You are on page 1of 46

การวินิจฉัยโรค

คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย

โรงเรี ยนสิ ริภจั จ์การแพทย์แผนไทย


อ.ประสิ ทธิ์ คงทรัพย์
กองพิกัดสมุฏฐาน
ธาตุสมุฏฐาน
อตุ ุสมุฏฐาน
อายุสมุฏฐาน
กาลสมุฏฐาน
เสฏฐญาณแพทย์ มิจฉาญาณแพทย์
ธาตุสมุฏฐาน
 ปถวีธาตุ ที่ต้ งั วีสติปถวี วิปริ ตคือ หทัยวัตถุ อุทริ ยะ กรี สะ
 อาโปธาตุ ที่ต้ งั ทวาทศอาโป วิปริ ตคือ ศอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ
 วาโยธาตุ ที่ต้ งั ฉกาลวาโย วิปริ ตคือ หทัยวาตะ สัตถกะวาตะ สุ มนาวาตะ
 เตโชธาตุ ที่ต้ งั จตุกาลเตโช วิปริ ตคือ พัทธปิ ตตะ อพัทธปิ ตตะ กาเดา
ฤดูสมุฏฐาน

 ฤดู 3 แบ่ ง 1 ปี เป็ น 3 ฤดู ฤดูละ 4 เดือน


(เริ่มต้ น แรม 1 คา่ เดือน 4 เหมือนใน กิจ 4) ไม่ มฤี ดู 4
 ฤดู 6 แบ่ ง 1 ปี เป็ น 6 ฤดู ฤดูละ 2 เดือน
(เริ่มต้ น แรม 1 คา่ เดือน 4 เหมือนใน กิจ 4)
ฤดู 3 ฤดู 6
คิมหันตฤดู คิมหันตฤดู
แรม 1 ค่า เดือน 4 แรม 1 เดือน 4
พิกดั ปิ ตตะสมุฏฐาน เป็ นเหตุ พิกดั ปิ ตตะ เสมหะระคน(ระคนฤดูที่จากมา)
ขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ขึน้ 15 ค่า เดือน 6
วสั นตฤดู
แรม 1 เดือน 6
พิกดั ปิ ตตะ วาตะระคน(ระคนฤดูที่จะเข้าไป)
ขึ้น 15 ค่า เดือน 8
ฤดู 3 ฤดู 6
วสั นตฤดู วัสสานฤดู
แรม 1 ค่า เดือน 8 แรม 1 ค่า เดือน 8
พิกดั วาตะ ปิ ตตะระคน (ระคนฤดูที่จากมา)
ขึน้ 15 ค่า เดือน 10
พิกดั วาตะสมุฏฐาน เป็ นเหตุ สะระทะฤดู
แรม 1 ค่า เดือน 10
พิกดั วาตะ เสมหะระคน (ระคนฤดูที่จะเข้ าไป)
ขึน้ 15 ค่า เดือน 12 ขึน้ 15 ค่า เดือน 12
ฤดู 3 ฤดู 6
เหมันตฤดู
เหมันตฤดู แรม 1 คา่ เดือน 12
แรม 1 คา่ เดือน 12 พิกดั เสมหะ วาตะระคน
พิกดั เสมหะสมุฏฐาน เป็ น เหตุ (ระคนฤดูทจี่ ากมา)
ขึน้ 15 คา่ เดือน 4 ขึน้ 15 คา่ เดือน 2
ศิศิรฤดู
แรม 1 คา่ เดือน 2
พิกดั เสมหะ ปิ ตตะระคน
(ระคนฤดูที่จะเข้ าไป)
ขึน้ 15 คา่ เดือน 4
อายุสมุฏฐาน
เจ้ าเรื อน เจ็บไข้ เริ่มจาก กาลัง ระยะของโรค
 ปฐมวัย (พาลทารก) แรกเกิด ถึง 16 เสมหะ เสมหะ 12 เสมหะ-ปิ ตตะ-วาตะ
ปี
 มัชฌิมวัย(พาลปานกลาง) ปิ ตตะ ปิ ตตะ 7 ปิ ตตะ-วาตะ-เสมหะ
16 - 30 ปี
 ปัจฉิมวัย (พาลผู้เฒ่ า) วาตะ วาตะ 10 วาตะ-เสมหะ-ปิ ตตะ
30 - อายุขัย
มัชฌิมวัย ปิ ตตะ วาตะ เสมหะ
กาลังของโรค 7 10 12
กาลสมุฏฐาน
6.00 – 10.00 และ 18.00 – 22.00 พิกดั เสมหะกระทา
10.00 – 14.00 และ 24.00 – 02.00 พิกดั ปิ ตตะกระทา
14.00 – 18.00 และ 02.00 – 06.00 พิกดั วาตะกระทา
เสมหะกาเริบ 1. เมื่อเวลา เช้า , พลบค่า 2. เมื่อกินอาหารแล้ว
ปิ ตตะกาเริบ 1. “----” เที่ยง , เที่ยงคืน 2. เมื่ออาหารยังไม่ยอ่ ย
วาตะกาเริบ 1. “---” บ่าย , นอนหลับ 2. เมื่ออาหารย่อยแล้ว
เที่ย๑๒
ง,เที่ยงคืน
อาหารยังไม่ ย่อย

