You are on page 1of 200

หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ

การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา สําหรับ
พื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ
พื้นที่เมืองสําคัญ และพื้นที่พิเศษ

กองมาตรฐานระบบไฟฟา
ฝายมาตรฐานและความปลอดภัย
กุมภาพันธ 2550 พิมพครั้งที่ 1
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

คํานํา
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และการเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟาเลมนี้ จัดทําขึ้น
โดยคณะกรรมการพิจารณามาตรฐานการติดตั้งและมาตรฐานของอุปกรณในระบบไฟฟา สําหรับพื้นที่ 2 :
พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ และ พื้นที่พิเศษ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหวิศวกรของ กฟภ.
มีแนวทางในการออกแบบ การติดตั้ง และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาสําหรับพื้นที่ 2 รวมทั้งหลักเกณฑ
ทางเทคนิคสําหรับสําหรับผูใชไฟฟาที่อยูในพื้นที่ 2 เพื่อใหผูใชไฟฟาสามารถเลือกใชอุปกรณไดเหมาะสมกับ
ระบบไฟฟาของ กฟภ. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจายกระแสไฟฟา และ เพิ่มความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา
สําหรับหลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และการเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟาเลมนี้
ประกอบดวยเนื้อหาดังนี้
1. รูปแบบการจายไฟของระบบจําหนายแรงต่ํา ระบบจําหนายแรงสูง และ ระบบสายสง
2. การออกแบบ การติดตั้ง และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบสายสง 115 kV ของ กฟภ.
3. การออกแบบ การติดตั้ง และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบจําหนาย 22 kV และ 33 kV
ของ กฟภ.
4. การออกแบบ การติดตั้ง และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V ของ
กฟภ.
5. หลักเกณฑทางเทคนิคสําหรับสําหรับผูใชไฟฟาในเขตพื้นที่ 2
6. ภาคผนวกที่เกี่ยวของกับหลักเกณฑดังกลาว
คณะกรรมการฯ หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเลมนี้จะมีประโยชนตอการออกแบบ การติดตั้ง และ
การเลือกใชอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟาสําหรับพื้นที่ 2 สําหรับพนักงานของการไฟฟาสวนภูมิภาคไมมากก็
นอย หากมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมประการใดโปรดแจง กองมาตรฐานระบบไฟฟาเพื่อจะไดแกไขปรับปรุงหลัก
เกณฑใหมีความถูกตองและทันสมัยมากยิ่งขึ้นในโอกาสตอไป

คณะกรรมการฯ
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

คณะกรรมการพิจารณามาตรฐานการติดตั้งและมาตรฐานของอุปกรณ
ในระบบไฟฟาสําหรับพื้นที่ 2

1. นายวีระชัย โกยกุล ผชก.(ว) ที่ปรึกษาคณะกรรมการ


2. นายสมศักดิ์ นิติศฤงคาริน ผชช.12 ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
3. นายอนุสรณ เทศผล อฝ.มภ. ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
4. นายวิลาศ งามแสงรุงสาโรจน อก.มฟ. ประธานคณะกรรมการ
5. สอ.กฤษณ ธนะศิรินานนท หผ.ตร.กคก. เปนคณะกรรมการ
6. นายชิษณุพงศ สัจจะวัฒนวิมล หผ.วร.1.กผฟ. เปนคณะกรรมการ
7. นายเสฐียรพงศ ฤทธิเรืองเดช หผ.วฟ.กวจ. เปนคณะกรรมการ
8. นายนันทวิทย อุยยามวงศ หผ.พผ.กพฟ. เปนคณะกรรมการ
9. นายนิวัต สิริโสภณวัฒนา ชผ.วช.กจฟ. เปนคณะกรรมการ
10. นายสุชาติ อนรุง หผ.อส.2(ฉ)กอส.(น.ฉ.ต)เปนคณะกรรมการ
11. นายดุสิต ชัยดิเรก หผ.อส.1.(ก)กอส.(ก) เปนคณะกรรมการ
12. นายณรงคฤทธิ์ สงวนพงศ หผ.มม.กฟก.1 เปนคณะกรรมการ
13. นายอารมณ สิงหเงิน ชผ.อค.ฝปค.(ก.2) เปนคณะกรรมการ
14. นายเอกชัย หิ้งสุวรรณ หผ.ผร.ฝปค.(ก.3) เปนคณะกรรมการ
15. นายคงบุญ จันทรเตโช หผ.ผร.ฝปค.(น.1) เปนคณะกรรมการ
16. นายสุพจน คําเหลือง ชก.กผป.ฝปค.(น.2) เปนคณะกรรมการ
17. นายสมใจ รุงดี หผ.วอ.ฝปค.(น.3) เปนคณะกรรมการ
18. นายพูนศักดิ์ ธนูรักษ หผ.คฟ.ฝปค.(ฉ.1) เปนคณะกรรมการ
19. นายพุทธพร ศักดิ์สุรกานต หผ.วค.ฝปค.(ฉ.2) เปนคณะกรรมการ
20. นางธนภัค เกิดโพธิ์คา ชผ.วภ.กฟฉ.3 เปนคณะกรรมการ
21. นายสมศักดิ์ คะณา หผ.คฟ.ฝปค.(ต.1) เปนคณะกรรมการ
22. นายณรงคชัย ลิ่มเศรษฐกานต ชผ.คฟ.ฝปค.(ต.2) เปนคณะกรรมการ
23. วาที่ ร.ท. อัครเดช วรรณบุญ ชผ.คฟ.ฝปค.(ต.3) เปนคณะกรรมการ
24. นายถาวร ทองเปย ม รก.มฟ. เปนคณะกรรมการและเลขานุการ
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

คณะทํางานจัดทํามาตรฐานการติดตั้งและมาตรฐานของอุปกรณ
ในระบบไฟฟาสําหรับพื้นที่ 2

1. นายถาวร ทองเปยม รก.มฟ. เปนหัวหนาคณะทํางาน


2. นายสุระ ณ หนองคาย หผ.มน. เปนคณะทํางาน
3. นายสมเกียรติ วิรุฬหเวศมกุล หผ.มส. เปนคณะทํางาน
4. นายดํารงชัย อุบลโพธิ์ หผ.ขท. เปนคณะทํางาน
5. นายสมชาย ทรงศิริ หผ.ตบ. เปนคณะทํางาน
6. นายสรายุทธ หวังดี หผ.ขฟ. เปนคณะทํางาน
7. นายกิตติศักดิ์ วรรณแกว ชผ.มน. เปนคณะทํางาน
8. นายไพฑูรย พรหมพิทักษ ชผ.มส. เปนคณะทํางาน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

สารบัญ
หนาที่
บทที่ 1 หลักเกณฑการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาสําหรับพื้นที่ 2 1
1. ระบบสายสง 115 kV 1
1.1 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบสายสง 1
1.2 รูปแบบการกอสรางระบบระบบสายสง 7
2. ระบบจําหนายแรงสูง 22 kV และ 33 kV 7
2.1 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายแรงสูง 7
2.2 รูปแบบการกอสรางระบบจําหนายแรงสูง 9
3. รูปแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย 10
4. ระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V 11
4.1 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายแรงต่ํา 11
4.2 รูปแบบการกอสรางระบบจําหนายแรงต่ํา 13
บทที่ 2 การออกแบบ การติดตั้ง และการเลือกใชอุปกรณไฟฟาในระบบสายสง 115 kV 14
1. การออกแบบระบบสายสงเปนสายอากาศ 14
1.1 โครงสรางสายสงกรณีใชเสา คอร. 22 เมตร 14
1.2 โครงสรางสายสงกรณีใชเสาโครงเหล็ก 17
1.3 ลูกถวย 19
1.4 ฐานรากเสา 19
1.5 การตอลงดิน 30
1.6 การปองกันรถชนเสา 32
1.7 ระยะหางทางไฟฟา 34
2. การออกแบบระบบสายสงเปนเคเบิลใตดิน 42
2.1 สายเคเบิล 42
2.2 รูปแบบการกอสราง 43
2.3 ทอรอยสายเคเบิล 46
2.4 จํานวนทอรอยสาย 47
2.5 บอพักสายใตดิน(MANHOLE) 47
2.6 เสาตน Riser Pole 49
2.7 การตอลงดิน 51
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

หนาที่
2.8 ระยะหางของทอรอยสายกับสาธารณูปโภคอื่นๆ 53
2.9 ขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ 53
บทที่ 3 การออกแบบ การติดตัง้ และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบจําหนายแรงสูง 54
22 kV และ 33 kV
1. การออกแบบระบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศ 54
1.1 คุณสมบัติและขนาดของเคเบิลอากาศ 54
1.2 เสาและระยะหางระหวางเสา 56
1.3 ลูกถวยและฉนวนของระบบจําหนาย 60
1.4 การตอลงดิน 63
1.5 การติดตั้งกับดักเสิรจ 63
1.6 การติดตั้งอุปกรณปองกัน 65
1.7 การปองกันรถชนเสา 65
1.8 การติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย 66
1.9 ระยะหางทางไฟฟา 67
1.10 จํานวนวงจรสูงสุดตอตนเสา 67
1.11 หลีกเลี่ยงการกอสรางระบบจําหนาย 22 kV หรือ 33 kV ใตแนวสายสง 115 kV 68
2. การออกแบบระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดิน 69
2.1 ชนิดและขนาดของสายเคเบิลใตดิน 69
2.2 รูปแบบการกอสราง 70
2.3 ทอรอยสายเคเบิล 76
2.4 จํานวนทอรอยสาย 76
2.5 บอพักสายใตดิน(MANHOLE) 77
2.6 เสาตน Riser 80
2.7 การติดตั้งมิเตอรแรงสูง 81
2.8 การติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย 82
2.9 การตอลงดิน 82
2.10 ระยะหางของทอรอยสายกับสาธารณูปโภคอื่นๆ 84
2.11 ขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ 84
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

หนาที่
บทที่ 4 การออกแบบ การติดตัง้ และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบจําหนายแรงต่าํ 86
400/220 V
1. การออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศ 86
1.1 ชนิดและขนาดของสายจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศ 86
1.2 เสาและระยะหางระหวางเสา 90
1.3 ฉนวนของระบบจําหนายแรงต่ํา 90
1.4 การติดตั้งกับดักเสิรจแรงต่ําและการตอสายนิวทรัลลงดิน 90
1.5 การติดตั้งอุปกรณปองกัน 92
1.6 การปองกันรถชนเสา 92
1.7 ระยะหางทางไฟฟา 92
1.8 จํานวนวงจรสูงสุดตอตนเสา 92
1.9 การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 92
1.10 หามติดตัง้ มิเตอรแรงต่าํ 400/230 V บนเสาระบบสายสง 115 kV 94
2. การออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําเปนเคเบิลใตดิน 95
2.1 ชนิดและขนาดของสายเคเบิลใตดิน 95
2.2 รูปแบบการกอสราง 100
2.3 ทอรอยสายเคเบิล 103
2.4 จํานวนทอรอยสาย 105
2.5 บอพักสายใตดิน(MANHOLE) 105
2.6 เสาตน Riser 107
2.7 การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 111
2.8 ตูจายไฟแรงต่ํา 115
2.9 ขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ 116
บทที่ 5 หลักเกณฑทางเทคนิคสําหรับผูใชไฟฟาในเขตพื้นที่ 2 117
1. ผูใชไฟฟาในระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V ของการไฟฟาสวนภูมิภาค 117
1.1 ความตองการกําลังไฟฟาสูงสุด 117
1.2 คําแนะนําการเลือกใชอุปกรณไฟฟา 117
2. ผูใชไฟฟาในระบบจําหนาย 22 kV หรือ ระบบจําหนาย 33 kV 121
2.1 ความตองการกําลังไฟฟาสูงสุด 121
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

หนาที่
2.2 จุดรับกระแสไฟฟา 121
2.3 คําแนะนําการเลือกใชอุปกรณไฟฟา 122
2.3.1 สําหรับผูใชไฟฟารับไฟฟาแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV ดวยเคเบิลอากาศ 122
หรือ เคเบิลใตดินจากเคเบิลอากาศของการไฟฟาสวนภูมิภาค
2.3.2 สําหรับผูใ ชไฟฟารับไฟฟาแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV ดวยเคเบิลใตดนิ 128
จากเคเบิลใตดนิ ของการไฟฟาสวนภูมภิ าค
3. ผูใชไฟฟาในระบบสายสง 115 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาค 130
3.1 ความตองการกําลังไฟฟาสูงสุด 130
3.2 สถานีไฟฟา 130
3.3 จุดรับกระแสไฟฟา 130
3.4 คําแนะนําการเลือกใชอุปกรณไฟฟา 131
3.5 อุปกรณ 131
ภาคผนวก ก แบบมาตรฐานการกอสรางที่อางถึง
ภาคผนวก ข ผังการตอลงดินที่ตูเมนสวิตช
ภาคผนวก ค ขีดจํากัดของฮารมอนิกสในระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค และ
ขีดจํากัดของแรงดันกระเพื่อมในระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค
ภาคผนวก ง ไดอะแกรมเสนเดี่ยวการเชื่อมตอระบบไฟฟาของผูใชไฟฟากับระบบไฟฟาของการ
ไฟฟาสวนภูมิภาค
ภาคผนวก จ-1 คุณสมบัติทางเทคนิคของสายเคเบิลอากาศ (Spaced Aerial Cable)
ภาคผนวก จ-2 คุณสมบัติทางเทคนิคของลูกถวยไฟฟา
ภาคผนวก จ-3 คุณสมบัติทางเทคนิคของกับดักเสิรจ (Surge arrester)
ภาคผนวก จ-4 คุณสมบัติทางเทคนิคของดรอพเอาทฟวสคัทเอาท
ภาคผนวก จ-5 คุณสมบัติทางเทคนิคของสวิตชตัดตอน (Disconnecting Switch)
ภาคผนวก จ-6 คุณสมบัติทางเทคนิคของรีโคลสเซอร
ภาคผนวก จ-7 คุณสมบัติทางเทคนิคของเคเบิลใตดิน
ภาคผนวก จ-8 คุณสมบัติทางเทคนิคของหัวเคเบิล (Cable terminator)
ภาคผนวก จ-9 คุณสมบัติทางเทคนิคของแผงสวิตชแรงสูง
ภาคผนวก จ-10 คุณสมบัติทางเทคนิคของหมอแปลงไฟฟา
ภาคผนวก จ-11 คุณสมบัติทางเทคนิคของคาปาซิเตอรแรงสูง
ภาคผนวก ฉ-1 คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 kV CIRCUIT BREAKER
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 00
และ พื้นที่พิเศษ

หนาที่
ภาคผนวก ฉ-2 คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV DISCONNECTING SWITCH
ภาคผนวก ฉ-3 คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV CURRENT TRANSFORMERS
ภาคผนวก ฉ-4 ขอกําหนดทางเทคนิคของอุปกรณ C.T. และ V.T. สําหรับติดตั้งมิเตอรผูใชไฟระบบ
115 kV
ภาคผนวก ฉ-5 คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV VOLTAGE TRANSFORMERS
ภาคผนวก ฉ-6 ขอกําหนดการกอสรางสถานีไฟฟาแบบ Terminal Station สําหรับผูข อใชไฟฟาใน
ระบบ 115 kV
ภาคผนวก ฉ-7 คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV ONLOAD TAP CHANGER POWER
TRANSFORMERS
ภาคผนวก ฉ-8 ขอกําหนดการทดสอบอุปกรณในสถานีไฟฟากอนการจายไฟสําหรับผูใชไฟฟาใน
ระบบ 115 kV
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 1
และ พื้นที่พิเศษ

บทที่ 1 หลักเกณฑการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาสําหรับพื้นที่ 2

การออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายแรงต่ํา และ ระบบจําหนายแรงสูง รวมทั้งระบบ


สายสงของ กฟภ. ใหกับพื้นที่ 2 นั้นมีความสําคัญรองลงมาจากการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาใหกับพื้น
ที่ 1 : พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม หรือ พื้นที่อุตสาหกรรม เพราะการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาที่ดี และ มี
ความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและความสําคัญของโหลด เปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการจายกระแสไฟฟา
และเพิ่มความเชื่อถือไดใหแกระบบไฟฟาของ กฟภ. โดยการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาใหกับพื้นที่ 2
มีการพิจารณาแยกตามระบบแรงดันดังนี้:

