You are on page 1of 7

แบบบันทึกการให้บริการประจำวัน (reflective daily log) ในสถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน

สถานที่ปฏิบัติงาน สถานปฏิบัติการเภสัชชุมชน ม.นเรศวร ผลัดที่ 8 ระหว่างวันที่ 30 มกราคม – 10 มีนาคม 2566


นาย อรรณพ บุญยิ่ง รหัสนิสติ 56211035 มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันที่ การปฏิบัติงานและกรณีศึกษา ปัญหาหรือ DRP การวางแผนแก้ไขปัญหา (Plan) การประเมินปัญหาอย่างเป็นระบบ (Assessment) ลงชื่อเภสัชกรประจำ


ที่พบ แหล่งฝึก
6/2/66 กรณีศึกษาที่ 1 ผู้ปกครองมาขอซื้อยา Common cold Goal : บรรเทาอาการไอ ลดน้ำมูก สาเหตุ : เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการไอ ร่วมกับน้ำมูกกับเสมหะสีใส จึงไม่
แก้ไอลดน้ำมูกและเสมหะให้ลูก อายุ เสมหะ สงสัย bacterial pharyngitis เนือ่ งจากสีน้ำมูกไม่มสี ีเหลืองเขียว1 แต่
7 เดือน น้ำหนัก 7 กิโลกรัม Plan : Carbocysteine 2.5 cc q สงสัย common cold เพราะมีนำ้ มูกมากและมีสีใส2
CC : เด็กไอ, เสมหะ และมีน้ำมูกไข 8 hr. ปัจจัยเสี่ยง : อากาศเปลี่ยนแปลงจะพบการเกิด common cold ได้
ไม่มไี ข้ Efficacy : ลดน้ำมูกและลดอาการ มากและพบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่ และเด็กมีภมู ิคุ้มกันที่ต่ำกว่าผู้ใหญ่
HPI : 2 day PTA เด็กมีน้ำมูกไหล ไอ Tmax ประมาณ 2 ชั่วโมง ความรุนแรง : Mild
มาก มีอาการไอตามมา น้ำมูกใสไม่มีสี Safety : คลื่นไส้ ท้องเสีย พบได้ ประเมินการรักษา : เนื่องจากอาการหลักที่นำมาคืออาการไอ มีน้ำมูก
PMH : ไม่มโี รคประจำตัว น้อย และเสมหะ แต่ผู้ป่วยมีอายุ ≤2 ปี จึงไม่แนะนำการใช้
MED : ไม่มียาที่ใช้ประจำ ยังไม่ได้ให้ Patient education : แนะนำการ Dextromethorphan และ Anti-histamine ยกเว้น Ketotifen ใช้ได้ใน
ยารักษาอาการใดๆกับลูก ล้างจมูก และการดูดน้ำมูก 3 อายุ >6 เดือน ขนาดยา 0.05 mg/kg BID และ Dimetindene ใช้ได้ใน
ALL : ไม่มีประวัติแพ้ยา เด็กอายุ ≥ 1 เดือน ขนาด 0.1mg/kg/day แบ่งให้ 3 ครั้ง
SH : ในบ้านไม่มีใครมีอาการไอ มี เนื่องจากร้านยาไม่มี Ketotifen จึงพิจารณายากลุ่ม Mucolytic เพือ่ ลด
น้ำมูก และเสมหะ การระคายเคืองคอจากเสมหะ ซึ่งในร้านยามียาดังนี้
1.Acetylcysteine
2.Ambroxal
3.Bromhexine
4.Carbocysteine
5.Glyceryl guaiacolate
6.Phenylephrine
Carbocysteine 5
ข้อบ่งใช้ : Mucolytic อายุ 1เดือน-2ปี 20-30 mg/kg/day ผู้ป่วย
น้ำหนัก 7 kg ควรได้รับยาวันละ 140-210 mg/day แบ่งให้วันละ 2-3
ครั้ง
ประสิทธิภาพ : ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดีและรวดเร็ว
Bioavaiability: <10% Tmaxประมาณ 2 ชั่วโมง (1-3 ชั่วโมง)
ความปลอดภัย : Gastrointestinal disorders: Nausea, vomiting,
diarrhoea
ความร่วมมือในการใช้ยา : ใช้ยาวันละ 2-3 ครั้ง