๑๐
ปิ ตตะกาเริบ


๙ .
บ่ าย,นอนหลับ
อาหารย่ อยแล้ ว
เสมหะกาเริบ
วาตะกาเริบ

กินอาหารแล้ ว


ฤดู 3 พิสดาร
คิมหันตฤดู
สมุฏฐาน
แรม 1 เดือน 4 ขึ้น 15 ค่า เดือน 8 (120 วัน)
40 วัน 40 วัน 40 วัน
พัทธปิ ตตะ อพัทธปิ ตตะ กาเดา

เตโช ระคน เตโช กึ่งหนึ่ง ไม่มีระคน


ฤดู 3 พิสดาร
วสันตฤดู
สมุฏฐาน
แรม 1 เดือน 8 ขึ้น 15 ค่า เดือน 12 (120 วัน)
40 วัน 40 วัน 40 วัน
หทัยวาตะ สัตถกวาตะ สุ มนาวาตะ

วาโย ระคน วาโย กึ่งหนึ่ง ไม่มีระคน


ฤดู 3 พิสดาร
เหมันตฤดู
สมุฏฐาน
แรม 1 ค่า เดือน 12 ขึ้น 15 ค่า เดือน 4 (120 วัน)
40 วัน 40 วัน 40 วัน
ศอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ

ปะระเมหะเกรอะ
ปะระเมหะกึ่งหนึ่ง ไม่มีระคน
ลงมาระคน
ฤดู 6 พิสดาร
คิมหันตฤดู (ฤดูร้อน) พิกดั ปิ ตตะสมุฏฐาน เสมหะสมุฏฐานระคน แต่
แบ่งย่อยเป็ น 3 ฐาน

แรม 1 เดือน 4 ขึ้น 15 เดือน 6


สมุฏฐาน พัทธปิ ตตะ อพัทธปิ ตตะ กาเดา
ตัวที่ระคน เสมหะกล้า 1 เสมหะกลาง 1 เสมหะอ่อน 1

อพัทธกล้า 2 กาเดากล้า 2 อพัทธกล้า 2


- มาจากฤดูหนาว เจือด้ วยเสมหะกล้ า , กลาง , อ่ อน
แต่ ระคน 1 ส่ วนตลอด
- จะไม่ มตี ัวนา (พัทธะ) แล้ วสลับระหว่ าง อพัทธกล้ าและ
กาเดากล้ า อีก 2 ส่ วน

* รวมเป็ น 3 ส่ วน *
ฤดู 6 พิสดาร
วสั นตฤดู (เข้ าสู่ ฤดูฝน) พิกดั ปิ ตตะสมุฏฐาน วาตะสมุฏฐานระคน แต่
แบ่ งย่ อยเป็ น 3 ฐาน

แรม 1 เดือน 6 ขึ้น 15 เดือน 8


สมุฏฐาน พัทธปิ ตตะ อพัทธปิ ตตะ กาเดา
ตัวที่ระคน วาตะ 2 วาตะ 2 วาตะ 3

อพัทธ 1 กาเดา 1 อพัทธ ระคน


- ฤดูที่ 2 วาตะเริ่ มที่ 2 ส่ วน ช่วงสุ ดท้ายใกล้ฤดูฝน วาตะ
เพิม่ ขึ้นเป็ น 3 ส่ วน
- จะไม่มีตวั นา (พัทธะ) แล้วสลับระหว่าง อพัทธและ
กาเดา จานวนส่ วนรวมกันให้