1. ระบบสายสง 115 kV
1.1 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบสายสง
ใหพิจารณาจัดรูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบสายสง 115 kV ที่จายกระแสไฟฟาใหผูใชไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 เปนระบบวงรอบปด(Closed loop) หรือ วงรอบเปด(Open Loop) ตามความเหมาะสมโดยแตละวง
รอบรองรับโหลดไมเกิน 320 MVA เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และ ความมัน่ คงในการจายกระแสไฟฟาใหกับผูใชไฟฟา
ไดดีกวาการจายไฟแบบรัศมี(Radial)
1.1.1 สถานีไฟฟาของ กฟภ.
ใหผอู อกแบบพิจารณาเลือกรูปแบบสถานีไฟฟาของ กฟภ. ทีอ่ ยูใ นพืน้ ที่ 2 ซึง่ จายกระแสไฟฟาสําหรับพืน้ ที่
2 เปนแบบ Outdoor Main and Transfer Bus หรือ Indoor Double Bus Single Breaker Gas Insulated Switchgear ดัง
แสดงในรูปที่ 1.1 และ 1.2 ตามลําดับ
1.1.2 จุดรับกระแสไฟฟาของผูใชไฟฟา
ใหพิจารณาออกแบบ และกอสราง ใหผูใชไฟฟาในระบบ 115 kV โดยมีแนวทางในการพิจารณาเลือกใช
ดังนี้
1) กรณีที่ผูใชไฟฟามีความตองการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาที่มีกําลังไฟฟาสูงสุดเกิน 20 MVA และ/หรือ
มีระยะทางระหวางแนวสายสงของ กฟภ. กับจุดติดตั้ง 115 kV Circuit-breaker ของผูใชไฟฟา เกิน
80 เมตร ใหรับกระแสไฟฟาผานสถานีไฟฟา (Terminal Station) แบบ H configuration ดังแสดง
ตามรูปที่ 1.3 พรอมติดตั้งระบบปองกัน Line differential relay หรือ Pilot distance relay ขึ้นอยูกับ
รูปแบบที่ใชงานในพื้นที่นั้นๆ
2) กรณีที่ผูใชไฟฟามีความตองการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาขนาดไมเกิน 20 MVA หรือมีระยะทาง
ระหวางแนวสายสงของ กฟภ. กับจุดติดตั้ง 115 kV Circuit-breaker ของผูใชไฟฟา ไมเกิน 80 เมตร
โดยเปนจุดรับไฟจุดแรก หรือจุดที่ 2 ระหวางสถานีไฟฟาของ กฟภ. หรือผูใชไฟฟารายอื่น ที่มี
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 2
และ พื้นที่พิเศษ

ระบบปองกันแบบ Line differential relay หรือ Pilot distance relay ใหสามารถรับกระแสไฟฟา


โดยใชรูปแบบของสถานีไฟฟาแบบ Air Insulated Switchgear ดังแสดงตามรูปที่ 1.4 ที่เชื่อมตอโดย
ตรงกับสายสง (Directly Tapped Line) โดยผานโหลดเบรกสวิตช
3) กรณีที่ผูใชไฟฟาตองการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาขนาดไมเกิน 20 MVA และมีระยะทางระหวางแนว
สายสงของ กฟภ. กับจุดติดตั้ง 115 kV Circuit-breaker ไมเกิน 80 เมตร แตเปนจุดรับไฟจุดที่ 3
ระหวางสถานีไฟฟาของ กฟภ. หรือผูใชไฟฟารายอื่น ที่มีระบบปองกันแบบ Line differential relay
หรือ Pilot distance relay ใหใชรูปแบบการรับกระแสไฟฟาตามขอ 1)
4) กรณีที่มีวงจรเฉพาะจายไฟใหกับผูใชไฟฟาในพื้นที่ดังกลาวแลว ใหสามารถเลือกใช รูปแบบของ
สถานีไฟฟาแบบ Air Insulated Switchgear ที่เชื่อมตอโดยตรงกับสายสง ดังแสดงตามรูปที่ 1.4
ไดดวย ทั้งนี้ใหพิจารณาเปนกรณีพิเศษเฉพาะพื้นที่ที่มีการจายไฟดวยวงจรเฉพาะแลวเทานัน้ หากเปน
พืน้ ทีท่ ยี่ งั ไมมวี งจรเฉพาะใหพจิ ารณาตามหลักเกณฑปกติ
5) ทัง้ นีห้ า มไมใหมกี ารทําเชื่อมตอโดยตรงกับสายสง จากวงจรทีเ่ ปนสายปอนดานเขาของสถานีไฟฟา
6) กรณีที่ผูใชไฟฟาเดิมที่มีการเชื่อมตอโดยตรงกับสายสงอยูแลว ตองดําเนินการปรับปรุงใหเปนสถานี
ไฟฟาตามแนวทางขางตน หากผูใชไฟฟามีการเพิ่มขนาดหมอแปลงไฟฟา หรือเปลี่ยนแปลงการรับ
กระแสไฟฟาใหม หรือเปนความตองการของผูใชไฟฟาเอง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 3
และ พื้นที่พิเศษ

1.* หมอแปลงไฟฟากําลังบางแหงอาจจะเปนแบบ Yyd1


2.BCT : BUSHING CURRENT TRANSFORMER
3.NGR : NEUTRAL GROUNDING RESISTOR
*

หมายเหตุ

รูปที่ 1.1 รูปแบบของสถานีไฟฟา 115 kV แบบ Outdoor Main & Transfer Bus
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 4
และ พื้นที่พิเศษ

*
*

1.* หมอแปลงไฟฟากําลังบางแหงอาจจะเปนแบบ Yyd1


2.BCT : BUSHING CURRENT TRANSFORMER
3.NGR : NEUTRAL GROUNDING RESISTOR
หมายเหตุ

รูปที่ 1.2 รูปแบบของสถานีไฟฟา 115 kV แบบ Indoor Double Bus Single Breaker Gas Insulated Switchgear
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 5
และ พื้นที่พิเศษ

1.* หมอแปลงไฟฟากําลังบางแหงอาจจะเปนแบบ Yyd1


2.BCT : BUSHING CURRENT TRANSFORMER
3.NGR : NEUTRAL GROUNDING RESISTOR
*

หมายเหตุ

รูปที่ 1.3 รูปแบบของสถานีไฟฟา 115 kV แบบ H Configuration


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 6
และ พื้นที่พิเศษ

1.* หมอแปลงไฟฟากําลังบางแหงอาจจะเปนแบบ Yyd1


2.BCT : BUSHING CURRENT TRANSFORMER
3.NGR : NEUTRAL GROUNDING RESISTOR
หมายเหตุ

รูปที่ 1.4 รูปแบบของสถานีไฟฟา 115 kV แบบ Air Insulated Switchgear ที่เชื่อมตอโดยตรงกับสายสง


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 7
และ พื้นที่พิเศษ

1.2 รูปแบบการกอสรางระบบสายสง
ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการกอสรางระบบสายสง โดยพิจารณาตามความเหมาะสมทางดานเทคนิค
ทางดานเศรษฐศาสตร และทางดานภูมิทัศน ดังนี้:
1.2.1 ใหกอสรางระบบสายสงเปนสายอากาศ สําหรับกรณีที่กอสรางระบบสายสงผานพื้นที่ทั่วไป
1.2.2 ใหกอสรางระบบสายสงเปนเคเบิลใตดิน สําหรับกรณีที่กอสรางผานพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแนน
ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ หรือ บริเวณที่ไมสามารถกอสรางระบบสายสงเปน
สายอากาศได

2. ระบบจําหนายแรงสูง 22 kV และ 33 kV
2.1 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายแรงสูง
เพือ่ ใหระบบจําหนายแรงสูงมีความมัน่ คงในการจายกระแสไฟฟา เหมาะสมกับพืน้ ที่ 2 ใหพจิ ารณาเลือกรูป
แบบการจายกระแสไฟฟา ดังนี้
2.1.1 ระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดิน ใหใชรูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนระบบวงรอบเปด(Open
Loop) หรือ วงรอบเปดที่มีวงจรสํารองพิเศษ(Open Loop With Spacial Spare Feeder) ทั้งนี้แตละวงรอบ
รองรับโหลดไมเกิน 16 MVA สําหรับระบบจําหนาย 22 kV และ ไมเกิน 20 MVA สําหรับระบบ
จําหนาย 33 kV โดยที่จุดรับกระแสไฟฟามีการติดตั้ง RMU ชนิด Load break switch ตามรูปที่ 1.5 และ
1.6 ตามลําดับ
2.1.2 ระบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศ ใหใชรูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนระบบวงรอบเปด(Open
Loop) โดยแตละวงรอบสามารถรับไฟไดอยางนอยจากสองแหลงจาย ทั้งนี้แตละวงรอบรองรับโหลดไม
เกิน 16 MVA สําหรับระบบจําหนาย 22 kV และ ไมเกิน 20 MVA สําหรับระบบจําหนาย 33 kV โดย ที่
จุดแยกสายมีการติดตัง้ อุปกรณปอ งกันกระแสเกิน ทีส่ ามารถทํา Protection coordination กับอุปกรณปอ งกัน
ทีส่ ถานีไฟฟาได เชน Pole-mounted current limiting fuse หรือ Recloser ตามรูปที่ 1.7

หมายเหตุ : ควรพิจารณากอสรางระบบจําหนายแรงสูงที่เปนสายอากาศจํานวน 1 วงจรบนเสา เพื่อความ


ปลอดภัย ความสวยงาม และ ความมั่นคงของระบบไฟฟา
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 8
และ พื้นที่พิเศษ
Circuit Breaker
RMU ชนิด Load break switch

Open point

รูปที่ 1.5 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาแบบวงรอบเปด สําหรับกรณีที่มีการกอสราง


ระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดิน
Circuit Breaker

RMU ชนิด Load break switch

Special
Spare
Feeder

RMU ชนิด Load break switch


(ไวสําหรับสับจายไฟฟา)

รูปที่ 1.6 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาแบบวงรอบเปดที่มีวงจรสํารองพิเศษ สําหรับกรณีที่มีการกอสราง


ระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดิน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 9
และ พื้นที่พิเศษ

Circuit Breaker

Drop out fuse cutout

Load break switch

รูปที่ 1.7 รูปแบบการจายกระแสไฟฟา แบบวงรอบเปด สําหรับกรณีที่มีการกอสราง


ระบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศ

2.2 รูปแบบการกอสรางระบบจําหนายแรงสูง
ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการกอสรางระบบจําหนายแรงสูง โดยพิจารณาตามความเหมาะสมทางดานเทคนิค
ทางดานเศรษฐศาสตร และ ทางดานภูมิทัศน โดยมีรูปแบบที่สามารถเลือกใชไดดังนี้
2.2.1 ใหกอสรางระบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศ สําหรับกรณีที่กอสรางระบบจําหนายผานพื้นที่ทั่วไปให
กอสรางระบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศโดยใชเคเบิลอากาศ แตในกรณีที่กอสรางระบบจําหนายผาน
พื้นที่ทั่วไป และมีระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟกับสิ่งปลูกสราง หรือ ระหวางสายไฟกับพื้นดินไม
เพียงพอ เชน การพาดสายใกลสะพานลอยขามถนน หรือ การพาดสายในที่บริเวณใกลกับปายโฆษณาใน
ยานธุรกิจ ใหกอสรางระบบจําหนายแรงสูงเปนสายหุมฉนวนเต็มพิกัดตีเกลียว
2.2.2 ใหกอสรางระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดิน สําหรับกรณีที่กอสรางผานพื้นที่ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ
สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ หรือ บริเวณที่ไมสามารถกอสรางระบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศได
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 10
และ พื้นที่พิเศษ

3. รูปแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย
เพือ่ ใหการติดตัง้ หมอแปลงระบบจําหนายมีความปลอดภัยและความสวยงาม ใหพจิ ารณาเลือกรูปแบบการ
ติดตัง้ ดังนี้
3.1 ระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดิน ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนายดังนี้
3.1.1 ใหติดตั้งหมอแปลงในสถานีไฟฟาขนาดยอม(Compact Unit Substation) บนทางเทา ในกรณีที่มีพื้นที่เพียง
พอในการติดตั้ง
3.1.2 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และ แผงเมนสวิตซแรงต่ํา ในพื้นที่ของผูใชไฟฟา ซึ่ง
ผูใชไฟฟาสามารถจัดเตรียมพื้นที่ให กฟภ. ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา
3.1.3 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และ แผงเมนสวิตซแรงต่ํา ในพื้นที่ที่ กฟภ. จัดหา
เฉพาะ โดยการซื้อหรือเชาพื้นที่เอกชน ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทาง เทา และไมสามารถใช
พื้นที่ของผูใชไฟฟาได
3.1.4 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และ แผงเมนสวิตซแรงต่ํา ในหองใตดิน ในกรณีที่ไม
มีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา และไมสามารถใชพื้นที่ของผูใชไฟฟาได รวมทั้ง กฟภ. ไมสามารถจัดหา
พื้นที่เฉพาะโดยการซื้อหรือเชาพื้นที่เอกชนได แตตองการความเรียบรอย สวยงาม และปลอดภัย
3.1.5 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) บนนั่งรานเสาคู หรือ ติดติดตั้งหมอแปลง บนนั่งราน
เสาคู โดยติดตั้ง RMU (Ring Main Unit) แยกในตําแหนงที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่ หรือขอจํากัดทาง
เทคนิค โดยใหเลือกตําแหนงที่อยูใน ซอย หรือถนนยอย หรือตําแหนงที่เหมาะสม และติดตั้งแผงเมน
สวิตซแรงต่ําในบริเวณที่เหมาะสมทางเทคนิค ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา และไม
สามารถใชพื้นที่ของผูใชไฟฟาได รวมทั้ง กฟภ. ไมสามารถจัดหาพื้นที่เฉพาะโดยการซื้อหรือเชาพื้นที่
เอกชนได แตไมตองการความเรียบรอย และสวยงาม
ทั้งนี้ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนายรูปแบบที่ 1 กอนเปนลําดับแรก
3.2 ระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลอากาศ ใหพิจารณารูปแบบการติดตั้งดังนี้
3.2.1 ใหติดตั้งหมอแปลงแขวนบนเสาเดี่ยวขนาดไมเกิน 250 kVA สําหรับพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแนน หรือ พื้นที่
ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ
3.2.2 ใหติดตั้งหมอแปลงบนนั่งรานเสาคู ขนาดไมเกิน 500 kVA สําหรับพื้นที่ทั่วไปที่สามารถกอสรางได และ
อยูนอกพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแนน หรือ พื้นที่ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 11
และ พื้นที่พิเศษ

4. ระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V
4.1 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายแรงต่ํา
เพือ่ ใหระบบจําหนายแรงต่าํ มีความมัน่ คงในการจายกระแสไฟฟา เหมาะสมกับพืน้ ที่ 2 ใหพจิ ารณาเลือกรูป
แบบการจายกระแสไฟฟา ดังนี้
4.1.1 ระบบจําหนายแรงต่ําเปนเคเบิลใตดิน ใหใชรูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนแบบรัศมี(Radial) หรือ
แบบวงรอบเปด(Open Loop) ทั้งนี้ใหพิจารณาตามความจําเปนและความเหมาะสมทางดานเทคนิค ดังนี้
4.1.1.1 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนแบบรัศมี ดังแสดงในรูปที่ 1.8 หมอแปลงแตละเครื่องตองจายโหลดสูง
สุด ในสภาวะปกติไมเกิน 80% ของพิกัดหมอแปลง สําหรับพื้นที่ทั่วไป

รูปที่ 1.8 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาที่เปนเคเบิลใตดินแบบรัศมี

4.1.1.2 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนแบบวงรอบเปด ในกรณีที่มีหมอแปลงในกลุมตั้งแต 2 เครื่องขึ้นไป


สามารถออกแบบวงจรที่จายสํารองจากหมอแปลงขางเคียงได ทั้งนี้หมอแปลงที่ติดตั้งทุกตัวที่มีวงจร
สํารอง(Spare Circuit) รวมกัน ตองมีพิกัดรวมกันแลว ใหสามารถจายทดแทนหมอแปลงที่ชํารุดจํานวน
1 เครื่องในกลุมได สําหรับพื้นที่ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ
1) กรณีที่มีหมอแปลงในกลุมจํานวน 2 เครื่อง หมอแปลงแตละเครื่องตองจายโหลดสูงสุด ในสภาวะ
ปกติไมเกิน 60% ของพิกัดหมอแปลงแตละเครื่อง ดังแสดงในรูปที่ 1.9
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 12
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 1.9 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาที่เปนเคเบิลใตดินแบบวงรอบเปดในกรณีหมอแปลงในกลุม


จํานวน 2 เครื่อง

2) ในกรณีที่มีหมอแปลงในกลุมตั้งแต 3 เครื่องขึ้นไป หมอแปลงแตละเครื่องตองจายโหลดสูงสุด


ในสภาวะปกติไมเกิน 80% ของพิกัดหมอแปลง ดังแสดงในรูปที่ 1.10

รูปที่ 1.10 รูปแบบการจายกระแสไฟฟาที่เปนเคเบิลใตดินแบบวงรอบเปดในกรณีหมอแปลงใน


กลุมจํานวน 3 เครื่อง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 13
และ พื้นที่พิเศษ

4.1.2 ระบบจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศ ใหใชรูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนแบบรัศมี (Radial) โดยหมอ


แปลงไฟฟาที่ติดตั้งแตละเครื่องตองจายโหลดสูงสุดในสภาวะปกติไมเกิน 80% ของพิกัดหมอแปลง

