You are on page 1of 20

อาการขาดธาตุอาหารพืช

Nutrition Deficiencies in Plants


ปิยะมาศ โสมภีร์ ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี
อาการขาดธาตุอาหารพืช
Nutrition Deficiencies in Plants
ธาตุ อ าหารเป็ น สิ่ ง จ าเป็ น ส าหรั บ พื ช ทุ ก
ชนิดเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต ให้ผลผลิต หรือเพื่อ
การขยายพันธุ์ให้ครบวงจร หากพืชได้รับในปริมาณ
ที่ไม่เพียงพอ หรือขาด พืชแสดงอาการผิดปกติให้
เห็น โดยสังเกตได้จากทั้ง ใบ ผล กิ่ง ยอด ดอก ลา
ต้น ซึ่งพืชแต่ละชนิดมีการตอบสนองต่อระดับอาการ
ขาดธาตุ อาหารในระดั บ ที่แ ตกต่ า งกั น ออกไป เรา
สามารถสังเกตได้คร่าวๆด้วยสายตาของเราเองได้
เบื้องต้น ซึ่งการสังเกตขาดธาตุอาหารของพืชมีข้อดี
คือ สามารถทาได้รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย และ
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ทันที
โดยบทความนี้ได้รวบรวมลักษณะอาการ
ขาดธาตุ อ าหารและจ าลองภาพอาการขาดธาตุ
อาหารเพื่ อ ใช้ ช่ ว ยในการวิ นิ จ ฉั ย อาการขาดธาตุ
อาหารพืชเบื้องต้นไว้ดังนี้
การขาดไนโตรเจน
• ใบจะเหลืองผิดปกติจากใบล่างไปสู่ยอด ปลายใบและขอบใบจะค่อยๆ
แห้งและลุกลามเข้ามาเรื่อย ๆ จนใบร่วงจากลาต้นก่อนกาหนด
• ลาต้นจะผอม กิ่งก้านลีบเล็ก และมีใบน้อย
• พืชบางชนิดอาจจะมีลาต้นสีเหลือง หรืออาจจะมีสีชมพูเจือปนด้วย
• พืชจะไม่เติบโต หรือโตช้ามาก
การขาดฟอสฟอรัส
• ใบล่างเริ่มมีสีม่วงตามแผ่นใบ ต่อมาใบเป็นสีน้าตาลและร่วงหล่น
• ลาต้นแคระแกร็น ไม่ผลิดอกออกผล
• รากจะเจริญเติบโตและแพร่กระจายลงในดินช้ากว่าที่ควร
• ดอกและผลที่ออกมาไม่สมบูรณ์ หรือบางครั้งอาจหลุดร่วงไป หรือ
อาจมีขนาดเล็ก
• พืชจาพวกลาต้นอวบน้าหรือลาต้นอ่อนๆจะล้มง่าย
การขาดโพแทสเซียม
•ใบแก่มีสีเหลืองซีดโดยเริ่มจากขอบใบและปลายใบ
•พืชบางชนิดจะพบจุดสีน้าตาลไหม้กระจายทั่วใบ หรือพบจุดสีแดง
หรือเหลืองระหว่างเส้นใบ
•ในใบอ่อนถ้ามีอาการรุนแรงใบจะแห้งและร่วงก่อนเวลา
•ผลมีขนาดเล็ก สีผิวไม่สวย รสชาติไม่ดี
การขาดแคลเซียม
• ใบที่เจริญใหม่ๆ หงิก จะเกิดในใบอ่อนก่อนใบแก่ และเส้นใบจะ
บิดเบี้ยว มีจุดแหงตายของใบ
• การพัฒนาของตายอดจะชะงักการเจริญเติบโต
• ผลแตก และมีคุณภาพไม่ดี
• รากสั้น
การขาดแมกนีเซียม
