You are on page 1of 23

ความรู้ เกีย่ วกับยาเคมีบำบัด

1. ยาเคมีบำบัดคืออะไร (What is chemotherapy)


คำว่า ยาเคมีบำบัดมีความหมายถึงยาเกือบทุกชนิดที่ใช้ในการรักษาความเจ็บป่ วย เช่น ยาพาราเซตามอล , ยาแอสไพริ น

แต่ความเข้ าใจของคนส่ วนใหญ่ มักจะหมายถึงยาที่ใช้ ในการรักษาโรคมะเร็งเป็ นหลัก

ยาเคมีบำบัดในระยะเริ่ มต้นนั้นไม่ได้ใช้ในการรักษาผูป้ ่ วย แต่ใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2 โดยเริ่ มต้นจากมัสตาดก๊าซ


(Mastard gas) พบว่าผูท้ ี่สูดก๊าซชนิดนี้ เข้าไปจะมีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำจากฤทธิ์การทำลายเซลล์ที่มีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ ว เช่น
เซลล์เม็ดเลือดขาว และแพทย์ในสมัยดังกล่าวก็ทราบว่าเซลล์มะเร็ งก็มีการเจริ ญแบ่งตัวอย่างรวดเร็ วเช่นเดียวกันกัน จึงมีการ
ทดลองให้ยาทางเส้นเลือดดำกับผูป้ ่ วยมะเร็ งเม็ดเลือดขาวเป็ นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2483 ซึ่งผลการรักษาที่ดี หลังจากการทดลอง
ดังกล่าวก็มีการตื่นตัวอย่างมากในการค้นคว้าวิจยั ยาที่มีฤทธิ์ ในการรักษาโรคมะเร็ ง ความแตกต่างของยาเคมีบำบัดเปรี ยบเทียบ
กับการรักษาโดยการผ่าตัด หรื อ ฉายรังสี คือ ตัวยาจะสามารถกระจายไปได้ ทุกส่ วนของร่ างกายเพื่อกำจัดเซลล์มะเร็ งที่แพร่
กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ ในขณะที่การฉายรังสี หรื อการผ่าตัดเป็ นการรักษาเฉพาะ ส่ วนที่ได้รับการผ่าตัด หรื อบริ เวณที่ได้รับ
การฉายรังสี ในปัจจุบนั มียาเคมีบำบัดมากกว่า 100 ชนิดที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ ง ซึ่งยาแต่ละตัวก็มีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน
ทั้งทาง เคมี การบริ หารยาเข้าสู่ร่างกาย ประสิ ทธิภาพในการรักษาโรคมะเร็ งแต่ละชนิด และผลข้างเคียงของยา แต่ละชนิด ในการ
ทดลอง ยาตัวใหม่จะเริ่ มจากในห้องปฏิบตั ิการในหลอดทดลองและสัตว์ทดลอง หลังจากนั้นจึงจะสามารถนำมาทดลองในผู้
ป่ วยจริ งเพื่อ ประเมินประสิ ทธิภาพและความปลอดภัย

การวิจยั ยาเคมีบำบัดในผูป้ ่ วยมะเร็ ง

ในการทำวิจยั ยาชนิดใหม่ หรื อวิธีการรักษาแบบใหม่จะเกิดขึ้นเมื่อมีเหตุผลที่เชื่อได้วา่ การยาหรื อการรักษานั้น สามารถเพิ่ม


ประสิ ทธิภาพในการรักษาหรื อควบคุมโรคได้ โดยผูป้ ่ วยและญาติผปู้ ่ วยที่เข้าร่ วมโครงการวิจยั ต้องได้รับการอธิบายขั้นตอนของ
การวิจยั สามารถปฏิเสธไม่เข้าร่ วมงานวิจยั ได้ และสามารถออกจากโครงการวิจยั ในภายหลังได้ ผูป้ ่ วยที่เข้าร่ วมโครงการวิจยั มี
ส่วนสำคัญใน การพัฒนาการรักษาผูป้ ่ วยมะเร็ งในอนาคต

2. ยาเคมีบำบัดออกฤทธิ์อย่ างไร (How dose Chemotherapy work?)


การออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดนั้นอยูบ่ นพื้นฐานความรู้เรื่ องการแบ่งเซลล์ในสิ่ งมีชีวิต โดยเซลล์สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีการแบ่ง
เซลล์เพื่อการเจริ ญเติบโตและทดแทนเซลล์ที่ตายไปหรื อได้รับบาดเจ็บ เซลล์ปกติและเซลล์มะเร็ งจะมีวงจรการแบ่งเซลล์ที่
เหมือนกัน และสามารถแบ่งออกได้เป็ น 5 ระยะด้วยกัน หลังจากผ่านไปหนึ่งรอบของการแบ่งเซลล์จะได้จำนวนเซลล์ที่มี
ลักษณะเหมือนกันเพิ่มอีก 1 เท่าตัว

ความ
ระยะของการแบ่งตัว เปลี่ยนแปลง ระยะเวลา
ที่เกิดขึ้น
ระยะ G0 หรื อ ระยะพัก เซลล์ส่วน ใช้ระยะเวลาตั้งแต่สองถึง
ใหญ่อยูใ่ น
(G0 phase or ระยะนี้นาน สามชัว่ โมงจนถึงสองถึง
ที่สุด เป็ น
resting stage) ระยะ สามปี แล้วแต่ชนิดของเซลล์

ที่ไม่มีการ
แบ่งตัว และ
เมื่อได้รับ
สัญญาณให้

มีการแบ่ง
เซลล์กจ็ ะ
เปลี่ยนเข้าสู่
ระยะ G1
ระยะ G1 (G1 phase) เซลล์จะเริ่ ม 18-30 ชัว่ โมง
สร้างโปรตีน
และมีขนาด
โตขึ้น
ระยะ S (S phase) เป็ นระยะที่มี 18-20 ชัว่ โมง
สร้างสาร
พันธุกรรมที่
เหมือน

กันเพิม่ อีก 1
ชุด

ระยะ G2 (G2 phase) เป็ นระยะที่ 2-10 ชัว่ โมง


เซลล์ตรวจ
สอบความถูก
ต้องของ

สาร
พันธุกรรม
และเตรี ยม
ความพร้อม
ใน

การแบ่งเซลล์
ระยะ M (M phase) เกิดการแบ่ง 30-60 นาที
เซลล์ออก
เป็ น 2 เซลล์

ยาเคมีบำบัดจะออกฤทธิ์ เฉพาะเซลล์ที่มีการแบ่งตัวเท่านั้น ไม่ออกฤทธิ์กบั เซลล์ที่อยูใ่ นระยะพัก (เซลล์ปกติในร่ างกายมนุษย์)


และยาบางตัวจะออกฤทธิ์ เฉพาะบางระยะของการแบ่งตัวเท่านั้น เช่น ระยะ M หรื อ S ดังนั้นความเข้าใจในการวงจรการแบ่ง
เซลล์มีประโยชน์ในการเลือกใช้ยาเคมีบำบัดและความถี่ที่เหมาะสมในการให้ยา เนื่องจากยาเคมีบำบัดออกฤทธิ์ ทำลายเซลล์ที่มี
การแบ่งตัวโดยไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างเซลล์ปกติที่กำลังแบ่งตัว เช่น เซลล์รากผม หรื อเยือ่ บุทางเดินอาหาร
เป็ นต้น หรื อเซลล์มะเร็ งที่มีการแบ่งตัวได้ ทำให้เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาเคมีบำบัด ดังนั้นการพิจารณาให้ยาเคมีบำบัดแต่ละ
ครั้งแพทย์จะคำนึงถึงประโยชน์จากการควบคุมรักษาโรคมะเร็ ง และลดผลข้างเคียงที่เกิดจากยาเคมีบำบัดแก่ผปู้ ่ วย

3. วัตถุประสงค์ ในการรักษาด้ วยยาเคมีบำบัด (What are the goals of treatment with


chemotherapy?)
1. เพื่อรักษาให้หายขาด (CURE) เป็ นการรักษาเพื่อให้ผปู้ ่ วยหายจากโรคมะเร็ ง และไม่กลับมาเป็ นซ้ำ ในโรคมะเร็ งบางชนิดที่มี
โอกาสหายขาด ซึ่งต้องใช้เวลาในการตรวจติดตามผูป้ ่ วยเป็ นระยะเวลาหลายปี จึงจะสรุ ปได้วา่ ผูป้ ่ วยหายขาดจากโรคมะเร็ งแล้ว
เช่น มะเร็ งเม็ดเลือดขาว มะเร็ งต่อมน้ำเหลือง มะเร็ งเต้านม เป็ นต้น

2. เพื่อควบคุมโรค (CONTROL) สำหรับมะเร็ งบางชนิดที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ เป้ าหมายในการรักษาก็จะเป็ นการ


ควบคุมโรคให้กอ้ นมะเร็ งมีขนาดเล็กลงหรื อไม่โตขึ้น และไม่แพร่ กระจายไปยังอวัยวะส่ วนอื่น ซึ่งจะช่วยให้ผปู้ ่ วยมีคุณภาพชีวิต
ที่ดีข้ ึน ลดความเจ็บปวด และมีชีวิตอยูไ่ ด้นานขึ้น

3. เพื่อบรรเทาอาการ (PALLIATION) สำหรับผูป้ ่ วยมะเร็ งระยะแพร่ กระจาย เพื่อบรรเทาอาการจากโรคมะเร็ งเพื่อให้ผปู้ ่ วยมี


คุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน ในโรคมะเร็ งบางชนิดต้องให้การรักษาโดยยาเคมีบำบัด ร่ วมกับการฉายรังสี หรื อการผ่าตัด ซึ่งมีท้ งั แบบให้ยา
เคมีบำบัดก่อนการผ่าตัดหรื อฉายรังสี (Neoadjuvant chemotherapy) หรื อให้ยาเคมีบำบัดหลังการผ่าตัดหรื อฉายรังสี (Adjuvant
chemotherapy)