4.2 รูปแบบการกอสรางระบบจําหนายแรงต่ํา
ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการกอสรางระบบจําหนายแรงต่ํา โดยพิจารณาตามความเหมาะสมทางดานเทคนิค
ทางดานเศรษฐศาสตร และ ทางดานภูมิทัศน ดังนี้
4.2.1 การกอสรางระบบจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศ สําหรับกรณีที่กอสรางผานพื้นที่ทั่วไป แตในกรณีที่
ตองการความสวยงามหรือกรณีที่ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟกับพื้นดินไมเพียงพอ สามารถพิจารณา
ใชสายหุมฉนวนแรงต่ําตีเกลียว(Multiplex Cable)
4.2.2 การกอสรางระบบจําหนายแรงต่ําเปนเคเบิลใตดิน สําหรับกรณีที่กอสรางผานพื้นที่ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ
สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ หรือ บริเวณที่ไมสามารถกอสรางระบบจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศได
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 14
และ พื้นที่พิเศษ

บทที่ 2 การออกแบบ การติดตั้ง และ การเลือกใชอุปกรณไฟฟาในระบบสายสง


115 kV

ระบบสายสงเปนระบบสงจายพลังงานไฟฟาที่มีความสําคัญ ตองการความมั่นคงในการจายไฟ และ


ความเชื่อถือไดของระบบสูง หากระบบสายสงขัดของจะทําใหผูใชไฟฟาไดรับผลกระทบเปนจํานวนมาก ดังนั้น
การออกแบบ การติดตั้ง และ เลือกใชงานอุปกรณในระบบสายสง ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการกอสรางระบบ
สายสง โดยพิจารณาตามความเหมาะสมทางดานเทคนิค ทางดานเศรษฐศาสตร และทางดานภูมิทัศน โดยให
พิจารณากอสรางระบบสายสงเปนสายอากาศ สําหรับกรณีที่กอสรางระบบสายสงผานพื้นที่ทั่วไป และ ให
พิจารณากอสรางระบบสายสงเปนเคเบิลใตดิน สําหรับกรณีที่กอสรางระบบสายสงผานพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแนน
หรือ ยานธุรกิจ หรือ สถานที่ทองเที่ยว หรือ บริเวณที่ไมสามารถกอสรางระบบสายสงเปนแบบเหนือดิน ซึ่งการ
ออกแบบ การติดตั้ง และ เลือกใชงานอุปกรณในระบบสายสงเปนสายอากาศ และ เคเบิลใตดินมีขอพิจารณาดังนี้

1 การออกแบบระบบสายสงเปนสายอากาศ
การกอสรางระบบสายสงผูออกแบบสามารถออกแบบโครงสรางสายสงได 2 รูปแบบ ไดแก โครงสราง
สายสงกรณีใชเสา คอร. 22 เมตร และ โครงสรางสายสงกรณีใชเสาโครงเหล็ก โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
1.1 โครงสรางสายสงกรณีใชเสา คอร. 22 เมตร
กรณีที่กอสรางระบบสายสงผานพื้นที่ทั่วไป ใหพิจารณาเลือกใชโครงสรางแบบวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู
ตามแบบมาตรฐานของ กฟภ. ดังรูปที่ 2.1
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 15
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.1 โครงสรางสายสงแบบวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู

1.1.1 ชนิดและขนาดสายไฟฟา ใชสายอะลูมเิ นียม ขนาด 2x400 ต.มม. ซึง่ จายโหลดในสภาวะปกติไมเกิน


320 MVA
1.1.2 ระยะหางระหวางเสา และระยะหยอนยานของสาย
1) กรณีทางตรง(0°- 2°) ระยะหางระหวางเสาสูงสุดไมเกิน 80 เมตร และระยะหยอนยานของสายไม
นอยกวา 0.8 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SO2-015/19089 (การประกอบเลขที่ 5132) ดังรูปที่ 2.2
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 16
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.2 ระยะหยอนยานของสายสง ชวงทางตรง

2) กรณีทางโคง ใหพิจารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/48001 (การประกอบเลขที่ 5151)


ดังตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 ระยะหางระหวางเสา และระยะหยอนยานของสายสงชวงทางโคง


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 17
และ พื้นที่พิเศษ

1.2 โครงสรางสายสงกรณีใชเสาโครงเหล็ก
กรณีที่กอสรางระบบสายสงผานพื้นที่ทั่วไป ที่จําเปนตองมีการยกระดับความสูง และ/หรือ พื้นที่ทัวไปที่
จําเปนตองการใหระยะหางระหวางเสายาวมากกวาระยะหางมาตรฐาน เชน กรณีกอสรางระบบสายสงขามแมน้ํา
หรือ ขามถนนทางหลวง เปนตน ใหพิจารณาเลือกใชโครงสรางแบบวงจรเดี่ยว สายไฟฟาคู ตามแบบมาตรฐาน
เลขที่ SA1-015/45006 (การประกอบเลขที่ 5702) และแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/45007 (การประกอบเลขที่
5703) ดังรูปที่ 2.3

รูปที่ 2.3 โครงเหล็กทางตรง และโครงเหล็กทางโคง

1.2.1 ชนิดและขนาดสายไฟฟา
1) กรณีระยะหางระหวางเสาไมเกิน 200 เมตร ใหพิจารณาใชสายอะลูมิเนียม ขนาด 2x400 ต.มม. ซึ่ง
จายโหลดในสภาวะปกติไมเกิน 320 MVA
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 18
และ พื้นที่พิเศษ

2) กรณีระยะหางระหวางเสามากกวา 200 เมตร ใหพิจารณาใชสายอะลูมิเนียมแกนเหล็ก ขนาด


2x380/50 ต.มม. ซึ่งจายโหลดในสภาวะปกติไมเกิน 320 MVA
1.2.2 ระยะหางระหวางเสา และระยะหยอนยานของสาย
ใหพิจารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/45005 (การ ประกอบเลขที่ 5701) ดังตารางที่ 2.2
ตารางที่ 2.2 ระยะหางระหวางเสา และระยะหยอนยานของสาย
ระยะหยอนยานของสาย (ม.)
ระยะหางเสา (ม.) ประเภทของสาย
St. 50 mm2 ACSR 185/30 mm2 ACSR 380/50 mm2
80 0.3 0.5 0.5
90 0.4 0.6 0.6
100 0.5 0.7 0.7
110 0.7 0.9 0.9
120 0.8 1.0 1.0
130 0.9 1.2 1.1
140 1.1 1.4 1.3
150 1.3 1.6 1.5
160 1.5 1.9 1.7
170 1.7 2.1 1.9
180 1.9 2.4 2.1
190 2.1 2.6 2.3
200 2.4 2.9 2.6
210 2.6 3.2 2.8
220 2.9 3.5 3.1
230 3.2 3.9 3.4
240 3.5 4.2 3.7
250 3.9 4.6 4.1
260 4.2 4.9 4.4
270 4.6 5.3 4.8
280 5.0 5.7 5.2
290 5.3 6.2 5.5
300 5.7 6.6 5.9
310 6.2 7.0 6.4
320 6.6 7.5 6.8
330 7.0 8.0 7.2
340 7.5 8.5 7.7
350 8.0 9.0 8.2
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 19
และ พื้นที่พิเศษ

ในการออกแบบระบบสายสงใหพิจารณาแรงดันตกในสายดวย ซึ่งมาตรฐานแรงดันตกของสายไฟฟาใน
สภาวะปกติกําหนดไวไมเกิน 5% และ สภาพฉุกเฉินกําหนดไวไมเกิน 10%

1.3 ลูกถวย
การเลือกใชลูกถวยนั้น ผูออกแบบตองพิจารณาวาสภาพพื้นที่ที่จะทําการกอสรางสายสงนั้นวา มีระดับ
มลภาวะมากนอยเพียงใด
1.3.1 ในกรณีที่มีระดับมลภาวะต่ําถึงปานกลาง หรืออยูหางจากชายฝงทะเลไมเกิน 1 กม. และมีลมทะเลพัดถึง
บาง ใหพิจารณาเลือกใชลูกถวยแขวนชนิดลูกถวยแกวหรือ Porcelain แบบ ค (แบบ 52-3) และแบบ จ
(แบบ 52-8)
1.3.2 ในกรณีที่มีระดับมลภาวะสูงถึงสูงมาก หรือบริเวณที่อยูชายฝงทะเล มีลมทะเลพัดถึงรุนแรง หรือบริเวณ
ที่มีมลภาวะจากโรงงานอุตสาหกรรมในระดับรุนแรงใหพิจารณาเลือกใชลูกถวยดังนี้
1) ใหพจิ ารณาใชลกู ถวยแขวนชนิดคอมโพสิต 115 kV รหัสพัสดุ 03020100 แทนลูกถวยแขวนชนิดลูก
ถวยแกวหรือ Porcelain แบบ ค (แบบ 52-3)
2) ใหพจิ ารณาใชลกู ถวยแขวนชนิดคอมโพสิต 115 kV รหัสพัสดุ 03020103 แทนลูกถวยแขวนชนิดลูก
ถวยแกวหรือ Porcelain แบบ จ (แบบ 52-8)

1.4 ฐานรากเสา
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบฐานรากเสาใหเหมาะสมกับโครงสรางเสาสายสง และสภาพดินบริเวณ
ที่จะทําการกอสราง โดยพิจารณาฐานรากแบบตางๆ ดังนี้
1.4.1 กรณีกอสรางในบริเวณที่ดินสามารถรับน้ําหนักปลอดภัยไดตั้งแต 12 ตันตอตารางเมตรขึ้นไป และ
โครงสรางสายสงเปนโครงสรางทางตรงหรือทางโคง โดยมีหรือไมมีสายยึดโยงก็ได
1) ฐานราก D-10A แบบที่ 17 ใชกับโครงสรางเสาเดี่ยว บริเวณที่มีทางเทาแลวหรือพื้นที่ที่ดินเดิมต่ํา
กวาระดับผิวจราจรไมเกิน 1.00 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47018 (การประกอบเลขที่
5687A) ดังรูปที่ 2.4
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 20
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.4 ฐานราก D-10A แบบที่ 17

2) ฐานราก D-10A แบบที่ 18 ใชกบั โครงสรางเสาเดีย่ ว บริเวณทีด่ นิ เดิมต่าํ กวาระดับผิวจราจร 1.00- 5.75 เมตร
ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47019 (การประกอบเลขที่ 5687B) ดังรูปที่ 2.5

รูปที่ 2.5 ฐานราก D-10A แบบที่ 18


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 21
และ พื้นที่พิเศษ

3) ฐานราก D-10B แบบที่ 9 ใชกับโครงสรางเสาคู บริเวณที่มีทางเทาแลวหรือพื้นที่ที่ดินเดิมต่ํากวา


ระดับผิวจราจรไมเกิน 1.00 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47020 (การประกอบเลขที่
5687C) ดังรูปที่ 2.6

รูปที่ 2.6 ฐานราก D-10B แบบที่ 9

4) ฐานราก D-10B แบบที่ 10 ใชกบั โครงสรางเสาคู บริเวณทีด่ นิ เดิมต่าํ กวาระดับผิวจราจร 1.00 - 5.75 เมตร
ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47021 (การประกอบเลขที่ 5687D) ดังรูปที่ 2.7
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 22
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.7 ฐานราก D-10B แบบที่ 10

1.4.2 กรณีกอสรางในบริเวณที่ดินสามารถรับน้ําหนักปลอดภัยไดนอยกวา 12 ตันตอตารางเมตร และโครงสราง


สายสงเปนโครงสรางเสาเดี่ยว ทางตรงหรือทางโคงที่ไมมีสายยึดโยง
1) ฐานราก D-10A แบบที่ 19 ใชกับโครงสรางเสาเดี่ยว บริเวณที่มีทางเทาแลวหรือพื้นที่ที่ดินเดิมต่ํา
กวาระดับผิวจราจรไมเกิน 2.00 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47022 (การประกอบเลขที่
5687E) ดังรูปที่ 2.8
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 23
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.8 ฐานราก D-10A แบบที่ 19

2) ฐานราก D-10A แบบที่ 20 ใชกับโครงสรางเสาเดี่ยว บริเวณที่ดินเดิมต่ํากวาระดับผิวจราจร 2.00 -


4.55 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47023 (การประกอบเลขที่ 5687F) ดังรูปที่ 2.9
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 24
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.9 ฐานราก D-10A แบบที่ 20

3) ฐานราก D-10A แบบที่ 21 ใชกับโครงสรางเสาเดี่ยว บริเวณที่ดินเดิมต่ํากวาระดับผิวจราจร 4.55 -


5.75 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47024 (การประกอบเลขที่ 5687G) ดังรูปที่ 2.10
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 25
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.10 ฐานราก D-10A แบบที่ 21

1.4.3 กรณีกอสรางในบริเวณที่ดินสามารถรับน้ําหนักปลอดภัยไดนอยกวา 12 ตันตอตารางเมตร และโครงสราง


สายสงเปนโครงสรางเสาเดี่ยว ทางตรงหรือทางโคงที่มีสายยึดโยง
1) ฐานราก D-10A แบบที่ 22 ใชกับโครงสรางเสาเดี่ยว บริเวณที่มีทางเทาแลวหรือพื้นที่ที่ดินเดิมต่ํา
กวาระดับผิวจราจรไมเกิน 2.00 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47025 (การประกอบเลขที่
5687H) ดังรูปที่ 2.11
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 26
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.11 ฐานราก D-10A แบบที่ 22

2) ฐานราก D-10A แบบที่ 23 ใชกับโครงสรางเสาเดี่ยว บริเวณที่ดินเดิมต่ํากวาระดับผิวจราจร 2.00 -


5.75 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47026 (การประกอบเลขที่ 5687I) ดังรูปที่ 2.12
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 27
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.12 ฐานราก D-10A แบบที่ 23

1.4.4 กรณีกอสรางในบริเวณที่ดินสามารถรับน้ําหนักปลอดภัยไดนอยกวา 12 ตันตอตารางเมตร และโครงสราง


สายสงเปนโครงสรางเสาคู ทางตรงหรือทางโคงที่มีหรือไมมีสายยึดโยงก็ได
1) ฐานราก D-10B แบบที่ 11 ใชกับโครงสรางเสาคู บริเวณที่มีทางเทาแลวหรือพื้นที่ที่ดินเดิมต่ํากวา
ระดับผิวจราจรไมเกิน 2.00 เมตร ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47027 (การประกอบเลขที่
5687J) ดังรูปที่ 2.13
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 28
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.13 ฐานราก D-10B แบบที่ 11

2) ฐานราก D-10B แบบที่ 12 ใชกบั โครงสรางเสาคู บริเวณทีด่ นิ เดิมต่าํ กวาระดับผิวจราจร 2.00 - 5.75 เมตร
ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47028 (การประกอบเลขที่ 5687K) ดังรูปที่ 2.14
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 29
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.14 ฐานราก D-10B แบบที่ 12


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 30
และ พื้นที่พิเศษ

1.5 การตอลงดิน
เนื่องจากการต อลงดิ นในระบบสายสงที่ดีนั้น สามารถลดปญหาไฟฟาดับเนื่องจากฟาผาและปองกัน
อันตรายจากการสัมผัสเสา กรณีที่มีกระแสไฟฟารั่วหรือกระแสไฟฟาลัดวงจร ดังนั้นผูออกแบบตองพิจารณาใช
สายทองแดงขนาด 50 ตร.มม. เปนสายดินและเดินในทอรอยสายโลหะ เนื่องจากสายทองแดงมีคาความตาน
ทานต่ําและทนตอการกัดกรอน ดีกวาลวดเหล็กตีเกลียว สําหรับหลักดินตองพิจารณาใชหลักดินที่เปนแทง
ทองแดงหรือเหล็กชุบดวยทองแดงหรือแทงเหล็กอาบสังกะสี(มาตรฐานของ กฟภ.) ซึ่งการเชื่อมตอระหวางสาย
ดินเขากับหลักดินใหใชวิธีเชื่อมดวยความรอน ดังแสดงตัวอยางการเชื่อมตอระหวางสายดินเขากับหลักดินในรูป
ที่ 2.15
นอกจากนี้ผูออกแบบตองทําการออกแบบการตอลงดินเพื่อใหคาความตานทานดินตอตนสําหรับระบบสาย
สงมีคานอยกวา 10 โอหม ถาเกินกวา 10 โอหมใหปกหลักดินเพิ่ม โดยปกหลักดินเพิ่มตามรูปที่ 2.16

รูปที่ 2.15 การเชื่อมตอสายดินเขากับหลักดินดวยวิธีเชื่อมดวยความรอน

ทั้งนี้ผูออกแบบสามารถเลือกแบบการตอลงดินใหเหมาะสมกับคาความตานทานจําเพาะของดินไดจาก
ตารางที่ 2.3
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 31
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.3 การเลือกรูปแบบการตอลงดิน


รูปแบบการตอ ลักษณะการติดตั้งใชกราวดร็อด คาสัมประสิทธิ์การลดลง ชวงของคาความตาน
ลงดิน ยาว 2 เมตร ของคาความตานทาน ทานจําเพาะของดิน
(แทง) (โอหม/โอหม-เมตร) (เปาหมาย 10 โอหม)
GR-1 1 0.381 0-34
GR-2 2 0.164 >35-79
GR-3 3 0.114 >80-114
GR-4 4 0.088 >115-147
GR-5 5 0.075 >148-174
GS-40 Strip Ground ยาว 40 เมตร 0.050 >175-262
GC-1 กราวดร็อด 1 แทง รวมกับผงเคมีลดคา 0.021 >263-622
กราวด