• เกิ ด ในใบแก่ ก่ อ น เกิ ด อาการซี ด ในพื้ น ที่ ใ บที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งเส้ น ใบ
ในขณะที่เส้นใบยังคงเขียวอยู่ อาการซีดจะเกิดที่บริเวณใกล้เส้นกลาง
ใบก่อนแล้วลามไปที่ปลายใบ และใบร่วงหล่นเร็ว
• ทาให้ผลผลิตลดน้อยลง และต้นพืชทรุดโทรมอย่างเห็นได้ชัด
การขาดกามะถัน
• แสดงอาการที่ใบอ่อนก่อน ขนาดใบเล็กลง ใบมีสีเขียวอ่อนหรือ
เหลืองคล้ายๆกับอาการขาดไนโตรเจน แสดงอาการจากส่วนยอด
ลงไป เส้ น ใบเหลื อ งด้ ว ย พื ช บางชนิ ด ปลายใบม้ ว นงอ ใบแข็ ง
กระด้าง
• ยอดชะงักการเจริญเติบโต
• ลาต้นลีบเล็ก เนื้อไม้แข็ง
• รากยาวผิดปกติ
การขาดโบรอน
• แสดงอาการที่ส่วนที่ยอด และตายอดจะบิดงอ ชะงักการเจริญเติบโต
• ใบอ่อนบิดงอ เป็นคลื่น เส้นกลางใบหนากร้าน และตกกระ
• เกิดจุดสีน้าตาลหรือดาในส่วนต่างๆของพืชโดยเฉพาะพืชหัว
• ดอกไม่ส มบู ร ณ์ ละอองเรณูเ ป็น หมั น ยอดเกสรตัว เมีย ไม่ พร้ อมรั บ
ละอองเรณู ละอองเรณูไม่งอก หรื องอกได้แต่ไม่สมบูรณ์จึงไม่มีการ
ปฏิสนธิ เมล็ดไม่พัฒนาหรือพัฒนาไม่สมบูรณ์จึงไม่งอก
• ผลเล็กและแข็งผิดปกติ มีเปลือกหน้า บางทีผลแตกเป็นแผลได้
การขาดทองแดง
• การพัฒนาของตาดอกและการเจริญของตาดอกจะลดลง
• ใบพืชจะมีสีเขียวจัดผิดปกติ ต่อมา จะค่อยๆ เหลืองลง ใบบิดหรือผิด
รูปไป และมักพบจุดแผลตายบนใบ แสดงอาการจะยอดลงมาถึงโคน
• เกสรตัวผู้อาจเป็นหมัน หรืออับเรณูไม่แตก
• อาการขาดธาตุทองแดงพบมากในเขตดินเปรี้ยว
การขาดสังกะสี
• แสดงที่ใบอ่อนก่อน โดยใบอ่อนมีสีขาวซีดขณะที่ใบแก่ยังเขียวสด
• พืชที่ขาดธาตุสังกะสีจะให้ปริมาณฮอร์โมน IAA ในตายอดลดลง ทา
ให้ตา ยอดและข้อปล้องไม่ขยาย ใบออกมาซ้อน ๆ มีผลทางอ้อมใน
การสร้างส่วนสีเขียวของพืช
การขาดแมงกานีส
• แสดงอาการที่ใบอ่อน ใบอ่อนมีสีเหลืองระหว่างเส้นใบ เพราะขาด
คลอโรฟิลล์ เส้นใบมีสีเขียวเป็นปกติ (chlorosis) หรือบางทีเกิดเป็น
จุดสีขาวหรือเหลืองบนใบ ต่อมาใบที่มีอาการดังกล่าวจะเหี่ยวและ
ร่วงหล่น
• พุ่มของใบจะน้อย เนื่องจากมีใบไม่สมบูรณ์
• การเจริญเติบโตช้า ไม่ออกดอก ออกผล
การขาดโมลิบดินัม
• แสดงอาการที่ใบล่างก่อน โดยปรากฏจุดเหลืองตามแผ่น ใบ เป็นจุด
ด่างๆ ต่อมาแห้งตาย เส้นใบยังเขียวอยู่ ขอบใบหงิกงอมีลักษณะโค้ง
คล้ายถ้วย พืชบางชนิดใบจะแคบกว่าปกติ ปลายใบและขอบใบม้วน
เข้าข้างใน และจะแห้งตาย
•ดอกร่วง ถ้าติดผล ผลจะแคระแกร็น
การขาดคลอรีน
พืชเหี่ยวง่าย ใบสีซีดและบางส่วนแห้งตาย (chlorosis
