื อ”ไม่มีขอ้ ถูก”


ตัวอย่างแบบทดสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ
การทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐานที่ว่า “พื้นที่ผิวของของเหลวยิง่ มาก อัตราการระเหยยิง่ เร็วขึ้น” ผูท้ ดลองนำถาดทรงกระบอกที่มีความสู งเท่า
กันและมีพ้ืนที่หน้าตัด 40 60 ตารางเซนติเมตร 80 ตารางเซนติเมตร
ตารางเซนติเมตร มาเรี ยงกันแล้วริ นน้ำลงไปถาดละ 100 ลูกบาศก์
เซนติเมตร การวัดในข้อใดสามารถทดสอบสมมติฐานนี้ ได้ ?
1. ความจุของถาดแต่ละใบ
2. ระยะเวลาที่น้ำระเหยในแต่ละถาด
3. อุณหภูมิของน้ำในแต่ละถาดในเวลาเดียวกัน
4. ปริมาณของน้ำที่เหลือในแต่ละถาดในเวลาเดียวกัน
5. ความชื้นของอากาศรอบๆ ถาดแต่ละใบในเวลาเดียวกัน
ตัวอย่างแบบทดสอบชนิดอัตนัย
- มนุษย์ได้อะไรบ้างจากการเดินทางไปสำรวจดาวอังคาร ?
- จงให้เหตุผลว่าทำไมน้ำจึงไหลจากที่สูงลงสู่ ที่ต ่ำ ?
การหาคุณภาพของแบบทดสอบ

1. การวิเคราะห์ขอ้ สอบ (ltem Analysis) เป็ นการหาคุณภาพเป็ นรายข้อของแบบทดสอบโดยเอาผลที่ได้จากการสอบของ


นักเรี ยน มาวิเคราะห์คุณภาพเป็ นรายข้อโดยพิจารณาจากดัชนีค่าความยากหรื อดัชนีค่าความง่าย (Difficulty index . or Easiness
index) และดัชนีค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ (Discriminant index)
107

1.1 ดัชนีความยากของข้อสอบหรื อดัชนีค่าความง่ายของข้อสอบ เป็ นดัชนีที่แสดงถึงระดับความยากง่ายของข้อสอบซึ่งสามารถหาได้ ทั้ง


ข้อสอบแบบปรนัย และแบบอัตนัย

ในการวิเคราะห์น้ นั จะหาทั้งข้อสอบของแบบทดสอบแบบอิงกลุ่มและอิงเกณฑ์และการวิเคราะห์ขอ้ สอบของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ที่จะกล่าว

ในที่น้ ี

ดัชนีค่าความยากง่ายของข้อสอบ (P) ข้อสอบแบบอิงเกณฑ์จะพิจารณาค่าความยากง่ายของข้อสอบแตกต่างจากแบบอิงกลุ่ม โดยที่

ข้อสอบอิงเกณฑ์ในแต่ละข้อจะต้องมีค่าความยากง่ายน้อยกว่า 0.40 ก่อนที่นกั เรี ยนได้รับการสอนและเมื่อนักเรี ยนได้รับการสอนแล้ว ข้อสอบแต่ละข้อ

จะต้องมีค่าความยากง่ายมากกว่า 0.75 ทั้งนี้เป็ นเพราะว่าการวิเคราะห์ขอ้ สอบแบบอิงเกณฑ์ไม่ได้เน้นที่จะนำค่าความยากง่าย เพื่อมาเลือกข้อสอบแต่

เป็ นที่คุณภาพในการสอนของครู กล่าวคือ ถ้าครู ยงั ไม่ได้สอนเนื้ อหานั้น ข้อสอบควรจะยากคือ มีค่า P ต่ำกว่า0.40 แต่ถา้ ครูทำการสอนแล้วและครู
สอนดีนกั เรี ยนควรจะเรี ยนรู้ในเนื้ อหานั้นก็ควรจะทำข้อสอบนั้นได้ซ่ ึ งข้อสอบนั้นได้ ซึ่งข้อสอบควรง่ายคือมีค่ามากกว่า 0.75 ส่ วนการคำนวณ ใช้สูตร

R
P= N
เมื่อ P= ดัชนีความยากง่าย, R = จำนวนนักเรี ยนที่ทำข้อสอบถูก

N= จำนวนนักเรียนที่ทำข้อสอบทั้งหมด
1.2 ดัชนีค่าอำนาจจำแนก สำหรับอำนาจจำแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์น้นั จะเป็ นค่าอำนาจจำแนกระหว่างกลุ่มที่ยงั ไม่ได้รับการเรียนรู้
หรื อกลุ่มที่ยงั ไม่รู้ (Nonmaster) กับกลุ่มที่ได้รับการเรี ยนรู้ แล้วหรื อที่รู้แล้ว (Master) ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์ที่เช่นเดียว

กับข้อสอบอิงกลุ่มคือมีค่าอำนาจจำแนกอยูร่ ะหว่าง -1 ถึง +1 ในแนวความคิดของ ข้อสอบอิงเกณฑ์ไม่เน้นค่าอำนาจจำแนก เนื่องจากแบบทดสอบ

อิงเกณฑ์จะใช้ในการวัดผลในการเรี ยนการสอนแบบมีระบบ (Systematic instruction) เช่น การเรี ยนแบบรอบรู้ (Mastery

Learning) ซึ่งในการสอนชนิดนี้จะเน้นที่คุณภาพการสอนของครู ถ้าครูสอนดีนกั เรียนทุกคนจะเรียนรู้หมด นั้นคือมีคะแนนเต็มหรือใกล้เต็มหมด


เมื่อหาค่าอำนาจจำแนกจะมีค่าเป็ น 0 หรื อใกล้ 0 ทันที ดังนั้นดัชนีค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์ควรมีค่าเท่ากับหรื อมากว่า 0 มีการคำนวณ

ข้อสอบอยู่ 2 วิธี คือใช้สูตร Cox และ Vargas (1966) Tucker และ Vargas (1971) และ Vargas (1969)

และสูตรของ Brennan (1974) (อ้างใน ล้วน สายยศ อังคณา สายยศ, 2543) หรื อ ที่เรี ยกว่า สูตร B-Index ซึ่งการวิเคราะห์โดยใช้

สูตรเหล่านี้ปัจจุบนั สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลได้ง่ายโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำเร็ จรู ป

2.
ความเชื่อมัน่ (Reliability)ของแบบทดสอบ หมายถึง ความคงที่ของคะแนนที่ได้จากการสอบนักเรี ยนคนเดียวกันหลายครั้ง
ในแบบทดสอบชุดเดิม ซึ่งก็คือคุณสมบัติของแบบทดสอบที่สามารถให้คะแนนแก่ผสู ้ อบได้อย่างคงที่แน่นอนหรื อพูดง่าย ๆ คือวัดกี่ครั้งก็ได้คำตอบที่คงที่
เหมือนเดิม ค่าความเชื่อมัน่ จะมีค่าอยูร่ ะหว่าง -1 ถึง +1 และจะพิจารณาเฉพาะค่าที่เป็ นบวกเท่านั้นซึ่งควรมีค่ามากกว่า 0.70 จึงจะเป็ นแบบ

ทดสอบที่มีความเชื่อมัน่ ได้ การคำนวณจะหาในรู ปของการประมาณค่า หาในรู ปของสัมประสิ ทธิ์ ของความเชื่อมัน่ มักใช้สัญลักษณ์ r tt , r XX หรือ
rCC วิธีการหาดังนี้
2.1 ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบอิงกลุ่ม มีการหาค่าสัมประสิ ทธิ์ อยูด่ งั นี้
2.1.1 ความเชื่อมัน่ แบบความคงที่ของคะแนน วิธีน้ี เป็ นวิธีการทดสอบซ้ำ (Test-retest method) โดย
ทดสอบ 2 ครั้งในเครื่องมือวัดชุดเดียวกัน ว่าค่าเท่ากันเหมือนเดิมหรือไม่ ถ้าค่าเหมือนเดิม แสดงว่ามีความคงที่
ของคะแนน การหาความเชื่อมัน่ แบบนี้ เหมาะกับแบบทดสอบที่กำหนดเวลาในการสอบ(Speed test)
108

สำหรับการคำนวณใช้สูตร สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ของเปี ยร์สัน (Pearson product moment


coefficient correlation) คือ

N  xy   x y
r tt = [N  x 2
   x  ][ N  y 2    y  ]
2 2

เมื่อ r tt คือ สัมประสิ ทธิ์ ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ

N คือ จำนวนนักเรี ยนที่เข้าสอบ


x คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนของการสอบครั้ งแรก
x
2
คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสองของการสอบครั้งแรก
y คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนของการสอบครั้งที่สอง
y
2
คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนนแต่ละตัวยกกำลังสองของการสอบครั้งที่สอง

2.1.2 ความเชื่อมัน่ โดยใช้แบบทดสอบที่เหมือนกัน 2 ฉบับ เป็ นการใช้ขอ้ สอบคู่ขนานไปทดสอบกับนักเรี ยนกลุ่ม


เดียวกัน การหาความเชื่อมัน่ แบบนี้ เหมาะกับแบบทดสอบที่กำหนดเวลาในการสอบ (Speed test) โดย
ใช้ สูตรสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ของเปี ยร์สัน เช่นเดียวกับข้อ 2.1.1
2.1.3 ความเชื่อมัน่ โดยความสอดคล้องภายใน เป็ นการหาความเชื่อมัน่ ที่ใช้แบบทดสอบฉบับเดียวทำการทดสอบเพียง
ครั้งเดียว วิธีน้ ี การเหมาะสำหรับแบบทดสอบที่มีการสอบเพียงครั้ งเดียว และเป็ นแบบทดสอบที่วดั ในสิ่ ง
เดียวกันหรื อเป็ นแบบทดสอบที่เป็ น เอกพันธ์ หาความเชื่อมัน่ ได้หลายวิธี ได้แก่
วิธีที่ 1
วิธีแบ่งครึ่ งแบบทดสอบ (split – half method ) วิธีน้ ี จะแบ่งแบบทดสอบเป็ นสองส่ วนโดยแบ่งให้
แต่ละส่ วนมีลกั ษณะเป็ นคู่ขนาน จึงนิยมแบ่งเป็ นฉบับข้อคู่กบั ข้อคี่ เช่น เครื่ องมือเป็ นแบบทดสอบวิทยาศาสตร์ เมื่อวิเคราะห์หา
ค่าความยากเป็ นรายข้อแล้ว ก็เรี ยงข้อสอบจากข้อง่ายไปยัง ข้อยากแล้วนำไปสอบกับนักเรี ยน เมื่อสอบเสร็จแล้วก็ตรวจให้
คะแนนโดยแยกเป็ นคะแนนข้อคูก่ บั คะแนนข้อคี่แล้วนำมาหาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนข้อคู่กบั คะแนนข้อคี่ โดยใช้สูตร
สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ของ เปี ยร์สันเช่นเดียวกับสูตรในข้อ 2.1.1
หน้า 111 (
จะได้ค่าความเชื่อมัน่ เพียงครึ่ งฉบับ
r1
2
) จากนั้นไปหาค่าความเชื่อมัน่ ของทั้งฉบับโดย ใช้สูตรขยายของสเปี ยร์แมนบราวน์ ( Spearman-Brown
formula) คือ
2r 1

r tt = 1  r1
2

r tt คือ ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบทั้งฉบับ


r1
2
คือ ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบครึ่ งฉบับ

วิธีที่ 2 (kuder – Richardson Procedure) ใช้สูตร KR.20


วิธีของคูเดอร์ – ริ ชาร์ดสัน หรื อ
KR.21 ซึ่งสูตรทั้งสองนี้ตอ้ งตรวจให้คะแนนในลักษณะที่ทำถูกได้ 1 คะแนน ทำผิดได้ 0 คะแนน
เท่านั้น
วิธีที่ 3 วิธีของครอนบัค (Cronbach alpha procedure) ซึ่งเป็ นการพัฒนาจากสูตร KR.20 ใน
รู ปของสัมประสิ ทธิ์ แอลฟา (  -Coefficient) ซึ่งสามารถตรวจให้คะแนนลักษณะใดก็ได้
109
แล้วนำมาหาค่าความเชื่อมัน่ ดังนั้นสูตรนี้ จึงใช้หาความเชื่อมัน่ ของ แบบสอบถาม ได้เช่นกันเนื่องจาก
แบบสอบถามส่ วนใหญ่ที่ใช้กนั จะมีมาตราวัดตั้งแต่ 2 ค่า ขึ้นไป
 k 
   i2 

สูตร = k 1
1 
 2


 
เมื่อ  คือ สัมประสิ ทธิ์ ความเชื่อมัน่
k คือ จำนวนข้อสอบ
 i2 คือ คะแนนความแปรปรวนเป็ นรายข้อ
2
 คือ คะแนนความแปรปรวนของทั้งฉบับ

วิธีที 4 วิธีของฮอยท์ (Hoyt‘s Anova Procedure) การหาค่าความเชื่อมัน่ โดยวิธีน้ ี เหมาะสำหรับเครื่ องมือ

ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลประเภทตรวจให้คะแนนต่างๆ กันในแต่ละข้อ เช่น แบบทดสอบอัตนัย ใช้วิธีการวิเคราะห์

ความแปรปรวน โดยมีสูตร

MS E
rtt = 1
MS p

เมื่อ r tt คือ ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบทั้งฉบับ

MSE (Error)
คือ คะแนนความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อน

MSP
คือ คะแนนความแปรปรวนระหว่างคน (Between people)

2.1.4 ความเชื่อมัน่ ที่มีผใู้ ห้คะแนนมากกว่า 1 คน เป็ นการหาความเชื่อมัน่ ที่ใช้แบบทดสอบฉบับเดียวทำการทดสอบ


เพียงครั้งเดียว และมีผตู ้ รวจให้คะแนนมากกว่า 1 คน เช่น แบบทดสอบเรี ยงความ ซึ่งหาในรู ปของสัมประสิ ทธิ์ การสรุ ปอ้างอิง

(Generalizability Coefficient : p 2 ) โดยมีสูตรการคำนวณดังนี้


 p2
ρ 2
=  p2   i2   e2
เมื่อ ρ 2 คือ สัมประสิ ทธิ์ ความเชื่อมัน
่ หรื อสัมประสิ ทธิ์ การสรุ ปอ้างอิง
 p2 คือ การประมาณค่าคะแนนความแปรปรวนของผูส้ อบ

 i2 คือ การประมาณค่าคะแนนความแปรปรวนของผูใ้ ห้คะแนน


 e2 คือ การประมาณค่าคะแนนความคลาดเคลื่อนความแปรปรวน

2.2 (
ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ อ้างใน ล้วน สายยศ อังคณา สายยศ , 2543)
หมายถึงผลของคะแนนที่สอบได้มีความคงที่ในการเป็ นผูร้ อบรู้หรื อไม่รอบรู้ในเรื่ องที่สอนซึ่งมีวิธีหาอยูห่ ลายวิธี