หมายเหตุ ตารางนี้อางอิงจาก โครงการวิจัยสภาพดินและหลักดินที่เหมาะสม ในแตละพื้นที่ ของ กฟภ. โดย กองวิจัย


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 32
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.16 การปกหลักดินเพิ่มเติมเพื่อใหคาความตานทานดินเปนไปตามมาตรฐาน

1.6 การปองกันรถชนเสา
รถชนเสาเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหไฟฟาดับเปนเวลานานดังนั้น ผูออกแบบจึงควรพิจารณาออกแบบปอง
กันรถชนเสาใหเหมาะสม โดยกําหนดใหมีการทาสีเสาตนที่ลอแหลมตอการเกิดอุบัติเหตุรถชนเสา วิธีการทาสี
เสาใหพิจารณาจากรูปที่ 2.17 โดยอางอิงจากแบบเลขที่ SA4-015/43020 (การประกอบเลขที่ 8604) หรือแบบเลข
ที่ SA4-015/43021 (การประกอบเลขที่ 8605) ในบางกรณี อาจจะตองมีการใชราวเหล็กลูกฟูกกันรถสําหรับทาง
หลวงตาม มอก.248-2531 หรือ CONCRETE BARRIER รวมดวย เชน บริเวณทางโคง หรือจุดที่เกิดอุบัติเหตุ
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 33
และ พื้นที่พิเศษ

บอยครั้ง ใหพิจารณาจากรูปที่ 2.18 โดยอางอิงจากแบบเลขที่ IB2-015/43021 (การประกอบเลขที่ 8606) ปองกัน


เสาเพิ่มเติมจากการทาสี

รูปที่ 2.17 วิธีการทาสีเสา


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 34
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.18 CONCRETE BARRIER

1.7 ระยะหางทางไฟฟา
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบระบบสายสง ใหมีระยะหางทางไฟฟาที่ปลอดภัย ไดแก ระยะหาง
ระหวางสายไฟฟากับสายไฟฟา ระยะหางระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง โดยมีรายละเอียดดังนี้:
1) ระยะหางแนวนอนระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง ตามตารางที่ 2.4
2) ระยะหางแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสิ่งที่อยูใตสายไฟ ตามตารางที่ 2.5
3) ระยะหางแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆคนละวงจร ตามตารางที่ 2.6 และ
ตารางที่ 2.7
ระยะหางทางไฟฟา 1) – 3) อางอิงจากจากแบบเลขที่ SA2-015/45017 (การประกอบเลขที่ 9301)
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 35
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.4 ระยะหางแนวนอนระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา(เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งปลูกสราง kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายหุม สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล ฉนวน
หลาย ไมเต็ม อากาศ ตีเกลียว
แกน พิกัด
1 ผนังดานปดของอาคาร,
สะพานลอยคนเดินขาม 0.30 0.15 1.50 0.60 0.30 0.15 1.80 2.30 3.00
ถนน กรณีที่มีแผงหรือ ผนัง
กั้นระหวางสายไฟฟา กับ
สะพานลอยและปาย
โฆษณาที่ติดกับอาคาร
2 ผนังดานเปดของอาคาร
เฉลียงระเบียง หรือบริเวณที่ 0.90 0.15 1.80 1.50 0.90 0.60 2.13 2.30 3.00
มีคนเขาถึงได, สะพานทุก
ชนิดสําหรับยานพาหนะ
เสาไฟฟา และไฟถนน
เสา สัญญาณไฟจราจรตางๆ
และสิ่งกอสรางอื่น ๆ

หมายเหตุ : ผนังดานปดของอาคาร หมายถึง ผนังอาคารที่บุคคลไมสามารถยื่นสวนของรางกายหรือวัตถุมาสัมผัสสายไฟฟาได


โดยพลั้งเผลอ และ ผนังดานเปดของอาคาร หมายถึง ผนังอาคารที่บุคคลสามารถยื่นสวนของรางกายหรือวัตถุมาสัมผัสสายไฟฟา
ได โดยพลั้งเผลอ

ตารางที่ 2.4 เปนตารางที่แสดงระยะหางแนวนอนระหวางสายไฟฟากับสิ่งปลูกสราง ของสายไฟฟาทุก


ชนิดและระดับแรงดันแตกตางกัน เพื่อใหผูออกแบบคํานึงถึงความปลอดภัยในการออกแบบระบบสายสงให
เหมาะสมกับสภาพแวดลอม
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 36
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.5 ระยะหางแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสิ่งที่อยูใตสายไฟฟา


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา(เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งที่อยูใตสายไฟฟา kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายหุม สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล ฉนวน
หลาย ไมเต็ม อากาศ ตีเกลียว
แกน พิกัด
1 ทางสัญจรสําหรับคน, 3.60 2.90
รถยนต หรือยานพาหนะ 4.60 4.60 4.60 3.60 4.90 5.10 5.80
อื่นใดรวมสิ่งของที่บรรจุ ดู
ดูหมายเหตุ
แลว สูงไมเกิน 2.45 เมตร หมาย-
1
ผาน เหตุ 1
2 ทางสัญจรสําหรับรถ
ยนต หรือรถบรรทุก หรือ 5.50 5.50 6.10 6.10 6.10 5.50 7.00 7.50 9.00
ยานพาหนะอื่นใด รวมสิ่ง (6.00) (6.00) (7.50) (7.50) (7.50) (6.00) (9.00) (9.00) (9.00)
ของที่บรรทุกแลว สูงไม (9.00)* (9.00)* (9.00)*
เกิน 4.30 เมตร ผาน
(เหนือทางหลวง) * สําหรับแรงดัน 33 kV
3 แหลงน้ําที่มีเรือแลน
ผาน รวมทั้งทะเลสาบ, 7.00 6.50 7.70 7.70 7.70 6.80 7.90 8.20 8.50
สระ, อางเก็บน้ํา, แมน้ํา
ลําธาร, และคลองที่มีความ
กวางของผิวน้ํา ดังตอไปนี้
- ไมเกิน 50 เมตร ให
ถือวา เรือ หรือยานพาหนะ
ที่มี ความสูงไมเกิน 4.9
เมตร ผาน

หมายเหตุ 1 : หากเปนทางสัญจรและพื้นที่ซึ่งไมไดจัดไวสําหรับรถยนต หรือ ยานพาหนะอื่นใดผาน ระยะหางต่ําสุด สามารถลด


ลงเหลือ 2.6 เมตร
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 37
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.5 ระยะหางแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสิ่งที่อยูใตสายไฟฟา(ตอ)


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา(เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งที่อยูใตสายไฟฟา kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายหุม สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล ฉนวน
หลาย ไมเต็ม อากาศ ตีเกลียว
แกน พิกัด
- เกินกวา 50 เมตร แตไม
เกิน 500 เมตร ปกติให หรือ 9.40 9.30 10.20 10.20 10.20 9.30 10.4 10.7 11.4
ยานพาหนะที่มีความสูงไม
เกิน 7.3 เมตร ผาน
- เกินกวา 500 เมตร แตไม
เกิน 5,000 เมตร ปกติใหถือ 11.30 11.10 12.00 12.00 12.00 11.10 12.2 17.5 13.2
วาเรือ หรือยานพาหนะที่มี
ความสูงไมเกิน 9.0 เมตร
ผาน
- เกินกวา 5,000 เมตร ปกติ 13.10 12.90 13.80 13.80 13.80 12.90 14.0 14.3 15.0
ใหถือวาเรือ หรือยาน
พาหนะ ที่มีความสูงไมเกิน
11.0 เมตร ผาน
- ถามีเรือที่มีความสูง (h) h+ h+ h+ h+ h+ h+ h+ h+ h+
เกินกวา 11.0 เมตร ผาน 2.10 2.10 2.90 2.90 2.90 2.90 3.20 3.50 4.10
4 แหลงน้ําหรือคลองที่ไมมี 4.40 4.30 5.20 5.20 5.20 4.30 5.40 5.70 5.40
เรือแลนผาน
5 เหนือหรือใตหลังคา หรือ 1.10 0.15 3.00 3.00 1.10 0.15 3.40 3.60 4.30
สวนของอาคารที่ไมมีคนเดิน ดูหมายเหตุ 2 ดูหมายเหตุ 2
หรือไมสามารถเขาถึงได

หมายเหตุ 2 : ไมอนุญาตใหใชสายดังกลาวเดินสายใตหลังคา ระเบียง สวนของอาคาร ปาย เสาโทรทัศน – วิทยุ หรือ ถังซึ่งบรรจุ


สารที่ไมติดไฟ
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 38
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.5 ระยะหางแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสิ่งที่อยูใตสายไฟฟา(ตอ)


ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่งของสายไฟฟา(เมตร)
< 1 kV 11-33 kV 69 115 230
สิ่งที่อยูใตสายไฟฟา kV kV kV
สายพัน สายหุม สาย สายหุม สาย สายหุม สายเปลือย
รวม ฉนวน เปลือย ฉนวน เคเบิล ฉนวน
หลาย ไมเต็ม อากาศ ตีเกลียว
แกน พิกัด
6 เหนือหรือใตหลังคา 3.50 2.40 4.60 4.60 3.50 2.40 4.90 5.10 5.80
หรือระเบียงที่มีคนเดิน หรือ หมายเหตุ 2) ดูหมายเหตุ 2)
สามารถเขาถึงได
7 เหนือสะพานลอนคนเดิน 3.50 2.40 4.60 4.60 3.50 2.40 4.90 5.10 5.80
ขามถนน ที่ไมมีหลังคา
8 เหนือหลังคาสะพานลอย 1.10 0.15 3.00 3.00 1.10 0.15 3.40 3.60 4.30
คนเดินขามถนน
9 เหนือหรือใตปาย, เสา 1.10 0.15 2.40 2.40 1.10 0.15 2.60 2.90 3.60
โทรทัศน – วิทยุ, ถังซึ่ง ดู หมาย ดูหมาย
บรรลุสารที่ไมติดไฟ เหตุ 2) เหตุ 2)
10 ขามทางรถไฟหรือรถ- 7.00 7.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.50 10.5 11.5
ไฟฟา(เหนือระดับลนราง)
11 ขามทางรถไฟ หรือ h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 + h1 +
รถไฟฟา (เหนือระดับลน 0.90 0.90 2.90 2.90 2.90 2.90 3.40 4.40 5.40
ราง) กรณีที่รวมของที่
บรรทุกแลวมีความสูง (h1)
เกินกวา 6.1 เมตร
12 ใตสะพานที่มียานพาหนะ 1.20 0.15 ไมอนุญาต 2.00 0.15 ไมอนุญาต
ดูหมายเหตุ 3
13 เหนือเสาไฟฟา, เสาไฟ
ถนน หรื อ เสาสั ญ ญาณ 0.60 0.60 1.40 1.40 1.40 0.60 1.90 2.40 3.60
ไฟจราจรตางๆ

หมายเหตุ 3 : อนุญาตใหเดินสายชั่วคราวไดทั้งนี้ใชระยะหางดังนี้
10.1) 69 kV ระยะหาง 2.2 เมตร
10.2) 115 kV ระยะหาง 2.5 เมตร
10.3) 230 kV ระยะหาง 3.2 เมตร
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 39
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.6 ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆคนละวงจร ที่ไมอยูบนเสาตนเดียวกัน


ประเภทของสายยึดโยง ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่ง (เมตร)
สายโทรคมนาคม MINIMUM VERTICAL CLEARANCES (METERS)
และแรงดันไฟฟา สายยึดโยง สายโทรคมนาคม 1 kV
NATURE OF และลวดยึด TELECOM หรือ
11-
CLEARANCE โยง -MUNICATION นอย 69 115 230 500
33
AND NOMINAL GUY AND CONDUCTORS กวา kV kV kV kV
kV
VOLTACE MESSEN- OR
GERS LESS
1. สายยึดโยง และลวด
ยึดโยง GUY AND 0.45 0.60 0.60 1.20 1.50 2.00 3.50 4.00
MESSENGERS
2. สายโทรคมนาคม
TELECOMMUNICA- 0.60 0.60 1.20 1.80 2.10 2.60 4.10 5.25
TION CONDUCTORS
3. 1 kV หรือ นอยกวา
0.50 1.20 0.60 1.20 1.50 2.00 3.50 4.65
OR LESS
4. 11-33 kV 1.20 1.80 1.20 1.20 1.50 2.00 3.50 4.65
5. 69 kV 1.50 2.10 1.50 1.50 1.70 2.30 3.70 4.65
6. 115 kV 2.00 2.60 2.00 2.00 2.30 2.90 4.30 5.25
7. 230 kV 3.50 4.10 3.50 3.50 3.70 4.30 5.80 6.00
8. 500 kV 4.00 5.25 4.65 4.65 4.65 5.25 6.00 -

หมายเหตุ ระยะหางนอยที่สุดระหวางสายลอไฟฟาแรงสูง 500 kV และสายลอฟา เทากับ 4.00 ม.


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 40
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.7 ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆคนละวงจร ที่อยูบนเสาตนเดียวกัน


ประเภทของสายยึดโยง ระยะต่ําสุดตามแนวดิ่ง (เมตร)
สายโทรคมนาคม MINIMUM VERTICAL CLEARANCES (METERS)
และแรงดันไฟฟา
NATURE OF สายโทรคมนาคม 1 kV หรือ
CLEARANCE TELECOMMUNICATION นอยกวา 11-33 kV 69 kV 115 kV
AND NOMINAL CONDUCTORS OR LESS
VOLTACE
2. สายโทรคมนาคม
TELECOMMUNICA-
0.30 0.60 1.20 1.40 2.40
TION CONDUCTORS
3. 1 kV หรือ นอยกวา
0.60 0.60 1.20 1.40 2.40
OR LESS
4. 11-33 kV 1.20 1.20 1.30 1.40 2.40
5. 69 kV 1.40 1.40 1.40 1.60 2.40
6. 115 kV 2.40 2.40 2.40 2.40 2.40

หมายเหตุทายตาราง ระยะต่ําสุดในแนวดิ่งระหวางสายไฟฟา 11, 22 และ 33 kV อาจจะลดลงเปน 1.00 เมตร


ในกรณีของบัคอารม

ตารางที่ 2.7 เปนตารางที่แสดงระยะหางแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆ ที่ไมอยูบนเสาตนเดียว


กัน และ ตารางที่ 2.8 เปนตารางที่แสดงระยะหางแนวดิ่งระหวางสายไฟฟากับสายอื่นๆ ที่อยูบนเสาตนเดียวกัน
ของสายไฟฟาทุกชนิดและระดับแรงดันแตกตางกัน เพื่อใหผูออกแบบคํานึงถึงความปลอดภัยในการออกแบบ
ระบบสายสงใหเหมาะสมกับสภาพหนางาน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 41
และ พื้นที่พิเศษ

นอกจากนี้พื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ และ พื้นที่พิเศษ บางแหง


อาจจะมีสายไฟฟาของ กฟผ. พาดผาน ผูออกแบบตองพิจารณาระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟฟาของ กฟภ.
กับ สายไฟฟาของ กฟผ. ตามตารางที่ 2.8 ซึ่งอางอิงจากแบบเลขที่ SA2-015/45022 (การประกอบเลขที่ 9304)
พรอมทั้งตัวอยางการพาดสายระบบจําหนายแรงสูงของ กฟภ. ลอดใตสายสงของ กฟผ. ดังแสดงในรูปที่ 2.19

ที่ 2.8

ที่ 2.8

รูปที่ 2.19 ระยะหางระหวางสายระบบจําหนายแรงสูงของ กฟภ. กับ สายไฟฟาของ กฟผ.

ตารางที่ 2.8 ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟฟาของ กฟภ. กับ สายไฟฟาของ กฟผ.