References : 1.Committee on Infectious Diseases. Group A streptococcal infections. In Kimberlin DW, Brady MT, Jackson MA, Long SS, editors. 31st ed. Red
Book: 2018 Report of the Committee on Infectious Diseases. Elk Grove Village (IL): American Academy of Pediatrics; 2018:748–62.

2. Common colds: Protect yourself and others. Centers for Disease Control and Prevention. http://www.cdc.gov/features/rhinoviruses/. Accessed Jan. 15,
2021.
3. Buckingham R (ed). Carbocisteine. Martindale: The Complete Drug Reference [online]. London. Pharmaceutical Press.
https://www.medicinescomplete.com. Accessed 01/03/2022.
4. G.F.Parisi, S.Leonardi Et al. Antihistamines inchildren and adolescents : Apractical update. Allergol Immunopathol. 2020;48(6):753-762
5. Carbocisteine. (2023). MIMS Online. Retrieved February 8, 2023, from https://www.mims.com/thailand/drug/info/carbocisteine?mtype=generic
วันที่ การปฏิบัติงานและกรณีศึกษา ปัญหาหรือ DRP การวางแผนแก้ไขปัญหา (Plan) การประเมินปัญหาอย่างเป็นระบบ (Assessment) ลงชื่อเภสัชกรประจำ
ที่พบ แหล่งฝึก
8/2/66 กรณีศึกษาที่ 2 ผู้ป่วยชายไทยมาขอ Caries tooth Goal : บรรเทาอาการปวดฟัน สาเหตุ : เกิดจากโครงสร้างฟันถูกทำลายจากการสร้างกรดของแบคทีเรีย
ซื้อยาแก้ปวด อักเสบ เนื่องจากคิดว่า caused pain Plan : Ibuprofen 400 mg 1*3 เพื่อย่อยเศษอาหารทีต่ กค้างจากอาหารที่รับประทานเข้าไป
ตัวเองฟันผุ แต่ยังไม่มีเวลาว่างไปหา PC ปัจจัยเสี่ยง : อาหารประเภทน้ำตาล, การทำความสะอาดช่องปากที่ไม่
ทันตแพทย์ จึงขอใช้ยาบรรเทาอาการ Efficacy : ลดอาการปวดใน 0.5-1 ถูกวิธ,ี สภาพของฟันและช่องปาก
ปวดก่อน ลองใช้ Paracetamol 500 ชั่วโมง ความรุนแรง : Moderate เนื่องจากยังสามารถใช้ชีวิตประจำได้แต่รสู้ ึก
mg แล้วไม่ดีขึ้น ให้คะแนน Safety : ผู้ป่วยไม่มีโรคเกี่ยวกับ คันตา รบกวนการใช้สายตา และ numerical rating scale 5 คะแนน
numerical rating scale 5 คะแนน ทางเดินอาหาร, ไม่มีความเสี่ยงต่อ ประเมินการรักษา : Nonsteroidal anti-inflammatory drugs
CC : ผูป้ ่วยปวดฟัน, ไม่ถึงระดับ การเกิด GI Bleeding (NSAIDs) นอกจากจะมีฤทธิ์ระงับปวดแล้วยังมีฤทธิ์ต้านการอักเสบและ
รบกวนการใช้ชีวิต Patient education : รับประทาน ลดไข้ จากการยับยั้งการสร้าง prostaglandin โดยยับยั้ง enzyme
HPI : 1 day PTA เริ่มรู้สึกปวดฟัน หลังอาหารทันที และแนะนำผู้ป่วย cyclooxygenase โดย cyclooxygenase แบ่งเป็น cyclooxygenase-
ปวดมากขึ้นเรื่อย ๆ หาเวลาว่างไปหาทันตแพทย์เพื่อ 1 (COX-1) และ cyclooxygenase-2 (COX-2) โดย COX-1 จะพบใน
PMH : ไม่มโี รคประจำตัว ตรวจสุขภาพช่องปาก เนื้อเยื่อหลายชนิด เช่น เยื่อบุกระเพาะอาหาร เยื่อบุหลอดเลือดและไต
MED : Paracetamol 1*3 PC ส่วน COX-2 จะถูกกระตุ้นให้สร้างเมื่อเกิดการอักเสบ พบได้ในเม็ดเลือด
ALL : ไม่มีประวัติแพ้ยา ขาว หลอดเลือด และเนื้อเยื่อประสาท โดยยากลุม่ NSAIDs แต่ละชนิดมี
SH : - ความสามารถในการยับยั้ง COX-1 และ COX-2 ได้ไม่เท่ากัน
ความสามารถในการยับยั้ง COX-1 และ COX-2 ยังบอกได้ถึง
ผลข้างเคียงที่ตามมาจากการใช้ยา โดยแบ่ง NSAIDs เป็น 2 กลุ่ม คือ
conventional NSAIDs เช่น diclofenac, aspirin, ibuprofen,
ketoprofen, naproxen, mefenamic, piroxicam และ meloxicam
และกลุม่ COX-2 specific inhibitors เช่น celecoxib, valdecoxib,
parecoxib และ etoricoxib1 การเลือกใช้ยา NSAIDs ควรเลือกใช้ยาที่มี
ประสิทธิภาพ ใช้ง่าย ออกฤทธิ์เร็ว และมีอาการไม่พึงประสงค์น้อย
Ibuprofen จัดเป็นยาในกลุม่ conventional NSAIDs ที่มี Onset 30-
60 นาที ระงับปวดได้ไว ระยะเวลาการออกฤทธิ์ 6-8 ชั่วโมง เหมาะกับ
ผู้ป่วยรายนี้ ที่ไม่มโี รคกระเพาะอาหาร และ ไม่มปี ระวัติแพ้ยาในกลุม่
NSAIDs 2-3