* เท่ากับ 3 ส่ วน *
ฤดู 6 พิสดาร
วัสสานะฤดู (ฤดูฝน) พิกดั วาตะสมุฏฐาน ปิ ตตะสมุฏฐานระคน แต่
แบ่ งย่ อยเป็ น 3 ฐาน

แรม 1 เดือน 8 ขึ้น 15 เดือน 10


สมุฏฐาน หทัยวาตะ สัตถกะวาตะ สุ มนาวาตะ
ตัวที่ระคน ปิ ตตะ 1 ปิ ตตะ 1 ปิ ตตะอ่อน 1

สัตถกวาตะ 2 สุ มนาวาตะ 2 สัตถกะวาตะ 2


- มาจากปลายฤดูร้อน เจือด้ วยปิ ตตะ และลดลง แต่ ระคน 1
ส่ วน ตลอด
- จะไม่ มต
ี ัวนา (หทัยวาตะ) แล้ วสลับระหว่ าง สั ตถกะวาตะ
และสุ มนาวาตะ จานวนส่ วนรวมกันให้

* เท่ ากับ 3 ส่ วน *
ฤดู 6 พิสดาร
สะระทะฤดู (เข้าสู่ ฤดูหนาว) พิกดั วาตะสมุฏฐาน เสมหะสมุฏฐานระคน แต่
แบ่งย่อยเป็ น 3 ฐาน

แรม 1 เดือน 10 ขึ้น 15 เดือน 12


สมุฏฐาน หทัยวาตะ สัตถกะวาตะ สุ มนาวาตะ

ตัวที่ระคน เสมหะ 2 เสมหะ 2 เสมหะ 3

สัตถกะวาตะ 1 สุ มนาวาตะ 1 สัตถกะวาตระคน


- ฤดูที่ 4 เสมหะเริ่มที่ 2 ส่ วน ช่ วงสุ ดท้ ายใกล้ ฤดูหนาว เสมหะ
เพิม่ ขึน้ เป็ น 3 ส่ วน
- จะไม่ มต ี ัวนา (หทัยวาตะ) แล้ วสลับระหว่ าง สั ตถกะและ
สุ มนา จานวนส่ วนรวมกันให้

* เท่ ากับ 3 ส่ วน *
ฤดู 6 พิสดาร
เหมันตะฤดู (ฤดูหนาว) พิกดั เสมหะสมุฏฐาน วาตะสมุฏฐานระคน แต่
แบ่ งย่ อยเป็ น 3 ฐาน

แรม 1 เดือน 12 ขึ้น 15 เดือน 2


สมุฏฐาน ศอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ
ตัวที่ระคน วาตะ 2 วาตะ 2 วาตะอ่อน 1

อุระเสมหะ 1 คูถเสมหะ 1 อุระเสมหะ 2


- มาจากปลายฤดูฝน เจือด้วยวาตะ และลดลง แต่ระคน
2,2,1 ส่ วน
- จะไม่มีตวั นา (ศอเสมหะ) แล้วสลับระหว่าง อุระ และคูถ
จานวนส่ วนรวมกันให้

* เท่ากับ 3 ส่ วน *
ฤดู 6 พิสดาร

ศิศิระฤดู (เข้าสู่ ฤดูร้อน) พิกดั เสมหะสมุฏฐาน ปิ ตตะสมุฏฐานระคน แต่


แบ่งย่อยเป็ น 3 ฐาน

แรม 1 เดือน 2 ขึ้น 15 เดือน 4


สมุฏฐาน ศอเสมหะ อุระเสมหะ คูถเสมหะ
ตัวที่ระคน ปิ ตตะ 1 ปิ ตตะ 2 ปิ ตตะ 3

อุระเสมหะ 2 คูถเสมหะ 1 อุระเสมหะระคน


- เข้ าสู่ ฤดูร้อน เริ่มที่ 1 ส่ วน แล้ ว 2 แล้ ว 3 ส่ วน ยิง่ ใกล้ ฤดูร้อน
ปิ ตตะมาก
- จะไม่ มต ี ัวนา (ศอเสมหะ) แล้ วสลับระหว่ าง อุระ และคูถ
จานวนส่ วนรวมกันให้