ระยะหางนอยที่สุด ใหถือปฏิบัติ ระยะหางนอยที่ ใหถือปฏิบัติ
ระบบแรงดัน ระหวางสายระบบ ในการกอสรางจัดใหมี สุดระหวางสายสง ในการกอสรางจัดใหมี
ของสายสง จําหนายแรงดัน ระยะหางนอยที่สุด 115 kV ของ
ระยะหางนอยที่สุด
ของ กฟผ. 0.4 - 33 kV ของ ระหวางสายระบบจําหนาย กฟภ.กั บ สายส ง
ระหวางสายสง
กฟภ. กับสายสง แรงดัน ของ กฟผ.
115 kV ของ กฟภ.
ของ กฟผ. 0.4 – 33 kV ของ กฟภ. กับสายสง ของ กฟผ.
(เมตร) กับสายสงของ กฟผ. (เมตร)
(kV) (เมตร) (เมตร)
115 2.00 2.50 2.90 3.40
230 3.50 4.00 4.30 4.80
500 4.65 4.65 5.25 5.25
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 42
และ พื้นที่พิเศษ

2 การออกแบบระบบสายสงเปนเคเบิลใตดิน
กรณีที่กอสรางระบบสายสงผานพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแนน หรือ ยานธุรกิจ หรือ สถานที่ทองเที่ยว หรือ
บริเวณที่ไมสามารถกอสรางระบบสายสงเปนสายอากาศ ใหพิจารณากอสรางระบบสายสงเปนเคเบิลใตดิน ซึ่ง
ระบบสายสงเคเบิลใตดินที่มีการออกแบบที่ดีและมีการกอสรางที่ถูกตองตามมาตรฐาน จะทําใหระบบไฟฟามี
ความปลอดภัย มีความมั่นคง และ มีความเชื่อถือไดสูง ดังนั้นการออกแบบ การติดตั้งและเลือกใชงานอุปกรณใน
ระบบสายสงเคเบิลใตดินมีขอพิจารณาดังนี้

2.1 สายเคเบิล
ผูออกแบบตองพิจารณาเลือกใชสายตัวนําทองแดง 115 kV ที่ผานการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 60840
ซึ่งมีลักษณะสายเปน single core, cross-linked polyethylene insulated (XLPE), copper wire screen and
polyethylene jacketed ขนาดพืน้ ทีห่ นาตัดที่มีการใชงานในปจจุบันเทากับ 800 ต.มม. โดยพิกัดกระแสของสาย
เคเบิลขึ้นอยูกับจํานวนวงจร และความลึกในการฝงสายเคเบิล ดังแสดงในตารางที่ 2.9

ตารางที่ 2.9 ตารางพิกดั กระแสใชงานของสายเคเบิลใตดนิ ระบบสายสง 115 kV ขนาด 800 ต.มม. (ฉนวน XLPE)
กระแสใชงาน(A)
ความลึก
จํานวนวงจร
(เมตร)
1 วงจร 2 วงจร
2 750 570
3 670 510
4 580 450
5 500 380
หมายเหตุ
1) วงจร หมายถึง สายเคเบิลใตดินระบบสายสง 115 kV 3 เฟส 3 สาย (แตละเฟสใชสายควบจํานวน 2
เสน)
2) คาโหลดแฟคเตอร 100%
3) อุณหภูมิตัวนําสูงสุด 90 0C
4) อุณหภูมิโดยรอบ 30 0C
5) คาความตานทานความรอนของดิน 1.2 K.m/W
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 43
และ พื้นที่พิเศษ

2.2 รูปแบบการกอสราง
เนื่องจากระบบสายสง 115 kV ถือวาเปนระบบที่ตองการความมั่นคงสูงมาก ดังนั้นในการกอสรางระบบ
สายสงสามารถพิจารณารูปแบบการกอสรางไดหลายวิธี ซึ่งในแตขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่หนางาน และ คาใชจายใน
การกอสราง สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน และ แบบ DUCT BANK ใชกรณีทสี่ ามารถเปด
หนาดินได แตสาํ หรับการกอสรางเคเบิลใตดนิ แบบ DIRECTIONAL BORING และ แบบ PIPE JACKING ใชใน
กรณีทไี่ มสามารถเปดหนาดินได ซึ่งรายละเอียดในการกอสรางแตและแบบมีรายละเอียดดังนี้
2.2.1 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-
015/36017 (การประกอบเลขที่ 7502) ดังรูปที่ 2.20

รูปที่ 2.20 การกอสรางเคเบิลใตดิน 115 kV แบบรอยทอฝงดิน


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 44
และ พื้นที่พิเศษ

2.2.2 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DUCT BANK ใหพจิ ารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/31016 (การ


ประกอบเลขที่ 7201) ดังรูปที่ 2.21

รูปที่ 2.21 การกอสรางเคเบิลใตดิน 115 kV แบบ DUCT BANK

สําหรับการกอสรางดวยวิธีแบบ DUCT BANK นั้น ระดับหลัง DUCT BANK ตองฝงลึกอยางนอย


0.90 เมตร จากระดับดิน และกรณีกอสรางผานถนนตองฝงลึกอยางนอย 1.07 เมตร โดยปฏิบัติตามขอกําหนด
แบบเลขที่ SA1-015/31015 (การประกอบเลขที่ 7141)
ในกรณีที่กอสรางในพื้นที่เขตทางหลวงใหปฏิบัติตามขอกําหนดของกรมทางหลวงดังนี้
• เขตทางหลวงกวาง 16.00 – 19.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากศูนย
กลาง 4.30 เมตร(ระยะ A ในรูปที่ 2.22)
• เขตทางหลวงกวาง 20.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากเขตทางหลวง
4.75 เมตร(ระยะ B ในรูปที่ 2.22)
• เขตทางหลวงกวาง 30.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากเขตทางหลวง
4.80 เมตร(ระยะ B ในรูปที่ 2.22)
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 45
และ พื้นที่พิเศษ

• เขตทางหลวงกวาง 40.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากเขตทางหลวง


5.20 เมตร(ระยะ B ในรูปที่ 2.22)
• ระดับหลังทอรอยสายต่ํากวาผิวจราจรไมนอยกวา 1.50 เมตร

เขตทางหลวง (ROW)
B

เขตทางหลวง (ROW)

รูปที่ 2.22 ตําแหนงการวางทอรอยสายใตดินในเขตทางหลวง

2.2.3 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL BORING ใหพิจารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-


015/37022 (การประกอบเลขที่ 7504) ดังรูปที่ 2.23

รูปที่ 2.23 การกอสรางเคเบิลใตดิน 115 kV แบบ DIRECTIONAL BORING


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 46
และ พื้นที่พิเศษ

2.2.4 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ PIPE JACKING ใหพจิ ารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/44018 (การ


ประกอบเลขที่ 7506) ดังรูปที่ 2.24

รูปที่ 2.24 การกอสรางเคเบิลใตดิน 115 kV แบบ PIPE JACKING

2.3 ทอรอยสายเคเบิล
ผูออกแบบตองพิจารณาเลือกใชทอรอยสายเคเบิลใหมีความเหมาะสมกับรูปแบบการกอสรางแตละแบบดังนี้
2.3.1 กรณีกอสรางแบบรอยทอฝงดิน ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน ความหนาแนนสูง
ชั้นคุณภาพ PN 6.3 ทอไฟเบอรกลาส หรือทอ Corrugated โดยขนาดเสนผานศูนยกลางภายในของทอ
ตองไมนอยกวา 140 มม.
2.3.2 กรณีกอสรางแบบ DUCT BANK ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน ความหนาแนน
สูงชั้นคุณภาพ PN 6.3 หรือ ทอไฟเบอรกลาส โดยขนาดเสนผานศูนยกลางภายในของทอตองไมนอย
กวา 140 มม.
2.3.3 กรณีกอสรางแบบ DIRECTIONAL BORING ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน
ความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 8 หรือ PN 10 ขนาดเสนผานศูนยกลางภายในของทอตองไมนอยกวา
140 มม. ขึ้นอยูกับระดับความลึกในการออกแบบ โดยความลึกมากที่สุดของทอโพลิเอทิลีนความหนา
แนนสูงชั้นคุณภาพ PN 8 และPN 10 พิจารณาจากตารางที่ 2.10
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 47
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 2.10 ตารางระดับความลึกมากที่สุด ของการใชทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง


ระดับความลึกมากที่สุด (ม.)
ขนาดทอ (มม.)
ชั้นคุณภาพ PN8 ชั้นคุณภาพ PN10
160 2.00 4.00
180 2.00 4.00
200 2.00 4.00

2.4 จํานวนทอรอยสาย
ในการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาแบบใตดินนั้น ผูออกแบบควรที่จะออกแบบเผื่อในอนาคต
กรณีที่ความตองการใชกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้นหรือ เพื่อการบํารุงรักษา ดังนั้นจึงควรที่จะมีทอสํารองไว สําหรับ
จํานวนทอใหพิจารณาใหเหมาะสมกับจํานวนวงจรและทอสํารองดังตารางที่ 2.11

ตารางที่ 2.11 ตารางแนะนําจํานวนทอสํารอง


จํานวนทอที่ใชงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
จํานวนทอที่สํารอง 1 1 1 2 1 2 2 2 3 2 4 3 5 4 6
จํานวนทอที่กอสราง 2 3 4 6 6 8 9 10 12 12 15 15 18 18 21

2.5 บอพักสายใตดิน(MANHOLE)
ผูออกแบบตองพิจารณาบอพักสายใตดิน ใหขนาดมีความเหมาะสมกับจํานวนวงจร และ ลักษณะการใช
งานโดยพิจารณาเลือกแบบ 2T-5, 2T-6 หรือ 2S-2 ตามแบบมาตรฐานของ กฟภ. โดยระยะหางของบอพักสายใต
ดินไมควรเกิน 250 เมตร
2.5.1 บอพักสายใตดิน Type 2T - 5 และ 2T – 6 ใชสาํ หรับเปนจุดตอแยกสายเคเบิลใตดนิ และการเลีย้ วโคงของ
สายเคเบิลใตดิน บริเวณปากทาง หรือทางแยก ดังรูปที่ 2.25
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 48
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.25 บอพักชนิด 2T – 5 (รูปบน) และ 2T-6 (รูปลาง)


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 49
และ พื้นที่พิเศษ

2.5.1 บอพักสายใตดิน Type 2S-2 ใชสําหรับเปนจุดตอสายเคเบิลใตดิน ชวงทางตรง ดังรูปที่ 2.26

รูปที่ 2.26 บอพักชนิด 2S – 2

กรณีที่กอสรางในพื้นที่เขตทางหลวงใหปฏิบัติตามขอกําหนดของกรมทางหลวงดังนี้
1) ใหดานขางของบอพักสายดานที่อยูชิดเขตทางหลวง อยูหางจากแนวเขตทางหลวง 3.50 เมตร
2) ใหดานบนของบอพักสาย ลึกจากผิวจราจรอยางนอย 3.50 เมตร ทุกกรณีไมวาระดับดินเดิมจะเปน
อยางไร
3) กรณีบอพักต่ํากวาดินเดิมใหตอคอบอเสมอดินเดิม

2.6 เสาตน Riser Pole


ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบเสาตน Riser Pole สําหรับจุดที่มีการเปลี่ยนชนิดของสายจากสาย
อากาศเปนสายเคเบิลใตดินใหใชหัวเคเบิลในการตอสาย รวมทั้งมีการติดตั้งกับดักเสิรจสําหรับระบบสายสง ซึ่ง
เรียกวาเสาตน Riser Pole โดยผูออกแบบใหพิจารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/36017 (การประกอบเลข
ที่ 5453) ดังรูปที่ 2.27
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 50
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.27 การติดตั้งอุปกรณที่เสาตน Riser Pole


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 51
และ พื้นที่พิเศษ

2.7 การตอลงดิน
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบการตอลงดินสําหรับบอพัก และ สายเคเบิลใตดิน เพื่อใหเกิดความ
ปลอดภัยตอผูปฏิบัติงานและบํารุงรักษาระบบเคเบิลใตดิน โดยรายละเอียดการตอลงดินเปนดังนี้
2.7.1 การตอลงดินสําหรับบอพัก ใหพิจารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/31023 (การประกอบเลขที่
7341) โดยคาความตานทานดินไมเกิน 5 โอหม ในกรณีที่กอสรางไดยากยอมใหมีคาไมเกิน 25 โอหม ดัง
รูปที่ 2.28

รูปที่ 2.28 การตอลงดินที่บอพัก

2.7.2 การตอลงดินสําหรับสายเคเบิลใตดินใหพิจารณาตามระยะทางของระบบเคเบิลใตดินตามแบบ
มาตรฐานเลขที่ SA1-015/46005 (การประกอบเลขที่ 7131) โดย
1) ระยะทางของสายเคเบิลจากหัวเคเบิลถึงหัวเคเบิลหรือจาก Switchgear ถึงหัวเคเบิลไมเกิน 500 เมตร
ใหพิจารณาการตอลงดินเปนแบบการตอลงดินขางเดียว (SINGLE-POINT BONDING) ดังรูปที่
2.29
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 52
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 2.29 การตอลงดินสําหรับระบบสายสงสายเคเบิลใตดิน 115 kV เปนการตอลงดินขางเดียว

2) ระยะทางของสายเคเบิลจากหัวเคเบิลถึงหัวเคเบิลหรือจาก Switchgear ถึงหัวเคเบิลมากกวา 500


เมตร ใหพิจารณาการตอลงดินเปนแบบ ตอลงดินแบบไขว (CROSS - BONDING) ดังรูปที่ 2.29

รูปที่ 2.30 การตอลงดินสําหรับระบบสายสงสายเคเบิลใตดิน 115 kV เปนการตอลงดินแบบไขว


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 53
และ พื้นที่พิเศษ

2.8 ระยะหางของทอรอยสายกับสาธารณูปโภคอื่นๆ

ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบระยะหางของทอรอยสายกับสาธารณูปโภคอื่นๆ เพื่อความปลอดภัยในการ
กอสรางและปฏิบัติงาน โดยพิจารณาระยะหางของทอรอยสายกับสาธารณูปโภคอื่นๆ จากตารางที่ 2.12

ตารางที่ 2.12 ระยะหางของทอรอยสายไฟฟากับสาธารณูปโภคอื่นๆ


ระยะหางต่ําสุด(เมตร)
สาธารณูปโภค
แนวขนานกัน แนวตัดกัน
ทอระบายน้ํา 0.3 0.3
ทอน้ํา 0.45 0.45
ทอแกส 0.3 0.3(1.5)
ทอรอยสายโทรศัพท 0.3 0.3
ทอไอน้ํา 3 1.2
ทอรอยสายไฟฟา 3 0.6
หมายเหตุ
1) อางอิงจาก Underground Transmission Systems Reference Book 1992 Edition
2) คาในวงเล็บ ( ) เปนคาที่บริษัท ปตท.จํากัด(มหาชน)กําหนด
3) ทั้งนี้ตองไดรับความเห็นชอบจากหนวยงานที่เกี่ยวของดวย

2.9 ขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ
2.9.1 กรณีใชพูลลิ่งอาย(Pulling Eye) ลากสายเคเบิล สายเคเบิลขนาด 800 ต.มม. แรงดึงลากสายไมเกิน 2,268
kg เมื่อรอยสาย 1 เสนตอทอ และไมเกิน 2,722 kg เมื่อรอยสาย 3 เสนตอทอ กรณีใชพูลลิ่งกริป(Pulling
Grip) 1 ชุดลากสายเคเบิล 1 เสน สําหรับสายเคเบิลขนาด 800 ต.มม. แรงดึงลากสายไมเกิน 453 kg
เมื่อรอยสาย 1 เสนตอทอ และไมเกิน 906 kg เมื่อรอยสาย 3 เสนตอทอ
2.9.2 SIDE WALL PRESSURE ตองไมเกิน 446 kg/m
2.9.3 รัศมีความโคงของสายเคเบิลไมนอยกวา 15 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของสาย
2.9.4 แรงดันตกในสายเคเบิล ซึ่งมาตรฐานแรงดันตก ในสภาวะปกติกําหนดไวไมเกิน 5% และสภาวะฉุกเฉิน
กําหนดไวไมเกิน 10%
2.9.5 การตอสายใหพิจารณาใชวิธีการและวัสดุที่เหมาะสมในการตอสายเคเบิล และในกรณีที่กอสรางแบบ
รอยทอฝงดิน หรือ DUCT BANK ใหตอสายเคเบิลในบอพักสายเทานั้น
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 54
และ พื้นที่พิเศษ

บทที่ 3 การออกแบบ การติดตั้ง และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบ


จําหนายแรงสูง 22 kV และ 33 kV

เนื่องจากพื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ และ พื้นที่พิเศษ เปนพื้นที่ที่มี


ประชากรอยูกันอยางหนาแนน ดังนั้นการออกแบบ และ การติดตั้งระบบจําหนายตองคํานึงถึงความปลอดภัย
ความสวยงาม และ ความเชื่อไดของระบบไฟฟาเปนแนวทางในการพิจารณา ดังนั้นการออกแบบ และ การติดตั้ง
ระบบจําหนายสําหรับพื้นที่ 2 ใหพิจารณาออกแบบระบบจําหนาย 2 รูปแบบไดแด รูปแบบที่ 1 ระบบจําหนาย
เปนเคเบิลอากาศ(Spaced Aerial Cable) หรือ รูปแบบที่ 1 ระบบจําหนายเคเบิลใตดิน(Underground Cable)
สําหรับพื้นที่กอสรางทั่วไปใหพิจารณากอสรางระบบจําหนายเปนสายอากาศโดยใชเคเบิลอากาศ แตสําหรับพื้น
ที่ที่มีปญหาเทคนิคจนไมสามารถกอสรางเปนเคเบิลอากาศ หรือ พื้นที่ที่ตองการความเรียบรอย สวยงาม เชน
เมืองทองเที่ยวหรือ พื้นที่มีปญหาทางดานมลภาวะและตองการความเรียบรอย สวยงามดวย ใหพิจารณากอสราง
ระบบจําหนายเปนเคเบิลใตดิน แตสําหรับบริเวณที่กอสรางระบบจําหนายเปนเคเบิลอากาศ และ บางแหงมีระยะ
หางทางไฟฟาระหวางสายไฟกับสิ่งปลูกสราง หรือ ระหวางสายไฟกับพื้นดินไมเพียงพอ เชน การพาดสายใกล
สะพานลอยขามถนน หรือ การพาดสายในที่บริเวณใกลกับปายโฆษณาในยานธุรกิจ เปนตน ใหกอสรางระบบ
จําหนายเปน สายหุมฉนวนเต็มพิกัดตีเกลียว(Twisted Insulated Cable) ซึ่งการออกแบบและรายละเอียดในการ
ออกแบบเปน ดังนี้:

1 การออกแบบระบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศ
พื้นที่กอสรางทั่วไปใหพิจารณากอสรางระบบจําหนายเปนสายอากาศโดยใชเคเบิลอากาศ ดังนั้นการ
ออกแบบ การติดตั้ง และ เลือกใชงานอุปกรณในระบบจําหนายเคเบิลอากาศมีขอพิจารณาดังนี้
1.1 คุณสมบัติและขนาดของเคเบิลอากาศ
เคเบิลอากาศ เปน สายอะลูมิเนียมหุมดวยฉนวน XLPE ไมมีชีลด จึงไมสามารถกั้นสนามไฟฟาที่ออก
จากตัวนําซึ่งอยูภายในได สายชนิดนี้จึงไมเหมาะสมที่จะใชในสถานที่ซึ่งตองสัมผัสเปนเวลานานกับโลหะ หรือ
สวนทีต่ อ ลงดินเพราะตรงผิวสัมผัสจะมีความเขมสนามไฟฟาสูง จะเปนผลใหฉนวนของสายไฟฟาบริเวณที่สัมผัส
นั้นเสียหายได ตัวอยางของเคเบิลอากาศแสดงในรูปที่ 3.1
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 55
และ พื้นที่พิเศษ

ฉนวน XLPE

ตัวนําอะลูมิเนียม

เปลือก PE

รูปที่ 3.1 สวนประกอบของเคเบิลอากาศ

ขนาดสายไฟฟาใหพิจารณาจากขนาดกระแสของโหลด โดยขนาดของสายไฟใหพิจารณาจากตารางที่
3.1 สําหรับเคเบิลอากาศ

ตารางที่ 3.1 ตารางพิกัดกระแสใชงานของเคเบิลอากาศ (SAC)


กระแสใชงาน (แอมแปร)
พิกัดแรงดัน
CURRENT RATING (Amperes)
(kV)
พื้นที่หนาตัดของลวดตัวนํา (ต.มม.)
VOLTAGE
NOMINAL CROSS-SECTION AREA OF CONDUCTOR (mm2)
RATING (kV)
50 70 95 120 150 185 240
22 180 220 270 315 360 410 490
33 180 220 270 315 360 410 490

จากตารางที่ 3.1 สายไฟฟาขนาด 50,120 และ 185 ตร.มม. เปนสายไฟฟามาตรฐานที่ กฟภ. ซื้อมาใชงาน
ในระบบจําหนาย สายไฟฟาขนาด 50,120 และ 185 ตร.มม. รับโหลดสูงสุดเทากับ 5487, 9602 และ 12498 kVA
สําหรับระบบ 22 kV ตามลําดับ และ รับโหลดสูงสุดเทากับ 8230, 14403 และ 18747 kVA สําหรับระบบ 33 kV
ตามลําดับ ซึ่งโหลดสูงสุดดังกลาวคิดที่ 80% ของกระแสใชงาน
ในการออกแบบขนาดสายไฟฟาใหพิจารณาแรงดันตกในสายดวย ซึ่งมาตรฐานแรงดันตกของสายไฟฟา
ในสภาวะปกติกําหนดไวไมเกิน 5% และ สภาพฉุกเฉินกําหนดไวไมเกิน 10% ผูออกแบบสามารถคํานวณแรง
ดันตกไดจากสมการที่ 3.1 และ สมการที่ 3.2
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 56
และ พื้นที่พิเศษ

VD = √3 x I(R+JXL) x L โวลต ….. (3.1)


% VD = (VD/22,000)x100% ….. (3.2)
หมายเหตุ VD คือ แรงดันตก หนวย โวลต
I คือ กระแส หนวย แอมป
R คือ ความตานทาน หนวย โอหม/เมตร
XL คือ รีแอคแตนซ หนวย โอหม/เมตร
L คือ ความยาวสาย หนวย เมตร

1.2 เสาและระยะหางระหวางเสา
การออกแบบระบบจําหนายเปนเคเบิลอากาศ ผูออกแบบตองพิจารณาโครงสรางของเสาและระยะหาง
ระหวางเสาดังนี้:
1.2.1 กรณีออกแบบเปนเคเบิลอากาศติดตั้งบนเคเบิลสเปเซอร
การพาดเคเบิลอากาศบนเคเบิลสเปเซอรจํานวน 1-2 วงจร ใหพิจารณาออกแบบเปนเสาขนาด 12.20
เมตร ระยะหางระหวางเสา และ ระยะหยอนยานของสายแสดงรวมทั้งลักษณะการพาดสายใหพิจารณาจากแบบ
มาตรฐานเลขที่ IB2-015/40009(การประกอบเลขที่ 8253) รูปที่ 3.2 ตัวอยางการพาดเคเบิลอากาศบนเคเบิล
สเปเซอร จํานวน 1-2 วงจร และ ตารางที่ 3.2 แสดงคาระยะหางระหวางเสา ระยะหยอนยานของสาย

รูปที่ 3.2 การพาดเคเบิลอากาศบนเคเบิลสเปเซฮรบนเสา 12.20 เมตร จํานวน 1-2 วงจร


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 57
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 3.2 ระยะหางระหวางเสาสูงสุดและระยะหยอนยานต่ําสุดในการพาดเคเบิลอากาศบนเคเบิลสเปเซอรบน


เสา 12.20 เมตร จํานวน 1-2 วงจร
ระยะหางระหวางเสาสูงสุด(ม.) ระยะหยอนยานของสายทุกเสนไมนอยกวา (ม.)
แบบโครง เสาทาง เสาตนทางโคง เสาตนเขา เสาทาง เสาตนทางโคง เสาตนเขา
สราง ตรง มุมเบี่ยงเบน ปลายสาย ตรง มุมเบี่ยงเบน ปลายสาย
0 0
>2 -5 >50-150 >150-300 0 0
>2 -5 0
>5 -15 0 0
>15 -300

การติ ด ตั้ ง กรณีที่มีสายยึดโยงดานขาง ตามมาตร กรณีที่มีสายยึดโยงดานขาง ตามมาตร


1-2 วงจร 40 40 40 40 40 ฐานระยะ 0.4 0.4 0.4 ฐานระยะ
กรณีที่ไมมีสายยึดโยงดานขาง ห ย อ น กรณีที่ไมมีสายยึดโยงดานขาง ห ย อ น
30 20 15 ยาน 0.8 0.6 0.55 ยาน

1.2.2 กรณีออกแบบเปนเคเบิลอากาศที่วางบนลูกถวยแทงหรือลูกถวยแทงกานตรง จํานวน 1 วงจร


การพาดเคเบิลอากาศบนลูกถวยแทงหรือลูกถวยแทงกานตรง จํานวน 1 วงจร ใหพิจารณาออกแบบเปน
เสาขนาด 12.20 เมตร ระยะหางระหวางเสา และ ระยะหยอนยานของสายแสดงรวมทั้งลักษณะการพาดสายให
พิจารณาจากแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47001(การประกอบเลขที่ 8255) รูปที่ 3.3 ตัวอยางการพาดเคเบิล
อากาศบนลูกถวยแทงหรือลูกถวยแทงกานตรง จํานวน 1 วงจร และ ตารางที่ 3.3 แสดงคาระยะหางระหวางเสา
ระยะหยอนยานของสาย

รูปที่ 3.3 การพาดเคเบิลอากาศบนลูกถวยแทง หรือ ลูกถวยแทงกานตรงบนเสา 12.20 เมตร จํานวน 1 วงจร


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 58
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 3.3 ระยะหางระหวางเสาสูงสุดและระยะหยอนยานต่ําสุดในการพาดเคเบิลอากาศบนลูกถวยแทง หรือ


ลูกถวยแทงกานตรงบนเสา 12.20 เมตร จํานวน 1 วงจร
ระยะระหวางเสาสูงสุด (ม.) ระยะหยอนยานต่ําสุดของสายทุกเสน (ม.)
สําหรับการติดตั้ง มุมเบี่ยงเบนของสายไฟฟา MAX SPAN LENGTH (m) MIN SAG OF ALL COND (m)
คอนธรรมดา LINE DEFLECTION
FOR CROSSARM ANGLE ขนาดสายไฟฟา 22 kV หรือ 33 kV (ต.มม.)
INSTALLATION ( θ°) SIZE OF 22 kV OR 33 kV line (mm2)
50 120 185 50 120 185
โครงสรางทางตรง
0° - 2° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
TENGENT STRUCTURE
> 2° – 5° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
โครงสรางทางโคง
ที่มีสายยึดโยงดานขาง > 5° - 15° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
ANGLE STRUCTURE > 15° – 30° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
WITH SIDE GUY
> 30° - 60° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
> 2° – 5° 40 40 35 0.85 0.80 0.70
โครงสรางทางโคง
ที่ไมมีสายยึดโยงดานขาง > 5° - 15° 40 35 30 0.85 0.80 0.80
AGLE STRUCTURE > 15° – 30° 30 25 25 0.80 0.80 0.80
WITGHOUT SIDE GUY
> 30° - 60° 25 20 20 0.80 0.80 0.80
ระยะระหวางเสาสูงสุด (ม.) ระยะหยอนยานต่ําสุดของสายทุกเสน (ม.)
สําหรับการติดตั้ง มุมเบี่ยงเบนของสายไฟฟา MAX SPAN LENGTH (m) MIN SAG OF ALL COND (m)
คอนทาวแขวน LINE DEFLECTION
FOR ALLEY ARM ANGLE ขนาดสายไฟฟา 22 kV หรือ 33 kV (ต.มม.)
INSTALLATION ( θ°) SIZE OF 22 kV OR 33 kV line (mm2)
50 120 185 50 120 185
โครงสรางทางตรง
0° - 2° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
TENGENT STRUCTURE
โครงสรางทางโคง > 2° – 5° 40 40 35 0.85 0.80 0.70
ที่ไมมีสายยึดโยงดานขาง
> 5° - 15° 40 35 30 0.85 0.80 0.80
ANGLE STRUCTURE
WOTHIUT SIDE GUY > 15° – 30° 30 25 25 0.80 0.80 0.80

การพาดเคเบิลอากาศบนลูกถวยแทงหรือลูกถวยแทงกานตรง จํานวน 2 วงจร ใหพิจารณาออกแบบเปน


เสา 12.20 เมตร กรณีใชเหล็กคอนเคเบิลอากาศทางโคง และ 14.30 เมตร กรณีใชคอนทางตรง หรือ คอนทาว
แขวน โดยระยะหางระหวางเสา และ ระยะหยอนยานของสายแสดงรวมทั้งลักษณะการพาดสายใหพิจารณาจาก
แบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/47002(การประกอบเลขที่ 8256) รูปที่ 3.4 ตัวอยางการพาดเคเบิลอากาศบนลูกถวย
แทงหรือลูกถวยแทงกานตรง จํานวน 2 วงจร และ ตารางที่ 3.4 แสดงคาระยะหางระหวางเสา ระยะหยอนยานของ
สาย
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 59
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 3.4 การพาดเคเบิลอากาศบนลูกถวยแทง หรือ ลูกถวยแทงกานตรงบนเสา 12.20 เมตร (กรณีใชเหล็กคอน


เคเบิลอากาศทางโคง) และ14.30 เมตร จํานวน 2 วงจร
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 60
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 3.4 ระยะหางระหวางเสาสูงสุดและระยะหยอนยานต่ําสุดในการพาดเคเบิลอากาศบนลูกถวยแทง หรือ


ลูกถวยแทงกานตรงบนเสา 12.20 เมตร (กรณีใชเหล็กคอนเคเบิลอากาศทางโคง) และ 14.30 เมตร
จํานวน 2 วงจร
ระยะหางระหวางเสาสูงสุด (ม.) ระยะหยอนยานต่ําสุดของสายทุกเสน (ม.)
สําหรับการติดตั้ง
มุมเบี่ยงเบนของสายไฟฟา MAX SPAN LENGTH (m) MIN SAG OF ALL COND (m)
คอนแบบธรรมดา
LINE DEFLECTION ขนาดสายไฟฟา 22 kV หรือ 33 kV (ต.มม.)
FOR CROSSARM
ANGLE (θ°) SIZE OF 22 kV OR 33 kV (mm2)
INSTALLATION
50 120 185 50 120 185
โครงสรางทางตรง
0° - 2° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
TANGENT STRUCTURE
โครงสรางทางโคง > 2° – 5° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
ที่มีสายยึดโยงดานขาง > 5° - 15° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
ANGLE STRUCTURE > 15° – 30° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
WITH SIDE GUY > 30° - 60° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
โครงสรางทางโคง > 2° – 5° 40 35 30 0.80 0.70 0.60
ที่ไมมีสายยึดโยงดานขาง > 5° - 15° 30 30 25 0.70 0.80 0.60
ANGLE STRUCTURE > 15° – 30° 25 25 20 0.60 0.80 0.60
WITHOUT SIDE GUY > 30° - 60° 20 20 15 0.60 0.80 0.60
ระยะหางระหวางเสาสูงสุด (ม.) ระยะหยอนยานต่ําสุดของสายทุกเสน (ม.)
สําหรับการติดตั้ง
มุมเบี่ยงเบนของสายไฟฟา MAX SPAN LENGTH (m) MIN SAG OF ALL COND (m)
คอนแบบทาวแขวน
LINE DEFLECTION ขนาดสายไฟฟา 22 kV หรือ 33 kV (ต.มม.)
FOR ALLEY ARM
ANGLE (θ°) SIZE OF 22 kV OR 33 kV (mm2)
INSTALLATION
50 120 185 50 120 185
โครงสรางทางตรง
0° - 2° 40 40 40 0.85 0.80 0.70
TANGENT STRUCTURE
โครงสรางทางโคง > 2° – 5° 40 35 30 0.80 0.70 0.60
ที่ไมมีสายยึดโยงดานขาง
ANGLE STRUCTURE > 5° - 15° 30 30 25 0.60 0.60 0.60
WITHOUT SIDE GUY > 15° – 30° 25 25 20 0.601 0.80 0.60

1.3 ลูกถวยและฉนวนของระบบจําหนาย
การออกแบบลูกถวยและฉนวนของระบบจําหนาย ผูออกแบบตองพิจารณาวาสภาพพื้นที่ที่ตองการออก
แบบระบบจําหนายมีปญหาทางมลภาวะมากนอยเพียงใด เพราะจะมีผลตอการเลือกใชชนิดของลูกถวยใหเหมาะ
สมกับมลภาวะที่ระดับตางๆ โดยผูออกแบบพิจารณาเลือกฉนวนของระบบจําหนาย 22 kV และ 33 kV จากคา
ระยะรั่วของฉนวนตามมาตรฐาน IEC 815 ดังแสดงในตารางที่ 3.5 สําหรับลูกถวยใหผูออกแบบพิจารณาจาก
ตารางที่ 3.6 สําหรับระบบจําหนาย 22 kV และ ตารางที่ 3.7 สําหรับระบบจําหนาย 33 kV ซึ่งตารางทั้ง 2 อางอิง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 61
และ พื้นที่พิเศษ

จากแบบมาตรฐานของ กฟภ. คือ แบบหลักเกณฑการใชลูกถวยแรงสูงในระบบจําหนาย 22 kV แบบเลขที่ SA4-


015/40019 (การประกอบเลขที่ 9502) และ แบบหลักเกณฑการใชลูกถวยแรงสูงในระบบจําหนาย 33 kV แบบ
เลขที่ SA4-015/40016 (การประกอบเลขที่ 9506)
ตารางที่ 3.5 คาระยะรั่วที่กําหนดต่ําสุดที่ความเปรอะเปอนระดับตางๆ ตามมาตรฐาน IEC 815
ระดับของความเปรอะเปอน คาระยะรั่วที่กําหนดต่ําสุด(mm/kV)
เล็กนอย 16
ปานกลาง 20
สูง 25
สูงมาก 31

ตารางที่ 3.6 การเลือกลูกถวยกับพื้นที่ที่มีมลภาวะระดับแตกตางกันสําหรับระบบจําหนาย 22 kV