Reference
1. Kate JA. NSAIDs and COX-2 selective inhibitors. In: Benzon HT, Raja SN, Molloy RE, Liu S, Fishman SM, editors. Essentials of pain medicine and regional anesthesia.
2nd edition. Philadelphia: Churchill-Livingstone; 2005.p.141-58.
2. Ibuprofen (2023). MIMS Online. Retrieved February 10, 2023, https://www.mims.com/thailand/drug/info/ibuprofen?mtype=generic
3. Timmerman, A., & Parashos, P. (2020). Management of dental pain in primary care. Australian prescriber, 43(2), 39–44.
https://doi.org/10.18773/austprescr.2020.010
วันที่ การปฏิบัติงานและกรณีศึกษา ปัญหาหรือ DRP การวางแผนแก้ไขปัญหา (Plan) การประเมินปัญหาอย่างเป็นระบบ (Assessment) ลงชื่อเภสัชกรประจำ
ที่พบ แหล่งฝึก
9/2/66 กรณีศึกษาที่ 3 ผู้ป่วยชายไทย คันตา Allergic Goal : รักษาอาการคันที่ดวงตา สาเหตุ : แยกโรคทางตาดังนี้1
มาก เป็นตั้งแต่ตื่นนอน เป็นทั้ง 2 ข้าง conjunctivitis Plan : Hista-oph® Allergic conjunctivitis
ขยี้ตาจนตาแดง มีขี้ตามากตอนตืน่ ยัง Efficacy : อาการคันตา ตาแดง คันตามาก ขี้ตาใส ส่วนมากเป็นทั้ง 2 ข้าง มีน้ำตาสีใสไหลออกมา
ไม่ได้ใช้ยาก่อนมาร้านยา หายไป Bacterial conjunctivitis
CC : คันตา มีขี้ตามากตอนตื่นนอน Safety : หากใช้ระยะยาวอาจเกิด มักเริ่มจากตาข้างใดข้างหนึ่ง แล้วตามมาด้วยอีกข้างหนึ่ง ขี้ตามีสี
ตาแดง ความเสียหายของกระจกตาจาก เหลืองขุ่น ร่วมกับอาการปวดตาเล็กน้อย
HPI : ตื่นนอนตอน 6.30 น. คันตา Benzalkonium chloride, ระวังใน Viral conjunctivitis
2
มาก ผู้ป่วยต้อหินมุมปิด มักเป็นทั้ง 2 ข้าง ขีต้ าใส ปวดตาเล็กน้อย อาจเป็นร่วมกับโรคหวัด
PMH : ไม่มโี รคประจำตัว Patient education : พยายาม Hordeolum
MED : - สังเกตสิ่งทีส่ ัมผัสกับดวงตาแล้วทำ ก้อน บวมที่เปลือกตา กดเจ็บ กลัวแสง พัฒนาไปเป็นตุม่ หนอง อาจ
ALL : ไม่มีประวัติแพ้ยา ให้เกิดอาการแพ้ และพยายามเลีย่ ง ส่งผลต่อการมองเห็น
SH : - การสัมผัสกับตัวกระตุ้น Dry eye