* เท่ ากับ 3 ส่ วน *
อายุโรค ตามคัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย มีลาดับดังนี้ (การดาเนินไปของโรค
โดยไม่สนใจระยะดาเนินของโรคตามอายุสมุฏฐาน)
1. เจ็บไข้ วันที่ 1 - 7
อยูใ่ นช่วงปิ ตตะสมุฏฐาน ปิ ตตะ มีกาลัง 7 องศา
2. เจ็บไข้ วันที่ 8 - 19
อยูใ่ นช่วงเสมหะสมุฏฐาน เสมหะ มีกาลัง 12 องศา
3. เจ็บไข้ วันที่ 20 - 29
อยูใ่ นช่วงวาตะสมุฏฐาน วาตะ มีกาลัง 10 องศา
สั นนิบาต คือปิ ตตะ วาตะ เสมหะ ระคนกันเข้าพร้อมกัน
คือ ให้โทษพร้อมกัน , เจ็บไข้เกิน 29 วัน
กาลสมุฏฐาน 1. กาลเอกโทษ 2. กาลทุวนั โทษ
3. กาลตรี โทษ
กาลเอกโทษ ในแต่ละช่วงมี 3 ส่วน ช่วงกลางทัง้ 2 ช่วง
เจ้าเรือนกระทาเต็มที่ ไม่มีอย่างอื่นระคน

6 7 8 9 10

วาตะ เอกโทษ เสมหะ ปิ ตตะ

เจ้ าเรื อน 2 ส่ วน เจ้ าเรื อนกระทา เจ้าเรื อนกระทา เจ้าเรื อน 2 ส่ วน

ที่จากมา 1 ส่ วน เต็มทั้ง 3 ส่ วน เต็มทั้ง 3 ส่ วน ที่จะไปหา 1 ส่ วน


(วาตะ) (ปิ ตตะ)
๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔

เสมหะ กาลเอกโทษปิ ตตะ วาตะ

ปิ ตตะ ๒ ปิ ตตะ ๓ ปิ ตตะ ๓ ปิ ตตะ ๒

เสมหะ ๑ วาตะ ๑
เจ้ าเรื อนกระทาเต็ม
๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘

ปิ ตตะ
กาลเอกโทษวาตะ เสมหะ

วาตะ ๒ วาตะ ๓ วาตะ๓ วาตะ ๒

ปิ ตตะ ๑ เจ้ าเรื อนกระทาเต็ม ๓ ส่ วน เสมหะ ๑


๑๒

๑๑

ปิ ตตะ ๓ ส่ วน
๑๐ ปิ ตตะ ๒ ๒
ปิ ตตะ ๒
เสมหะ ๑ วาตะ ๑
เสมหะ ๒
ปิ ตตะ ๑ ปิ ตตะ ๑ วาตะ ๒
๙ ๓
เสมหะ ๓
ส่ วน วาตะ ๓ ส่ วน
๘ เสมหะ๒ วาตะ ๒ ๔
วาตะ ๑ เสมหะ ๑


กาลทุวันโทษ ในแต่ละช่วงมี 3 ส่วน มีระคนทุกช่วง แต่ระคนเพียง
2 อย่าง

6 7 8 9 10

วาตะ เสมหะทุวนั โทษ ปิ ตตะ


เจ้าเรื อน 1 ส่ วน เจ้าเรื อน 2 ส่ วน เจ้าเรื อน 2 ส่ วน เจ้าเรื อน 1 ส่ วน
(เสมหะ ๑) เสมหะ ๒ เสมหะ ๒ (เสมหะ ๑)
ที่จากมา 2 ส่ วน ที่จากมา 1 ส่ วน ที่เข้าไป 1 ส่ วน ที่จะเข้าไป2ส่ วน
(วาตะ ๒) วาตะ ๑ ปิ ตตะ ๑ ปิ ตตะ ๒
๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔

เสมหะ ปิ ตตะทุวนั โทษ วาตะ

ปิ ตตะ ๑ ปิ ตตะ๒ ปิ ตตะ๒ ปิ ตตะ ๑

เสมหะ ๒ เสมหะ ๑ วาตะ ๑ วาตะ ๒


๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘

ปิ ตตะ วาตะทุวนั โทษ เสมหะ

วาตะ ๑ วาตะ๒ วาตะ๒ วาตะ ๑

ปิ ตตะ ๒ ปิ ตตะ ๑ เสมหะ ๑ เสมหะ ๒


สรุ ปหลักการจาเรื่อง ทุวันโทษ
1. ช่วงกลางทั้ง 2 ช่วง เจ้าเรื อนกระทา 2 ส่ วน
2. ช่วงที่ติดกับเพื่อนบ้าน เจ้าเรื อนกระทาลดลงเหลือ 1
ส่ วน
3. ทุกช่วงรวมกันไม่เกิน 3 ส่ วน
๑๒
๑๑ ๑
ปิ ตตะ ๒
๑๐ เสมหะ ๑ วาตะ ๑