และ necrosis) ใบมีสีบรอนซ์
การขาดเหล็ก
• แสดงออกทั้งทางใบและทางผล
• อาการเริ่มแรกจะสังเกตพบว่าใบอ่อนบริเวณเส้นใบยังคงมีความ
เขี ย ว แต่ พื้ น ใบจะเริ่ ม เหลื อ งซี ด ส่ ว นใบแก่ ยั ง คงมี อ าการปกติ
ระยะต่อมาจะเหลืองซีดทั้งใบ ขนาดใบจะเล็กลงกว่าปกติและจะ
ร่วงไปก่อนใบแก่เต็มที่
• ส่วนอาการที่เกิดขึ้นกับผลผลิตคือผลผลิตจะลดลง ขนาดของผล
เล็กและผิวไม่สวย ผิวเรียบและเกรียม
•การขาดธาตุเหล็กยังมีผลต่อการเจริญของยอดอ่อนด้วย
•กิ่งแห้งตาย
การขาดนิเกิล
ใบมีอาการเหลือง และตายของเนื้อเยื่อเริ่มแสดงอาการที่ปลาย
ใบล่างก่อน ใบมีขนาดเล็ก พืชให้ผลผลิตได้ไม่เต็มที่
โดยนิเกิลมีความสาคัญ คือ พืชมีท่อน้าเลี้ยง (vascular plant)
นิกเกิลมีความสาคัญในการทางานของเอนไซม์ยู เรส (urease) ซึ่งพืช
ใช้ในการจัดการกับยู เรีย สาหรับพืชไม่มีท่อน้าเลี้ยง (non-vascular
plant) นิกเกิลมีความสาคัญในการทางานของเอนไซม์หลายชนิด
ทั้ ง นี้ ได้เ ขียนเป็ น แผนภาพง่ายๆให้ เ กษตรกรหรื อ ผู้ ที่
สนใจสามารถนาแผนภาพไปใช้เปรียบเทียบลักษณะอาการขาด
ธาตุอาหารในสภาพสวน หรือในพื้นที่จริงได้ โดยได้ทาไว้ 2 แบบ
คือ แบบที่เป็นภาพจริงและภาพที่เป็นกราฟิก โดยได้แบ่งลักษณะ
อาการเป็ น กลุ่ ม อาการขาดธาตุ อ าหารที่ แ สดงอาการขาดธาตุ
อาหารในตาแหน่งใบล่างที่เจริญเติบโตเต็มที่และใบแก่ (ด้านล่าง
ใต้เส้นประ) กับตาแหน่งยอดและใบอ่อน (เหนือเส้นประ) ซึ่งใน
ตาแหน่งยอดและใบอ่อนได้แบ่งออกเป็นฝั่งซ้าย คือ กลุ่มอาการ
ขาดธาตุอาหารพืชที่แสดงตาแหน่งยอดและใบอ่อนที่รูปร่างปกติ
ส่ ว นทางฝั่ ง ขวามื อ คื อ กลุ่ ม อาการขาดธาตุ อ าหารพื ช ที่ แ สดง
ตาแหน่งยอด ใบอ่อน และผลที่มีรูปร่างผิดปกติ
ทั้งนี้การประเมินอาการขาดธาตุอาหารด้วยสายตาต้อง
อาศัยความชานาญ หากไม่เช่นนั้นอาจวินิจฉัยผิดได้ ดังนั้นหาก
ต้องการความถูกต้องและแม่นยาอย่างแท้จริง เกษตรกรสามารถ
เก็บตัวอย่างดิน และใบพืชส่งตรวจวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารได้
ที่สานักวิ จัยและพัฒนาการเกษตรทั้ง 8 เขต ของกรมวิ ชาการ-
เกษตร โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการวิเคราะห์ ซึ่งทั้ง 8 เขตตั้งอยู่ที่ 8
จังหวัด ดังนี้
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จ. เชียงใหม่
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 จ. พิษณุโลก