แสบตา คันตา ระคายเคืองตา ตาแดง น้ำตาไหล
เมื่อพิจารณาจากอาการของป่วย มีอาการคันตามาก ตาแดง เป็นทั้ง 2
ข้าง
ปัจจัยเสี่ยง : สัมผัสกับสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการแพ้
ประเมินการรักษา : Hista-Oph มีตัวยาสำคัญในการออกฤทธิ์ คือ
Antazoline และ Tetrahydrozoline ซึ่งเป็นตัวยาแก้แพ้และตัวยาหด
หลอดเลือด จึงมีข้อบ่งใช้ในการรักษาอาการตาแดงที่เกิดจากการแพ้
อาการระคายเคือง จากสาเหตุต่างๆ น้ำตาไหลเนื่องจากการแพ้หรือเยื่อ
บุตาขาวอักเสบ ขนาดใช้ยาโดยทั่วไป คือ หยอดตาวันละ 1-2 หยด ทุก
4-6 ชม. และสามารถหยุดใช้ยาได้เมื่อหายจากอาการแพ้หรือระคายเคือง
ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ เช่น อาการตาแห้ง ความดันในลูกตาสูงขึ้น จึง
เป็นข้อห้ามใช้ในคนที่เป็นต้อหิน อย่างไรก็ตามยา Hista-Oph ถือว่าเป็น
ยาที่มีผลข้างเคียงน้อยและมีความปลอดภัยมาก เมื่อเทียบกับยาหยอดตา
ที่มีส่วนประกอบของ steroid และนอกจากตัวยาสำคัญแล้วยายังมีสาร
กันเสีย คือ Benzalkonium chloride ซึ่งถ้าใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะ
เวลานานอาจทำให้มีการสะสมของ Benzalkonium chloride ซึ่งมีผล
ทำให้เกิดความเสียหายต่อกระจกตาได้ ถ้าไม่จำเป็นจึงไม่ควรใช้ติดต่อกัน
เป็นระยะเวลานาน2-4

Reference
1.Hashmi MF, Gurnani B, Benson S. Conjunctivitis. [Updated 2022 Dec 6]. In: StatPearls [Internet]. Treasure Island (FL): StatPearls Publishing; 2022 Jan-. Available
from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK541034/
2. Hista-oph. (2023). MIMS Online. Retrieved February 9, 2023, https://www.mims.com/thailand/drug/info/hista-oph
3. Disorders of the Eye. In: Loscalzo J, Fauci A, Kasper D, Hauser S, Longo D, Jameson J. eds. Harrison's Principles of Internal Medicine, 21e. McGraw Hill; 2022.
4. Carlisle RT, Digiovanni J. Differential Diagnosis of the Swollen Red Eyelid. Am Fam Physician. 2015;92(2):106-112.

You might also like