การให้ยาเคมีบำบัดก่อนการผ่าตัดหรื อฉายรังสี (Neoadjuvant chemotherapy)


การให้ยาเคมีบำบัดก่อนการผ่าตัดหรื อฉายรังสี เป็ นการให้ยาก่อนให้การรักษาหลักโดยการผ่าตัดหรื อการฉายรังสี โดยมีเป้ า
หมายเพื่อให้กอ้ นมะเร็ งมีขนาดเล็กลงทำให้การผ่าตัดและการฉายรังสี ง่ายขึ้น นอกจากนี้ การให้ยาเคมีบำบัดก่อนการรักษาหลัก
ยังสามารถฆ่าเซลล์มะเร็ งที่มองไม่เห็นจากภาพเอ็กซเรย์

การให้ยาเคมีบำบัดหลังการผ่าตัดหรื อฉายรังสี (Adjuvant chemotherapy)

ในการผ่าตัดผูป้ ่ วยโรคมะเร็ งนั้นยังอาจมีเซลล์มะเร็ งที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาหรื อเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ การให้ยาเคมีบำบัด


ตามหลังการผ่าตัดจึงสามารถช่วยกำจัดเซลล์มะเร็ งดังกล่าว หรื อให้ยาเคมีบำบัดภายหลังการฉายรังสี เพื่อฆ่าเซลล์มะเร็ งที่ยงั เหลือ
อยู่ เช่น การให้ยาต้านฮอร์โมนภายหลังการฉายรังสี ของมะเร็ งต่อมลูกหมาก ส่วนใหญ่การให้ยาเคมีบำบัดหลังการผ่าตัดหรื อฉาย
รังสี มกั มีเป้ าหมายเพื่อช่วยลดการแพร่ กระจายของโรคมะเร็ ง

4. ประเภทของยาเคมีบำบัด (What are the Different types of chemotherapy drug?)


ยาเคมีบำบัดสามารถแบ่งออกได้เป็ นหลายประเภทตามกลไกการออกฤทธิ์ และโครงสร้างทางเคมี ยาเคมีบำบัดหลายชนิดจัดอยู่
ในกลุ่มเดียวกันเนื่องจากสกัดมาจากพืชหรื อสมุนไพรชนิดเดียวกัน ยาเคมีบำบัดบางชนิดก็มีกลไกการออกฤทธิ์ หลายทางก็
สามารถจัดอยูใ่ นหลายกลุ่มได้ ความรู้ในเรื่ องกลไกการออกฤทธิ์ ของยาเคมีบำบัดช่วยให้แพทย์เข้าใจผลข้างเคียงของยา และ
สามารถเลือกใช้ยาได้อย่างมีประสิ ทธิภาพสูงสุ ด ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็ นหลายกลุ่มดังนี้

1. Alkylating agents

กลไกการออกฤทธิ์ - เป็ นยาที่ออกฤทธิ์ ทำลายสารพันธุกรรมเพื่อป้ องกันการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ ง โดยออกฤทธิ์ ได้ทุกระยะ


ของการแบ่งเซลล์

ประโยชน์ – ใช้ในการรักษามะเร็ งเม็ดเลือดขาว มะเร็ งผิวหนัง มะเร็ งปอด มะเร็ งเต้านม และมะเร็ งรังไข่เป็ นต้น

ผลข้างเคียง - เนื่องจากยาออกฤทธิ์ทำลายสารพันธุกรรมทำให้เกิดการทำลายไขกระดูกได้ในระยะยาว และมีโอกาสที่จะ

ทำให้เกิดมะเร็ ง เม็ดเลือดขาวได้โดยความเสี่ ยงแปรผันตามปริ มาณยาที่ผปู้ ่ วยได้รับ ซึ่งพบได้ในปี ที่ 5-10 หลังจากได้รับยา ยาใน

กลุ่มนี้ ได้แก่

- Nitrogen mustards เช่น Mechlorethamine (nitrogen mustard), chlorambucil, cyclophosphamide, ifosfamide และ melphalan -
Nitrosoureas เช่น streptozocin, carmustine และ lomustine
- Alkyl sulfonates เช่น busulfan

- Triazines เช่น dacarbazine (DTIC) และ temozolomide

Ethylenimines เช่น thiotepa และ altretamine The platinum drugs เช่น cisplatin, carboplatin และ oxalaplatin

บางครั้งจัดอยูใ่ นกลุ่มนี้ดว้ ยเนื่องจากมีกลไกการออกฤทธิ์ อย่างเดียวกัน แต่ไม่ค่อยมีผลต่อการเกิดมะเร็ งเม็ดเลือดขาว

2. Antimetabolites

กลไกการออกฤทธิ์ – ตัวยาจะเข้าไปแทนที่ในสายพันธุกรรมส่ งผลให้เกิดยับยั้งการสร้างสายพันธุกรรม โดยออกฤทธิ์ ในระยะ S


ของวงจรการแบ่งเซลล์

ประโยชน์ – ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ งหลายชนิด เช่น เม็ดเลือดขาว มะเร็ งเต้านม มะเร็ งรังไข่ มะเร็ งของระบบทางเดินอาหาร
เป็ นต้น

ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ 5-fluorouracil (5-FU), capecitabine (Xeloda), 6-mercaptopurine (6-MP),methotrexate,

gemcitabine (Gemzar), cytarabine (Ara-C), fludarabine และ pemetrexed (Alimta)

3. Anti-tumor antibiotics

Antracyclines Antracyclines เป็ นกลุ่มยาฆ่าเชื้อที่มีฤทธิ์ ต่อต้านมะเร็ ง

กลไกการออกฤทธิ์ – มีผลต่อเอ็นไซม์ในการสังเคราะห์สารพันธุกรรม ซึ่งออกฤทธิ์ ได้ในทุกระยะของวงจรการแบ่งเซลล์

ประโยชน์ – ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ งหลากหลายชนิด เช่น มะเร็ งเต้านม มะเร็ งเนื้ อเยือ่ อ่อน เป็ นต้น

ผลข้างเคียง – ทำให้ประสิ ทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจลดลง เมื่อให้ยาในปริ มาณมากเกินไป โดยปกติแพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านยา


เคมีบำบัด จะระมัดระวังไม่ให้ปริ มาณยาเกินและมีการตรวจการบีบตัวของหัวใจเป็ นระยะอยูต่ ลอด ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่
Daunorubicin, Doxorubicin (Adriamycin), Epirubicin and Idarubicin Mitoxantrone Mitoxantrone ออกฤทธิ์เหมือน
Antracyclines
ประโยชน์ – รักษามะเร็ งต่อมลูกหมาก มะเร็ งเต้านม มะเร็ งต่อมน้ำเหลือง และมะเร็ งเม็ดเลือดขาว

ผลข้างเคียง – มีผลข้างเคียงต่อหัวใจเช่นเดียวกับ Antracyclines และยังเพิ่มความเสี่ ยงในการเป็ น มะเร็ งเม็ดเลือดขาว

ยาตัวอื่นๆ ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Actinomycin-D, Bleomycin and Mitomycin-C

4. Topoisomerase inhibitors

ยาในกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ ต่อเอ็นไซม์ในการสังเคราะห์สารพันธุกรรมเพื่อการแบ่งเซลล์

ประโยชน์ – ใช้ในการรักษามะเร็ งเม็ดเลือดขาว มะเร็ งปอด มะเร็ งรังไข่ มะเร็ งของทางเดินอาหาร และมะเร็ งอื่นๆ

ผลข้างเคียง – เพิ่มความเสี่ ยงต่อการเป็ นมะเร็ งเม็ดเลือดขาวภายใน 2-3 ปี หลังจากได้รับยา

ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ Topotecan, Irinotecan(CPT-11), Etoposide(VP-16), Teniposide and Mitoxantrone

5. Mitotic inhibitors

Mitotic inhibitors เป็ นสารประกอบจากธรรมชาติ และจากพืชบางชนิด

กลไกการออกฤทธิ์ – ออกฤทธิ์ ยับยั้งการแบ่งเซลล์ในระยะ Mitosis(M) ของวงจรการแบ่งเซลล์ และยับยั้งเอ็นไซม์ในการ


สังเคราะห์โปรตีนในการแบ่งเซลล์ ส่ งผลให้สามารถทำลายเซลล์ได้ในทุกระยะของวงจรแบ่งเซลล์

ประโยชน์ – ใช้ในการรักษามะเร็ งเต้านม มะเร็ งปอด มะเร็ งต่อมน้ำเหลือง และมะเร็ งเม็ดเลือดขาว

ผลข้างเคียง – ทำให้เกิดการทำลายระบบประสาทส่ วนปลาย ทำให้การรับความรู้สึก การควบคุมกล้ามเนื้ อ และการทำงาน ของ


ระบบประสาทอัตโนมัติผดิ ปกติได้ เช่น เกิดอาการชา เจ็บปวด หรื อ กล้ามเนื้ ออ่อนแรงได้

ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่

กลุ่ม Taxanes : Paclitaxel (Taxol), Docetaxel (Taxotere)

กลุ่ม Epothilones : Ixabepilone (Ixempra)


กลุ่ม The vinca alkaloids : vinblastin (Velban) , vincristine (Oncovin), vinorelbine (Navelbine)

กลุ่ม Estramustine (Emcyt)

6. Corticosteroids (กลุ่มเสตียร์รอยด์)

กลไกการออกฤทธิ์ – ออกฤทธิ์ ฆ่าเซลล์มะเร็ งและยับยับการโตของก้อนมะเร็ ง

ประโยชน์ – ใช้ในการรักษามะเร็ งต่อมน้ำเหลือง มะเร็ งเม็ดเลือดขาว และ มะเร็ งผิวหนังบางชนิด ใช้เพื่อป้ องการคลื่นไส้
อาเจียนและอาการแพ้ยาจากยาเคมีบำบัดตัวอื่น

ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ Prednisolone, Methylprednisolone, Dexamethasone