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 จ. ขอนแก่น
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จ. อุบลราชธานี
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จ. ชัยนาท
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จ. จันทบุรี
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 จ.สุราษฎร์ธานี
สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 จ. สงขลา
ตาแหน่งยอดและใบอ่อนรูปร่างปกติ ตาแหน่งยอดและใบอ่อนรูปร่างผิดปกติ
-สังกะสี
อาการขาดเหล็ก :ลักษณะอาการที่แสดงที่ใบ -เหล็ก อาการขาดสังกะสี : ข้อปล้องของพืชสั้น
คือ ใบอ่อนหรือใบส่ว นยอดมีสี เหลืองเส้นใบ ขนาดของใบเล็ ก เส้ น ใบมั ก หดหรื อ ย่ น
ยังคงมีความเขียว และมีขนาดเล็กกว่าปกติจะ บางครั้ง ซีดระหว่างใบ
แสดงออกทั้งทางใบและทางผล กิ่ งแห้งตาย
ผลผลิต จะลดลง ขนาดของผลเล็กและผิวไม่
สวย ผิวเรียบและเกรียม -ทองแดง
อาการขาดทองแดง : การขาดทองแดง
อาการขาดแมงกานีส : ใบอ่อนมีสีเหลืองใน ในสภาพธรรมชาติ ห ายากใบอ่ อ นมี สี
ขณะที่ เ ส้ น ใบยั ง เขี ย ว ต่ อ มาใบที่ มี อ าการ เขียวแก่และผิดรูปไปและมักพบจุดแผล
ดังกล่าวจะเหี่ยวและร่วงหล่น แผลเนื ้อเยื่อ - แมงกานีส
ตายบนใบ
ตายและใบร่ ว งในเวลาต่ อ มา คลอโร -
พลาสต์ไม่ทางาน - แคลเซียม
อาการขาดแคลเซียม : การพัฒนาของตายอดจะ
ชะงักการเจริญเติบโต และปลายรากจะตาย จะเกิด
ในใบอ่ อ นก่อ นใบแก่ และเส้นใบจะบิ ดเบี้ ย ว มีจุ ด
แหงตายของใบ
อาการขาดกามะถัน : ไม่คอยจะพบมากนัก ใบ - กามะถัน
มักจะมีสีเหลือง โดยเกิดที่ใบอ่อนก่อน
- โบรอน อาการขาดโบรอน : ส่วนที่ยอดและตายอดจะบิดงอ ใบ
อ่อนบางและโปร่งใสผิดปกติ เส้นกลางใบหนากร้าน และ
ตกกระ มีสารเหนียวๆ ออกมาตามเปลือกของลาต้น กิ่ง
ก้า นจะแลดู เ หี่ยว ดอกไม่ ส มบู ร ณ์ ละอองเรณูเ ป็ นหมั น
ยอดเกสรตัวเมียไม่พร้อมรับละอองเรณู ละอองเรณูไม่งอก
หรืองอกได้แต่ไม่สมบูรณ์จงึ ไม่มกี ารปฏิสนธิ เมล็ดไม่พัฒนา
หรือพัฒนาไม่สมบูรณ์จึงไม่งอก ผลเล็กและแข็งผิดปกติ มี
ตาแหน่งยอดและใบอ่อน เปลือกหน้า บางทีผลแตกเป็นแผลได้

ตาแหน่งใบล่างโตเต็มที่และใบแก่ - นิเกล
อาการขาดนิเกิล :อาการเนือ้ เยื่อตายขอบหรือปลาย - โมลิบดินัม
ใบ (Leaf tip necrosis) ในถั่วเหลือง (Glycine max อาการขาดโมลิ บดินัม : สีซีดในพื้นที่ระหว่างเส้นกลางใบ