๙ ๓

๘ ๔



๑๒
๑๑ ๑

๑๐ ๒
๖ ๗ ๗ ๖
วาตะ ๑
เสมหะ ๑
๖ ๖
๙ ปิ ตตะ ๔ เสมหะ ๑ ๓ ๓
๗ วาตะ ๒

๗ ๗
๘ ๖ ๖

๗ ๕

ธาตุทงั้ 4 กาเริบ หย่อน พิการ ตามสุรยิ ะดาเนินไปในห้วงจักราศี
ธาตุ เตโช ปถวี วาโย อาโป
ราศรี เมษ ราศรีพฤษภ ราศรีเมถุน ราศรีกรกฎ
กาเริ บ พัทธปิ ตตะ หทัยวัตถุ หทัยวาตะ ศอเสมหะ

ราศรี สิงห์. ราศรีกันย์ ราศรีตุลย์ ราศรีพจิ ิก


หย่อน อพัทธปิ ตตะ อุทริ ยะ สัตถกวาตะ อุระเสมหะ

ราศรี ธนู ราศรีมังกร ราศรีกุมภ์ ราศรีมีน


พิการ กาเดา กรี สะ สุ มนาวาตะ คูถเสมหะ

พระอาทิตย์ สถิตในราศีเมษ (แรม 1 ค่าเดือน 4 ถึง ขึ้น 15 ค่า เดือน 5 ส่ งผลให้


เตโชธาตุกาเริ บ
ตารับยาแก้สมุฏฐานโรคตามกาลสุมุฏฐาน
เสมหะสมุฏฐาน(ยา่ รุ่ ง-๔ โมงเช้ า) อาการกระทาให้ ตัวร้ อนตัวเย็น ให้ ขน
ลุกขนพอง บางทีให้ เสโทตก ให้ กลัดอก บางทีให้ หลับเชื่ อมมัว และให้ เป็ น
หวัด ไอ ให้ เบื่ออาหารให้ สวิงสวาย
ถ้ าจะแก้ ให้ เอา
รากสะเดา, รากมะตูม,บอระเพ็ด ,ราก
จวง, เปราะหอม,รากสะเดาดิน,จุกโหรินี , ดีปลี,ว่ าน
นา้ , รากมะแว้ ง, เสมอภาคต้ มก็ได้ ทาเป็ นจุณก็ได้ บด
ทาแท่ งไว้ ละลายนา้ ขิงต้ มก็ได้ นา้ มะขามต้ มก็ได้ กิน
แก้ เสมหะสมุฏฐาน
ตารับยาแก้เสมหะสมุฏฐาน
ขนานที่ ๒ โกศสอ, ผลโมกหลวง,รากกะทุงหมาบ้ า,
ผลกระดอม, เสมอภาค
ต้ มให้ งวดแล้ วเอาพริกไทยตาผงใส่ ในน้าผึง้ ราหัด กินแก้
เสมหะสมุฏฐานโรคหายฯ

ขนานที่ ๓ รากฟักข้ าว,รากรกฟ้ า,รากไม้ เกด,ผล


มะขามป้ อม,รากมะแว้ ง,ดีปลี,
เสมอภาคต้ มห้ กนิ แก้ ไข้ เสมหะนั้นหายฯ
ขนานที่ ๔ รากมะแว้งทัง้ ๒ ,ตรีผลา,ตรีสาร,
ว่านนา้ ,โกศสอ,อบเชย,ดีปลี,ขิง,
เอาเสมอภาคต้มกินแก้เสมหะ
สมุฏฐานโรควิเศษนักฯ
ตาราอ้างอิงจาก ตารายาวัดโพธิ์
ศาลา ๑ เสาที่ ๑๓
ตารับยาแก้ปิตตะสมุฏฐาน
ปิ ตตะสมุฏฐาน( ๔ โมงเช้ า- บ่ าย ๒ โมง)
อาการกระทาให้ จับเป็ นพิษ ให้ สะบัดร้ อนสะท้ านหนาว ให้ คลื่นเหียน ให้ ร้อน
ตัวร้ อนหน้ า เจรจาพร่าพรู ให้ จักษุแดง มีอาการกระทาต่ างๆ