7. ยาต้านมะเร็ งกลุ่มอื่นๆ

นอกจากยาเคมีบำบัดที่มีฤทธิ์ ทำลายเซลล์มะเร็ งซึ่งมีการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ ว ยังมียาต้านมะเร็ งกลุ่มอื่นๆ ที่ออกฤทธิ์ เฉพาะ ที่


เซลล์มะเร็ งจึงมีผลข้างเคียงน้อยกว่า และสามารถใช้ร่วมกับยาเคมีบำบัดได้ ได้แก่

a) Targeted therapy เป็ นยาที่ออกฤทธิ์ เฉพาะที่เซลล์มะเร็ งเท่านั้น

ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ Imatinib (Gleevec), Gefitinib (Iressa), Erlotinib(Tarceva), Sunitinib (Sutent), Bortezomib(Velcade)

b) Differentiating agents เป็ นกลุ่มยาที่ออกฤทธิ์ ทำให้เซลล์มะเร็ งเปลี่ยนเป็ นเซลล์ธรรมดา

ยาในกลุ่มนี้ เช่น Retinoids, Tretinoin(ATRA or Atralin), Bexarotene(Targretin)

c) Hormone therapy (ยาฮอร์โมน) เป็ นฮอร์โมนเพศ หรื อยาที่ออกฤทธิ์ คล้ายฮอร์โมน ซึ่งจะรบกวนการออกฤทธิ์

และการสร้างฮอร์โมนเพศของผูป้ ่ วยจึงมีฤทธิ์ ยับยั้งมะเร็ งที่ถูกกระตุน้ โดยฮอร์โมน มักใช้ในผูป้ ่ วยมะเร็ งเต้านม มะเร็ ง

ต่อมลูกหมาก และมะเร็ งมดลูก ได้แก่

- Anti-estrogen : Fulvestrant (Faslode), Tamoxifen, Toremifene(Fareston)

- Aromatase inhibitors : Anastozole(Arimidex), Exemestane(Aromasin), Letrozole(Femara)


- Progestins : Megestrol acetate (Megace)

- Estrogens

- Anti-androgens : Bicalutamide(Casodex), Flutamide(Eulexin), Nilutamide(Nilandron)

- LHRH agonists : Leuprolide (Lupron), Goserelin(Zoladex)

d) Immunotherapy สามารถแบ่งได้เป็ น

Active Immunotherapy : ออกฤทธิ์กระตุน้ ภูมิคุม้ กันของร่ างกาย

Passive Immunotherapy : เป็ นการให้สารภูมิคมุ ้ กันจากภายนอกเข้าสู่ร่างกายโดยตรง โดยไม่ข้ ึนกับภูมิคุม้ กันของ

ร่ างกาย ได้แก่

- Monoclonal antibody therapy (Passive immunotherapies) เช่น Rituximab(Rituxan),

Alemtuzumab (Campath)

- Non-specific immunotherapies เช่น BCG , Interleukin-2(IL-2), Interferon-alpha

- Immunomodulating drugs เช่น Thalidomide และ Lenalidomide(Revlimid)

- Cancer vaccines (วัคซีนป้ องกันมะเร็ ง) ยังอยูใ่ นขั้นตอนการศึกษา


5. การเลือกใช้ ยาเคมีบำบัด (Selecting which drugs to use for chemotherapy)
ในการรักษาผูป้ ่ วยมะเร็ งแต่ละรายการเลือกใช้ยาเคมีบำบัด ขนาดยา และระยะเวลาในการให้ยาล้วนมีความสำคัญ โดยปัจจัย ที่มี
ผลต่อการเลือกสูตรยาเคมีบำบัด ได้แก่

- ชนิดของมะเร็ ง

- ระยะของโรคมะเร็ ง

- อายุ

- ภาวะสุ ขภาพ

- โรคประจำตัว

- ประวัติการรักษาโรคมะเร็ งในอดีต

แพทย์ผใู้ ห้การรักษาจะเลือกสูตรยาจากการรวบรวมข้อมูลดังกล่าวข้างต้น โดยสูตรยาเคมีบำบัดนั้นอาจจะประกอบไปด้วยยา


ชนิดเดียว หรื อหลายชนิด ซึ่งการใช้ยาหลายชนิดร่ วมกันก็จะมีประสิ ทธิภาพมากกว่าการใช้ยาเพียงชนิดเดียว อย่างไรก็ตามการ
เลือกใช้ยาเคมีบำบัดต้องคำนึงถึงผลข้างเคียง การออกฤทธิ์เสริ มกันและต้านฤทธิ์ กนั ระหว่างยาเคมีบำบัดเมื่อใช้ยาเคมีบำบัด
หลายชนิดร่ วมกัน และระหว่างยาเคมีบำบัดกับยาชนิดอื่นๆ เช่น วิตามิน A, E และ C ที่มีฤทธิ์ ต่อต้านอนุมูลอิสระทำให้
ประสิ ทธิภาพของยาเคมีบดั บำบัดลดลง ดังนั้นการรับประทานวิตามินระหว่างรับยาเคมีบำบัดหรื อฉายรังสี ควรปรึ กษาแพทย์
ก่อนทุกครั้ง

6. ปริ มาณยาและตารางเวลาในการให้ยาเคมีบำบัด (Planning Drug doses and schedules)


เนื่องจากยาเคมีบำบัดจัดเป็ นยาอันตรายเนื่องจากหากได้ปริ มาณมากเกินไป จะทำให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรง และหากได้รับ
ปริ มาณยาน้อยไประดับยาก็ไม่สามารถทำลายเซลล์มะเร็ งได้ ดังนั้นการให้ยาเคมีบำบัดต้องมีความถูกต้องทั้งชนิด ปริ มาณ และ
ระยะเวลาในการให้ยา ดังนี้

ปริ มาณยาเคมีบำบัด
การคำนวณปริ มาณยาเคมีบำบัดสำหรับผูป้ ่ วยแต่ละรายขึ้นอยูก่ บั ชนิดของยาเคมีบำบัด ซึ่งมีวิธีการคำนวณที่แตกต่างกัน เช่น
คำนวณจากน้ำหนักตัวผูป้ ่ วย คำนวณจากพื้นที่ผวิ ร่ างกายของผูป้ ่ วย ซึ่งอาจต้องมีการปรับปริ มาณยาตามปัจจัยต่างๆ ต่อไปนี้

- อายุ

- ภาวะโภชนาการ

- ความอ้วน

- เคยได้รับยา หรื อกำลังได้รับยาอื่นร่ วมด้วย

- เคยได้รับการฉายรังสี หรื อกำลังได้รับการฉายรังสี

- มีปริ มาณเม็ดเลือดต่ำ

- มีความผิดปกติของการทำงานของตับหรื อไต

ตารางการให้ยาเคมีบำบัด (cycle)

แพทย์เลือกสูตรยาเคมีบำบัดและวางตารางการให้ยาเคมีบำบัด ซึ่งประกอบไปด้วยจำนวนครั้งของการให้ยาเคมีบำบัด ระยะเวลา


ระหว่างรอบของการให้ยาเคมีบำบัดตั้งแต่เริ่ มต้นการรักษาขึ้นกับชนิดของมะเร็ ง ระยะของโรคมะเร็ ง และสุขภาพของผูป้ ่ วย ซึ่ง
มีความแตกต่างการในแต่ละสูตรยาเคมีบำบัด ซึ่งระยะเวลาที่เว้นระหว่างการให้ยานั้นเพื่อให้เซลล์ร่างกายปกติฟ้ื นฟูตวั เองจากผล
ข้างเคียงของยาเคมีบำบัด การให้ยาแต่ละรอบ (มักจะให้ทุก 2-4 สัปดาห์) อาจประกอบด้วยยาหลายชนิดและอาจให้เพียงวันเดียว
หรื อหลายวันติดต่อกันหรื อสัปดาห์ละครั้งก็ได้ ซึ่งแพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญจะเลือกสูตรยาและตารางการให้ยาเคมีบำบัดที่เหมาะสมกับ
ชนิดของโรคมะเร็ ง และ สภาพร่ างกายของผูป้ ่ วย

การปรับปริ มาณยาและตารางการให้ยาเคมีบำบัด

ปริ มาณยาและตารางการให้ยาเคมีบำบัดที่ได้ประสิ ทธิภาพสูงสุ ดนั้นเป็ นไปตามผลการศึกษาทางวิชาการแต่ในทางปฏิบตั ิอาจ


ต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อความเหมาะสมกับผูป้ ่ วยแต่ละรายเพื่อลดผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัด หรื อพิจารณาให้ยาเพื่อลดผลข้าง
เคียง

7. วิธีการให้ ยาเคมีบำบัด (What are the different ways to take chemotherapy?)