Merr.) สาเหตุจากการขาดนิเกิล (Nickel) โดยเฉพาะ หรือทั้งเส้นกลางใบในใบแก่ คล้ายกับอาการขาดไนโตรเจน
ในช่วงการออก บางครั้งแกนใบไหมเกรียม ใบมีจุดหรือวงสีเหลืองประปราย
อาการขาดคลอรีน : ใบมีอาการเหี่ยวแล้วค่อย - คลอรีน หลังจากนั้นจะมียางเหนียวปรากฏในบริเวณ
ๆเหลืองแล้วตายเป็นลาดับหรือบางครัง้ มีสี ดังกล่าว จุดสีเหลืองจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลแดง
เกิดรอยนูนใต้ใบ แล้วร่วงหล่น
บรอนซ์เงิน ใบสีซีดและบางส่วนแห้งตาย รากจะ
คอยแคระแกรนและบางลงใกล้ปลายราก - โพแทสเซียม
อาการขาดโพแทสเซียม : ใบแก่มีสีเหลืองซีดโดย
เริ่มจากขอบใบและปลายใบ พืชบางชนิดจะพบจุดสี
- แมกนีเซียม น้าตาลไหม้ก ระจายทั่ วใบ หรื อพบจุดสี แดง หรื อ
อาการขาดแมกนีเซียม : เกิดอาการซีดในพื้นที่ใบที่อยู่ เหลืองระหว่างเส้นใบในใบอ่อน ถ้ามีอาการรุนแรง
ระหว่างเส้นใบ ในขณะที่เส้นใบยังคงเขียวอยู่ อาการซีด ใบจะแห้งและร่วงก่อนเวลา ผลมีขนาดเล็ก สีผิวไม่
จะเกิดที่ใบพื้นที่บริเวณใกล้เส้นกลางใบก่อนแล้วลามไป สวย รสชาติไม่ดี
ที่ปลายใบ โดยเกิดใน ใบแก่ก่อน
- ฟอสฟอรัส - ไนโตรเจน
อาการขาดไนโตรเจน : การเจริญเติบ โตจะหยุดชะงัก
และใบมีสีเหลืองซีดจากการขาดคลอโรฟีลล์ โดยเฉพาะ
อาการขาดฟอสฟอรัส : ใบล่างเริ่มมีสีม่วงตามแผ่นใบ ต่อมา
บริเวณใบแก่ ใบอ่อนจะยังคงมีสีเขียวนานกว่า ในพืชพวก
ใบเป็นสีน้าตาลและร่วงหล่น ลาต้นแคระแกร็น ไม่ผลิดอก ข้ า วโพดและมะเขื อ เทศ ลาต้น ก้า นใบ ผิว ใบด้า นล่า ง
ออกผล รากจะเจริญเติบโตและแพร่กระจายลงในดินช้ากว่าที่ เปลี่ยนเป็นสีม่วงได้
ควร ดอกและผลที่ออกมาไม่สมบูรณ์ หรือบางครั้งอาจหลุด อาการเป็นพิษ : พืชมีสีเขียวเข้ม ระบบรากถูกจากัดใน
ร่วงไป หรืออาจมีขนาดเล็ก พืชจาพวก มันฝรั่งจะมีหัวเล็กลง การออกดอกออกผลของพืชจะช้า
ลาต้นอวบน้าหรือลาต้นอ่อน ๆ จะล้มง่าย ลง (พืชแก่ช้า)
ปิ ยะมาศ โสมภีร์ ศูนย์วิจยั พืชสวนจันทบุรี สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร
-สังกะสี ตาแหน่งยอดและใบอ่อนรูปร่างผิดปกติ
ตาแหน่งยอดและใบอ่อนรูปร่างปกติ
อาการขาดสั ง กะสี : ข้ อ ปล้ อ งของพื ช สั้ น
-เหล็ก ขนาดของใบเล็ก เส้นใบมักหดหรือย่นบางครั้ง
อาการขาดเหล็ก :ลักษณะอาการที่แสดงที่ใบ ซีดระหว่างใบ
คือ ใบอ่อนหรือใบส่ว นยอดมีสี เหลืองเส้นใบ -ทองแดง