ขนานที่ ๑ จันทน์ ชะมด,จันทน์ แดง,แห้ วหมู,กระพังโหม, เสมอภาคต้ มกิน

ขนานที่๒ หญ้ าเกล็ดหอย,บอระเพ็ด,หญ้ าตีนนก,ผลมะขามป้อม, เสมอ


ภาคต้ มกิน

ขนานที่ ๓ รากโลด,คุคะ,เกสรบัวหลวง,บอระเพ็ด เชื อกเถามวก, เสมอ


ภาคต้ มกิน
ยาแก้ ปิตตะสมุฏฐาน
ขนานที่ ๔ รากขัดมอน,รากกระดอม,เถายอดด้ วน,สะเดาดิน,
ต้ นผีเสื้ อใหญ่ เสมอภาคต้ มไว้ ให้ เย็น ราหัดน้าผึง้

ขนานที่ ๕ รากหวายขม,เถายอดด้ วน,ก้านตาล,รากกระดอม


เสมอภาคต้ มไว้ ให้ เย็นเมื่อจะกินราหัดน้าผึง้

ขนานที่ ๖ บอระเพ็ด,รากขัดมอน,กรุ งเขมา,ผลกระดอม,หญ้ าตีนนก


จุกโรหินี แฝกหอม, เสมอภาค ทาเป็ นจุณบดทาแท่ งไว้
ละลายนมโค ก็ได้
ตารับยาแก้ วาตสมุฏฐาน( บ่ าย ๑ โมง-ยา่ ค่า)
อาการให้ อยากบริโภคอาหารเผ็ด อาหารร้ อน อาหารฝาด
อาหารขม เนื้อแห้ ง ปลาแห้ ง เหลือประมาณ
แล้ วให้ ผะอืดผะอม ให้ แดก ให้ เสี ยด ให้ ขบแทง ให้ วิงเวียน
มืดหน้ าตามัว บางทีกระทาให้ ปากแห้ งคอแห้ ง ให้ หิวโหย
หาแรงมิได้

ขนานที่ ๑ บอระเพ็ด, สะค้ าน รากมะแว้ งต้ น,รากมะแว้ งเครื อ,


รากโคกกระสุ น, กาลังหนุมาณ, เทียนดา ,ข่ าลิง
ขิงแห้ ง
เสมอภาคต้ มให้ กนิ
ขนานที่ ๒ พริกไทย ,ขิงแห้ ง,ดีปลี,หอม,กระเทียม เสมอภาค ใบสะเดา
เท่ ายาทั้งหลาย ทาเป็ นจุณบดละลายน้าร้ อนกิน

ขนานที่ ๓ หนอนตายอยาก,รากฟักข้าว,ขิงแห้ ง,ผักแพวแดง,


เจตมูลเพลิง,รากมะรุ ม,โคกกระสุ น,เกลือสิ นเธาว์ ,สิ่ งละ
ส่ วน ดีปลี ๘ ส่ วน ทาเป็ นจุณบดละลายร้าร้ อนกิน

ขนานที่ ๔ ขิงแห้ ง,ลาพัน, ผักเสี้ยนผี,ดีปลี บอละเพ็ด,เทียนดา,


โกศหัวบัว,
เสมอภาค จาเป็ นจุณบดทาแท่ งไว้ ละลายน้าร้ อนกิน หรื อ
น้าส้ มซ่ ากิน
ขนานที่ ๕ ว่ านเปราะ,ว่ านนา้ ,ว่ านนางคา ว่ าน
ร่ อนทอง ,ดีปลี,ข่ าลิง
รากมะแว้ งต้ น,หอม,สะค้ าน,กระเทียม
สมุลแว้ ง,ผักแพวแดง,
พริกไทย, เสมอภาคทาเป็ นจุณ
บดทาแท่ งไว้ ละลายนา้ ร้ อน
อ้างอิงจาก ตาราวัดโพธิ์ (ศาลา ๑ เสาที่ ๖ แผ่นที่ ๑)

You might also like