2.2.1 ความเชื่อมัน่ แบบหาความคงที่ของความรอบรู้(Stability reliability)


2.2.2 ความเชื่อมัน่ แบบความสอดคล้องในการตัดสินใจ(Decision consistency)
2.2.3 การหาความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบอิงเกณฑ์จากการทดสอบเพียงครั้งเดียว มีหลายวิธี
วิธีที่ 1 ความเชื่อมัน่ จากสูตรลิวิงสตัน (Livingston, 1972)

วิธีที่ 2 ความเชื่อมัน่ จากสูตรไบโนเมียล (Binomial formula) ของโลเว


110

(Lovett, 1975)
วิธีที่ 3 ความเชื่อมัน่ โดยใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวน

วิธีที่ 4 ความเชื่อมัน่ โดยใช้วิธีแบ่งครึ่ งแบบทดสอบ วิธีน้ ี จะหาค่าความ เชื่อมัน่ โดยใช้สูตร สเปี ยร์แมน บราวน์

(Speaman Brown) เช่นเดียวกับการหาความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบอิงกลุ่ม ข้อ 2.1.3

วิธีที่ 1 หน้า 112 หรื อใช้สูตรปรับแก้ของแองกอฟล์ (Angoff, 1953)


r12 σ 2
rcc = ( 1  r12  2 )(  2  r12 1 )
เมื่อ  2 คือ ความแปรปรวนของแบบทดสอบทั้งฉบับ
1 คือ ความเบี่ยงเบนของข้อสอบข้อคู่  2 คือ ความเบี่ยงเบนของข้อสอบข้อคี่
r12 คือ สหสมพันธ์ระหว่างข้อสอบข้อคู่กบั ข้อคี่

3. ความเที่ยงตรง (Validity) เป็ นคุณภาพของแบบทดสอบที่หมายถึง แบบทดสอบที่สามารถวัดได้ตรงตามลักษณะหรื อจุดประสงค์

ที่ตอ้ งการจะวัด ซึ่งเป็ นคุณสมบัติที่สำคัญของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ความถนัด เจตคติ จริ ยธรรม บุคลิกภาพ และอื่นๆ แบบทดสอบทุกฉบับจะต้องมี

คุณภาพด้วยความเที่ยงตรงจึงจะเชื่อได้ว่าเป็ นแบบทดสอบที่ดี และผลที่ได้จากการวัดจะถูกต้องตรงตามที่ตอ้ งการ

ความเที่ยงตรงในการวัดจำแนกตามคุณลักษณะหรื อจุดประสงค์ที่ตอ้ งการวัด แบ่งได้เป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ


1. (Content Validity)
ความเที่ยงตรงตามเนื้ อหา
2. ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion – Related Validity)
3. ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity)
การหาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แบบอิงกลุ่มและอิงเกณฑ์ส่วนใหญ่จะเหมือนกัน
2.3 ความเที่ยงตรงตามเนื้ อหา หมายถึง เครื่ องมือที่สามารถวัดได้ตามเนื้ อหาที่ตอ้ งการวัด และในการพิจารณาความเที่ยงตรงชนิดนี้

(rational analysis) ในที่น้ีได้เสนอวิธีการหาค่าโดยใช้ค่า IOC ซึ่งเป็ นสูตรของโลวิ


จะใช้การวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล

เนลลี และแฮมเบลตัน (Rowinelli and Hambleton , 1977 อ้างใน ล้วน สายยศ อังคณา สายยศ, 2543)

การวิเคราะห์ดชั นีความสอดคล้องของแบบทดสอบกับจุดประสงค์

(IOC : INDEX OF ITEM OBJECTIVE CONGRUENCE)


เครื่ องมือวัดผลที่ใช้ในการวัดผลประเมินผลนักเรี ยน ส่ วนมากจะเป็ นแบบทดสอบที่ครู สร้างขึ้ นเอง (Teacher made

test) ดังนั้นก่อนนำแบบทดสอบที่สร้างขึ้นตามจุดประสงค์ไปใช้วดั ผลกับนักเรี ยนที่สอน ครู ผสู ้ อนควรจะต้องมีการหาคุณภาพของ แบบทดสอบ

เบื้องต้นอย่างง่ายๆ ดังนี้

1. นำแบบทดสอบกับจุดประสงค์ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญหรื อผู้รู้ดา้ นการวัดผลและเนื้ อหา 3–5 คน พิจารณาว่าแบบทดสอบสอดคล้องจุด

ประสงค์หรื อไม่ โดยกำหนดคะแนนความเห็นดังนี้

+1 แน่ใจว่าแบบทดสอบสอดคล้องจุดประสงค์

0 ไม่แน่ใจว่าแบบทดสอบสอดคล้องจุดประสงค์

-1 แน่ใจว่าแบบทดสอบวัดไม่สอดคล้องจุดประสงค์

2. นำคะแนนของผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละคนมาคำนวณจากสูตรดังนี้
111

IOC = N
R

เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์


R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ

N แทน จำนวนผูเ้ ชี่ยวชาญ

3. กำหนดเกณฑ์การยอมรับว่าแบบทดสอบข้อนั้น วัดได้ตรงจุดประสงค์จากค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ขึ้นไป


4. จัดทำแบบประเมินให้ผเู ้ ชี่ยวชาญประเมินพร้อมข้อเสนอแนะ ดังตัวอย่าง

ชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญ ………………………………………………

ข้อที่ คะแนนของผูเ้ ชี่ยวชาญ


จุดประสงค์ ข้อเสนอแนะ
-1 0 +1

5. นำแบบประเมินทีไ่ ด้จากการประเมินของผูเ้ ชี่ยวชาญมาทำการวิเคราะห์ ดังตัวอย่าง


ตัวอย่าง ตารางการวิเคราะห์ดชั นีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์ (IOC)
ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญทั้งด้านการวัดผลและเนื้ อหาพิจารณาแบบทดสอบ โดยกำหนดคะแนนดังนี้
ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 1 ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 2 ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 3 คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย
จุดประสงค์ ข้อที่
-1 0 +1 -1 0 +1 -1 0 +1

3.2 ความเที่ยงตรงเกณฑ์สัมพันธ์ หมายถึง คุณภาพของเครื่ องมือที่เอาผลการวัดของแบบทดสอบไปหาความสัมพันธ์ก บั เกณฑ์ที่


ต้องการ เช่น เกณฑ์เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ หรื อผลการเรี ยนในปัจจุบนั เกณฑ์เกี่ยวกับผลการทำงานหลังจากเรี ยนสำเร็ จไปแล้ว เพื่อไว้
ในการพยากรณ์ ดังนั้นจึงจำแนกเป็ น 2 ชนิดคือ

2.4 1) ความเที่ยงตรงเชิงสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึง ความเที่ยงตรงที่เอาผลการวัดของแบบทดสอบที่


สร้างขึ้นไปหาความสัมพันธ์กบั เกณฑ์ในสภาพปัจจุบนั เช่น คะแนนของแบบทดสอบที่วดั ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบความเป็ นก

รดและเบสไปหาความสัมพันธ์กบั คะแนนการการทดสอบความเป็ นกรดและเบสในเชิงปฎิบตั ิในปัจจุบนั ถ้าผลปรากฎว่ามีความ

สัมพันธ์กนั สูง ก็แสดงว่าแบบทดสอบวัดความรู้เกี่ยวกับการทดสอบความเป็ นกรดและเบสมีความเที่ยงตรงเชิงสภาพสูง กล่าวคือ

คนที่จะการทดสอบความเป็ นกรดและเบสเป็ นจะทำแบบทดสอบวัดความรู้ได้ สูตรในการหาถ้าเป็ นแบบทดสอบอิงกลุ ่ม จะใช้

สูตรของสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ของเปี ยร์สัน และถ้าแบบทดสอบอิงเกณฑ์ความเที่ยงตรงเชิงสภาพหมายถึง แบบทดสอบอิง


112

(Master) และไม่รอบรู้ (Nonmaster) ของนักเรียน และใช้เกณฑ์ของชรอค และ


เกณฑ์ที่สามารถวัดความรอบรู้

คอสแคร์ลี่ (Shrock and coscarelli, 1989 อ้างใน อ้างใน ล้วน สายยศ อังคณา สายยศ, 2543)

2) ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) หมายถึง ความเที่ยงตรงที่ได้มาจากเอาผลการวัดของแบบ


ทดสอบที่สร้างขึ้นไปคำนวณหาความสัมพันธ์กบั เกณฑ์ในอนาคต เพื่อที่จะเอาผลการสอบไปพยากรณ์ผลสำเร็ จในอนาคต
3.3 ตามเที่ยงตรงตามโครงสร้าง หมายถึง คุณภาพของเครื่ องมือที่สามารถวัดได้ตรงตามลักษณะหรื อตามทฤษฎีต ่างๆ ของโครงสร้างหรื อ
วัดได้ครอบคลุมตามลักษณะของโครงสร้างของแบบทดสอบมาตรฐาน การคำนวณค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างทั้งแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ อิงกลุ่มหรื ออิงเกณฑ์ มีวิธีการคำนวณเหมือนกันซึ่งในการคำนวณใช้สูตรได้หลายวิธี เช่น คำนวณจากค่าความสัมพันธ์จากสูตร
สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ เป็ นต้น

2. แบบสอบถาม (Questionnaire)

แบบสอบถาม เป็ นเครื่ องมือวัดที่นิยมใช้ก นั มากในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามเป็ นชุดของข้อคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อ


รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลในด้านต่างๆ เช่น ข้อเท็จจริ ง ความรู้สึก ความคิดเห็น ค่านิยม ความเชื่อ การประเมินสภาพ การประเมินการปฏิบตั ิ
โดยให้บุคคลตอบในแบบสอบถาม
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม
1) กำหนดวัตถุประสงค์ของการสร้างแบบสอบถาม
2) ระบุเนื้ อหาหรื อประเด็นหลักที่จะถามให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ที่จะประเมิน
3) กำหนดประเภทของคำถามโดยอาจจะเป็ นคำถามปลายเปิ ดหรื อปลายปิ ด
4) ร่ างแบบสอบถาม โครงสร้างของแบบสอบถามอาจแบ่งเป็ น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น
ตอนที่ 2 ข้อมูลทัว่ ไป
ตอนที่ 3 ข้อมูลหลักเกี่ยวกับเรื่ องที่จะถาม
5) ตรวจสอบข้อคำถามว่าครอบคลุมเรื่ องที่จะวัดตามวัตถุประสงค์หรื อไม่
6) ให้ผเู ้ ชี่ยวชาญตรวจสอบความตรงตามเนื้ อหาและภาษาที่ใช้
7) ทดลองใช้แบบสอบถามเพื่อดูความเป็ นปรนัย ความเชื่อมัน่ และเพื่อประมาณเวลาที่ใช้
8) ปรับปรุ งแก้ไข
9) จัดพิมพ์และทำคู่มือ

ตัวอย่างแบบสอบถาม

คำชี้แจง แบบสอบถามฉบับนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อรวบรวมความคิดเห็นนักเรี ยนเกี่ยวกับ การใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต สำหรับใช้เป็ นประโยชน์ต่อการ


พัฒนาการเรี ยน การสอนต่อไป

ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
1. เพศ ( ) 1. ชาย ( ) 2. หญิง
2. ระดับชั้น ม. …………………………………
113

ตอนที่ 2 การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนของครู เรื่ อง ทักษะการสังเกตให้นกั เรี ยนพิจารณารายการต่อไปนี้ โดยใช้ขอ้ มูลช่วงที่มีการใช้ชุดฝึ กทักษะการ
สังเกตในการเรี ยนการสอนที่ผา่ นมา โดยทำเครื่ องหมาย  ลงในช่องที่ตรงกับความ คิดเห็นของนักเรี ยนมากที่สุด

ระดับการปฏิบตั ิ
ข้อที่ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด

1 ครู มีกิจกรรมให้นกั เรี ยนได้ทบทวนความรู้และประสบการณ์เดิม

2 ครู จดั กิจกรรมให้นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิทดลองจริ ง

3 ครู สอนโดยใช้การบรรยาย

4 ครู เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้อภิปรายร่ วมกัน

5 ครู จดั ให้นกั เรี ยนได้นำเสนอผลงาน

ฯลฯ

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจของนักเรี ยน

ให้นกั เรี ยนพิจารณารายการต่อไปนี้ แล้วแสดงความเห็นว่ามีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใดในแต่ละรายการ โดยทำเครื่ องหมาย  ลงใน

ช่องที่ตรงกับความรู้สึกของนักเรี ยนมากที่สุด

ระดับความพึงพอใจ

ข้อที่ รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ที่สุด กลาง ที่สุด

1 นักเรี ยนได้ปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ตามขั้นตอนในชุดฝึ กทักษะการสังเกตด้วย

ความเข้าใจ

2 กิจกรรมในชุดฝึ กทักษะการสังเกต มีเวลาให้ นักเรี ยนได้ฝึกอย่างเหมาะสม

3 เนื้ อหาสาระในชุดฝึ กทักษะการสังเกต มีประโยชน์ต่อการเรี ยนรู้ของนักเรี ยน

4 นักเรี ยนสามารถนำเอาทักษะการสังเกตไปใช้ในชีวิตประจำวัน

5 นักเรี ยนมีทกั ษะการสังเกตเพิ่มขึ้น หลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต

ฯลฯ

ตอนที่ 4 โปรดแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะ หลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต


114

1. ..
สิ่ งที่นกั เรี ยนประทับใจมากที่สุด คือ ……………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..
2. สิ่งที่นกั เรียนต้องการให้มีการแก้ไขปรับปรุงในชุดฝึ กทักษะการสังเกต …………………
…………………………………………………………………………………………..
3. สิ่งที่นกั เรียนได้เกิดการเรียนรู้และนำไปใช้ประโยชน์มากที่สุด ………………………….
…………………………………………………………………………………………..
4. สิ่งที่นกั เรียนต้องการให้มีการพัฒนาการเรียนการสอนคือ ……………………………….
ฯลฯ