ยังคงมีความเขียว และมีขนาดเล็กกว่าปกติจะ อาการขาดทองแดง : การขาดทองแดงใน
แสดงออกทั้งทางใบและทางผล กิ่ งแห้งตาย สภาพธรรมชาติ ห ายากใบอ่ อ นมี สี เ ขี ย วแก่
ผลผลิต จะลดลง ขนาดของผลเล็กและผิวไม่ และผิดรูปไปและมักพบจุดแผลตายบนใบ
สวย ผิวเรียบและเกรียม
-แคลเซียม อาการขาดแคลเซียม : ใบที่เกิดใหม่หงิกงอ
-แมงกานีส
ก า ร พั ฒ น า ข อ ง ต า ย อ ด จ ะ ช ะ งั ก ก า ร
อาการขาดแมงกานี ส : ใบอ่ อ นมี สี เจริญเติบโต จะเกิดในใบอ่อนก่อนใบแก่ และ
เหลืองในขณะที่เส้นใบยังเขียว ต่อมาใบ เส้นใบจะบิดเบี้ยว มีจุดแห้งตายของใบ และ
ที่มีอาการดังกล่าวจะเหี่ยวและร่วงหล่น ปลายรากจะตาย
แผลเนื อ้ เยื่ อ ตายและใบร่ ว งในเวลา
ผล: ผลแตก มีรอยปุ๋ม ในมะเขือก้นเน่า
ต่อมา คลอโรพลาสต์ไม่ทางาน
อาการขาดโบรอน : ส่วนที่ยอดและตายอดจะบิดงอ ใบ
-โบรอน อ่อนบางและโปร่งใสผิดปกติ เส้นกลางใบหนากร้าน และ
-กามะถัน ตกกระ มีสารเหนียวๆ ออกมาตามเปลือกของลาต้น กิ่ง
ก้านจะแลดูเหี่ยว ดอกไม่สมบูรณ์ ละอองเรณูเป็นหมัน
อาการขาดกามะถัน : ไม่คอยจะพบ ยอดเกสรตัว เมีย ไม่พ ร้อมรับละอองเรณู ละอองเรณูไม่
มากนัก ใบมักจะมีสีเหลือง โดยเกิดที่ งอก หรืองอกได้แต่ไม่สมบูรณ์จึงไม่มีการปฏิสนธิ เมล็ดไม่
ใบอ่อนก่อน พัฒนาหรือพัฒนาไม่สมบูรณ์จึงไม่งอก ผลเล็กและแข็ ง
ผิดปกติ มีเปลือกหน้า บางทีผลแตกเป็นแผลได้
ตาแหน่งยอดและใบอ่อน
-นิเกิล
อาการขาดนิเกิล :อาการเนื้อเยื่อตาย ตาแหน่งใบล่างโตเต็มที่และใบแก่
ขอบหรือปลายใบ (Leaf tip necrosis) -โมลิบดินัม
ในถั่วเหลือง (Glycine max Merr.) อาการขาดโมลิบดินัม : สีซีดในพื้นที่ระหว่าง
สาเหตุ จ ากการขาดนิ เ กิ ล (Nickel) เส้นกลางใบหรือทั้งเส้นกลางใบในใบแก่ คล้าย
โดยเฉพาะในช่วงการออก กับอาการขาดไนโตรเจนบางครั้งแกนใบไหม้
-คลอรีน
เกรี ย ม ใบมี จุ ด หรื อ วงสี เ หลื อ งประปราย
อาการขาดคลอรีน : ใบมีอาการเหี่ยวแล้ว
หลังจากนั้นจะมียางเหนียวปรากฏในบริเวณ
ค่ อ ย ๆเหลื อ งแล้ ว ตายเป็ น ล าดั บ หรื อ
ดังกล่ า ว จุด สี เหลือ งจะเปลี่ ยนเป็ น สีน้ าตาล
บางครั้งมีสีบรอนซ์เงิน ใบสีซีดและบางส่วน
-โพแทสเซียม แดง เกิดรอยนูนใต้ใบ แล้วร่วงหล่น
แห้งตาย รากจะคอยแคระแกรนและบางลง
ใกล้ปลายราก อาการขาดโพแทสเซียม : ใบแก่มีสีเหลืองซีด
อาการขาดแมกนีเซียม : เกิดอาการซีดใน -แมกนีเซียม โดยเริ่มจากขอบใบและปลายใบ พืชบางชนิด