ลักษณะพื้นที่ของระบบจําหนาย ชนิดของลูกถวยที่ใหใชงาน
1. พื้ น ที่ ที่ มี ม ลภาวะในระดั บ ต่ํา(ระดั บ ความ - ลูกถวยไลนโพสทไทพ แบบ 57-2 ตาม
เปรอะเปอนเล็กนอย) เชน มอก. 1077
- บริเวณทั่วไป - ลูกถวยพินโพสทไทพ แบบ 56/57-2 ตาม
- บริเวณที่อยูหางจากชายฝงทะเลเกินกวา มอก. 1251
1 กม. และ มีลมทะเลพัดถึงบาง - ลูกถวยแขวน แบบ ก. (แบบ 52-1) ตาม
มอก. 354 จํานวน 3 ลูกตอชุด
2. พื้ น ที่ที่ มีมลภาวะในระดั บปานกลาง(ระดับ - ลูกถวยพินโพสทไทพ แบบ 56/57-2 ตาม
ความเปรอะเปอนปานกลาง) เชน มอก. 1251
- บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ม ลภาวะจากโรงงาน - ลูกถวยแขวน แบบ ก. (แบบ 52-1) ตาม
อุตสาหกรรมในระดับปานกลาง มอก. 354 จํานวน 4 ลูกตอชุด
- บริเวณที่อยูหางจากชายฝงทะเลเกินกวา
1 กม. และ มีลมทะเลพัดถึงบาง
3. พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับรุนแรง(ระดับความ - ลูกถวยพินโพสทไทพ แบบ 56/57-3 ตาม
เปรอะเปอนสูง) เชน มอก. 1251
- บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ม ลภาวะจากโรงงาน - ลูกถวยแขวน แบบ ก. (แบบ 52-1) ตาม
อุตสาหกรรมในระดับรุนแรง มอก. 354 จํานวน 5 ลูกตอชุด
- บริเวณที่อยูชายฝงทะเลและมีลมทะเลพัด
ถึงรุนแรง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 62
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 3.7 การเลือกลูกถวยกับพื้นที่ที่มีมลภาวะระดับแตกตางกันสําหรับระบบจําหนาย 33 kV


ลักษณะพื้นที่ของระบบจําหนาย ชนิดของลูกถวยที่ใหใชงาน
1. พื้ น ที่ ที่ มี ม ลภาวะในระดั บ ต่ํา(ระดั บ ความ - ลูกถวยไลนโพสทไทพ แบบ 57-3 ตาม
เปรอะเปอนเล็กนอย) เชน มอก. 1077
- บริเวณทั่วไป - ลูกถวยพินโพสทไทพ แบบ 56/57-3 ตาม
- บริเวณที่อยูหางจากชายฝงทะเลเกินกวา มอก. 1251
1 กม. และ มีลมทะเลพัดถึงบาง - ลูกถวยแขวน แบบ ง. (แบบ 52-4) ตาม
มอก. 354 จํานวน 3 ลูกตอชุด
2. พื้ น ที่ที่ มีมลภาวะในระดั บปานกลาง(ระดับ - ลูกถวยแบบฟอก 33 kV
ความเปรอะเปอนปานกลาง) เชน - ลูกถวยพินโพสทไทพ แบบ 56/57-4 ตาม
- บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ม ลภาวะจากโรงงาน มอก. 1251
อุตสาหกรรมในระดับปานกลาง - ลูกถวยแขวน แบบ ง. (แบบ 52-4) ตาม
- บริ เ วณที่ อ ยู ห า งจากชายฝ ง ทะเลเกิ น มอก. 354 จํานวน 4 ลูก
1 กม. และ มีลมทะเลพัดถึงบาง
3. พื้นที่ที่มีมลภาวะในระดับรุนแรง(ระดับความ - ลูกถวยแบบฟอก 33 kV ที่เคลือบดวย
เปรอะเปอนสูง) เชน RTV SILICONE
- บริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ม ลภาวะจากโรงงาน - ลูกถวยพินโพสทไทพ แบบ 56/57-4 ตาม
อุตสาหกรรมในระดับรุนแรง มอก. 1251 ที่เคลือบดวย RTV
- บริเวณที่อยูชายฝงทะเลไมเกิน 1 กม.และ SILICONE
มีลมทะเลพัดถึงรุนแรง - ลูกถวยพินโพสทไทพแบบผิวเคลือบสาร
กึ่งตัวนํา โดยพิจารณาความเหมาะสมเปน
แหงๆไป
- ลูกถวยแขวน แบบ ง. (แบบ 52-4) ตาม
มอก. 354 จํานวน 5 ลูก

หากผูออกแบบพบวาการใชงานลูกถวยตามตารางที่ 3.6 และ ตารางที่ 3.7 ยังคงเกิดปญหาไฟฟาดับจาก


การวาบไฟของฉนวนที่มี การสะสมของมลภาวะ ใหพิจารณาออกแบบลู ก ถว ยชนิด ที่ เ ป นโพลี เมอร เช น
ฉนวนซิลิโคน ที่มีการใชงานกันมากขึ้นในปจจุบัน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 63
และ พื้นที่พิเศษ

1.4 การตอลงดิน
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบการตอลงดินใหสอดคลองกับขอ 1.5 ในบทที่ โดยพิจารณาใชสาย
ทองแดงขนาด 25 ตร.มม. เปนสายดินและเดินในทอรอยสายโลหะ แตทั้งนี้คาความตานทานดินรวมสําหรับ
ระบบจําหนายมีคานอยกวา 2 โอหม คาความตานทานดินของเสาระบบจําหนายที่มีการตอลงดินตองไมเกิน 5
โอหม แตถาหากพื้นที่ยากแกการตอลงดิน ยอมใหคาความตานทานดินของเสาระบบจําหนายแตละตนตองไม
เกิน 25 โอหม ทั้งนี้ผูออกแบบสามารถเลือกแบบการตอลงดินใหเหมาะสมกับคาความตานทานจําเพาะของดินได
จากตารางที่ 3.8
ตารางที่ 3.8 การเลือกรูปแบบการตอลงดิน
รูปแบบการตอ ลักษณะการติดตั้งใชกราวดร็อด คาสัมประสิทธิ์การลดลง ชวงของคาความตาน
ลงดิน ยาว 2 เมตร ของคาความตานทาน ทานจําเพาะของดิน
(แทง) (โอหม/โอหม-เมตร) (เปาหมาย 25 โอหม)
GR-1 1 0.381 0-85
GR-2 2 0.164 >86-198
GR-3 3 0.114 >199-285
GR-4 4 0.088 >286-368
GR-5 5 0.075 >369-436
GS-40 Strip Ground ยาว 40 เมตร 0.050 >437-655
GC-1 กราวดร็อด 1 แทง รวมกับผงเคมีลดคา 0.021 >656-1555
กราวด
หมายเหตุ ตารางนี้อางอิงจาก โครงการวิจัยสภาพดินและหลักดินที่เหมาะสม ในแตละพื้นที่ ของ กฟภ. โดย กองวิจัย

สําหรับการตอลงดินของการพาดเคเบิลอากาศใหมีการตอลงดินที่เสาทุกตน โดยตอกับลวดเหล็กตีเกลียว
ขนาด 25 ตร.มม. ที่ฝงอยูในคอนกรีตที่ยอดเสา และ ทุกระยะ 200-500 ม. ใหตอสายแขวนเคเบิลอากาศ
(Messenger Wire) ลงดินดวยการปกหลักดิน

1.5 การติดตั้งกับดักเสิรจ
ผูออกแบบตองมีการออกแบบติดตั้งกับดักเสิรจในระบบจําหนาย เพื่อปองกันระบบไฟฟาขัดของและ
อุปกรณไฟฟาเสียหายจากแรงดันเกินเนื่องจากฟาผา โดยใหพิจารณาติดตั้งกับดักเสิรจที่ตําแหนงตางๆดังนี้
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 64
และ พื้นที่พิเศษ

1.5.1 ที่จุดเปลี่ยนชนิดของสาย จากเคเบิลอากาศเปนเคเบิลใตดิน ใหติดตั้งกับดักเสิรจที่ปลายสายทั้งสองขาง


ของเคเบิลใตดิน เมื่อเคเบิลใตดินมีความยาวมากกวา 50 เมตร หากเคเบิลใตดินมีความยาวนอยกวาหรือ
เทากับ 50 เมตร ใหติดตั้งกับดักเสิรจปลายสายเคเบิลใตดินดานหมอแปลงในสถานีไฟฟาเพียงดานเดียว
1.5.2 ที่อุปกรณไฟฟาในระบบจําหนาย ไดแก หมอแปลง คาปาซิเตอร โหลดเบรคสวิตช และ รีโคลสเซอร
เปนตน
1.5.3 ที่ระบบจําหนายแรงสูงมีการกอสรางในบริเวณที่โลงแจง ใหติดตั้งกับดักเสิรจที่เสาระบบจําหนายทุก
200 เมตร

รูปที่ 3.7 การติดตั้งกับดักเสิรจเสาตนที่มีการเปลี่ยนวิธีการเดินสายจากเดินในอากาศเปนเดินฝงดิน


นอกจากนี้ผูออกแบบตองพิจารณาเลือกใชพิกัดแรงดันและพิกัด Discharge current ของกับดักเสิรจให
เหมาะสมกับระบบจําหนายของ กฟภ. ที่รับไฟจากสถานีไฟฟาที่มีระบบการตอลงดินแตกตางกันดังนี้:
1) กรณีที่ตั้งอยูในบริเวณที่รับไฟจากสถานีไฟฟาที่มีระบบการตอลงดินแบบ Solidly ใหใชกับดักเสิรจ พิกดั แรง
ดันเทากับ 20-21 kV สําหรับระบบจําหนาย 22 kV และ พิกดั แรงดันเทากับ 30 kV สําหรับระบบจําหนาย 33
kV สําหรับคาพิกัด Discharge current ของกับดักเสิรจตองไมนอยกวาหรือเทากับ 5 kA ยกเวนที่อุปกรณไฟ
ฟา คาพิกัด Discharge current ของกับดักเสิรจตองไมนอยกวาหรือเทากับ 10 kA
2) กรณีที่อยูในบริเวณที่รับไฟจากสถานีไฟฟาที่มีระบบการตอลงดินแบบ NGR ใหใชกับดักเสิรจพิกัดแรงดัน
เทากับ 24 kV สําหรับระบบจําหนาย 22 kV สําหรับคาพิกัด Discharge current ของกับดักเสิรจตองไมนอย
กวาหรือเทากับ 5 kA ยกเวนที่อุปกรณไฟฟา คาพิกัด Discharge current ของกับดักเสิรจตองไมนอยกวาหรือ
เทากับ 10 kA
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 65
และ พื้นที่พิเศษ

1.6 การติดตั้งอุปกรณปองกัน
ผูออกแบบตองมีการออกแบบการติดตั้งอุปกรณปองกันระบบจําหนายแรงสูงใหเหมาะสมกับระบบ เพื่อ
เปนการลดระยะเวลาไฟฟาดับ เปนการเพิ่มความเชื่อถือไดใหแกระบบ ผูออกแบบสามารถพิจารณาออกแบบการ
ติดตั้งอุปกรณปองกันระบบจําหนายแรงสูงไดดังนี้

1.6.1 รีโคลสเซอร
1) สายเมน ใหออกแบบติดตั้งรีโคลสเซอรหางจากสถานีไฟฟาไมนอยกวา 10 กม. และ ระยะหางระหวางรี
โคลสเซอรกับรีโคลสเซอรชุดถัดไปไมควรนอยกวา 10 กม. สําหรับรีโคลสเซอรที่อยูสายเมนเดียวกัน ยกเวน
ระหวางรีโคลสเซอรมีโหลดหนาแนน
2) สายแยก ใหออกแบบติดตั้งรีโคลสเซอรในสายยอยที่ใชฟวสปองกันตั้งแตขนาด 40 Amp แบบ K ขึ้น
ไป ที่ไมสามารถ Co-ordination กับอุปกรณปองกันตนทางชุดถัดไปได หรือ ใหออกแบบติดตั้งรีโคลสเซอร
ในสายแยกที่มีกระแสไฟฟาดับบอยครั้ง หรือ สายแยกที่มีระยะทางรวมกันเกิน 10 กม. ขึ้นไป ที่มีปญหาเรื่อง
การเคลียรไลนไดลาชา
1.6.2 โหลดเบรคสวิตช
1) สายเมน ใหออกแบบติดตั้งโหลดเบรคสวิตชในสายเชื่อมโยง ตําแหนงที่จะมีการเชื่อมโยงระหวางฟด
เดอรหรือสถานีไฟฟา หรือ ใหออกแบบติดตั้งโหลดเบรคสวิตชอยางนอย 2.5 ตัวตอวงจร กรณีตองการติด
ตั้งโหลดเบรคสวิตชมากกวา 2.5 ตัวตอวงจร ควรมีโหลดในแตละ Section ไมต่ํากวา 3 MW สําหรับระบบ
จําหนาย 33 kV และ ไมต่ํากวา 2 MW สําหรับระบบจําหนาย 22 kV
2) สายแยก ใหออกแบบติดตั้งโหลดเบรคสวิตช ที่สายแยกที่มีโหลดมากไมต่ํากวา 3 MW สําหรับระบบ
จําหนาย 33 kV และ ไมต่ํากวา 2 MW สําหรับระบบจําหนาย 22 kV
1.6.3 ดรอพเอาทฟวสคัทเอาท
ใหออกแบบติดตั้งดรอพเอาทฟวสคัทเอาทในสายแยกที่มีกระแสไฟฟาดับบอยครั้ง

1.7 การปองกันรถชนเสา
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบเสาใหสามารถปองกันรถชนเสาใหสอดคลองกับขอ 1.6 ในบทที่ 2
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 66
และ พื้นที่พิเศษ

1.8 การติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย
ผูออกแบบตองพิจารณารูปแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนายดังนี้
1) ใหติดตั้งหมอแปลงแขวนบนเสาเดี่ยวขนาดไมเกิน 250 kVA ในกรณีพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแนน หรือ ยาน
ธุรกิจ ดังแสดงตัวอยางการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนายขนาดไมเกิน 160 kVA ในรูปที่ 3.8 ซึ่งสอด
คลองตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA4-015/35001 (การประกอบเลขที่ 2719) สําหรับระบบจําหนาย 22 kV
และ เลขที่ SA4-015/35006 (การประกอบเลขที่ 3715) สําหรับระบบจําหนาย 33 kV

รูปที่ 3.8 การติดตั้งหมอแปลงแขวนบนเสาเดี่ยว

2) ใหติดตั้งหมอแปลงบนนั่งรานเสาคู ขนาดไมเกิน 500 kVA ในกรณีที่สามารถกอสรางไดและอยูนอก


เหนือพื้นที่ที่มีชุมชนหนาแนน หรือ ยานธุรกิจ ดังแสดงตัวอยางการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนายในรูป
ที่ 3.9 ซึ่งสอดคลองตามแบบ มาตรฐานเลขที่ SA4-015/44001 (การประกอบเลขที่ 2725) สําหรับระบบ
จําหนาย 22 kV และ เลขที่ SA4-015/44011 (การประกอบเลขที่ 3718) สําหรับระบบจําหนาย 33 kV
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 67
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 3.9 การติดตั้งหมอแปลงแขวนบนนั่งรานเสาคู

1.9 ระยะหางทางไฟฟา
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบการตอลงดินใหสอดคลองกับขอ 1.7 ในบทที่ 2

1.10 จํานวนวงจรสูงสุดตอตนเสา
ผูออกแบบควรพิจารณาออกแบบระบบจําหนายแรงสูงที่เปนเคเบิลอากาศไมใหเกิน 2 วงจรตอตนเสา
เพื่อเพิ่มความเชื่อถือไดของระบบ สะดวกในการปฏิบัติงาน และ การบํารุงรักษาระบบจําหนาย โดยผูออกแบบ
ใหพิจารณาออกแบบระบบจําหนายที่เปนเคเบิลอากาศ 2 วงจร
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 68
และ พื้นที่พิเศษ

1.11 หลีกเลี่ยงการกอสรางระบบจําหนาย 22 kV หรือ 33 kV ใตแนวสายสง 115 kV


ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบระบบจําหนายแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV แยกออกจากระบบสายสง
115 kV เนื่องจากการกอสรางระบบจําหนาย 22 kV หรือ 33 kV ใตแนวสายสง 115 kV นั้น ทําใหเกิดอันตรายตอ
ผูปฏิบัติงานกับระบบจําหนายขณะดับไฟฟา เนื่องจากแรงดันเหนี่ยวนําจากระบบสายสง 115 kV รวมทั้งทําให
ระบบสายสง 115 kV เกิดไฟดับบอยครั้งจากการเกิดปญหาที่ระบบจําหนาย
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 69
และ พื้นที่พิเศษ

2 การออกแบบระบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดิน

พื้นที่ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ พื้นที่ที่ตองการความเรียบรอย สวยงาม เชน เมือง


ทองเที่ยวหรือ พื้นที่มีปญหาทางดานมลภาวะและตองการความเรียบรอยสวยงามดวย หรือ พื้นที่ที่มีปญหา
เทคนิคจนไมสามารถกอสรางเปนเคเบิลอากาศ ใหกอสรางระบบจําหนายเปนเคเบิลใตดิน ดังนั้นการออกแบบ
การติดตั้ง และ เลือกใชงานอุปกรณในระบบจําหนายเคเบิลใตดินมีขอพิจารณาดังนี้