ยาเคมีบำบัดสามารถบริ หารเข้าสู่ร่างกายของผูป้ ่ วยได้หลายวิธีดว้ ยกัน ดังนี้

1. ยาเม็ดสำหรับรับประทาน
2. ยาทา – เป็ นครี มหรื อโลชัน่ สำหรับทาผิวหนัง

3. ฉี ดเข้าทางหลอดเลือดดำ

4. ฉี ดเข้ากล้ามเนื้ อ

5. ฉี ดเข้าชั้นไขมันใต้ผวิ หนัง

6. ฉี ดเข้าหลอดเลือดแดง

7. ฉี ดเข้าไขสันหลัง

8. ฉี ดเข้าเยือ่ หุม้ ปอด

9. ฉี ดเข้าเยือ่ หุม้ หัวใจ

10. ฉี ดเข้าช่องท้อง

11. ฉี ดเข้ากระเพาะปัสสาวะ

12. ฉี ดเข้าก้อนมะเร็ งโดยตรง

ยาเคมีบำบัดบางชนิดไม่สามารถรับประทานได้เนื่องจากระบบทางเดินอาหารดูดซึมยาได้ไม่ดี หรื อยามีการระคายเคืองระบบ


ทางเดินอาหารมาก ทำให้ผปู้ ่ วยมีอาการคลื่นไส้อาเจียน หรื อท้องเสี ยมาก ส่วนวิธีการฉี ดเข้ากล้ามเนื้ อและการฉี ดเข้าชั้นไขมันใต้
ผิวหนังก็ไม่ค่อยเป็ นที่นิยมเช่นกัน เนื่องจากยาส่ วนใหญ่ทำให้เกิดการระคายเคืองและทำลายผิวหนังและกล้ามเนื้ อได้ การให้ยา
เคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำเป็ นวิธีที่แพร่ หลายมากที่สุด และช่วยให้ยาสามารถกระจายไปทัว่ ร่ างกายได้รวดเร็ว อาจพิจารณาให้
ผูป้ ่ วยใส่ สายสวนหลอดเลือดดำ (Central venous catheters , CVCs) โดยปลายด้านหนึ่งอยูท่ ี่บริ เวณผิวหนังที่แขน ส่ วนปลายอีก
ด้านจะไปอยูใ่ นหลอดเลือดดำขนาดใหญ่ในช่องอก

การใส่ สายสวนหลอดเลือดดำ (Central venous catheters , CVCs) มีขอ้ บ่งชี้ ดังนี้

- ต้องการให้ยาเคมีบำบัดหลายชนิดในเวลาเดียวกัน

- ระยะเวลาในการรักษานาน เพื่อลดการเจาะเลือดเพื่อให้ยาเคมีบำบัดทุกครั้งที่มารับยา

- ต้องได้ยาบ่อยๆ

- ต้องได้รับยาต่อเนื่องหลายวันในแต่ละรอบ
- สามารถป้ องกันการออกนอกเส้นเลือดของยาเคมีบำบัดซึ่งทำให้เกิดการทำลายผิวหนังและกล้ามเนื้ อบริ เวณดังกล่าว

การใส่ สายสวนหลอดเลือดดำมีหลายชนิดการเลือกใช้ข้ ึนอยูก่ บั ระยะเวลาในการรักษา ความถี่ในการให้ยา ระยะเวลาในการให้


ยาแต่ละครั้ง ความต้องการของผูป้ ่ วยและแพทย์ การดูแลรักษา และราคา การเตรี ยมตัวก่อนรับการใส่ สายสวนหลอดเลือดดำผู้
ป่ วยต้องสอบถามการเตรี ยมตัวกับแพทย์หรื อพยาบาลก่อนวันนัดเนื่องจากการใส่ สายสวนหลอดเลือดดำแต่ละประเภทมีการเตรี
ยมตัวที่แตกต่างกัน

การให้ยาเคมีบำบัดเฉพาะที่

การให้ยาเคมีบำบัดเฉพาะที่มีขอ้ ดีเพราะสามารถให้ยาต้านมะเร็ งปริ มาณมากเข้าสู่กอ้ นมะเร็ งโดยตรง จึงสามารถลดผลข้างเคียง


จากยาเคมีบำบัดต่อร่ างกายส่ วนอื่นของผูป้ ่ วยได้ และมีวิธีการให้ดงั ต่อไปนี้

- ฉี ดเข้าหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงก้อนมะเร็ ง

- ฉี ดเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะในผูป้ ่ วยมะเร็ งกระเพาะปัสสาวะ

- ฉี ดเข้าช่องเยือ่ หุม้ ปอด

- ฉี ดเข้าสู่ช่องท้อง

- ฉี ดเข้าสู่ไขสันหลัง เนื่องจากยาเคมีบำบัดส่ วนใหญ่ที่ให้ทางหลอดเลือดไม่สามารถผ่านเยือ่ หุม้ สมองได้

8. ความปลอดภัยสำหรับผู้ให้ บริการสาธารณสุ ข (Safety precaution)


ความปลอดภัยสำหรับผูใ้ ห้บริ การสาธารณสุข

เนื่องจากยาเคมีบำบัดจัดเป็ นยาอันตราย ดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ทุกระดับชั้นต้องมีความระมัดระวัง ในการใช้และไม่


สัมผัสตัวยาเคมีบำบัดโดยตรง เนื่องจากมีผลเสี ยดังนี้

- ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรม

- ทำให้เกิดความผิดปกติในการเจริ ญเติบโตของทารกในครรภ์ และอาจก่อให้เกิดความผิดปกติแต่กำเนิดได้

- สามารถทำให้เกิดมะเร็ งชนิดอื่นตามมาได้
- ทำให้เกิดการระคายเคืองผิวหนังที่สมั ผัสยาโดยตรง

พยาบาลผูใ้ ห้ยาเคมีบำบัดต้องสวมใส่ แว่นตา ถุงมือ และเสื้ อเพื่อป้ องกัน และผูท้ ี่ทำการผสมยาจะต้องทำในที่ที่จดั เตรี ยมไว้เป็ น

พิเศษเพื่อป้ องกันการหกและระเหยขณะทำการผสมยารู ปสำหรับอุปกรณ์ในการผสมยา ถุงมือ เสื้ อกาวน์ ต้องได้รับการกำจัดโดย


วิธีพิเศษ และพบว่ามีการรั่วหรื อหกของยาเคมีบำบัดต้องมีการจัดการอย่างระมัดระวังเพื่อความปลอดภัย

ความปลอดภัยสำหรับผูป้ ่ วยและญาติ

ผูป้ ่ วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะมีระดับยาที่สูงในเลือดและสามารถขับออกทางร่ างกายทั้งทางปัสสาวะ อุจจาระ และอาเจียน ซึ่งจะ


เกิดการระคายเคืองหากสัมผัสร่ างกายได้ และยาส่ วนใหญ่จะถูกขับออกหมดภายใน 48 ชัว่ โมง ดังนั้นผูป้ ่ วยที่กำลังได้รับยาเคมี
บำบัดและหลังได้รับยา 48 ชัว่ โมงควรปฏิบตั ิ ดังนี้

- กดชักโครก 2 ครั้ง และปิ ดฝาชักโครกทุกครั้งที่กดเพื่อไม่ให้กระเด็น หรื อไม่ใช้หอ้ งน้ำร่ วมกับผูอ้ ื่น

- ทั้งผูช้ ายและผูห้ ญิงควรนัง่ ปัสสาวะ

- ล้างมือด้วยน้ำสะอาดและสบู่ทุกครั้งหลังจากใช้หอ้ งน้ำ และเช็ดด้วยกระดาษชำระให้แห้ง

- หากอาเจียนควรทำความสะอาดอย่างน้อยสองรอบ

- ผูด้ ูแลผูป้ ่ วยควรสวมถุงมือแบบใช้ครั้งเดียวทุกครั้งที่ทำความสะอาด และล้างมือด้วยน้ำสะอาดและสบู่ทุกครั้ง

- ผูด้ ูแลผูป้ ่ วยควรใช้ความระมัดระวังเป็ นพิเศษเพื่อป้ องกันการสัมผัสสารน้ำจากตัวผูป้ ่ วย

- ควรใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ เนื่องจากสามารถตรวจพบยาได้ในสารคัดหลัง่ ในช่องคลอดและอวัยวะเพศชาย

- เสื้ อผ้าและผ้าปูที่นอนของผูป้ ่ วยควรซักด้วยเครื่ องซักผ้า 2 ครั้งด้วยน้ำอุ่น ไม่ควรซักร่ วมกับเสื้ อผ้าของผูอ้ ื่น และหากยังไม่

สามารถซักได้ทนั ทีควรเก็บในถุงพลาสติกและปิ ดให้มิดชิด

- หากใช้ผา้ อ้อมผูใ้ หญ่แบบใช้แล้วทิ้ง ผ้าหรื อแผ่นอนามัยก่อนนำไปทิ้งถังขยะควรรวมในถุงพลาสติกให้มิดชิด

9. ผลข้ างเคียงของยาเคมีบำบัด (What are the possible side effects of chemotherapy?)


ยาเคมีบำบัดมีฤทธิ์ ทำลายเซลล์มะเร็ งที่มีการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ ว ซึ่งรวมถึงเซลล์ร่างกายปกติที่มีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ วด้วย
เช่น ไขกระดูก, เซลล์เม็ดเลือด, ผม, เยือ่ บุทางเดินอาหาร และเยือ่ บุอวัยยะสื บพันธุ์ ทำให้เกิดผลข้างเคียงต่อผูป้ ่ วยที่แตกต่างกัน
ไปขึ้นกับชนิดยาเคมีบำบัด ปริ มาณยา วิธีการให้ยา และปัจจัยของตัวผูป้ ่ วยเองแต่ละคน
1. การกดไขกระดูก (Bone marrow suppression)

ไขกระดูกเป็ นส่ วนที่อยูใ่ นสุ ดของกระดูกทำหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกร็ ดเลือด และเนื่องจากมีการแบ่งเซลล์


เป็ นจำนวนมากทำให้ได้รับผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัดได้ง่าย โดยในช่วงของการให้ยาเคมีบำบัดจะพบการลดลงของเม็ดเลือด
ขาว เม็ดเลือดแดง และหรื อเกร็ ดเลือด ซึ่งแพทย์จะทำการเจาะดูจำนวนเม็ดเลือดเป็ นระยะๆ เพื่อเฝ้ าระวังผลข้างเคียงดังกล่าว ยา
เคมีบำบัดไม่ได้ ออกฤทธิ์ ทำลายเม็ดเลือดในกระแสเลือดแต่ไปทำลายเม็ดเลือดที่กำลังแบ่งเซลล์ในไขกระดูกทำให้ร่างกายไม่
สามารถผลิตเม็ดเลือดออกมาแทนเม็ดเลือดที่ตายหรื อหมดอายุได้ทนั ตามที่ร่างกายต้องการ สำหรับระดับความรุ นแรงของการ
กดไขกระดูกนั้นขึ้นกับชนิดและปริ มาณ ยาที่ผปู้ ่ วยได้รับ