การหาคุณภาพของแบบสอบถาม

1) อำนาจจำแนก (Discrimination)
อำนาจจำแนกของข้อความหรื อรายการของคำถามในแบบสอบถาม หมายถึงดัชนีที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับผล
รวมของคะแนนข้ออื่นๆ หรื อคะแนนรวมที่ไม่ได้รวมคะแนนของข้อนั้นๆ เข้าไปด้วยหรื อหมายถึงคุณสมบัติของข้อความหรื อรายการของคำถามที่สามารถ
จำแนกผลรวมของคะแนนทุกข้อ หรื อคะแนนรวมของแบบสอบถามทั้งฉบับออกจากกันระหว่างกลุ่มที่ได้คะแนนสูงกับกลุ่มที่ได้คะแนนต่ำ ซึ่งวิธีการ
คำนวณหาค่าที่น้ ี เสนอวิธีจากการทดสอบนัยสำคัญทางสถิติของความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มที่ได้คะแนนสูงกับกลุ่มที่ได้คะแนนต่ำ โดยใช้สูตร t-
test โดยใช้กลุ่มคะแนนรวมจากแบบสอบถามทั้งฉบับสู ง และกลุ่มคะแนนรวมจากแบบสอบถามทั้งฉบับต่ำ กลุ่มละ 25% ของจำนวนผูต้ อบ
แบบสอบถามทั้งหมดมาหาค่า t กลุ่มคะแนนรวมสูง มีค่าเฉลี่ยของคะแนนในข้อใดๆ สูงกว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนในข้อนั้นของกลุ่มคะแนนรวมต่ำ
(
อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติก็แปลความหมายว่าข้อความหรื อรายการของคำถามในข้อนั้นๆ มีอำนาจจำแนก แต่ตำราบางเล่ม หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญ
ศึกษา ชุดฝึ กอบรมด้วยตนเอง การประเมินโครงการสำหรับหัวหน้าหมวดวิชาในโรงเรี ยนมัธยมศึกษา เล่ม 10, 2539:50) กำหนด ค่า t มีค่าตั้งแต่
2.00 ขึ้นไป แปลความหมายว่า รายการหรือประเด็นของคำถามในข้อนั้นมีอำนาจจำแนก
2) ความเชื่อมัน่ (Reliability) ของแบบสอบถาม หมายถึง คุณสมบัติของแบบ สอบถามในด้านความสามารถในการวัดสิ่งต่างๆ
ที่ตอ้ งการวัดได้อย่างคงที่แน่นอน หรื อ คงเส้นคงวา (Consistency)ซึ่งมีหลายวิธี และวิธีหาใช้สูตรการหาเช่นเดียวกับการหาความเชื่อมัน่ ของ
แบบทดสอบแบบอิงกลุ่ม นิยมใช้มากคือ วิธีของ ครอนบัค (Cronbach alpha procedure)
3) ความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถาม หมายถึง คุณสมบัติของแบบ สอบถามในด้านความสามารถในการวัดสิ่งต่างๆ ที่
ต้องการวัดได้สอดคล้องตรงกันกับความต้องการหรื อจุดมุ่งหมายของการวัด ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามเป็ นความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
(Construct Validity) ซึ่งนอกจากผูว้ ิจยั จะหาได้จากการใช้ดุลยพินิจของ ผูว้ ิจยั เอง โดยการพิจารณาจากวิธีการสร้างข้อความหรื อรายการ
ของคำถาม ที่คำนึงถึง หรื อยึดถือการเปรี ยบเทียบกับนิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจยั แล้วผูว้ ิจยั ยังสามารถหาความเที่ยงตรงตามโครงสร้างของ
แบบสอบถามที่ใช้ในการวิจยั ได้ โดยการนำข้อความหรื อรายการของคำถามในแบบสอบถามที่สร้างขึ้น พร้อมนำโครงการวิจยั นิ ยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ใน
การวิจยั วิธีการและกระบวนการในสร้างข้อความหรื อรายการของคำถามตลอดจน รายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของการวิจยั ไปขอความ
(Expert)
อนุเคราะห์จากผูท้ รงคุณวุฒิหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญ ที่มีความรอบรู้ในด้านเนื้ อหา สาระของปัญหาการวิจยั ในการให้ความเห็นและตัดสิ นสรุ ป
ความเที่ยงตรงตาม โครงสร้างของแบบสอบถาม โดยการวัดความสอดคล้องระหว่างข้อความหรื อรายการของคำถามกับนิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจยั
หรื อจุดหมายที่ใช้ในการสร้างแบบสอบถาม ซึ่งก็เป็ นการหาค่า IOC นัน่ เองเหมือนกับการหาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ นอกจากนี้ ยงั มี
อีกหลายวิธีที่หาความ เที่ยงตรงของแบบสอบถามได้

3. แบบสัมภาษณ์ (Interview form)


115

แบบสัมภาษณ์ เป็ นรายการคำถามที่กำหนดเรื่ องราวไว้เป็ นแนวในการถามว่าต้องการถามอะไรบ้าง คล้ายแบบสอบถามต่างกันตรงที่

การสัมภาษณ์ที่จะต้องไปพบปะสนทนากับผูใ้ ห้สัมภาษณ์และอภิปรายรายละเอียดให้ผตู ้ อบ ตอบให้ตรงคำถาม ส่ วนแบบสอบถามไม่มีการพบปะระหว่างผู ้

ประเมินกับผูต้ อบ ดังนั้นในการตอบแบบสอบถามขึ้นอยูก่ บั ข้อคำถามว่าจะสร้างให้ผตู ้ อบเข้าใจได้มากน้อยเพียงใด การสัมภาษณ์ผสู ้ ัมภาษณ์จะทำการ

บันทึกคำตอบลงในแบบสัมภาษณ์ที่กำหนดไว้ แบบสัมภาษณ์เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่นบั ว่าให้ขอ้ มูลที่เป็ นจริ งและมีความละเอียดตาม

วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ เพราะสามารถถามได้ลว้ งลึก และการสัมภาษณ์น้ นั มิใช่การพูดคุยกันเพียงอย่างเดียว หากแต่เป็ นการเผชิญหน้ากัน จึงทำให้ครู

สามารถสังเกตกิริยาท่าทาง ลักษณะทางร่ างกายการแสดงพฤติกรรม ท่วงทีการพูดโต้ตอบ ผิวพรรณ ได้อีกด้วย

แบบสัมภาษณ์แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ


1) การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured interview) เป็ นการสัมภาษณ์ที่ไม่ได้กำหนดคำถามไว้แน่นอน การ
สัมภาษณ์จะยืดหยุน่ เปิ ดกว้างไม่เป็ น ทางการ การสัมภาษณ์แบบนี้ มีความเป็ นมาตรฐานน้อย แต่การสัมภาษณ์ก็จะกำหนดหัวข้อของ

เรื่ องที่ตอ้ งการสัมภาษณ์เอาไว้ ดังนั้นการสัมภาษณ์แบบนี้ ผูส้ ัมภาษณ์จะต้องมีความสามารถ ความเฉลียวฉลาด มีความชำนาญ

ประสบการณ์ จึงจะทำให้การสัมภาษณ์ได้ขอ้ มูลออกมาจากผูถ้ ูกสัมภาษณ์ได้อย่างเพียงพอและเที่ยงตรง ตามจุดมุ่งหมายที่กำหนด

2) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview) เป็ นการสัมภาษณ์ที่เป็ นมาตรฐานการสัมภาษณ์ ผูส้ ัมภาษณ์จะ


สัมภาษณ์ตามคำถามที่กำหนดไว้แล้ว จึงเป็ นการสัมภาษณ์ที่เป็ นแบบเตรี ยมการไว้ล ่วงหน้าทุกอย่าง เช่น คำถาม จำนวนข้อคำถาม

ลักษณะข้อดีของการสัมภาษณ์แบบนี้ คือ ไม่ตอ้ งใช้ผสู ้ ัมภาษณ์ที่มีความสามารถสูงมากนัก เพราะสัมภาษณ์ไปตามกรอบและข้อ คำถาม

ที่กำหนด การจัดหมวดหมู่ของข้อมูลง่าย สรุ ปได้ง่ายและใช้เวลาในการสัมภาษณ์ได้เหมาะสม

หลักการสัมภาษณ์

การสัมภาษณ์ในการวิจยั ในชั้นเรี ยน จะต้องทำอย่างเป็ นระบบ มีหลักเกณฑ์จึงจะทำให้ได้ขอ้ มูลถูกต้อง เที่ยงตรงและครบถ้วนตาม

วัตถุประสงค์ ควรมีหลักการสัมภาษณ์ ดังนี้

1) การเตรี ยมการก่อนสัมภาษณ์ ก่อนการสัมภาษณ์ ผูส้ ัมภาษณ์จะต้องเตรี ยมการ และวางแผนการสัมภาษณ์ท้ ังหมดไว้ล่วงหน้า เช่น

- วัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์

- เครื่ องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการสัมภาษณ์

- การวางแผนการสัมภาษณ์ เช่น สถานที่ จำนวนที่สัมภาษณ์ เป็ นต้น

- ถ้าครู จะให้นกั เรี ยนเป็ นผูส้ ัมภาษณ์ตอ้ งสร้างความเข้าใจในวิธีการทั้งหมดก่อน

2) การเริ่ มต้นสัมภาษณ์ ก่อนการสัมภาษณ์ครู ผสู ้ ัมภาษณ์ควรบอกจุดมุ่งหมาย สร้างความเป็ นมิตร สนิทสนม โดยสนทนาในเรื่ องที่คาด

ว่านักเรี ยนผูใ้ ห้สัมภาษณ์จะสนใจ โดยใช้เวลาน้อย

3) การดำเนินการสัมภาษณ์

3.1 ผูส้ ัมภาษณ์ตอ้ งมีกิริยาสุภาพเรี ยบร้อย ยิม้ แย้มแจ่มใส

3.2 พยายามตะล่อมให้ตรงประเด็น เป็ นลักษณะผูฟ้ ังให้มาก แต่ตอ้ งอยูใ่ นกรอบเนื้ อหาที่ตอ้ งการข้อมูล

3.3 ใช้ภาษาง่าย ชัดเจน


116

3.4 อย่าใช้คำถามชี้นำคำตอบ
3.5 จดบันทึกคำตอบให้เร็ว
3.6 ถ้าสัมภาษณ์ใช้เวลา ควรหาวิธีผอ่ นความตึงเครี ยด
3.7 ไม่ใช่คำพูดในลักษณะสั่งสอนนักเรียนผูใ้ ห้การสัมภาษณ์ ใช้คำพูดที่เป็ นกันเอง ให้ความสนใจในขณะที่ผใู ้ ห้การสัมภาษณ์ พูด

คุย ไม่ใช่สัมภาษณ์แบบต้องการจับความผิดนักเรี ยน จนกระทัง่ นักเรี ยนผูใ้ ห้สัมภาษณ์ไม่ได้พดู คุยมากเท่าที่ควร

3.8 หากสัมภาษณ์เป็ นกลุ่ม ควรพูดคุยซักถามตามที่ตกลงกันในกลุ่มนักเรียน ผูใ้ ห้การสัมภาษณ์ว่าให้ใครก่อน


3.9 ในขณะสัมภาษณ์หรือพูดคุย ผูส้ ัมภาษณ์ไม่ควรแสดงอาการเบื่อหน่าย น่ารำคาญ
3.10 ถ้าเป็ น เรื่องที่ตอ้ งการสัมภาษณ์ เป็ นความลับ หรือเรื่องส่วนตัว ควรจัดสถานที่สัมภาษณ์เฉพาะ และให้พดู คุยเรื่องอย่างเป็ น
ปกติ ถ้าเป็ นเรื่ องที่มีผลในด้านลบต่อเรี ยนรู้ของนักเรี ยน ก่อนจบการสัมภาษณ์ครู ควรชี้ แนะ ให้คำปรึ กษาแนะนำ ให้ความ

อบอุ่น กำลังใจ ให้ขอ้ คิด ฯลฯ กับนักเรี ยน

3.11 กล่าวแสดงความขอบคุณเมื่อสัมภาษณ์เสร็จเรี ยบร้อยแล้ว

ข้อดีของการสัมภาษณ์

การรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ดีกว่าวิธีอื่นหลายประการ โดยเฉพาะ

1) ได้รับคำตอบจากผูใ้ ห้สัมภาษณ์อย่างครบถ้วนทั้งจำนวนและลักษณะข้อมูลที่ตอ้ งการ

2) ข้อมูลที่ได้มีความคลาดเคลื่อนน้อยเชื่อถือได้มาก เพราะสัมภาษณ์และเห็นมาโดยตรง

3) สร้างความเชื่อมัน่ ให้แก่ท้ งั ผูใ้ ห้สัมภาษณ์และผูว้ ิจยั

4) หลักการสัมภาษณ์แล้วเป็ นการสร้างความสัมพันธ์เข้าใจกันดีข้ ึน

5) เป็ นวิธีที่สามารถแยกข้อเท็จจริ ง ความเห็น และอารมณ์ออกจากกันได้

6) รวบรวมข้อมูลได้เกือบทุกลักษณะทั้งที่เป็ นข้อมูลส่ วนตัว ข้อมูลที่ยงุ่ ยาก ซับซ้อนหรื อข้อมูลที่แอบแฝงด้วยอารมณ์ ความรู้สึกของ

ผูใ้ ห้สัมภาษณ์

7) เป็ นวิธีที่ทำให้ได้ขอ้ เท็จจริ งเพิ่มเติมจากที่ตอ้ งการ ด้วยการสังเกตสี หน้า ท่าทาง การพูดและคำตอบด้วย

8)
ในขณะสัมภาษณ์ ถ้าสงสัยข้องใจอะไรสอบถามทบทวนกันได้ทนั ที และทำให้เข้าใจกันได้ทุกประเด็นก่อนตอบ
ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์

คำชี้แจง แบบสัมภาษณ์ฉบับนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ในการรวบรวมความคิดเห็นของ นักเรี ยนเกี่ยวกับการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกต สำหรับใช้เป็ น


ประโยชน์ในการพัฒนาการเรี ยนการสอน

ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป

1. ชื่อ – สกุล ผูถ้ กู สัมภาษณ์ ………………………………………………………… .


2. ระดับชั้น ม . …………………โรงเรียน ……………………………………………

ตอนที่ 2 แบบสัมภาษณ์น้ ี ใช้สัมภาษณ์โดยครู ผสู ้ อนหลังจากที่นกั เรี ยนได้ใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกตเสร็จสิ ้ นแล้ว โดยมีขอ้ คำถามในการสัมภาษณ์ดงั นี้
117
รายการข้อคำถาม คำตอบการสัมภาษณ์
1. นักเรียนได้ทำกิจกรรมอะไรบ้างใน ชุดฝึ กทักษะการสังเกต

2. กิจกรรมในชุดฝึ กทักษะการสังเกตมีความเหมาะสมกับการเรียนรู้ของ
นักเรี ยนไหม ?

3. นักเรียนคิดว่ากิจกรรมในชุดฝึ กทักษะการสังเกตมีประโยชน์หรือไม่
อย่างไร ?

4. นักเรียนจะนำทักษะการสังเกตไปใช้ได้ในโอกาสใดบ้าง ?

5. นักเรียนคิดว่าหลังการใช้ชุดฝึ กทักษะการสังเกตนี้แล้วมีทกั ษะการสังเกต


เพิ่มขึ้นไหม ? อย่างไร ?