จะพบจุดสีน้าตาลไหม้กระจายทั่วใบ หรือพบ
พื้นที่ใบที่อยู่ระหว่างเส้นใบ ในขณะที่เส้น จุดสีแดง หรือเหลืองระหว่างเส้นใบในใบอ่อน
ใบยังคงเขียวอยู่ อาการซีดจะเกิดที่ใบพื้นที่ ถ้ามีอาการรุนแรงใบจะแห้งและร่วงก่อนเวลา
บริเวณใกล้เส้นกลางใบก่อนแล้วลามไปที่ ผลมีขนาดเล็ก สีผิวไม่สวย รสชาติไม่ดี
ปลายใบ โดยเกิดใน ใบแก่ก่อน
-ไนโตรเจน อาการขาดไนโตรเจน : การเจริญเติบโตจะ
อาการขาดฟอสฟอรัส: ใบล่างเริ่มมีสีม่วงตามแผ่น
ใบ ต่อมาใบเป็นสีน้าตาลและร่วงหล่น ลาต้นแคระ -ฟอสฟอรัส หยุดชะงัก และใบมีสีเหลืองซีดจากการขาด
แกร็น ไม่ผลิดอกออกผล รากจะเจริญเติบโตและ คลอโรฟีลล์ โดยเฉพาะบริเวณใบแก่ ใบอ่อน
แพร่ก ระจายลงในดินช้า กว่า ที่ควร ดอกและผลที่ จะยังคงมีสีเขียวนานกว่า ในพืชพวกข้าวโพด
ออกมาไม่สมบูรณ์ หรือบางครั้งอาจหลุดร่วงไป หรือ
อาจมีขนาดเล็ก พืชจาพวกลาต้นอวบน้าหรือลาต้น และมะเขือเทศ ลาต้น ก้านใบ ผิวใบด้านล่าง
อ่อน ๆ จะล้มง่าย เปลือกหนา เปลี่ยนเป็นสีม่วงได้
ไส้กลวง ปิยะมาศ โสมภีร์ ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี กรมวิชาการเกษตร
บรรณานุกรม
กองปฐพีวิทยา. ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์. ลักษณะอาการขาดาตุอาหารของพืช.โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. กรุงเพทฯ. 119 หน้า
สุมิตรา ภูวโรดม.2557. ธาตุอาหาร. อ้างอิงจาก จริงแท้ ศิริพานิช. ทุเรียน: นวัตกรรม
จากผลงานวิจัย. 59-79.
สานักงานเกษตรอาเภอปักธงชัย. 2563. ความต้องการธาตุอาหารของต้นข้าว.
แหล่งข้อมูลจาก http://www.kasetpakthongchai.com (18/6/2563).
J. O, Sullivan, V. Amante, G. Norton, E. van de Fliert, E. Vasquez and J.
Pardales. 2020. Sweet potato diagnostes: A diagnostic key and
information tool for sweet potato problems. https://keys.lucidcentral.
org/keys/sweetpotato/key/Sweetpotato%20Diagnotes/Media/Html/Fr
ontPage/FrontPage.htm (18/6/2020).
Schneider H., Cobram and V. Bates, Knoxfield. 2003. Mineral deficiencies
in fruit trees. Agriculture notes. AG0089: 1-2.
UFIFAS Extension University of Florida. 2013. Nutrient Deficiencies
Compared to Citrus Greening. Available: http://www.crec.ifas.ufl.edu/
extension/greening/ndccg.shtml (18/6/2020).

You might also like