คุณสมบัติของเซลล์เม็ดเลือดแต่ละชนิด มีดงั นี้

ประเภทของเซลล์เม็ดเลือด อายุขยั เฉลี่ย หน้าที่


เซลล์เม็ดเลือดขาว 6 ชัว่ โมง ป้ องกันการติดเชื้อและทำลายเชื้อโรค
เซลล์เม็ดเลือดแดง 120 วัน นำออกซิเจนไปเลี้ยงส่ วนต่างๆ ของร่ างกาย
เกร็ ดเลือด 10 วัน ทำให้เลือดหยุดไหลเมื่อมีบาดแผล

เม็ดเลือดขาวและเกร็ ดเลือดจะลดจำนวนลงถึงระดับต่ำสุ ดภายในระยะเวลา 7-14 วัน และเม็ดเลือดแดงจะลดสู่ ระดับต่ำสุ ดภายใน


ระยะ 3-4 สัปดาห์หลังจากได้ยาเคมีบำบัด หลังจากนั้นจะค่อยๆ เพิ่มจำนวนสู่ ระดับปกติ นิวโทรฟิ ลด์ จัดเป็ นเม็ดเลือดขาวชนิด
หนึ่งที่มีปริ มาณมากและมีบทบาทสำคัญในการป้ องกันการติดเชื้อ ในคนปกติจะมีจำนวน 2,500 – 6,000 เซลล์ต่อลูกบาศก์
มิลลิเมตร ซึ่งไวต่อการถูกทำลายโดยยาเคมีบำบัด หากนิวโทรฟิ ลด์ต ่ำมากผูป้ ่ วยจะเสี่ ยงต่อการติดเชื้อมากขึ้น ผูป้ ่ วยควรได้รับ
การดูแลอย่างใกล้ชิดและหากมีอาการไข้ เจ็บคอ ไอ หายใจเร็ว คัดจมูก ปัสสาวะแสบขัด หนาวสัน่ หรื ออาการปวด บวมแดง
ร้อน ตามตำแหน่งที่มีบาดแผลหรื อตำแหน่งที่เจาะเลือด ควรแจ้งแก่แพทย์หรื อพยาบาลผูด้ ูแลให้ทราบ ในช่วงที่ ผูป้ ่ วยมีระดับ
เม็ดเลือดขาวต่ำควรอยูห่ ่างจากเด็กเล็กหรื อผูท้ ี่เสี่ ยงต่อการติดเชื้อ และหากเม็ดเลือดขาวมีปริ มาณน้อยมากแพทย์อาจพิจารณาให้
ยาฆ่าเชื้อเพื่อป้ องกันการติดเชื้อ และเลื่อนระยะเวลาในการให้ยาเคมีบำบัดรอบหน้าออกไปก่อน หรื อให้ยากระตุน้ การสร้างเม็ด
เลือดขาว ผูป้ ่ วยที่มีภาวะเม็ดเลือดแดงต่ำจะมีอาการ อ่อนเพลีย ซีด เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หายใจตื้น ความดันโลหิ ตต่ำ หายใจเร็ ว
และหัวใจเต้นเร็ ว ซึ่งค่าปกติของความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงปกติประมาณ 37-52% ภาวะเม็ดเลือดแดงต่ำสามารถรักษาได้โดย
การให้เลือด หรื อการให้ยากระตุน้ การสร้างเม็ดเลือดแดง ยากระตุน้ การสร้างเม็ดเลือดแดงอาจมีผลข้างเคียงให้เกิดก้อนเลือดอุด
ตันในหลอดเลือดได้ซ่ ึงผูป้ ่ วยอาจมีอาการหายใจหอบเหนื่อย มีอาการบวมหรื อปวดขา เวียนศีรษะ เป็ นลม ความดันโลหิ ตสูง
หรื ออ่อนเพลีย ควรแจ้งแพทย์หรื อพยาบาลทราบทันที เกร็ ดเลือดในคนปกติจะมีค่าระหว่าง 150,000 – 450,000 ต่อลูกบาศก์
มิลลิเมตร ภาวะเกร็ ดเลือดต่ำจากการให้ยาเคมีบำบัดอาจทำให้ผปู้ ่ วยมีรอยฟกช้ำง่ายกว่าปกติ หากมีบาดแผลเลือดจะหยุดไหลช้า
มีเลือดออกตามไรฟัน เลือดกำเดาไหล จุดเลือดออกตามผิวหนัง มีเลือดออกมากับปัสสาวะหรื ออุจจาระ และอาจเกิดเลือดออก
ภายในร่ างกายได้หากระดับเกร็ ดเลือดต่ำมาก ถึงแม้วา่ ภาวะเกร็ ด เลือดต่ำจะเกิดขึ้นชัว่ คราวแต่หากมีเลือดออกแล้วอาจทำให้ผู้
ป่ วยเสี ยเลือดมากจนเป็ นอันตรายได้ หากเกร็ ด เลือดมีนอ้ ยกว่า 10,000 ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตรแพทย์อาจพิจารณาให้เกร็ ดเลือดเพื่อ
ป้ องกันภาวะเลือดออกหรื อให้ยาเพื่อเพิ่มปริ มาณเกร็ ดเลือดและต้องเจาะ เลือดดูปริ มาณเกร็ ดเลือดเป็ นระยะๆ

2. คลื่นไส้อาเจียน (Nausea and vomiting)


ผูป้ ่ วยจำนวนมากกังวลในเรื่ องอาการคลื่นไส้อาเจียนจากการให้ยาเคมีบำบัด แต่ในปัจจุบนั มียาหลายชนิดที่สามารถช่วยบรรเทา
อาการคลื่นไส้อาเจียน ซึ่งกลไกของการก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนของยาเคมีบำบัดมีหลายกลไกด้วยกัน เช่น การระคาย
เคืองต่อ เยือ่ บุทางเดินอาหารส่ วนต้น การกระตุน้ ศูนย์ควบคุมการอาเจียนในสมองโดยตรง โดยอาการคลื่นไส้อาจพบร่ วมกับมี
เหงื่อออกมาก หน้ามืด เวียนศีรษะ น้ำลายมาก อ่อนเพลีย และนำไปสู่การอาเจียนหรื อสะอึกได้ อาการคลื่นไส้อาเจียนสามารถ
แบ่งเป็ นแบบเฉี ยบพลัน (เกิดภายใน 24 ชัว่ โมงหลังได้รับยาเคมีบำบัด) และระยะหลังจาก 24 ชัว่ โมง และอาจเกิดจาก
ประสบการณ์คลื่นไส้อาเจียนจากยาเคมีบำบัดในครั้งก่อนๆ เมื่อทราบว่าจะต้องให้ยาเคมีบำบัด เห็นหรื อได้ กลิ่นยาเคมีบำบัดก็จะ
กระตุน้ ให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนได้ ซึ่งสามารถให้ยาเพื่อบรรเทาอาการได้แต่การป้ องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนตั้งแต่แรก
สำคัญที่สุด ปัจจัยที่ช่วยบอกว่าผูป้ ่ วยเสี่ ยงต่อการเกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนมากหรื อน้อย ได้แก่ ประวัติเรื่ องการเมารถ, ความ
รุ นแรงของ อาการคลื่นไส้อาเจียนในอดีต, ผูป้ ่ วยที่อ่อนเพลียมาก, ความกังวลของผูป้ ่ วยก่อนรับการรักษา, ผูป้ ่ วยที่ดื่มแอลกอฮ
อร์ และผูป้ ่ วยหญิงในวัยเจริ ญพันธุ์ การป้ องกันไม่ให้เกิดการคลื่นไส้อาเจียนเป็ นสิ่ งที่สำคัญที่สุด ดังนั้นผูป้ ่ วยจึงควรได้รับยา
ป้ องกันอาการคลื่นไส้อาเจียนก่อนได้รับยาเคมีบำบัด เช่น lorazepam (Ativan), Prochlorperazine (Compazine), Promethazine
(Phenergan), Metoclopramide (Reglan), Corticosteroids, Ondansetron (Zofran), Granisetron (Kytril), Dolasetron (Anzemet),

Palonosetron(Aloxi), Aprepitant(Emend) และนอกจากยาแล้วมีวิธีอื่นที่สามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ได้แก่ น้ำขิงหรื อ


ขิงเม็ด การออกกำลังกายแบบผ่อนคลาย จินตนาการบำบัด หรื อ ดนตรี บำบัด การดูแลผูป้ ่ วยที่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน

3. ผมร่ วง

เนื่องจากยาเคมีบำบัดออกฤทธิ์ กบั เซลล์ที่มีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ ว เช่น เซลล์รากผม ทำให้เกิดภาวะผมร่ วงซึ่งไม่ได้เป็ นอันตราย


ต่อชีวิต แต่ส่งผลต่อสภาพจิตใจของผูป้ ่ วยอย่างมาก ดังนั้นผูป้ ่ วยและญาติจึงควรทราบข้อมูลดังต่อไปนี้

- ภาวะผมร่ วงเกิดจากยาเคมีบำบัดบางชนิดเท่านั้น โดยขึ้นกับปริ มาณยา ระยะเวลาในการรักษาโดยยาเคมีบำบัด

- ความรุ นแรงของภาวะผมร่ วงในผูป้ ่ วยแต่ละคนไม่เท่ากัน

- ความแรงหรื อประสิ ทธิภาพของยาเคมีบำบัดไม่มีความสัมพันธ์กบั ภาวะผมร่ วง ยาเคมีบางชนิดประสิ ทธิภาพดี แต่อาจไม่ผม


ร่ วงในทางกลับกันยาเคมีที่ผมร่ วงก็อาจมีประสิ ทธิภาพแย่กว่ายาที่ผมไม่ล่วงก็ได้

- ภาวะผมร่ วงจะเริ่ มใน 2-3 สัปดาห์หลังจากได้รับการรักษาโดยยาเคมีบำบัด

- ภาวะผมร่ วงจากยาเคมีบำบัดเป็ นภาวะที่เกิดชัว่ คราวเท่านั้น ผมจะเริ่ มขึ้นหลังจากสิ้ นสุ ดการรักษา