ฯลฯ

..
ชื่อ ………………………………… ผูส้ ัมภาษณ์
สัมภาษณ์เวลา …………น. วันที่ ……..เดือน ……………พ.ศ. …………

การหาคุณภาพของแบบสัมภาษณ์

เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับใช้ในการวิจยั โดยการซักถามพูดคุยหรื อปฏิสัมพันธ์กนั ระหว่างผูส้ ัมภาษณ์และผูใ้ ห้


สัมภาษณ์แล้วจึงบันทึกผลจากการสัมภาษณ์ลงในแบบสัมภาษณ์ เพื่อนำไปใช้เป็ นข้อมูลสำหรับการวิจยั แบบสัมภาษณ์อาจเป็ นเครื่ องมือประเภทเดียวกัน
กับแบบสอบถามหรื อมาตราส่ วนประมาณค่าและเครื่ องมือประเภทอื่นๆก็ได้ ดังนั้นแบบสัมภาษณ์ ที่ได้ดำเนินการสร้างตามหลักการและวิธีการที่ถูกต้อง
ย่อมเป็ นการยืนยันหรื อรับประกันว่าแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้น มีคุณค่าด้านความเที่ยงตรงหรื อความครอบคลุมในสิ่ งที่ตอ้ งการวัดและครอบคลุมจุดมุ่งหมาย
ของ การวิจยั แต่คุณภาพของแบบสัมภาษณ์ในด้านความคงที่แน่นอนในการแปลผลจากการสัมภาษณ์หรื อความเชื่อมัน่ ของแบบสัมภาษณ์ มีความ
จำเป็ นที่จะต้องทำการตรวจสอบเสี ยก่อนที่จะนำแบบสัมภาษณ์ไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับใช้ในการวิจยั
1) การหาความเที่ยงตรง (Validity) ตามเนื้อหาตรวจสอบได้โดยผูเ้ ชี่ยวชาญทาง เนื้อหาตรวจสอบให้ เช่นเดียวกับแบบสอบถาม
2) การหาความเชื่อมัน่ (Reliability) ของแบบสัมภาษณ์ สามารถคำนวณหาหรือตรวจสอบได้หลายวิธี ดังต่อไปนี้
2.1)ใช้ผสู้ ัมภาษณ์คนเดียว ดำเนินการสัมภาษณ์จากผูใ้ ห้สัมภาษณ์กลุ่มหนึ่งจำนวนสองครั้งในระยะเวลาที่แตกต่างกัน นำผลจากการ
สัมภาษณ์สองครั้งนั้นมาหาความสัมพันธ์กนั หรื อความสอดคล้องกันใช้ค่าสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ โดยใช้สูตรสัมประสิ ทธิ์ สห
สัมพันธ์ของเปี ยร์สันเช่นเดียวกับสูตรในข้อ2.1.1 หน้า 111 หรื อสัดส่วนของความสอดคล้องกันระหว่างผลจากการ
สัมภาษณ์สองครั้งนั้น เป็ นค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสัมภาษณ์
2.2)ใช้สัมภาษณ์สองคน ดำเนินการสัมภาษณ์จากผูใ้ ห้สัมภาษณ์กลุ่มหนึ่งโดย ผูส้ ัมภาษณ์ท้ งั สองคนดำเนินการสัมภาษณ์จากผูใ้ ห้
สัมภาษณ์กลุ่มเดียวกัน และดำเนินการสัมภาษณ์ซ ้ำกัน นำผลจากการสัมภาษณ์สองชุดนั้นมาหาความสัมพันธ์กนั หรื อความ
สอดคล้องกัน ใช้คา่ สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์เปี ยร์สัน เช่นเดียวกับสูตรในข้อ 2.1.1
หน้า 111 หรื อสัดส่ วนของความ
สอดคล้องกันระหว่างผลจากการสัมภาษณ์สองชุดนั้น เป็ นค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสัมภาษณ์
2.3)ใช้สัมภาษณ์หลายคน ดำเนินการสัมภาษณ์จากผูใ้ ห้สัมภาษณ์กลุ่มหนึ่งโดยสัมภาษณ์แต่ละคนดำเนินการสัมภาษณ์จากผูใ้ ห้สัมภาษณ์
กลุ่มเดียวกันและดำเนินการสัมภาษณ์ซ้ำกัน นำผลจากการสัมภาษณ์ทุกชุดมาหาสัมประสิ ทธิ์ ของความสอดคล้อง ใช้ค่า
118
สัมประสิ ทธิ์ ของความสอดคล้องกันระหว่างผลจากการสัมภาษณ์แต่ละชุดเหล่านั้น เป็ นค่าความเชื่อมัน่ ของแบบสัมภาษณ์โดยใช้
สูตรสำหรับวัดความสอดคล้องของเคนดอลล์ (Kendall) หรือหาความเชื่อมัน่ จากวิเคราะห์แปรปรวนแบบสองทาง
(Two-way Analysis of Variances : Two – way ANOVA)
การหาสัมประสิ ทธิ์ ความสอดคล้องของ เคนดอลล์ (Kendall) มีสูตร ดังนี้
12  D 2
W= m 2 N (N 2
 1)

เมื่อ W คือ สัมประสิ ทธิ์ ความสอดคล้องกัน


D คือ ผลต่างระหว่างผลรวมของอันดับที่ของคนแต่ละคนที่ได้จากการจัดอันดับทุกชุดกับค่าเฉลี่ยของผลรวมของ
อันดับที่เหล่านั้น
m คือ จำนวนชุดของอันดับที่
N คือ จำนวนกลุ่มตัวอย่าง

แบบสังเกต (Observation form)

แบบสังเกต เป็ นเครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ผปู ้ ระเมินนำมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในสิ่ งที่สังเกตได้ โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง


5 ของผูส้ ังเกต ผูป้ ระเมินสามารถสังเกตเป็ นรายบุคคลหรือกลุ่มในเวลาใดเวลาหนึ่ง การสังเกตจะต้องดำเนินการบันทึกรายละเอียดข้อเท็จจริ งทันที เพื่อ
ป้ องกันการลืม ดังนั้นผูส้ ังเกตจะต้องเตรี ยมเครื่ องมือในการบันทึกไว้ให้พร้อมก่อนที่จะทำการสังเกต

ประเภทของการสังเกต
ประเภทของการสังเกต สามารถแบ่งออกได้หลายประเภท ขึ้นอยูก่ บั หลักเกณฑ์ในการแบ่งการสังเกต ถ้าแบ่งตามวิธีการในการสังเกต
สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
1) การสังเกตแบบมีส่วนร่ วม (Participant observation) เป็ นการสังเกตที่ผสู ้ ังเกตเข้าไปมีส่วนร่ วม ปะปนร่ วมกับผูถ้ ูก
สังเกต และทำกิจกรรมร่ วมกับผูถ้ ูกสังเกต เหมือนกับสมาชิกคนหนึ่ง โดยที่ผถู ้ ูกสังเกตไม่รู้ตวั ว่าถูกสังเกต
2) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่ วม (Non-participant observation) การสังเกตแบบนี้ เป็ นการสังเกตที่ผสู ้ ังเกตไม่ได้
เข้าไปร่ วมกิจกรรมในเหตุการณ์น้ นั ๆ เช่น การสังเกตการสอน เป็ นต้น
2 ประเภท คือ
การสังเกตถ้าแบ่งตามแบบของการสังเกต แบ่งได้
1) การสังเกตแบบมีโครงสร้าง (Structured observation) เป็ นการสังเกตที่กำหนดสิ่ งที่ตอ้ งการไว้ล่วงหน้าแน่นอน ว่า
จะสังเกตอะไร
2) การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured observation) เป็ นการสังเกตที่ไม่ได้กำหนดสิ่ งที่ตอ้ การสังเกตเอาไว้
ล่วงหน้า การศึกษาเรื่ องอะไร สังเกตอะไร จะเป็ นสิ่ งที่ผสู ้ ังเกตกำหนดเองในขณะการสังเกตนั้น การสังเกต ผูส้ ังเกตอาจจะสังเกต
สภาพทัว่ ๆ ไปอย่างกว้างขวางหรื อสิ่ งที่พบเห็นหรื อสิ่ งที่ปรากฏขึ้น ทั้งหมด เป็ นต้น
หลักการในการสังเกต
การสังเกตเป็ นเครื่ องมืออย่างหนึ่งในการรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจยั และเพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นไปอย่างถูกต้อง เที่ยงตรง และเป็ น
ไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด การสังเกตจึงควรมีหลักการดังนี้
1) มีเป้ าหมายในการสังเกตที่แน่นอนว่า จะสังเกตอะไร สังเกตในลักษณะใด
2) สังเกตอย่างพินิจพิเคราะห์ ถี่ถว้ น ตั้งใจไม่ทำอย่างผิวเผิน
3) บันทึกการสังเกตทันทีเท่าที่ทำได้ ในสิ่ งที่สังเกตเห็น
4) พยายามสังเกตให้ได้ขอ้ มูลจำนวนมาก
119

5) ควรใช้ผสู ้ ังเกตที่มีความรอบรู้
6) ต้องมีความเป็ นปรนัยหรื อความเป็ นกลาง ไม่ลำเอียง
7) การสังเกตบางเรื่ อง ควรสังเกตซ้ำเพื่อได้ผลการสรุ ปที่เที่ยงตรง

ตัวอย่างแบบสังเกต
แบบสังเกตการทดลองวิทยาศาสตร์ เรื่ อง ………………… วิชา ……… ชั้น …… ..
รายการ
การเลือกและใช้ การทดลองตาม การบันทึกผลการ การสรุ ปผลการ การจัดเก็บ คะแนนรวม
อุปกรณ์การทดลอง ลำดับ ขั้นตอน ทดลอง ทดลอง อุปกรณ์

/
กลุ่มที่ ชื่อ

ตัวอย่างเกณฑ์การให้คะแนน
1. การเลือกและใช้อุปกรณ์การทดลอง
1 หมายถึง เลือกใช้อุปกรณ์ในการทดลองยังไม่เหมาะสม
2 หมายถึง เลือกใช้อุปกรณ์การทดลองได้เหมาะสม
3 หมายถึง เลือกใช้อุปกรณ์การทดลองได้เหมาะสม และใช้อย่างคล่องแคล่ว
4 หมายถึง เลือกใช้อุปกรณ์การทดลองได้เหมาะสม ใช้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง
2. ฯลฯ
เกณฑ์การสรุ ปประเมินผล

ดีมาก หมายถึง ได้คะแนน …… .. คะแนน ขึ้นไป


ดี หมายถึง ..
ได้คะแนนระหว่าง … ถึง …… คะแนน .
พอใช้ หมายถึง ..
ได้คะแนนระหว่าง … ถึง …… คะแนน .
ปรับปรุ ง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า ……… . คะแนน

การหาคุณภาพของแบบสังเกต

เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับใช้ในการวิจยั โดยผูส้ ังเกตใช้ประสาทสัมผัสในด้านต่างๆ ในการรับรู้พฤติกรรม


หรื อการแสดงออกของผูถ้ ูกสังเกต แล้วจึงบันทึกผลจากการสังเกตลงในแบบสังเกตเพื่อ นำไปใช้เป็ นข้อมูลสำหรับการวิจยั แบบสังเกตที่ได้ดำเนินการสร้าง
120
ตามขั้นตอนและหลักการที่ถูกต้อง ย่อมช่วยทำให้ แบบสังเกตที่ใช้ในการวิจยั นั้น เป็ นเครื่ องมือที่มีความเที่ยงตรงหรื อครอบคลุมในสิ่ งที่ตอ้ งการวัดและ
ครอบคลุมจุดมุ่งหมายของการวิจยั แต่สำหรับคุณภาพในด้านความคงที่แน่นอนในการแปลผลจากการสังเกตหรื อความเชื่อมัน่ ของแบบสังเกตนั้น มีความ
จำเป็ นที่จะต้องดำเนินการตรวจสอบก่อนที่จะนำแบบสังเกตไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1) ความเที่ยงตรง(Validity) และการตรวจสอบ การรวบรวมข้อมูลด้วยการสังเกตนั้นจะต้องให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้ อหาเป็ นสำคัญ
คือ ข้อมูลที่รวบรวมได้จากการสังเกตกับวัตถุประสงค์ของการวิจยั ในชั้นเรี ยนที่ตอ้ งการศึกษาและสังเกตได้ขอ้ มูลอย่างครบถ้วนด้วย
การสังเกตจะมีความความเที่ยงตรงมากน้อยเพียงใดขึ้ นอยูก่ บั การกำหนดข้อมูลและลักษณะข้อมูลของสิ่ งที่ตอ้ งการสังเกตว่า กำหนดไว้ชดั เจน
ครบถ้วนเพียงใด ใช้วิธีการสังเกตอย่างไร และผูส้ ังเกตมีความสามารถ รวมทั้งมีสภาพพร้อมในการสังเกตเพียงใด ฉะนั้น การตรวจสอบความเที่ยงตรง
ของการสังเกตจึงต้องพิจารณาจาก
1.1) ความสอดคล้อง ชัดเจนและครบถ้วน ของข้อมูลและลักษณะข้อมูลที่ กำหนดไว้ให้สังเกตกับวัตถุประสงค์ของการวิจยั ในชั้น
เรี ยน โดยอาศัยผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้านเนื้ อหาเป็ นผูต้ รวจสอบให้ ถ้าผูเ้ ชี่ยวชาญต่างเห็นว่าสอดคล้องชัดเจนและครบถ้วนตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ในชั้นเรี ยน ก็แสดงว่ามีความตรงด้านเนื้ อหา
1.2) วิธีที่ใช้สังเกต จะต้องพิจารณาว่า ข้อมูลที่ไปสังเกตนั้น ควรใช้วิธีการสังเกตอย่างใด จึงจะได้ขอ้ มูลตรงความเป็ นจริ ง ข้อมูล
บางอย่างต้องใช้การสังเกตโดยมีส่วนร่ วมไม่ให้ผถู ้ ูกสังเกตรู้ตวั จึงจะได้ขอ้ มูลตรงความเป็ นจริ ง แต่ขอ้ มูลบางอย่างสังเกตโดยผู ้
ถูกสังเกตรู้ตวั ก็ได้ความจริ ง เป็ นต้น
1.3) ผูส้ ังเกต จะต้องพิจารณาว่า ผูส้ ังเกตหรื อพนักงานสังเกตมีความรู้ความสามารถและความพร้อมที่จะสังเกตหรื อไม่ เพราะผลการ
สังเกตขึ้นอยูก่ บั ความรู้ความสามารถและความชำนาญของผูส้ ังเกตเป็ นส่ วนใหญ่ การที่จะให้ผลการสังเกตถูกต้องและครบถ้วน
ผูส้ ังเกตควรมีลกั ษณะ ดังนี้
1.3.1) มีประสาทสัมผัสไวและใช้การได้ดี พอมีปรากฎการณ์เกิดขึ้นแม้จะเป็ นเพียงเล็กน้อยก็สามารถสังเกตผลได้
1.3.2) ต้องมีความไวที่จะประเมินพฤติกรรม หรื อปรากฎการณ์ที่พบเห็นได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สม่ำเสมอ
1.3.3) ต้องมีความพร้อมทั้งทางร่ างกายและจิตใจที่จะไปสังเกต เช่น มีความเต็มใจที่จะสังเกต สติสมประกอบเป็ นต้น
1.3.4) ต้องสามารถควบคุมความลำเอียงส่ วนตัว ที่จะมีผลต่อการสังเกตได้ เพราะความลำเอียงส่ วนตัว เช่น รู้จกั กัน
เป็ นการส่วนตัว เป็ นญาติพี่นอ้ งกัน มักจะประเมินให้สูงกว่าที่เป็ นจริ ง
1.3.5) ต้องมีความสามารถแยกแยะประเด็นที่จะสังเกตและไม่สังเกตออกจากกันได้ ทั้งต้องสามารถแยกแยะพฤติกรรมที่
สำคัญมากกับสำคัญน้อยออกจากกันได้ดว้ ย
2) ความเชื่อมัน่ (Reliability) และการตรวจสอบ ความเชื่อมัน่ ของการสังเกต เป็ นความสอดคล้องของการสังเกต ซึ่งอาจสังเกตคน
เดียวกันในเวลาต่างกัน หรื อสังเกตพร้อมกันหลายคนในเวลาเดียวกันก็ได้ การตรวจสอบความเชื่อมัน่ จากการสังเกตทำได้หลายวิธี
2.1) 2
วิธีให้ผสู ้ ังเกตคนเดียวสังเกตต่างเวลากัน วิธีน้ ี ใช้ผสู ้ ังเกตคนเดียวไปสังเกตสิ่ งเดียวกัน ครั้ง ครั้งแรกอาจเป็ นตอนเช้า และครั้ง
หลังอาจเป็ นตอนบ่าย แล้วนำผลที่ได้จากการสังเกตไปหาค่าสัมพันธ์สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลครั้งแรกกับครั้งหลัง โดยใช้สูตร
สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ของเปี ยร์สันเช่นเดียวกับสูตรในข้อ 2.1.1 111
หน้า หรื อหาค่าร้อยละของความคงที่ของข้อมูลที่ได้
ระหว่างครั้งแรกกับครั้งหลัง ถ้าได้สัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์หรื อร้อยละของความคงที่สูงก็แสดงว่าการสังเกตนั้นมีความเชื่อมัน่
สูง
2.2) ใช้ผสู ้ ังเกตหลายคนสังเกตพฤติกรรมเดียวกันในกลุ่มเดียวกัน วิธีน้ ี ใช้ ( 2
ผูส้ ังเกตหลายคน ตั้งแต่ คน ขึ้นไป สังเกต )
พฤติกรรมหรื อข้อมูลที่ตอ้ งการในกลุ่มตัวอย่างคนเดียวกันแล้วนำผลไปหาความสัมพันธ์สอดคล้องกับสูตรของสกอตต์
(Scott’s Method หรื อ Scott’s Reliability) โดยมีสูตรดังนี้
P0  Pe
 = 1  Pe
เมื่อ  คือ ดัชนีความสอดคล้อง

P0 คือ ความแตกต่างระหว่าง 1.0 กับผลรวมของสัดส่วนของคะแนนของความแตกต่างระหว่างผูส้ ังเกต


Pe คือ ผลบวกของกำลังสองของค่าสัดส่ วนของคะแนนจากลักษณะที่สังเกตได้สูงสุดกับค่าที่รองลงมาโดยจำนวน 2 คนหรือ
มากกว่า
121

5. การประเมินคุณลักษณะของผูเ้ รียน (Trait Assessment)


การประเมินคุณลักษณะของผูเ้ รี ยนต้องอาศัยความละเอียดรอบคอบในการวัด เครื่ องมือที่ใช้วดั คุณลักษณะนี้ ตอ้ งมีความชัดเจนตรงประเด็น
ที่ตอ้ งการวัดและมีคุณภาพ สำหรับการทำวิจยั ในชั้นเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์น้ นั ครู ผสู ้ อนจะต้องคำนึ งถึงสิ่ งที่จะวัดให้ตรงกับพฤติกรรมที่ตอ้ งการแก้ปัญหา
หรื อพัฒนาเป็ นสำคัญ จึงจะทำให้งานวิจยั ในชั้นเรี ยนมีคุณค่าและประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนอย่างแท้จริ ง ตลอดจนพัฒนา การจัดการ
เรี ยนการสอนของครู ให้มีคุณภาพมากยิง่ ขึ้น

คุณลักษณะที่ตอ้ งการปลูกฝังแก่นกั เรี ยนในการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์และพฤติกรรมบ่งชี้

คุณลักษณะ /
ลักษณะบ่งชี้ พฤติกรรม

1. ความอยากรู้ - มีความเชื่อว่าการทดลองค้นคว้าจะทำให้คน้ พบวิธีแก้ปัญหาได้


อยากเห็น - มีความใฝ่ ใจและพอใจใคร่จะสืบเสาะแสวงหาความรู้ใน สถานการณ์และปัญหาใหม่ ๆ เสมอ

- มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและเรื่องต่าง ๆ
- ชอบทดลองค้นคว้า
- ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
คุณลักษณะ /
ลักษณะบ่งชี้ พฤติกรรม

2. ความรับผิดชอบและเพียร - ยอมรับผลการกระทำของตนเองทั้งที่เป็ นผลดีและผลเสีย


พยายาม
- เห็นคุณค่าของความรับผิดชอบและความเพียรพยายามว่าเป็ นสิ่งที่ ควรปฏิบตั ิ
- ไม่ละเลยทอดทิ้งหรือหลีกเลี่ยงงานที่ได้รับมอบหมาย
- ทำงานที่ได้รับมอบหมายให้สมบูรณ์ตามกำหนดและตรงเวลา
- ป้ องกันไม่ให้เกิดผลเสียต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อมจากงาน ของตน
- ทำงานเต็มความสามารถ
- ดำเนินการแก้ปัญหาจนกว่าจะได้คำตอบ
- ไม่ทอ้ ถอยเมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลวในการทำงาน
- มีความอดทนแม้การดำเนินการแก้ปัญหาจะยุง่ ยากและใช้เวลา
- งดเว้นการกระทำอันเป็ นผลเสียหายต่อส่วนรวม

3.ความมีเหตุผล - ยอมรับในคำอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลมาสนับสนุนอย่าง เพียงพอ


- เห็นคุณค่าในการใช้เหตุผลในเรื่องต่าง ๆ
- พยายามอธิบายสิ่งต่าง ๆ ในแง่เหตุและผล ไม่เชื่อโชคลางหรือ
คำทำนายที่ไม่สามารถอธิบายตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้
- อธิบายหรื อแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
- หาความสัมพันธ์ของเหตุและผลที่เกิดขึ้น
- ตรวจสอบความถูกต้องหรื อความสมเหตุสมผลของแนวความคิดต่างๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
122

- เสาะแสวงหาหลักฐาน / ข้อมูลจากการสังเกตหรือการทดลองเพื่อ สนับสนุน หรื อคิดค้น คำอธิบาย

- รวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอเสมอก่อนจะลงสรุปเรื่องราวต่าง ๆ

คุณลักษณะ
/
ลักษณะบ่งชี้ พฤติกรรม

4.ความมีระเบียบ - ยอมรับว่าความมีระเบียบและรอบคอบเป็ นสิ่งที่มีประโยชน์


และรอบคอบ
- เห็นคุณค่าของความมีระเบียบและรอบคอบ
- นำวิธีการหลาย ๆ วิธี มาตรวจสอบผลหรือวิธีการทดลอง
- มีการใคร่ครวญ ไตร่ตรอง พินิจพิเคราะห์
- มีความละเอียดถี่ถว้ นในการทำงาน
- มีการวางแผนการทำงานและจัดระบบการทำงาน
- ตรวจสอบความเรียบร้อยหรื อคุณภาพของเครื่องมือก่อนทำการทดลอง
- ทำงานอย่างมีระเบียบเรียบร้อย

5. ความซื่อสัตย์ - ชื่นชม ยกย่องบุคคลที่เสนอความจริ งถึงแม้เป็ นจะผลที่แตกต่างจากผูอ้ ื่น


- เห็นคุณค่าของการเสนอข้อมูลตามความเป็ นจริง
- บันทึกผลหรือข้อมูลตามความเป็ นจริงและไม่เอาความคิดเห็นของ ตนเองไปเกี่ยวข้อง
- ไม่แอบอ้างผลงานของผูอ้ ื่นว่าเป็ นผลงานของตนเอง

6. ความใจกว้าง - รับฟังคำวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้งหรือข้อคิดเห็นที่มีเหตุผลของผูอ้ ื่น


- ไม่ยดื มัน่ ในความคิดของตนเอง ยอมรับการเปลี่ยนแปลง
- รับฟังความคิดเห็นที่ตวั เองยังไม่เข้าใจและพร้อมที่จะทำความเข้าใจ
- ยอมพิจารณาข้อมูลหรือความคิดที่ยงั สรุปแน่นอนไม่ได้และพร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม
7. มีเจตคติที่ดีต่อ - พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
- ศรัทธาและซาบซึ้งในผลงานทางวิทยาศาสตร์
- เห็นคุณค่าและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- ตระหนักในคุณและโทษของการใช้เทคโนโลยี
- เรียนหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์อย่างสนุกสนาน
คุณลักษณะ
/
ลักษณะบ่งชี้ พฤติกรรม

- เลือกใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการคิดและปฏิบตั ิ
- ตั้งใจเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
123

- ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรม
- ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยใคร่ครวญไตร่ตรองถึง
ผลดีและผลเสี ย

8. ความสามารถ ในการทำงาน - เห็นคุณค่าของการทำงานร่วมกับผูอ้ ื่น


ร่ วมกับผูอ้ ื่น
- เต็มใจที่จะทำงานร่วมกับผูอ้ ื่น
- ประพฤติและปฏิบตั ิตนตามข้อตกลงของกลุ่ม
- เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
- รู้จกั บทบาทของตนที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่ม
- รู้จกั ขอความร่ วมมือและให้ความร่วมมือกับผูอ้ ื่น
9. ความประหยัด - ยินดีที่จะรักษาซ่อมแซมสิ่งที่ชำรุดให้ใช้การได้
- เห็นคุณค่าของการใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่างประหยัด
- เห็นคุณค่าของวัสดุที่เหลือใช้
- ใช้สารหรือวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในปริมาณที่เหมาะสมและประหยัด

ขั้นตอนการสร้างเครื่ องมือวัดคุณลักษณะผูเ้ รี ยน มีท้ งั หมด 9 ขั้นตอน ดังนี้


1) การกำหนดขอบเขต ผูส้ ร้างเครื่ องมือต้องตอบคำถามต่อไปนี้ ก่อน คือ
1. สร้างไปทำไม
2. ใครจะเป็ นผูต้ อบ
3. จะใช้เครื่ องมือในกาละและเทศะใดบ้าง
4. ใครจะเป็ นผูใ้ ช้เครื่ องมือนี้
5. ในการใช้เครื่ องมือมีเวลาให้เท่าไร
6. ในการสร้างเครื่ องมือมีแรงงาน เวลาและเงินมากน้อยเพียงไร
7. ต้องการให้เป็ นเครื่ องมือระดับมาตรฐานหรื อไม่

2) การกำหนดจุดมุ่งหมาย ได้แก่ จุดมุ่งหมายในการวัดซึ่งเป็ นความคาดหวังของ ผูส้ ร้างเครื่ องมือว่า เครื่ องมือนี้ จะนำไปใช้วดั ลักษณะ

ของผูเ้ รี ยนในด้านสมอง จิตใจหรื อการปฏิบตั ิ เช่น ต้องการวัดความสนใจ เฉพาะการแสดงอาการตอบสนองที่แสดงว่าสนใจ หรื อแสดงพฤติกรรมของ

ความสนใจ

จุดมุ่งหมายในการวัดจำแนกออกเป็ น 3 ด้าน คือ

1. ด้านที่เกี่ยวกับสมอง

2. ด้านที่เกี่ยวกับความรู้สึก อารมณ์

3. ด้านที่เกี่ยวกับการปฏิบตั ิ
124

การเขียนจุดมุ่งหมายในการวัดจะต้องมีความชัดเจน ถ้าสามารถเขียนเป็ น พฤติกรรม ซึ่งเรี ยกว่า จุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม

(Behavioral Objectives) ได้ก็จะยิง่ ดี

3) การระบุเนื้อหาที่จะวัด ผูส้ ร้างต้องมีความรู้อย่างแตกฉานในสิ่ งที่จะวัดสามารถจำแนกเนื้ อหาที่จะวัดออกเป็ นหมวด หน่วย หมู่ เรื่ อง

ย่อยๆ ได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ และถูกต้อง ผูส้ ร้างต้องจำแนกเนื้ อหาออกเป็ นหมวด หน่วยให้ได้ โดยอาศัยการอ่านเอกสาร ตำราที่เกี่ยวข้อง แล้วจึงให้ผู ้

เชี่ยวชาญตรวจสอบ ความครบถ้วน สมบูรณ์และถูกต้อง

4) การทำตารางโครงสร้าง ซึ่งประกอบด้วยจุดมุ่งหมายและเนื้ อหา

5) การให้น้ำหนักในตารางโครงสร้าง ในการให้น้ำหนักส่วนใหญ่ระบุดว้ ยค่าร้อยละ โดยผลรวมทั้งหมดคือ 100% การกำหนดน้ำหนักนี้


ผูส้ ร้างต้องกำหนดเอาว่าจะใช้เนื้ อหาหมวด/ หน่วย/ เรื่ องใด เป็ นค่าเท่าใด และจุดมุ่งหมายใดเป็ นค่าเท่าไร

6) การกำหนดประเภทของข้อ ประเภทเครื่องมือ คะแนนรายข้อและจำนวนข้อ การตัดสินใจเกี่ยวกับประเภทของเครื่องมือ ประเภทของข้อ


ว่าจะมีกี่ประเภท ผูส้ ร้างต้องตอบคำถามให้ได้วา่ การสร้างเครื่ องมือนี้ จะมีเวลาตอบนานเท่าไร จะให้การตอบโดยการทำเครื่ องหมายการเติมคำ หรื อเขียน