- ภาวะผมร่ วงอาจส่ งผลต่อคุณภาพชีวิตของผูป้ ่ วยทำให้ ไม่มนั่ ใจ หรื อเกิดภาวะซึมเศร้าได้ แต่ไม่ได้เป็ นอันตรายต่อชีวิตของผู้


ป่ วย ผูป้ ่ วยสามารถเตรี ยมซื้ อวิกผมไว้ล่วงหน้าก็ได้

- ไม่ควรทำสี ผมหรื อใช้น ้ำยาจัดแต่งทรงผมภายใน 6 เดือนหลังจากได้ยาเคมีบำบัด เนื่องจากอาจมีสารเคมีที่ส่งผลต่อสุ ขภาพผม


ได้

- สำหรับผูป้ ่ วยหญิงที่ขนตาร่ วงอาจใช้วิธีการเขียนขอบตา แทนการใช้ขนตาปลอมซึ่งอาจเกิดการระคายเคืองจากกาวติดขนตา


ปลอมได้
4. ภาวะไม่อยากอาหารและน้ำหนักลด

ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่ทำให้ผปู้ ่ วยไม่อยากอาหารและรับประทานได้นอ้ ยลง หากรุ นแรงมากจนผูป้ ่ วยรับประทานอาหารไม่ได้


อาจทำ ให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร แขนขาลีบ น้ำหนักลดได้ ซึ่งเป็ นภาวะที่เกิดขึ้นชัว่ คราวและดีข้ ึนเมื่อได้ยาเคมีบำบัดครบแล้ว
การได้รับอาหารอย่างเพียงพอเป็ นสิ่ งจำเป็ นสำหรับผูป้ ่ วยมะเร็ งเพื่อต่อสู้กบั โรคมะเร็ ง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ดังนั้นหากรับ
ประทาน อาหารได้นอ้ ยจนผอมลง หรื อน้ำหนักลด แพทย์อาจพิจารณาให้ยาเพื่อเพิม่ ความอยากอาหาร

เคล็ดลับการรับประทานอาหารสำหรับผูป้ ่ วยมะเร็ ง

5. การรับรู้รสชาติอาการเปลี่ยนไป

การรักษาโรคมะเร็ งอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการรับรู้รสชาติ ซึ่งอาจทำให้ผปู้ ่ วยไม่อยากอาหารเกิดภาวะขาดสารอาหาร


น้ำหนักลด โดยมีอาการ ดังนี้ รับประทานอาหารหวานมากขึ้น ไม่ชอบรับประทานอาหารที่มีรสขม อาหารที่ทำจากมะเขือเทศ
เนื้อหมู เนื้ อวัว และมีรสชาติแปลกๆ ติดลิ้นตลอดเวลา อาการดังกล่าวเกิดจากยาเคมีบำบัดมีผลต่อต่อมรับรสภายในช่องปาก
ทำให้เสี่ ยงต่อภาวะขาดสารอาหาร ฟันผุ การติดเชื้อในช่องปาก และกลิ่นปากได้ โดยหลังจากหยุดได้รับยาเคมีบำบัดผูป้ ่ วยส่ วน
ใหญ่จะหายเป็ นปกติ

6. อาการเจ็บปากหรื อเจ็บคอ

เนื่องจากยาเคมีบำบัดออกฤทธิ์ ต่อเซลล์เยือ่ บุช่องปากและทางเดินอาหารส่ วนต้น ทำให้ไม่สามารถสร้างเซลล์เยือ่ บุใหม่มาแทน


เซลล์เก่าที่ตายไปได้ทนั และเกิดการอักเสบของเยือ่ บุตามมาโดยเริ่ มจากเยือ่ บุมีสีซีด แห้ง รู้สึกเจ็บ เซลล์เยือ่ บุเปลี่ยนเป็ นสี แดง
บวม ผูป้ ่ วยที่มีภาวะอักเสบของเยือ่ บุปากและทางเดินอาหารส่ วนต้นที่รุนแรง จะกลืนอาหารลำบาก พูดไม่ถนัด และอาจมีเลือด
ออก เป็ นแผล หรื อติดเชื้ อซ้ำได้ ซึ่งอาการดังกล่าวเกิดขึ้นชัว่ คราวจะเกิดในวันที่ 5-14 หลังจากได้รับยาเคมีบำบัดและเป็ นอยู่
ประมาณ 2-3 สัปดาห์ อาการจะหายสนิทเมื่อเสร็ จสิ้ นการให้ยาเคมีบำบัด

7. อาการท้องผูก

อาการท้องผูกหมายถึง ถ่ายลำบาก อุจจาระแห้งแข็ง ไม่ถ่ายหลายวันติดต่อกัน ซึ่งผูป้ ่ วยจะรู้สึกแน่นท้อง ท้องอืด ปวดท้อง อาการ


ท้องผูกสามารถพบได้ในผูป้ ่ วยมะเร็ งประมาณ 50% หรื อ 3 ใน 4 ของผูป้ ่ วยมะเร็ งระยะรุ นแรง ปัจจัยเสี่ ยงต่ออาการท้องผูก
ได้แก่ การได้รับยาแก้ปวดกลุ่มโอปิ ออยด์ เช่น มอร์ฟีน , ผุป้ ่ วยที่ไม่ค่อยลุกเดิน, ผูป้ ่ วยที่นอนติดเตียง, รับประทานอาหารที่ไม่มี
ใยอาหาร, ทานน้ำน้อยหรื อขาดน้ำ, ผูป้ ่ วยอยูใ่ นภาวะซึมเศร้า และผูป้ ่ วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดบางตัว เช่น vincristine และ
vinblastine ยาแก้คลื่นไส้อาเจียนบางชนิดก็อาจทำให้ทอ้ งผูกได้ ผูป้ ่ วยสามารถซื้อยาระบาย เช่น มะขามแขกทานร่ วมกันได้

8. อาการท้องเสี ย

อาการท้องเสี ยอาจพบร่ วมกับ ท้องอืด หรื อปวดท้องได้ ซึ่งพบได้ 3 ใน 4 ของผูป้ ่ วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดเนื่องจากยาเคมีบำบัด


ทำลายเซลล์เยือ่ บุลำไส้ และมีปัจจัยเสี่ ยงดังนี้

- ยาเคมีบำบัดที่ก่อให้เกิดอาการท้องเสี ย เช่น irinotecan, 5-fluorouracil


- ปริ มาณยาที่ผปู้ ่ วยได้รับ

- ระยะเวลาในการรักษานาน

- ผูป้ ่ วยมะเร็ งกระเพาะอาหาร

- การติดเชื้อของทางเดินอาหาร

- ยาอื่นๆ เช่น ยาฆ่าเชื้อ สามารถทำให้เกิดอาการท้องเสี ยได้เช่นกัน

- อาหารเสริ ม

- การได้รับการฉายแสงร่ วมกับได้รับยาเคมีบำบัดพร้อมกัน

- แพ้อาหารหรื อแพ้นมวัว

- การปรับเปลี่ยนกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

- ความเครี ยดและกังวล

ท้องเสี ยอาจมีผลรุ นแรงถึงชีวิตได้ หากเกิด ภาวะขาดน้ำ ขาดสารอาหาร และความไม่สมดุลของเกลือแร่ ในร่ างกาย ดังนั้นหากผู้
ป่ วยมีอาการท้องเสี ยควรแจ้งแพทย์หรื อพยาบาลเพื่อทำการรักษา หากเป็ นไม่มากให้ซ้ื อน้ำเกลือแร่ หรื อผลเกลือแร่ ละลายน้ำชง
ให้ผปู้ ่ วยทานได้

9. อ่อนเพลีย

ภาวะอ่อนเพลียจากการได้รับยาเคมีบำบัดไม่สามารถแก้ไขได้ดว้ ยการพักผ่อน และเป็ นผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยในผูป้ ่ วยที่ได้รับ


ยาเคมีบำบัดซึ่งมีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง หลงลืม ไม่มีสมาธิ ซึ่งภาวะนี้อาจส่ งผลต่อคุณภาพชีวิตและสุ ขภาพ หากผูป้ ่ วยมี
อาการ ดังกล่าวควรปรึ กษาแพทย์เพื่อบรรเทาอาการ

10. ผลต่อการทำงานของหัวใจ

ยาเคมีบำบัดบางชนิดมีผลเสี ยต่อกล้ามเนื้ อหัวใจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นกลุ่ม Anthracyclines เช่น doxorubicin และ daunorubicin ซึ่ง
เกิดประมาณ 1 ใน 10 ของผูป้ ่ วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด ส่ งผลให้ประสิ ทธิภาพในการสูบฉี ดเลือดไปเลี้ยงส่ วนต่างๆ ของร่ างกายลด
ลง จนอาจก่อให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้ ซึ่งผูป้ ่ วยจะมีอาการบวมตามแขนขา หายใจลำบากเมื่อออกกำลังกายหรื อนอนราบ วิง
เวียนศีรษะ มีอาการใจสัน่ ไอแห้งๆ และมีความเสี่ ยงสูงในผูป้ ่ วยที่เคยได้รับการฉายรังสี ที่บริ เวณทรวงอก โรคความดันโลหิ ตสูง
ที่ควบคุมไม่ได้ ผูป้ ่ วยที่เป็ นโรคหัวใจอยูเ่ ดิม และสู บบุหรี่ โดยปกติหากแพทย์จำเป็ นต้องสัง่ ยาเคมีบำบัดที่มีผลต่อการทำงานของ
หัวใจ แพทย์จะทำการประเมินการทำงานหัวใจก่อนและระหว่างให้การรักษา โดยการตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ การตรวจดูการบีบ
ตัวของกล้ามเนื้ อหัวใจ หากพบว่าการทำงานของหัวใจเริ่ มมีความ ผิดปกติไปก็จำเป็ นที่ตอ้ งหยุดให้ยาเคมีบำบัด ดั้งนั้นหากผูป้ ่ วย
มีอาการใจสัน่ หายใจตื้น แขนขาบวม ควรแจ้งแพทย์ผรู้ ักษาทราบโดยทันที
11. ผลต่อระบบประสาท