ข้อความเพราะสิ่ งเหล่านี้จะเป็ นตัวกำหนดจำนวนข้อที่ควรจะมี การให้คะแนนรายข้อก็เช่นกันผูส้ ร้างต้องกำหนดให้ได้วา่ จะให้คะแนนแต่ละข้อเท่ากัน

หรื อต่างกัน และจะให้คะแนนแต่ละข้อเท่าไร การกำหนดจำนวนข้อต้องให้เป็ นสัดส่ วนกับน้ำหนักในตารางโครงสร้าง

7) การเขียนข้อความ หลักการในการเขียนข้อความก็คือ เขียนเนื้ อหา จุดมุ่งหมายที่วดั และประเภทของข้อความให้สอดคล้องกัน ข้อความ

ที่เขียนจะต้องใช้ภาษาที่ถูกต้องทั้งไวยากรณ์ ตัวสะกด ตลอดจนประเด็นที่เขียนต้องเป็ นประเด็นที่มีนยั เดียวสำหรับข้อความที่ให้กาเครื่ องหมายตอบ ถ้า

เป็ นข้อความที่ให้ตอบความเรี ยง ควรระบุคำถามให้ชดั เจน

8) การจัดทำเครื่ องมือ เมื่อเขียนข้อความได้ครบถ้วนแล้วจัดเรี ยงข้อความตามประเภทของข้อความไว้พวกเดียวกัน แบ่งหมวดหมูข่ อง


ข้อความตามประเภท เขียนคำชี้แจง คำนำ หรื อวิธีการตอบให้ชดั เจน จัดพิมพ์เป็ นเครื่ องมือให้สวยงาม น่าสนใจและน่าตอบ
9)
การทดลองใช้ เมื่อจัดพิมพ์เรี ยบร้อยแล้ว ผูส้ ร้างตรวจสอบเครื่ องมือในด้านภาษาเป็ นรายข้อความทิ ้งไว้ระยะหนึ่ง แล้วทดลองตอบเอง
เพื่อทดสอบว่า ตนเองอ่านเข้าใจหรื อไม่ ตนเองตอบใช้เวลานานเท่าไร แก้ไขปรับปรุ งแล้วจัดพิมพ์ตามจำนวนคนที่ คาดการณ์ไว้ การเลือกกลุ่ม
ทดลองใช้ไม่ควรใช้กลุ่มใหญ่ ควรเลือกผูต้ อบที่มีลกั ษณะ ใกล้เคียงกับกลุ่มที่จะใช้จริ ง จำนวนประมาณ 5 –10 คน ให้แต่ละคนตอบคำถาม จับ
เวลาการตอบทั้งหมด สังเกตพฤติกรรมการตอบว่ามีอาการสงสัยในข้อใด บันทึกพฤติกรรม ดังกล่าว เมื่อตอบแล้วให้สัมภาษณ์ผตู ้ อบว่ามีความเห็นใน
การตอบอย่างไร ข้อใดตอบได้หรื อไม่ได้ ข้อใดสงสัย ข้อใดเข้าใจยาก และข้อใดควรแก้ไข
พิจารณาข้อความตามที่ผตู ้ อบระบุทุกข้อ แก้ไข ปรับปรุ งใหม่ จัดพิมพ์ใหม่ให้เท่ากับจำนวนที่จะใช้จริ ง การตัดข้อบางข้อทิ้ง ตลอด
จนการเขียนใหม่ หรื อแก้ไขปรับปรุ งใหม่ ผูส้ ร้างต้องอิงตารางโครงสร้างเสมอ มิฉะนั้นเครื่ องมือนี้ จะคลาดเคลื่อนไปจากแผนที่วางไว้

ตัวอย่างแบบวัดคุณลักษณะของผูเ้ รี ยน

แบบวัดคุณลักษณะ ด้านความรับผิดชอบ

คะแนนผลการประเมิน
คะแนน
ที่ -
ชื่อ สกุล ความร่ วมมือใน ทำงานเต็ม วางแผนการ ปฏิบตั ิงาน ส่งงานตาม ฯลฯ
รวม
หมู่คณะ ความสามารถ ทำงานร่ วมกัน อย่างจริ งจัง กำหนด
125

เกณฑ์การให้คะแนน

1. ความร่ วมมือกับหมู่คณะ

0 หมายถึง ไม่ให้ความร่ วมมือ ชอบขัดแย้งและทะเลากับผูอ้ ื่นเสมอ

1 หมายถึง ไม่ค่อยเต็มใจร่ วมมือกับผูอ้ ื่นมักมีเรื่ องขัดแย้งเสมอๆ

2 หมายถึง ให้ความร่ วมมือกับหมู่คณะได้ดี

3 หมายถึง ให้ความร่ วมมือกับหมู่คณะดีและเข้ากับผูอ้ ื่นได้ดี

4 หมายถึง ให้ความร่ วมมือกับผูอ้ ื่นดีมากและเต็มใจรับฟังข้อคิดเห็นจากผูอ้ ื่น

2. ฯลฯ

เกณฑ์การสรุ ปประเมินผล

ดีมาก หมายถึง ได้คะแนน …… .. คะแนน ขึ้นไป

ดี หมายถึง ..
ได้คะแนนระหว่าง … ถึง …… คะแนน .
พอใช้ หมายถึง ..
ได้คะแนนระหว่าง … ถึง …… คะแนน .
ปรับปรุ ง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า ……… . คะแนน

การหาคุณภาพของเครื่ องมือวัดคุณลักษณะของผูเ้ รี ยน

การหาคุณภาพของเครื่ องมือวัดคุณลักษณะ มีความจำเป็ นและสำคัญ เพราะสิ่ งที่วดั และประเมินนักเรี ยนนั้นเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ใน

งานวิจยั ในชั้นเรี ยน ดังนั้นขอเสนอให้หาคุณภาพของเครื่ องมือดังนี้

1) ความเที่ยงตรง (Validity) เป็ นการหาคุณภาพของเครื่ องมือที่สามารถวัดในสิ่ งที่ตอ้ งการวัด นัน่ คือ วัดได้อย่างยุติธรรม ชอบ

เหตุผล ความเที่ยงตรงถือว่าเป็ นหัวใจอันดับหนึ่ งของเครื่ องมือวัด ถ้าเครื่ องมือวัดมีความเที่ยงตรงต่ำไม่ควรใช้เลย ถึงแม้คุณภาพด้านอื่นๆ สูงก็ตาม แบ่งได้

3 กลุ่ม คือ
1.1) ความเที่ยงตรงตามเนื้ อหา (Content Validity) การหาค่าความเที่ยงตรงตามเนื้ อหาจะไม่มีค่าเป็ นตัวเลข หากแต่ใช้

การบรรยายแทน โดยพิจารณาจากตารางโครงสร้างว่า ผูส้ ร้างได้จำแนกเนื้ อหาอย่างถูกต้องเหมาะสม ครบถ้วนหรื อไม่ ความ

เที่ยงตรงเชิงเนื้ อหาที่ได้จากตารางโครงสร้างจำแนกเป็ น ความเที่ยงตรงตามเนื้ อหารายข้อกับความเที่ยงตรงตามเนื้ อหาของเครื่ อง

มือ

ความเที่ยงตรงตามเนื้ อหารายข้อ (Item Content Validity) ได้จากการวิเคราะห์ว่า ข้อความแต่ละข้อมี


ความสอดคล้องกับเนื้ อหาอย่างถูกต้องสมบูรณ์หรื อไม่ การจำแนกเนื้ อหาออกเป็ นข้อความมีความถูกต้อง สมบูรณ์ ครอบถ้วน
หรื อไม่ ข้อความแต่ละข้อวัดเนื้ อหาเหล่านี้ ได้จริ งหรื อไม่
126

ความเที่ยงตรงตามเนื้ อหาของเครื่ องมือ (Test Content Validity) ได้จากการวิเคราะห์ว่าเครื่ องมือนี้ มี


ความเป็ นตัวแทนของประชากรเนื้ อหาอย่างครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์หรื อไม่ การจำแนกเนื้ อหาออกเป็ นหมวด หน่วย เรื่ อง
ถูกต้องหรื อไม่ และข้อความที่ปรากฏในเครื่ องมือเป็ น สัดส่ วนตามน้ำหนักของเนื้ อหาที่จำแนกหรื อไม่
การพิจารณาความเที่ยงตรงตามเนื้ อหาให้ผเู ้ ชี่ยวชาญด้านเนื้ อหาพิจารณาว่าข้อความที่เขียนถูกต้องตามนิ ยามปฏิบตั ิการ
ในกรอบขอบเขตที่ตอ้ งการวัดหรื อไม่ ถือว่าเป็ นการหาความเที่ยงตรงตามเนื้ อหาเท่านั้น การพิจารณาข้อความตลอดจนการ
วิเคราะห์แต่ละรายข้อออกมาว่าเหมาะสมเพียงใด แก้ไขอย่างไรบ้าง ถือเป็ นกระบวนการการหาความเที่ยงตรงตามเนื้ อหา ดังนั้น
IOC และในแต่ละข้อให้ ผูเ้ ชี่ยวชาญเสนอแนะเพิ่มเติม ดังตัวอย่างหน้า 115
ในที่น้ ี เสนอวิธีการหาค่าโดยใช้ค่า
1.2) ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct Validity) ความเที่ยงตรงชนิดนี้นิยมใช้กบั การวัดเนื้อหาทางจิตพิสัยซึ่ง
เป็ นนามธรรมผูส้ ร้างต้องให้คำนิยามที่เป็ นรู ปธรรมหรื อเป็ นพฤติกรรมก่อน การตรวจสอบความเที่ยงตรงนี้ มี 2 วิธี คือ
1. การวิเคราะห์ความสอดคล้องระหว่างข้อความกับพฤติกรรมที่นิยาม เป็ นการพิจารณาความสอดคล้องระหว่าง
พฤติกรรมที่นิยามไว้กบั ข้อความที่เขียนขึ้นว่าสอดคล้องมากน้อยเพียงใด
2. การวิเคราะห์ตวั เลขที่ได้จากการทดลองใช้เครื่ องมือ เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลตัวเลขที่ได้จากการรวบรวมข้อมูล มี
วิธีการคำนวณหลายวิธี เช่น คำนวณจากค่าความสัมพันธ์จากสูตรสัมประสิ ทธิ์ สหสัมพันธ์ของเปี ยร์สัน ข้อ
2.1.1
111 เป็ นต้น
หน้า

1.3) ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์(Criterion Related Validity) การหาความเที่ยงตรงแบบนี้ ผูพ้ ฒั นาเครื่ องมือต้อง

ระบุเกณฑ์ให้ชดั เจน เช่น เกณฑ์คือลักษณะที่ ปรากฎ การหาความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ก ็คือ การให้กลุ่มที่แสดงลักษณะปรากฏอยู่

นั้นทดสอบกับแบบวัดที่สร้างขึ้น ถ้าพบว่าได้คะแนนสอดคล้องกันก็เรี ยกว่า แบบวัดนี้ มีความเที่ยงตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด

2) (Reliability) การหาสัมประสิทธิความเชื่อมัน่ ของเครื่ องมือส่วนใหญ่ใช้การหาค่าความสอดคล้องภายใน


ความเชื่อมัน่

(Internal Consistency) โดยวิธีการหาเช่นเดียวกับแบบทดสอบหัวข้อ 2.1.3 หน้า 111 - 113

6. การประเมินตามสภาพจริ ง (Authentic Assessment) และ


การประเมินภาคปฏิบตั ิ (Performance Assessment)

การประเมินตามสภาพจริ ง (Authentic Assessment)

วิธีการวัดและการประเมินที่ยอมรับกันว่า สอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง คือ การประเมินตาม

สภาพจริ ง (Authentic assessment) เพราะเป็ นวิธีการที่สามารถค้นหาความสามารถและความก้าวหน้าในการเรี ยนรู้ที่แท้จริ งของ ผูเ้ รี ยน

และยังเป็ นข้อมูลสำคัญที่สามารถนำมาใช้ประกอบการตัดสิ นผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนได้อย่างดีดว้ ย

เป็ นการประเมินเชิงคุณภาพอย่างต่อเนื่ องในด้านความรู้ ความคิด พฤติกรรม วิธีการปฏิบตั ิและผลการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยน การประเมินลักษณะนี้

จะมีประสิ ทธิภาพเมื่อประเมินการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยนในสภาพที่เป็ นจริ ง โดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลายเช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ บันทึกจากผู ้

เกี่ยวข้อง แบบทดสอบวัดความสามารถจริ ง การรายงานตนเอง และแฟ้ มสะสมงาน (Portfolio) เป็ นต้น


127

ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ซึ่งเป็ นการจัดการเรี ยนรู้ตามสภาพจริ งที่ส่ งเสริ มสอดคล้องกับการประเมินตามสภาพ

จริ ง การประเมินสภาพจริ งเป็ นการประเมินพฤติกรรม หรื อการแสดงออกที่ คำนึงถึงบริ บทที่ตอ้ งเป็ นไปตามสภาพจริ งในชีวิตประจำวัน การประเมินตาม

สภาพจริ งต้องอาศัยการปฏิบตั ิเป็ นสำคัญ โดยมีแฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) เป็ นนวัตกรรมการประเมินที่สำคัญ

การประเมินตามสภาพจริ งและประเมินจากการปฏิบตั ิมกั ใช้ร่วมกัน แต่แท้จริ งแล้วมีลกั ษณะต่างกัน (Mayer, 1992 อ้างใน สม
ศักดิ์ ภูว่ ิภาดาวรรธน์ , 2544 : 98) ชี้ให้เห็นว่าการประเมินจากการปฏิบตั ิน้ นั ผูเ้ รี ยนต้องปฏิบตั ิพฤติกรรมให้สมบูรณ์หรื อแสดงออกเป็ นพฤติกรรมที่
ผูป้ ระเมินต้องการให้แสดงออกให้ได้หรื อกล่าวได้ว่าพฤติกรรมที่ผเู ้ รี ยนแสดงออกเป็ นพฤติกรรมที่ผปู ้ ระเมินต้องการจะวัด ขณะที่การประเมินจากสภาพจริ ง
นั้น ผูเ้ รี ยนไม่เพียงแต่แสดงพฤติกรรมให้ได้สมบูรณ์ตามที่ผวู ้ ดั ต้องการเท่านั้น แต่พฤติกรรมที่แสดงออกนั้นต้องต้องทำในบริ บทของความเป็ นจริ งในชีวิต
ประจำวัน (Real-Life Context)
การประเมินการปฏิบตั ิ (Performance Assessment)
การประเมินการปฏิบตั ิเป็ นการประเมินความสามารถที่แท้จริ งในการเรี ยนรู้ และการทำงานของผูเ้ รี ยน ภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไขที่
สอดคล้องกับสภาพจริ งมากที่สุด และวิธีการประเมินแบบนี้ จะเหมาะกับการทำวิจยั ในชั้นเรี ยนของครู วิทยาศาสตร์เป็ นอย่างยิง่ เนื่องจากธรรมชาติวิชา
วิทยาศาสตร์จะต้องให้นกั เรี ยนได้ลงมือฝึ กปฏิบตั ิจริ งให้มากที่สุด เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความคิดรวบยอดในการเรี ยนวิทยาศาสตร์ อย่างแท้จริ ง สามารถนำเอา
หลักการทางวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์หรื อบูรณาการกับชีวิตจริ งให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและผูอ้ ื่นได้ ดังนั้นครู ผสู ้ อนวิชาวิทยาศาสตร์ ควรได้มีการ
สร้างเครื่ องมือประเมินภาคปฏิบตั ิให้มากขึ้ นกว่าการใช้แบบทดสอบ หรื อแบบประเมินที่เน้นเฉพาะความรู้ความจำให้นกั เรี ยนตอบเท่านั้น การประเมินภาค
ปฏิบตั ิสามารถทำได้ 3 ลักษณะ คือ
 ประเมินกระบวนการ
 ประเมินผลผลิต
 ประเมินทั้งกระบวนการและผลผลิต
เกณฑ์การประเมิน

(Rubric) หมายถึงการสร้างเกณฑ์ข้ึนเพื่อพิจารณาลักษณะ
เครื่ องมือที่ใช้ประเมินภาคปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยนควรจัดทำในลักษณะที่เป็ น รู บริ ค

ของสิ่ งสำคัญ ได้แก่ เกณฑ์การให้คะแนน (Scoring guide) ซึ่งจะต้องกำหนดมาตรวัด (Scale) และรายการคุณลักษณะที่บรรยายถึงความ

สามารถในการแสดงออกของผูเ้ รี ยนในแต่ละระดับ ข้อมูลจากรู บริ คจะสะท้อนให้ครู ผสู ้ อน นักเรี ยน ผูป้ กครอง และบุคคลอื่นๆ ได้ทราบว่าผูเ้ รี ยนรู้

อะไรบ้าง และทำอะไรได้มากน้อยเพียงใด
เกณฑ์การประเมินหรื อแนวทางการให้คะแนน
เกณฑ์การประเมินเป็ นสิ่ งสำคัญของการประเมินผล โดยใช้แฟ้ มสะสมผลงานต้องชัดเจนและสามารถสะท้อนคุณภาพของผลงานได้ ดังนั้นจะใช้
(Rubric Assessment) โดยบรรยายคุณภาพของงานที่แสดงความสามารถของผูเ้ รียนเป็ นมาตรวัด (Scale)
เกณฑ์การให้คะแนน

6 ลักษณะการให้คะแนน มี 2 แบบ คือ 1) การให้คะแนนเป็ นภาพรวม (Holistic Score) 2) การให้คะแนนเป็ นรายองค์


ประกอบ (Analytic Score)
1) การประเมินเชิงกระบวนการ ได้แก่ การวัดทักษะปฏิบตั ิ ที่ผวู้ ดั ผลให้งานในเชิงปฏิบตั ิแก่ผปู้ ฏิบตั ิ ไปตามเงื่อนไขหรือข้อกำหนด และผู้
วัดผลจะทำการสังเกต การปฏิบตั ิงานของผูป้ ฏิบตั ิเพื่อดูกระบวนการทำงานในเชิงปฏิบตั ิ และบันทึกข้อมูลจากการสังเกตลงในแบบการบันทึกการปฏิบตั ิ
งาน โดยนำผลงานมาใช้ในการประเมินทักษะปฏิบตั ิ เพื่อการพัฒนาการเรี ยนรู้ หรื อแก้ไขทักษะปฏิบตั ิให้มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น ทั้งในด้านของ ผูป้ ฏิบตั ิ
และด้านการสอน
แบบวัดทักษะปฏิบตั ิเชิงกระบวนการ ในการวัดผลเชิงกระบวนการมีวตั ถุประสงค์เพื่อดูความสามารถในการปฏิบตั ิงานของผูป้ ฏิบตั ิ เพื่อ นำผล
มาใช้ในการพัฒนาความรู้ความสามารถในเชิงปฏิบตั ิทกั ษะ โดยปกติจึงมักไม่มีการกำหนดคะแนน เพื่อให้ผปู ้ ฏิบตั ิได้ปฏิบตั ิอย่างเป็ นธรรมชาติไม่มีคะแนน
มีเป็ นเงื่อนไขในระหว่างการฝึ กปฏิบตั ิ จะเป็ นการสังเกตรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินผลกลับให้ผปู ้ ฏิบตั ิแก้ไข พัฒนาทักษะของตนให้กา้ วหน้าและดียงิ่ ขึ้น
แบบบันทึกการสังเกตการปฏิบตั ิ มีลกั ษณะทัว่ ไปคล้ายแบบสังเกตการณ์คือมี หัวข้อเรื่ องที่ตอ้ งการสังเกต และมีที่ว า่ งให้ผวู ้ ดั บันทึก
ข้อมูล โดยมีกฎเกณฑ์ในการสังเกตว่าจะสังเกตอะไรบ้าง และมีเกณฑ์กำหนดการปฏิบตั ิไว้อย่างชัดเจน เป็ นต้น
128

ตัวอย่างแบบวัดการปฏิบตั ิเชิงกระบวนการ

( )
แบบวัดการปฏิบตั ิน้ี จะคล้ายกับแบบสังเกต ในกรณี ที่สังเกตการปฏิบตั ิแล้วประเมินให้คะแนน แต่จะต่างกันตรงที่ว่าแบบวัดการ
ปฏิบตั ิจะมีรายละเอียดของการสังเกตที่ชดั เจนมากกว่าและแบบสังเกตในลักษณะที่เป็ นนามธรรม บางครั้ งใช้ความรู้สึกของ ผูส้ ังเกตบรรยายราย
ละเอียดประกอบ แต่ถา้ เป็ นผลจากการปฏิบตั ิที่สามารถวัดได้แน่นอนจะใช้การประเมินจะผลที่ปฏิบตั ิจริ งได้ ซึ่งการวัดจะต้องสร้างเกณฑ์ข้ึ นเพื่อพิจารณาสิ่ ง
ที่สังเกต หรื อผลการปฏิบตั ิ โดยการกำหนดเป็ นเกณฑ์การสังเกตการปฏิบตั ิ

ตัวอย่างแบบวัดทักษะปฏิบตั ิเชิงกระบวนการ

ลักษณะการใช้เทอร์โมมิเตอร์
ที่ -
ชื่อ สกุล การจับ การอ่าน การเก็บ
หมายเหตุ

1
2
3
.
.
.
เกณฑ์การสังเกตทักษะปฏิบตั ิการวัดการปฏิบตั ิเชิงกระบวนการ การใช้เทอร์โมมิเตอร์
1. การใช้เทอร์โมมิเตอร์ จะต้องใช้ความระมัดระวังเนื่องจากเทอร์โมมิเตอร์ จะทำด้วยแก้วและภายในมีของเหลวที่บรรจุดว้ ยปรอทหรื อ
แอลกอฮอล์ผสมสี
2. ขณะใช้เทอร์โมมิเตอร์ตอ้ งไม่เอามือจับกะเปาะที่บรรจุของเหลวไว้ ก่อนจะใช้วดั อุณหภูมิในของเหลวต้องจับและสะบัดเทอร์โมมิเตอร์
เบาๆ ให้ปรอทหรื อแอลกอฮอล์ผสมสี ลงมาอยูใ่ นระดับในกระเปาะ
3. การอ่านเทอร์ โมมิเตอร์ที่ถูกต้องนั้น จะต้องให้เทอร์โมมิเตอร์ต้ งั อยูใ่ นแนวตรงถ้าอยูใ่ นของเหลวต้องให้กระเปาะจุ่มอยูใ่ นระดับพอ
เหมาะและอยูใ่ นระดับสายตาของผูอ้ ่านเสมอ เพื่อป้ องกันความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในการอ่าน
4. เมื่อใช้เทอร์โมมิเตอร์เสร็ จแล้วจะต้องล้างหรื อเช็ดเบาๆ เพื่อทำความสะอาดและเก็บให้เรี ยบร้อยในที่เก็บ

2) การประเมินเชิงผลงาน ได้แก่ การวัดทักษะปฏิบตั ิ ที่ผวู้ ดั ให้งานในเชิงปฏิบตั ิแก่ผปู้ ฏิบตั ิไปทำการเรียนรู้และฝึ กซ้อมในระยะเวลาหนึ่ง


และผูป้ ฏิบตั ิจะมาปฏิบตั ิงานที่ได้รับมอบหมายให้ผสู ้ อนหรื อขณะนี้ กลายเป็ นผูว้ ดั ผลได้ประจักษ์ เพื่อประเมินผลความรู้ ความสามารถในเชิงทักษะปฏิบตั ิ
โดยผูว้ ดั ผลจะมีแบบบันทึกการปฏิบตั ิ พร้อมทั้งเกณฑ์การให้คะแนนเพื่อใช้เป็ นเงื่อนไขในการให้คะแนนการปฏิบตั ิ
แบบวัดทักษะปฏิบตั ิเชิงผลงาน ในการวัดผลเชิงผลงาน มีวตั ถุประสงค์เพื่อ นำผลที่ได้มาประเมินความสามารถในการปฏิบตั ิทกั ษะ จึงมีการให้
คะแนนและมีการจัดลำดับเป็ นเกรดต่อไป ผลของการวัดเชิงผลงานอาจจะนำมาใช้เพื่อพัฒนาความสามารถ หรื อแก้ไข ข้อบกพร่ องของผูป้ ฏิบตั ิดว้ ยได้
ถ้าเป็ นความต้องการของผูว้ ดั หรื อตามโอกาสที่สามารถเกิดขึ้นได้
แบบบันทึกคะแนน มีลกั ษณะเป็ นตารางมีหวั ข้อที่ตอ้ งการวัดตามที่ผวู ้ ดั กำหนดไว้ และมีช่องไว้บนั ทึกคะแนนได้ ส่ วนเกณฑ์การให้คะแนน
เป็ นไปตามข้อกำหนดของผูว้ ดั หรื อเป็ นข้อตกลงระหว่างผูว้ ดั กับผูป้ ฏิบตั ิ ประกอบด้วยการแบ่งคะแนนตามหัวข้อต่างๆ และคำชี้แจงในการให้คะแนน
รวมทั้งเกณฑ์การประเมินอันดับจากคะแนนที่ได้จากการวัด นอกจากนี้ ในการวัดเชิงผลงาน มักมีคำสั่งหรื อข้อสอบนัน่ เอง เพื่อชี้แจงให้ผปู ้ ฏิบตั ิทราบถึงสิ่ ง
ต่างๆ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิในการสอบปฏิบตั ิ

ตัวอย่างแบบวัดทักษะปฏิบตั ิเชิงผลงาน

มีลกั ษณะคล้ายกับการวัดปฏิบตั ิเชิงกระบวนการ แต่มีการกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ในแต่ละรายการที่สังเกตหรื อผลการปฏิบตั ิไว้ดว้ ย เพื่อ


ประเมินให้คะแนนและ มีการจัดลำดับเป็ นเกรดต่อไป

ตัวอย่างแบบบันทึกคะแนนทักษะปฏิบตั ิ
129

คะแนนผลการประเมิน
ที่ -
ชื่อ สกุล การใช้เทอร์โมมิเตอร์ ฯลฯ
รวม

เกณฑ์การให้คะแนนทักษะปฏิบตั ิ
การใช้เทอร์โมมิเตอร์
1 หมายถึง หยิบจับเทอร์โมมิเตอร์ดว้ ยความระมัดระวัง
2 หมายถึง นอกจาก1 แล้ว ต้องไม่ใช้มือจับที่กระเปาะของเทอร์โมมิเตอร์ก่อนใช้วดั อุณหภูมิของเหลวต้องสะบัดเทอร์โมมิเตอร์เบาๆ
3 หมายถึง นอกจาก 2 แล้ว ขณะใช้วดั อุณหภูมิของเหลวต้องจุ่มเทอร์ โมมิเตอร์ในของเหลวอยูใ่ นระดับเหนือกระเปาะได้พอเหมาะและ
ตั้งตรงให้อ่านได้ในระดับสายตา
4 หมายถึง นอกจาก 3 แล้วเมื่อใช้เทอร์โมมิเตอร์แล้ว ได้ทำความสะอาดและจัดเก็บเทอร์โมมิเตอร์ไว้ในที่เก็บให้ปลอดภัยและ
เรี ยบร้อย

ฯลฯ

เกณฑ์การประเมินผลทักษะปฏิบตั ิ
ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป
ดี ได้คะแนนร้อยละ 70 – 79
พอใช้ ได้คะแนนร้อยละ 60 – 69
ควรปรับปรุ ง ได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 60

3) การประเมินเชิงกระบวนการและผลผลิต
การประเมินแบบนี้ จะประเมินทั้งในส่ วนของการปฏิบตั ิระหว่างดำเนินการโดยผูเ้ รี ยนได้ใช้ความรู้ ประสบการณ์และทักษะต่างๆในการ
ทำงานจนได้ผลงานหรื อผลผลิตออกมา แล้วมีการประเมินคุณภาพของผลงานหรื อชิ ้นงานที่ผลิตอีกครั้งหนึ่ง เช่น การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรี ยน
เป็ นต้น

ตัวอย่างแบบตรวจโครงงาน

รายการ
การออกแบบการ การเลือกใช้วสั ดุ ประโยชน์ในการนำ การนำเสนอผลการ เนื้ อหาสาระใน คะแนนรวม
ทดลอง อุปกรณ์ ไปใช้ ทดลอง รายงาน
130

/
กลุ่มที่ ชื่อ

ตัวอย่างเกณฑ์การให้คะแนน
1. การออกแบบการทดลอง
1 หมายถึง เขียนขั้นตอนในการทดลองที่ยงั ไม่เป็ นระบบอย่างชัดเจน
2 หมายถึง เขียนขั้นตอนในการทดลองที่เป็ นระบบชัดเจน
3 หมายถึง เขียนขั้นตอนในการทดลองที่เป็ นรายชัดเจนและมีการเขียนแผนภูมิแสดงขั้นตอนประกอบแต่ไม่ละเอียด
4 หมายถึง เขียนขั้นตอนในการทดลองที่เป็ นรายชัดเจนและมีการเขียนแผนภูมิแสดงขั้นตอนประกอบอย่างละเอียด
2. ฯลฯ

เกณฑ์การประเมินผล

ดีมาก หมายถึง ได้คะแนน …… .. คะแนน ขึ้นไป


ดี หมายถึง ..
ได้คะแนนระหว่าง … ถึง …… คะแนน .
พอใช้ หมายถึง ..
ได้คะแนนระหว่าง … ถึง …… คะแนน .
ปรับปรุ ง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า ……… . คะแนน