ยาเคมีบำบัดบางชนิดออกฤทธิ์ โดยตรงและโดยอ้อมต่อระบบประสาทส่ วนกลางและส่ วนปลาย ส่ งผลเสี ยต่อเซลล์ประสาทภาย


หลัง จากการได้รับยาเคมีบำบัดทันทีหรื อหลายปี หลังจากได้รับยาซึ่งผูป้ ่ วยอาจมีอาการปวดศีรษะ, คลื่นไส้อาเจียน, วุน่ วายหรื อ
นอนมากขึ้น, เป็ นไข้, สับสน, ซึมเศร้า, คอแข็ง, ชัก, การมองเห็นแย่ลง, จมูกได้กลิ่นผิดปกติ, การได้ยนิ ผิดปกติ, ปากแห้ง,อาการ
ชาตามแขนขา, การรับความรู้สึกที่แขนขาแย่ลง และปวดตามแขนขา ระบบประสาทที่ถูกทำลายแล้วส่ วนใหญ่สามารถที่จะหาย
ได้เอง แต่กม็ ีบางส่วนที่ไม่หายขาดดังนั้นหากมีอากรเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวก็ควรแจ้งให้แพทย์ผทำ ู้ การรักษาทราบโดยเร็ว

12. ผลต่อความคิดและความจำ

ผลการศึกษาทางการแพทย์พบว่าผูป้ ่ วยที่เคยได้รับยาเคมีบำบัดอาจพบปัญหาในเรื่ องการทำงานของสมองภายหลังจากได้รับยา


เคมีบำบัดไปแล้วหลายปี แต่ยงั ไม่ทราบกลไกการเกิดที่แน่ชดั โดยมีปัจจัยเสี่ ยงอื่นๆ เช่น การผ่าตัด การดมยาสลบ การใช้
ฮอร์โมนบำบัด ซึ่งส่ งผลต่อเรื่ องสมาธิ ความจำ ความเข้าใจ และเหตุผล

13. ผลต่อระบบทางเดินหายใจ

ยาเคมีบำบัดบางชนิด เช่น Bleomycin มีผลทำลายเนื้อเยือ่ ปอด ซึ่งมีความเสี่ ยงสูงในผูป้ ่ วยที่สูบบุหรี่ เคยได้รับการฉายรังสี บริ เวณ
ทรวงอก, การให้ยาเคมีบำบัดพร้อมกับการฉายรังสี หรื อผูป้ ่ วยสูงอายุ โดยผูป้ ่ วยจะมีอาการหายใจตื้น ไอแห้งๆ อาจมีไข้ หาก
สามารถหยุดยาเคมีบำบัดได้ต้ งั แต่ช่วงแรกของการถูกทำลายปอด สามารถกลับมาเป็ นปกติได้ แต่หากเนื้อเยือ่ ปอดส่ วนที่ถูก
ทำลายกลายเป็ นแผลเป็ นแล้วก็จะไม่สามารถกลับเป็ นปกติได้ ดังนั้นผูป้ ่ วย ที่มีอาการดังกล่าวข้างต้นควรแจ้งให้แพทย์ที่ทำการ
รักษาทราบโดยเร็ ว แพทย์จะทำการประเมินประสิ ทธิภาพของปอด โดยการเจาะ เลือดเพื่อดูระดับออกซิเจนในหลอดเลือดแดง
หรื อการทดสอบอื่นๆ

14. ผลต่อระบบสื บพันธุ์

ยาเคมีบำบัดมีผลต่อระบบสื บพันธุ์ได้โดยขึ้นอยูก่ บั อายุขณะไดรับยาเคมีบำบัดเป็ นสำคัญ และยังขึ้นกับชนิดของยาเคมีบำบัด


ปริ มาณยา และระยะเวลาของการรักษาด้วย

ผลต่อระบบสื บพันธุ์เพศชาย

- ในผูป้ ่ วยส่ วนใหญ่อวัยวะเพศยังสามารถแข็งตัวได้ตามปกติ อาจจะพบปัญหาความถี่ของการแข็งตัวและความต้องการทางเพศ


ลดลงในช่วงประมาณ 1-2 สัปดาห์หลังจากได้รับยาเคมีบำบัดหลังจากนั้นก็จะหายเป็ นปกติ แต่กม็ ียาเคมีบำบัดบางชนิดเช่น
Cisplatin,

Vincristine ที่มีผลต่อระบบประสาทอย่างถาวรซึ่งอาจส่ งผลต่อเส้นประสาทที่ควบคุมการแข็งตัวได้

- ยาเคมีบำบัดบางชนิดทำให้ความต้องการทางเพศลดลงและอวัยวะเพศไม่แข็งตัว เนื่องจากไปยับยังการผลิตฮอร์โมนเพศชาย
ซึ่งรวมถึงยารักษาอาการคลื่นไส้อาเจียนบางกลุ่มก็ออกฤทธิ์ เช่นเดียวกันโดยอาการทั้งหมดจะหายเมื่อสิ้ นสุ ดการรักษา
- ยาเคมีบำบัดอาจมีผลต่อการสร้างตัวอสุ จิซ่ ึงมีท้ งั แบบชัว่ คราวและถาวร ดังนั้นหากผูป้ ่ วยต้องการมีบุตรในภายหลังอาจพิจารณา
นำตัวอสุ จิออกมาแช่แข็งภายนอกร่ างกายก่อนได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด

- ในช่วงที่ผปู้ ่ วยได้รับยาเคมีบำบัดควรคุมกำเนิดด้วย เนื่องจากยาเคมีบำบัดอาจก่อให้เกิดการเจริ ญเติบโตผิดปกติของตัวอ่อนได้

- ยาเคมีบำบัดทำให้ภูมิคุม้ กันของร่ างกายลดลดดังนั้นในผูป้ ่ วยที่เคยเป็ นเริ มหรื อหนองใน อาจกลับมาเป็ นซ้ำในช่วงที่ได้รับยา


เคมีบำบัด

- ผูป้ ่ วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดทางกระเพาะปัสสาวะเพื่อรักษามะเร็ งของกระเพาะปัสสาวะนั้น อาจมีอาการเจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์


ได้หลังจากได้รับยาเคมีบำบัด ซึ่งเกิดจากการระคายเคืองของกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะจากยาเคมีบำบัดและสามารถหาย
ได้เอง

ผลต่อระบบสื บพันธุ์เพศหญิง

- ยาเคมีบำบัดหลายตัวมีผลการการสร้างฮอร์โมนเพศของรังไข่ ซึ่งส่ งผลต่อความสามารถในการมีบุตร และความต้องการทาง


เพศ ซึ่งในผูป้ ่ วยที่อายุมากกว่า 30 ปี จะมีโอกาสน้อยลงที่รังไข่จะกลับมาทำหน้าที่ตามปกติและอาจจะเข้าสู่วยั หมดประจำเดือน
ภายหลังได้รับยาเคมีบำบัด โดยจะมีอาการร้อนๆหนาวๆ, ช่องคลอดแห้งและแคบขณะมีเพศสัมพันธ์, ประจำเดือนมาไม่ตรงหรื อ
หมดประจำเดือน และอาจมีเลือดออกทางช่องคลอดหลังจากมีเพศสัมพันธ์ได้เล็กน้อย

- ถึงแม้วา่ ประจำเดือนอาจมาผิดปกติหรื อไม่มีประจำเดือนจากการได้รับยาเคมีบำบัดแต่ผปู้ ่ วยก็ยงั อาจตั้งครรภ์ได้ และผลจากยา


เคมีบำบัดอาจทำให้เด็กมีความผิดปกติแต่แรกเกิดได้ จึงควรมีการคุมกำเนิดอย่างมีประสิ ทธิภาพเพื่อป้ องกันการตั้งครรภ์

- ยาเคมีบำบัดทำให้ภูมิคุม้ กันของร่ างกายลดลดดังนั้นในผูป้ ่ วยที่เคยเป็ นเริ มหรื อหนองใน อาจกลับมาเป็ นซ้ำในช่วงที่ได้รับยา


เคมีบำบัด

- ผูป้ ่ วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดทางกระเพาะปัสสาวะเพื่อรักษามะเร็ งของกระเพาะปัสสาวะนั้น อาจมีอาการเจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์


ได้หลังจากได้รับยาเคมีบำบัด ซึ่งเกิดจากการระคายเคืองของกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะจากยาเคมีบำบัดและสามารถหาย
ได้เอง

15. ผลต่อตับ

ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายที่ตบั และยาเคมีบำบัดบางชนิดมีฤทธิ์ ทำลายตับ เช่น Methotrexate, Cytarabine, Vincristine


และ Streptozocin ซึ่งตับส่วนที่ถูกทำลายจะหายเป็ นปกติได้ภายใน 2-3 สัปดาห์หลังจากได้รับยาเคมีบำบัด โดยผูป้ ่ วยอาจมี
อาการต่อไปนี้ ตัวตาเหลือง, อ่อนเพลีย, ปวดชายโครงด้านขวา, ท้องโตขึ้นหรื อเท้าบวม ซึ่งผูป้ ่ วยสูงอายุหรื อเป็ นตับอักเสบอยู่
เดิม จะเสี่ ยงต่อการถูกทำลายมากกว่าคนปกติ และสามารถตรวจติดตามโดยการเจาะเลือดดูการทำงานของตับเป็ นระยะ
16. ผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ

ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกขับออกนอกร่ างกายผ่านทางไตซึ่งยาบางชนิดก็มีฤทธิ์ ทำลายไต ท่อไต และกระเพาะปัสสาวะ โดย