การใช้แบบวัดทักษะปฎิบตั ิ

การวัดทักษะปฏิบตั ิมกั เป็ นเรื่ องเกี่ยวข้องกับความรู้ความสามารถในเชิงการแสดงออกเฉพาะตัวซึ่งเป็ นเรื่ องในทางคุณภาพ มิใช้ในเรื่ องของ


ปริ มาณเพียงอย่างเดียว การวัดจึงมีความแปรปรวนคลาดเคลื่อนได้ในบางกรณี เนื่องจากรสนิ ยมของผูว้ ดั ผลมีความแตกต่างกัน แม้จะมีแบบวัดทักษะปฏิบตั ิ
มีเกณฑ์การให้คะแนนอย่างเรี ยบร้อย ความลำเอียงบางครั้งจึงอาจเกิดขึ้นได้ การใช้แบบวัดทักษะปฏิบตั ิในการวัดเชิงผลงานจึงควรเป็ นรู ปของกรรมการ
สอบ และถ้าในชั้นเรี ยน ควรมีผปู ้ ระเมินที่หลากหลาย เช่น นักเรี ยน ครู ผสู ้ อน เพื่อนครู ตลอดจนบางครั้ งอาจเป็ นผูป้ กครอง ฯลฯ ได้ เพื่อการลงความเห็น
ให้แน่นอนสำหรับการตัดสิ นผล ซึ่งทำให้เกิดความยุติธรรมนักเรี ยนที่เข้ารับการประเมินมากกว่าการใช้ผวู ้ ดั เพียงคนเดียว การใช้แบบวัดการปฏิบตั ิ ผู ้
ประเมินทุกคนควรได้มีการปรึ กษาหารื อกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเกณฑ์การให้คะแนนให้ชดั เจนและตรงกัน โดยเฉพาะในเรื่ องของเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
กับด้านคุณภาพ ส่ วนเรื่ องเกี่ยวกับด้านปริ มาณมักจะไม่มีปัญหา หลังจากทำความเข้าใจในเรื่ องเกณฑ์การให้คะแนนแล้วควรศึกษารู ปแบบการให้คะแนนให้
แจ่มแจ้งเพื่อการกรอกคะแนน และรวมคะแนนได้อย่างถูกต้องขณะทำการสอบทักษะปฏิบตั ิ
หลังจากการสอบทักษะปฏิบตั ิเสร็จสิ้ นลง ผูใ้ ห้คะแนนหรื อกรรมการสอบจะอภิปรายกันเพื่อสรุ ปให้ได้คะแนนการสอบทักษะปฏิบตั ิของผูเ้ ข้า
สอบแต่ละคน และใช้ในการประเมินผลต่อไป บางครั้งผูใ้ ห้คะแนนมีหลายคนมีความความเห็นตรงกันการให้คะแนนรวมจะไม่มีปัญหา แต่ถา้ ความเห็นไม่
ตรงกัน การอภิปรายจะใช้เวลานาน แต่ในที่สุดคะแนนของผูเ้ ข้าสอบแต่ละคนย่อมจะได้มาเพื่อการประเมินผลต่อไป
ข้อคำนึงในการวัดทักษะปฏิบตั ิที่สำคัญคือความเที่ยงตรง หรื อความยุติธรรมในการให้คะแนน ปัญหาการให้คะแนนเกิดจากธรรมชาติของ
ทักษะปฏิบตั ิที่เรื่ องในเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ ด้วยกระบวนการในการแก้ไขคือการใช้กรรมการสอบหลายคน ทำให้มีการอภิปรายให้ความเห็นเพื่อปรับ
คะแนนกันจนเป็ นที่พอใจของกรรมการทุกคน คะแนนที่ได้จึงน่าจะถือได้ว่าเที่ยงตรงและยุติธรรม
131

การหาคุณภาพของแบบวัดการปฏิบตั ิ

การหาคุณภาพของวัดการปฏิบตั ิน้ นั เนื่องจากแบบวัดการปฏิบตั ิมีท้ งั การวัดในลักษณะการสังเกตในขณะปฏิบตั ิ ดังนี้


1) การหาความเที่ยงตรง(Validity) หาความเที่ยงตรงเช่นเดียวกับแบบเก็บรวบรวมข้อมูลอื่นๆที่มีการหา ความเที่ยงตรงตามเนื้ อหา
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และความเที่ยงตรงตามเกณฑ์
2) การหาความเชื่อมัน่ (Reliability) ให้หาความเชื่อมัน่ เช่นเดียวกับแบบสังเกต โดยใช้สูตร การหาความเชื่อมัน่ ในข้อ 2 หน้า
130 - 131

การประเมินจากแฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio Assessment)

แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) เป็ นแนวทางหนึ่งของการประเมินผลตามสภาพจริ งที่ใช้ในการประเมินผลการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน

สามารถสะท้อนให้เห็นผลที่เกิดจากกระบวนการเรี ยนการสอนและผลผลิตจากการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนอย่างชัดเจน

การประเมินโดยใช้แฟ้ มสะสมงานเป็ นวิธีการประเมินผลการเรี ยนการสอน โดย นักเรี ยนมีส่ วนร่ วมในกระบวนการประเมินผลอย่างเต็มที่

(Mackillop, 1994 อ้างใน สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2544 : 111) กล่าวคือนักเรียนต้องยึดกระบวนการ 2 ขั้นตอน คือ
1) นักเรียนแต่ละคนเก็บรวบรวมผลงาน บันทึกและผลการประเมินต่างๆ ไว้ในแฟ้ มรวมผลงาน (Working Folder)
2) นักเรียนแต่ละคนจัดและคัดเลือกผลงานจากแฟ้ มรวมผลงานเพื่อจัดทำ แฟ้ มสะสมผลงาน (Portfolio) ต่อไป
แฟ้ มสะสมผลงานจะเป็ นเอกสารที่ระบุให้ทราบว่านักเรี ยนได้เรี ยนได้เรี ยนรู้อะไรไปแล้วบ้างในชั้นเรี ยนและในชีวิตประจำวันและนักเรี ยนได้

ทำอะไรสำเร็จลงแล้วบ้างระหว่างการเรี ยนการสอนในรายวิชานั้นๆ จะเห็นได้วา่ การประเมินโดยใช้แฟ้ มสะสมงานช่วยส่ งเสริ มนวัตกรรมใหม่ๆ และส่ ง

เสริ มคุณภาพการศึกษาให้แก่นกั เรี ยน ช่วยสนับสนุนให้เกิดความงอกงาม และตระหนักถึงคุณค่าของตนเอง นอกจากนี้ ยงั ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความ

กระตือรื อร้น
ส่วนประกอบของแฟ้ มสะสมผลงาน

ในแฟ้ มสะสมผลงานของนักเรี ยน ควรประกอบด้วยสิ่ งต่อไปนี้


1. แผ่นสรุปผลงานของนักเรียน (Summary Sheet) เพื่อสรุ ปว่าในแฟ้ มสะสมผลงานนี้ มีผลงานอะไรบ้าง โดยอาจมีหวั ข้อ เช่น
ชื่อ สกุลนักเรี ยน ชื่อ สกุลครู รายวิชา ระยะเวลา เริ ่ มต้นถึงสิ้ นสุด มีอะไรบ้างในแฟ้ มสะสมผลงาน ทำไมจึงเลือกชิ้นงานเหล่านี้ ได้เรี ยนรู้อะไรบ้าง
ความคิดเห็นต่อการเรี ยน หรื อรายวิชา เป็ นต้น
2. แผ่นปะหน้าผลงานแต่ละชิ้น (Cover Page) เพื่ออธิบายว่าทำไมเลือกผลงานนั้นๆ โดยมีหวั ข้อ เช่น ชื่อ สกุลนักเรี ยน วัน เดือน
ปี ชื่อเรื่ อง เหตุผลการเลือกชิ้นงานนี้
3. ตัวแทนผลงาน (Representative Sample of His/Her Work) ควรมีความหลากหลายและครอบคลุมจุด
ประสงค์การเรี ยนรู้ ผลงานหรื อชิ้นงาน เช่น งานทดลองหรื อ สื บค้นทางวิทยาศาสตร์ โครงงาน งานโต้ตอบกับสิ่ งที่อ่าน งานสำรวจและประเมินตนเอง
กิจกรรมความเข้าใจ ผังความคิด การตอบคำถาม แบบสำรวจทักษะ ระเบียบพฤติกรรม งานกลุ่ม งานแก้ปัญหา รายงานสรุ ปความก้าวหน้า เป็ นต้น
4. บันทึกต่างๆ (Recorde) ที่แสดงว่าผูเ้ รี ยนได้ทำอะไรบ้าง เช่น บันทึกการทดลองหรื อสื บค้นทางวิทยาศาสตร์ ความรู้สึกต่อสิ่ งที่
/
ทดลอง สื บค้นในแต่ละขั้นตอน และมีแบบประเมินตนเอง (Self Assessment Device) เช่น ถ้าเป็ นเรื่ อง บันทึกการทดลองหรื อสื บค้นทาง
วิทยาศาสตร์ อาจประกอบด้วย การเป็ นนักวิทยาศาสตร์ที่ดีควรทำอย่างไร นักวิทยาศาสตร์ที่ชื่นชอบคือใคร เหตุผลที่ชื่นชอบ เรื่ องที่ได้
ทดลองหรื อสื บค้นที่ชอบมากที่สุด เหตุผลที่ชอบ สิ่ งที่ยากและง่ายที่สุดในการทดลองหรื อสื บค้น เรื่ องที่ตอ้ งการทดลองหรื อสื บค้นในอนาคตคือเรื่ อง
อะไร เป็ นต้น
132

5. แผ่นสรุปความคิดเห็นของครู (Teacher Summary Sheet) เพื่อแสดงความคิดเห็นของครู ต่อแฟ้ มสะสมผลงานนักเรี ยน


( /
โดยอาจมีหวั ข้อ เช่น ชื่อ สกุลนักเรี ยน ชื่อ สกุลครู รายวิชา เวลาเรี ยน ระยะเวลา คำบรรยายรายวิชา วัตถุประสงค์ กิจกรรม โครงการ / ) ข้อมูล
( )
เกี่ยวกับนักเรี ยน เป้ าหมาย การมีส่วนร่ วม สิ่ งที่นกั เรี ยนทำ ปฏิบตั ิได้ดี สิ่ งที่นกั เรี ยนควรให้ความสนใจเป็ นพิเศษ การวางแผนเพื่อพัฒนาต่อไปและข้อ
เสนอแนะ

คุณภาพของแฟ้ มสะสมผลงาน (สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2544 : 179)

การพิจารณาว่าแฟ้ มสะสมผลงานมีคุณภาพหรื อไม่น้ นั โดยทัว่ ไปจะต้องพิจารณาในเรื่ อง ความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมัน่


(Reliability) กล่าวคือ ผลการประเมิน ที่ได้มีความหมายว่าอะไร คะแนนที่ได้สามารถสรุ ปพาดพิงไปสู่ การตัดสิ นใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับนักเรี ยน

วิชา หรื อโรงเรี ยนได้หรื อไม่ และ คะแนนมีความคงที่หรื อไม่ วิธีตรวจสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมัน่ ของแฟ้ มสะสมผลงานสามารถทำได้โดยวิธีการ

ดังนี้

(Validity)
ความเที่ยงตรง วิธีตรวจสอบคุณภาพ

คะแนนมีความหมายว่าอะไร ? - เกณฑ์การให้คะแนนขึ้นอยูก่ บั อะไร ?


(มาตรฐานที่ใช้ / ยอมเยีย่ มหมายความว่าอะไร)
- ชิ้นงานเลือกมาอย่างไร ?
สามารถสรุ ปพาดพิงจากคะแนนสู่ การตัดสิ นใจที่ถูก - คะแนนใช้วินิจฉัยได้หรือไม่ ?
ต้องเกี่ยวกับนักเรี ยน วิชา หรื อ โรงเรี ยน - เมื่อนักเรียนได้คะแนนสูงหมายถึงอะไร เชิงปฏิบตั ิ นักเรียนทำอะไรอื่นๆ ได้อีก และเรา
ทราบได้อย่างไร ?

- เมื่อนักเรียนได้คะแนนต่ำบอกได้หรือไม่ว่าทำอย่างไรจึงจะปรับปรุ งการปฏิบตั ิของนักเรียนให้


ดีข้ ึนได้ เราจะทราบได้อย่างไรว่าการวินิจฉัยจะนำไปสู่ การปรับปรุ งการปฏิบตั ิของนักเรี ยน

- เมื่อใช้แฟ้ มสะสมผลงานแล้วมีผลอะไรบ้างต่อ นักเรี ยน วิชา และโรงเรี ยน ผลเหล่านั้นนำไปสู่

การปรับปรุ ง นักเรี ยน วิชา และโรงเรี ยนหรื อไม่ ?


ความเชื่อมัน่ วิธีตรวจสอบคุณภาพ

คะแนนมีความคงที่หรื อไม่ ? - ความเห็นพ้องระหว่างผูป้ ระเมิน

- ความคงที่ระหว่างผูป้ ระเมิน

- ความคงที่ของคะแนนของนักเรี ยนคนเดิมในงาน ลักษณะคล้ายคลึงกันแต่ต่างโอกาส

- ความคงที่ของคะแนนของชิ้นงานแบบเดียวกันแต่ต่างรู ปแบบของแฟ้ มสะสมผลงาน


133

- ความคงที่ของคะแนนในงานที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน

ใบกิจกรรมที่ 5
การเลือกและแนวทางการสร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล (150 นาที )

กิจกรรมที่ปฏิบตั ิ ให้แต่ละท่านดำเนินการดังต่อไปนี้
1. ศึกษารายละเอียดในเอกสารชุดฝึ กฯ หน่วยที่ 5 การเลือกและการสร้าง
เครื่ องมือรวบข้อมูล
2. เขียนชื่อเครื่องมือวิจยั ในชั้นเรียนที่ตอ้ งใช้ในการรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ อย่างน้อย 1 ชนิดที่จะใช้วดั ตัวแปรตามลงใน
ตารางช่องเครื่ องมือวิจยั ที่ใช้
3. เขียนกรอบของเครื่องมือวิจยั ที่เลือกใช้ในการรวบรวมข้อมูล ขณะเขียน ให้ปรึ กษาและแลกเปลี่ยนคิดเห็นกับเพื่อน
สมาชิกด้วย
4. ส่งผลการปฏิบตั ิในข้อ 3 – 4 ให้วิทยากรตรวจสอบและให้ขอ้ สังเกตหรือ
ข้อเสนอแนะ

เครื่ องมือ รวบรวมข้อมูลที่


นวัตกรรมที่ใช้ รู ปแบบการทดลอง ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
ใช้

จากกิจกรรมที่ 4

You might also like