เฉพาะในผูป้ ่ วยที่มีปัญหาเรื่ องไตมาก่อนจะมีความเสี่ ยงมากกว่าคนปกติ ยาที่มีผลเสี ยต่อไต เช่น Cisplatin, Cyclophosphamide,
Methotrexate, Ifosfamide และ Streptozocin โดยผูป้ ่ วยอาจมีอาการปวดศีรษะ, ปวดหลังส่ วนล่าง, อ่อนเพลีย, ออกแรง, คลื่นไส้
อาเจียน, ความดันโลหิ ตสูง, หายใจเร็ ว, ปัสสาวะบ่อยขึ้นหรื อน้อยลง, สี ปัสสาวะเปลี่ยนแปลง หรื อมีอาการบวมตามร่ างกาย โดย
แพทย์จะ ตรวจติดตามการทำงานของไตโดยการเจาะเลือดเป็ นระยะๆ

ปัญหาในระยะยาวจากการได้รับยาเคมีบำบัด

1. ความผิดปกติของอวัยวะภายใน

ยาเคมีบำบัดบางชนิดออกฤทธิ์ ทำลายอวัยวะภายในซึ่งหากตรวจพบขณะทำการรักษา แพทย์กจ็ ะหยุดให้ยาเคมีบำบัดหรื อปรับ


เปลี่ยนสูตรยา แต่ผลข้างเคียงบางอย่างจะพบหลังจากได้รับยาเคมีบำบัดเสร็จสิ้ นแล้ว เช่น ผลต่อระบบสื บพันธุ์

2. พัฒนาการช้าในเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด

ผูป้ ่ วยเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัดอาจมีพฒั นาการทั้งทางร่ างกายและสมองที่ชา้ กว่าปกติ ซึ่งความรุ นแรงขึ้นอยูก่ บั อายุของเด็กที่เข้า


รับการรักษา ชนิดและปริ มาณของยาเคมีบำบัด และได้รับการรักษาอื่นๆ ร่ วมด้วย เช่น การฉายรังสี

3. ผลต่อระบบประสาท

ผลกระทบต่อระบบประสาทอาจเริ่ มพบภายหลังได้รับยาเคมีบำบัดไปแล้วเป็ นเวลานาน อาการที่พบ เช่น การได้ยนิ ลดลง หรื อ


ได้ยนิ เสี ยงผิดปกติ การรับความรู้สึกสัมผัสของมือและเท้าเปลี่ยนไป บุคลิกเปลี่ยนแปลง ง่วงนอนมากขึ้น ความจำลดลง สมาธิ
สั้นลง หรื อชัก

4. ปัสสาวะมีเลือดปน

ภาวะมีเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะพบได้ในผูป้ ่ วยที่ได้รับยา cyclophosphamide และ ifosfamide ซึ่งพบได้แม้วา่ จะหยุดยาเคมี


บำบัดแล้ว และในผูป้ ่ วยบางคนมีอาการมากขึ้นหลังจากหยุดยาแล้ว หากผูป้ ่ วยมีอาการดังกล่าวสามารถไปพบแพทย์เพื่อรับการ
รักษาที่ถูกต้อง

5. เกิดมะเร็ งของอวัยวะอื่น

การเกิดมะเร็ งอื่นๆ ตามมาหลังจากการรักษามะเร็ งนั้นทางการแพทย์ให้ความสำคัญเป็ นอย่างมาก เนื่องจากยาเคมีบำบัดบางตัว


เพิ่มความเสี่ ยงต่อการเกิดมะเร็ งได้ เช่น มะเร็ งเม็ดเลือดขาว มะเร็ งต่อมน้ำเหลือง โดยยังมีปัจจัยเสี่ ยงอื่นๆ อีก เช่น อายุ
ประวัติการฉายรังสี ผูป้ ่ วยที่เคยเป็ นโรคมะเร็ งแล้วก็อาจมีโอกาสเกิดมะเร็ งอื่นๆ ได้อีกดังนั้นจึงควรตรวจร่ างกายประจำปี และ
ตรวจคัดกรองโรคมะเร็ งลำไส้ใหญ่ มะเร็ งปากมดลูก และมะเร็ งเต้านมอย่างต่อเนื่อง ความสำคัญของการเก็บประวัติการรักษา
โรคมะเร็ ง ผูป้ ่ วยควรรับทราบและเก็บประวัติการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดทั้งตารางการให้ยา ชนิด และปริ มาณยาเคมีบำบัดที่ได้รับ
เพื่อใช้ ในการตัดสิ นใจเลือกการรักษาในอนาคต โดยหลักฐานที่ควรเก็บไว้มีดงั นี้

- ผลการตรวจทางพยาธิวิทยา

- รายการการผ่าตัด

- รายงานสรุ ปหากเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล

- รายการยาและขนาดยาที่ได้รับ

- รายละเอียดของการฉายรังสี

การตรวจติดตามภายหลังจากได้รับการรักษาครบถ้วนแล้วมีส่วนสำคัญในการเฝ้ าติดตามการดำเนินโรคดังนั้นผูป้ ่ วยจึงควรถาม


แพทย์ถึงตารางนัดตรวจติดตาม และอาการที่ควรมาพบแพทย์

10. คำถามที่ผู้ป่วยควรถามแพทย์ ก่อนรับการรักษาด้ วยยาเคมีบำบัด


(What Questions should I ask about chemotherapy?) แพทย์ผทำู้ การรักษาพิจารณาเลือกวิธีการรักษาให้กบั ผูป้ ่ วยตาม
ประวัติการรักษาพยาบาล, ชนิดของโรคมะเร็ ง, ความรุ นแรงของโรค, สุ ขภาพของผูป้ ่ วยขณะเข้ารับการรักษา และผลการศึกษา
ทางการแพทย์เกี่ยวกับวิวฒั นาการการรักษาใหม่ๆ ผูป้ ่ วยควรถามแพทย์หรื อพยาบาลที่ดูแลเกี่ยวกับการรักษาโดยยาเคมีบำบัด
ดังนี้

- จุดมุ่งหมายในการรักษามะเร็ งของผูป้ ่ วยคือเพื่อหาย หรื อเพื่อบรรเทาอาการ

- ยาเคมีบำบัดที่ได้รับเป็ นชนิดใด เข้าสู่ร่างกายโดยวิธีใด

- ผูป้ ่ วยต้องได้รับยาเคมีบำบัดบ่อยแค่ไหน

- ผูป้ ่ วยต้องได้รับยาเคมีบำบัดต่อเนื่องนานเท่าไร

- ผูป้ ่ วยต้องเตรี ยมตัวอย่างไรก่อนได้รับยาเคมีบำบัดหรื อไม่

- มีวิธีอย่างไรบ้างในการป้ องกันผลข้างเคียงจากการได้รับยาเคมีบำบัด

- มีวิธีการประเมินผลการรักษาจากยาเคมีบำบัดอย่างไร ว่าได้ผลหรื อไม่


- ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัดที่ได้รับมีอะไรบ้าง

- มีกิจกรรมอะไรบ้างที่ผปู้ ่ วยควรและไม่ควรทำ

- ผูป้ ่ วยสามารถไปทำงานหรื อเรี ยนหนังสื อระหว่างได้รับยาเคมีบำบัดได้หรื อไม่

- ผลข้างเคียงในระยะยาวมีอะไรบ้าง

- หากผูป้ ่ วยมีอาการผิดปกติจะต้องปฏิบตั ิตวั อย่างไร

- ค่ารักษาพยาบาล ว่าสามารถใช้ระบบประกันสุ ขภาพแห่งชาติ เบิกประกันสุ ขภาพ หรื อเบิกราชการได้หรื อไม่

11. ผลการศึกษาทางการแพทย์ เกีย่ วกับยาเคมีบำบัด (What’s new in chemotherapy research?)


หลายปี ที่ผา่ นยาการใช้ยาเคมีบำบัดในการรักษาผูป้ ่ วยมะเร็ งเป็ นที่แพร่ หลายมาก และมีผปู้ ่ วยจำนวนมากประสบความสำเร็ จ ใน
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด แต่กม็ ีผปู้ ่ วยบางส่ วนที่ไม่สามารถควบคุมโรคมะเร็ งได้ หรื อกลับมาเป็ นซ้ำ ซึ่งผลการศึกษาทางการ
แพทย์ มีส่วนสำคัญในการเลือกใช้สูตรยาเคมีบำบัดเพื่อ ให้ผปู้ ่ วยได้รับผลการรักษาที่ดีที่สุด ซึ่งในปัจจุบนั ก็มีการศึกษาใหม่ๆ ที่
ยังอยูใ่ นขั้นตอนการวิจยั เช่น

- ยาเคมีบำบัดกลุ่มใหม่ๆ หรื อสูตรยาใหม่ๆ

- วิธีการให้ยาเคมีบำบัดเพื่อให้ประสิ ทธิภาพของยาสูงสุ ดในปริ มาณที่มีผลข้างเคียงน้อยที่สุด

- ยาชนิดใหม่ที่ออกฤทธิ์เฉพาะที่เซลล์มะเร็ งโดยตรง (Targeted therapy) ซึ่งบางชนิดมีผลข้างเคียงน้อยกว่ายาเคมีบำบัด และอาจ


ให้ร่วมกับยาเคมีบำบัดได้ ยาหลายชนิดในกลุ่มนี้ยงั อยูใ่ นขั้นตอนการวิจยั และบางชนิดก็นำมาใช้รักษาผูป้ ่ วยในปัจจุบนั แล้ว เช่น
Lapatinib (Tykerb)

- ยาเคมีบำบัดบางชนิดถูกล้อมรอบด้วยถุงไขมันขนาดเล็กมากๆ เพื่อนำเข้าสู่งเซลล์มะเร็ งโดยตรง และสามารถลดผลข้างเคียงต่อ


เซลล์ปกติได้

- ยาป้ องกันผลข้างเคียงจากยาเคมีบำบัด เช่น Amifostine

- ยาที่ช่วยเพิ่มฤทธิ์ ของยาเคมีบำบัดต่อเซลล์มะเร็ ง โดยทำให้ระดับยาเข้าสู่กอ้ นมะเร็ งมากขึ้นและอยูน่ านขึ้น

You might also like