2.1 ชนิดและขนาดของสายเคเบิลใตดิน
ผูออกแบบตองพิจารณาเลือกใชสายตัวนําทองแดง 12/20(24) kV สําหรับระบบจําหนาย 22 kV หรือ
18/30(36) kV สําหรับระบบจําหนาย 33 kV ที่ผานการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 60502 ลักษณะสายเปน single
core, cross-linked polyethylene insulated (XLPE), copper wire screen and polyethylene jacketed ขนาด 240 ต.มม.
หรือ 400 ต.มม. โดยพิกดั กระแสของเคเบิลขึน้ อยูก บั จํานวนวงจร และความลึกในการฝงเคเบิล ดังแสดงในตารางที่
3.9 และ ตารางที่ 3.10

ตารางที่ 3.9 ตารางพิกัดกระแสใชงานของเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง 22 & 33 kV (ฉนวน XLPE)


จํานวน กระแสที่กําหนดตอวงจร(แอมป)
วงจร ความลึกจากระดับดินถึงเคเบิล (เมตร)
ทั้งหมด ขนาดสาย 240 ต.มม. ขนาดสาย 400 ต.มม.
1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
1 402 384 374 367 362 510 485 470 462 456
2 342 320 310 302 296 430 402 387 378 370
3 302 280 270 262 257 378 350 336 327 320
4 281 258 246 240 234 350 320 307 297 290
5 260 237 226 220 214 323 295 280 272 265
6 245 223 212 205 200 305 277 263 254 248
7 233 210 200 193 188 290 262 248 240 233
8 221 200 190 183 178 275 248 235 227 220
9 212 190 180 175 170 263 237 224 216 210
10 204 184 174 168 163 253 228 215 207 201
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 70
และ พื้นที่พิเศษ

หมายเหตุ
1) วงจร หมายถึง สายเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง 22 & 33 kV 3 เฟส 3 สาย (แตละเฟสใชสาย
จํานวน 1 เสน)
2) คาโหลดแฟคเตอร 100%
3) อุณหภูมิตัวนําสูงสุด 90 0C
4) อุณหภูมิโดยรอบ 30 0C
5) คาความตานทานความรอนของดิน 1.2 K.m/W

ตารางที่ 3.10 ตารางพิกัดกระแสใชงานของเคเบิลใตดินระบบจําหนาย 22 & 33 kV ขนาด 500 ต.มม. (ฉนวน


XLPE) วางใน Cable Trench
จํานวนวงจร 1 2 3 4
กระแสทีก่ าํ หนดตอวงจร(แอมป) 775 580 510 450
หมายเหตุ
1) วงจร หมายถึง สายเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงสูง 22 & 33 kV 3 เฟส 3 สาย (แตละเฟสใชสาย
จํานวน 1 เสน)
2) ระยะหางระหวางวงจรตองไมนอยกวา 2 เทาของเสนผานศูนยกลางของสายไฟ และ จัดวางเคเบิล
แบบสามเหลี่ยม(Trefoil)
3) คากระแสในตารางนี้คํานวณจากเอกสารทางเทคนิคของบริษัท ABB

2.2 รูปแบบการกอสราง
การกอสรางระบบจําหนายแรงสูงสามารถพิจารณารูปแบบการกอสรางไดหลายวิธี ซึ่งในแตละรูปแบบ ขึ้น
อยูกับสภาพพื้นที่หนางาน และ คาใชจายในการกอสราง สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน และ
แบบ DUCT BANK ใชกรณีทสี่ ามารถเปดหนาดินได แตสาํ หรับการกอสรางเคเบิลใตดนิ แบบ DIRECTIONAL
BORING แบบการวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธีดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก และ แบบ PIPE JACKING
ใชในกรณีทไี่ มสามารถเปดหนาดินได ซึ่งรายละเอียดในการกอสรางแตและแบบมีรายละเอียดดังนี้

2.2.1 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/36017


(การประกอบเลขที่ 7502) ดังรูปที่ 3.10
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 71
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 3.10 การฝงเคเบิลใตดินในทอรอยสาย

2.2.2 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DUCT BANK ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-


015/31016 (การประกอบเลขที่ 7201) ดังรูปที่ 3.11

รูปที่ 3.11 การฝงเคเบิลใตดินแบบ DUCT BANK


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 72
และ พื้นที่พิเศษ

สําหรับการกอสรางดวยวิธีแบบ DUCT BANK นั้น ระดับหลัง DUCT BANK ตองฝงลึกอยางนอย 0.75


เมตร จากระดับดิน และกรณีกอสรางผานถนนตองฝงลึกอยางนอย 1.07 เมตร โดยปฏิบัติตามขอกําหนดแบบเลข
ที่ SA1-015/31015 (การประกอบเลขที่ 7141)
ในกรณีที่กอสรางในพื้นที่เขตทางหลวงใหปฏิบัติตามขอกําหนดของกรมทางหลวงดังนี้
• เขตทางหลวงกวาง 16.00 – 19.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากศูนย
กลาง 4.30 เมตร(ระยะ A ในรูปที่ 3.12)
• เขตทางหลวงกวาง 20.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากเขตทางหลวง
4.75 เมตร(ระยะ B ในรูปที่ 3.12)
• เขตทางหลวงกวาง 30.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากเขตทางหลวง
4.80 เมตร(ระยะ B ในรูปที่ 3.12)
• เขตทางหลวงกวาง 40.00 เมตร ใหตําแหนงการวางทอรอยสาย อยูที่ระยะหางจากเขตทางหลวง
5.20 เมตร(ระยะ B ในรูปที่ 3.12)
• ระดับหลังทอรอยสายต่ํากวาผิวจราจรไมนอยกวา 1.50 เมตร

เขตทางหลวง (ROW)
B

เขตทางหลวง (ROW)

รูปที่ 3.12 ตําแหนงการวางทอรอยสายใตดินในเขตทางหลวง


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 73
และ พื้นที่พิเศษ

2.2.3 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL BORING ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่


SA1-015/37022 (การประกอบเลขที่ 7504) ดังรูปที่ 3.13

รูปที่ 3.13 การฝงเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL BORING


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 74
และ พื้นที่พิเศษ

2.2.4 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบการวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธีดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก( SMALL


SLEEVE )

รูปที่ 3.14 การฝงเคเบิลใตดินแบบการวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธีดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 75
และ พื้นที่พิเศษ

2.2.5 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ PIPE JACKING ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-


015/44018 (การประกอบเลขที่ 7506) ดังรูปที่ 3.15

รูปที่ 3.15 การฝงเคเบิลใตดินแบบ PIPE JACKING


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 76
และ พื้นที่พิเศษ

2.3 ทอรอยสายเคเบิล
ผูออกแบบตองพิจารณาเลือกใชทอรอยสายเคเบิลใหมีความเหมาะสมกับรูปแบบการกอสรางแตละแบบดังนี้
2.3.1 กรณีกอสรางแบบรอยทอฝงดิน ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน ความหนาแนนสูง
ชั้นคุณภาพ PN 6.3 ทอไฟเบอรกลาส หรือทอ Corrugated โดยขนาดเสนผานศูนยกลางภายในของทอ
ตองไมนอยกวา 140 มม.
2.3.2 กรณีกอสรางแบบ DUCT BANK หรือ PIPE JACKING ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิ
เอทิลีน ความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 6.3 หรือ ทอไฟเบอรกลาส โดยขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน
ของทอตองไมนอยกวา 140 มม.
2.3.3 กรณีกอสรางแบบ DIRECTIONAL BORING ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน
ความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 8 หรือ PN 10 ขึ้นอยูกับระดับความลึกในการออกแบบโดยความลึก
มากที่สุดของทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 8 และPN 10 พิจารณาจากตารางที่ 3.11

ตารางที่ 3.11 ตารางระดับความลึกมากที่สุด ของการใชทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง


ระดับความลึกมากที่สุด (ม.)
ขนาดทอ (มม.)
ชั้นคุณภาพ PN8 ชั้นคุณภาพ PN10
75 4.20 8.20
90 4.20 8.20
110 4.20 8.20
125 4.20 8.20
140 4.20 8.20
160 2.00 4.00
180 2.00 4.00
200 2.00 4.00

2.4 จํานวนทอรอยสาย
ในการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาแบบใตดินนั้น ผูออกแบบควรที่จะออกแบบเผื่อในอนาคต
กรณีที่ความตองการใชกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้นหรือ เพื่อการบํารุงรักษา ดังนั้นจึงควรที่จะมีทอสํารองไว สําหรับ
จํานวนทอรอยสายใหพิจารณาใหเหมาะสมกับจํานวนวงจรและทอสํารองดังตารางที่ 3.12
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 77
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 3.12 ตารางแนะนําจํานวนทอสํารอง


จํานวนทอที่ใชงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
จํานวนทอที่สํารอง 1 1 1 2 1 2 2 2 3 2 4 3 5 4 6
จํานวนทอที่กอสราง 2 3 4 6 6 8 9 10 12 12 15 15 18 18 21

2.5 บอพักสายใตดิน(MANHOLE)
ผูออกแบบตองพิจารณาบอพักสายใตดิน ใหขนาดมีความเหมาะสมกับจํานวนวงจร และ ลักษณะการใช
งานโดยพิจารณาเลือกแบบ 2T-1 , 2T-2 , 2T-3 หรือ 2T-8 ตามแบบมาตรฐานของ กฟภ. โดยระยะหางของบอ
พักสายใตดินไมควรเกิน 250 เมตร
2.5.1 Type 2T - 1 และ 2T - 2 ใชสําหรับเปนจุดตอแยกสายเคเบิลใตดิน และการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดนิ
บริเวณปากทาง หรือทางแยก โดยสามารถรับเคเบิลใตดนิ ไดสงู สุด 12 วงจร ดังรูปที่ 3.16
2.5.2 Type 2T - 3 ใชสําหรับเปนจุดตอสายเคเบิลใตดินทางตรง และการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดิน บริเวณ
หนาสถานีไฟฟา หรือแยกถนน สามารถรับเคเบิลใตดินไดสูงสุด 12 วงจร ดังรูปที่ 3.17
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 78
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 3.16 บอพักชนิด 2T – 1(รูปบน) และ 2T – 2 (รูปลาง)


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 79
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 3.17 บอพักชนิด 2T – 3

2.5.3 Type 2T – 8 ใชสําหรับเปนจุดตอแยกสาย และการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดิน บริเวณปากทาง


หรือทางแยก สามารถรับเคเบิลใตดินไดสูงสุด 4 วงจร ดังรูปที่ 3.18

รูปที่ 3.18 บอพักชนิด 2T – 8


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 80
และ พื้นที่พิเศษ

กรณีที่กอสรางในพื้นที่เขตทางหลวงใหปฏิบัติตามขอกําหนดของกรมทางหลวงดังนี้
• ใหดานขางของบอพักสายดานที่อยูชิดเขตทางหลวง อยูหางจากแนวเขตทางหลวง 3.50 เมตร
• ใหดานบนของบอพักสาย ลึกจากผิวจราจรอยางนอย 3.50 เมตร ทุกกรณีไมวาระดับดินเดิมจะเปน
อยางไร
• กรณีบอพักต่ํากวาดินเดิมใหตอคอบอเสมอดินเดิม

2.6 เสาตน Riser


ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบเสาตน Riser Pole สําหรับจุดที่มีการเปลี่ยนชนิดของสายจากสายเหนือดิน
เปนเคเบิลใตดิน โดยการติดตั้งเสาตน Riser Pole ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA4-015/35003
(การประกอบเลขที่ 7603) หรือ แบบมาตรฐานเลขที่ SA4-015/35013 (การประกอบเลขที่ 3418) ดังรูปที่ 3.19

รูปที่ 3.19 การติดตั้งอุปกรณที่เสาตน RISER


หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 81
และ พื้นที่พิเศษ

2.7 การติดตั้งมิเตอรแรงสูง
การออกแบบการติดตั้งมิเตอรแรงสูง ใหพิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/39011 (การ
ประกอบเลขที่ 7702) สําหรับติดตัง้ ภายในอาคาร และ ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/39012 (การประกอบเลขที่
7703) สําหรับติดตัง้ ภายนอกอาคาร ดังรูปที่ 3.20

รูปที่ 3.20 การติดตั้งอุปกรณที่ตูมิเตอรแรงสูง การติดตั้งมิเตอรแรงสูงแบบภายในอาคาร(รูปบน)


การติดตั้งมิเตอรแรงสูงแบบภายนอกอาคาร(รูปลาง)
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 82
และ พื้นที่พิเศษ

2.8 การติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย
การออกแบบการติดตัง้ หมอแปลงระบบจําหนาย ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนาย
ดังนี้
2.8.1 ใหติดตั้งหมอแปลงในสถานีไฟฟาขนาดยอม(Compact Unit Substation) บนทางเทา ในกรณีที่มีพื้นที่เพียง
พอในการติดตั้ง
2.8.2 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และ แผงเมนสวิตซแรงต่ํา ในพื้นที่ของผูใชไฟฟา ซึ่ง
ผูใชไฟสามารถจัดเตรียมพื้นที่ให กฟภ. ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา
2.8.3 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และ แผงเมนสวิตซแรงต่ํา ในพื้นที่ที่ กฟภ. จัดหา
เฉพาะ โดยการซื้อหรือเชาพื้นที่เอกชน ในกรณีที่ไมมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทาง เทา และไมสามารถใช
พื้นที่ของผูใชไฟได
2.8.4 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) และ แผงเมนสวิตซแรงต่ํา ในหองใตดิน ในกรณีที่ไม
มีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา และไมสามารถใชพื้นที่ของผูใชไฟได รวมทั้ง กฟภ. ไมสามารถจัดหาพื้น
ที่เฉพาะโดยการซื้อหรือเชาพื้นที่เอกชนได แตตองการความเรียบรอย สวยงาม และปลอดภัย
2.8.5 ใหติดตั้งหมอแปลงพรอม RMU (Ring Main Unit) บนนั่งรานเสาคู หรือ ติดติดตั้งหมอแปลง บนนั่งราน
เสาคู โดยติดตั้ง RMU (Ring Main Unit) แยกในตําแหนงที่เหมาะสมตามสภาพพื้นที่ หรือขอจํากัดทาง
เทคนิค โดยใหเลือกตําแหนงที่อยูใน ซอย หรือถนนยอย หรือตําแหนงที่เหมาะสม และติดตั้งแผงเมน
สวิตซแรงต่ําในบริ เวณที่เหมาะสมทางเทคนิค ในกรณีที่ไ มมีพื้นที่ในการติดตั้งบนทางเทา และไม
สามารถใชพื้นที่ของผูใชไฟฟาได รวมทั้ง กฟภ. ไมสามารถจัดหาพื้นที่เฉพาะโดยการซื้อหรือเชาพื้นที่
เอกชนได แตไมตองการความเรียบรอย และสวยงาม
ทั้งนี้ใหพิจารณาเลือกรูปแบบการติดตั้งหมอแปลงระบบจําหนายรูปแบบที่ 1 กอนเปนลําดับแรก

2.9 การตอลงดิน
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบการตอลงดินสําหรับบอพัก และ สายเคเบิลใตดิน เพื่อใหเกิดความ
ปลอดภัยตอผูปฏิบัติงานและบํารุงรักษาระบบเคเบิลใตดิน โดยรายละเอียดการตอลงดินเปนดังนี้
2.9.1 การตอลงดินสําหรับบอพัก ใหพิจารณาตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/31023 (การประกอบเลขที่
7341) โดยคาความตานทานดินไมเกิน 5 โอหมในกรณีที่กอสรางไดยากยอมใหมีคาไมเกิน 25 โอหม ดัง
รูปที่ 3.21
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 83
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 3.21 การตอลงดินที่บอพัก

2.9.2 การตอลงดินสําหรับเคเบิลใตดินใหพิจารณาตามระยะทางของระบบเคเบิลใตดินตามแบบมาตรฐานเลขที่
SA1-015/46005 (การประกอบเลขที่ 7131) ดังรูปที่ 3.22 โดย
• ระยะทางของสายเคเบิลจากหัวเคเบิลถึงหัวเคเบิลหรือจาก Switchgear ถึงหัวเคเบิลไมเกิน 500 เมตร
ใหพิจารณาการตอลงดินเปนแบบตอลงดินทั้งสองปลาย(BOTH-ENDS BONDING)
• ระยะทางของสายเคเบิลจากหัวเคเบิลถึงหัวเคเบิลหรือจาก Switchgear ถึงหัวเคเบิลมากกวา 500
เมตร ใหพิจารณาการตอลงดินเปนแบบ ตอลงดินแบบหลายจุด(MULTI-POINTS BONDING)
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 84
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 3.22 การตอลงดินสําหรับเคเบิลใตดินแบบการตอลงดินทั้งสองปลาย(รูปบน) และ การตอลงดินแบบ


หลายจุด (รูปลาง)

2.10 ระยะหางของทอรอยสายกับสาธารณูปโภคอื่นๆ
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบระยะหางของทอรอยสายกับสาธารณูปโภคอื่นๆใหสอดคลองกับขอ 2.8
ในบทที่ 2

2.11 ขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ
2.11.1 กรณีใชพูลลิ่งอาย(Pulling Eye)ลากสายเคเบิล สายเคเบิลขนาด 240 ต.มม. แรงดึงลากสายไมเกิน 1,680
kg เมื่อรอยสาย 1 เสนตอทอ และไมเกิน 2,722 kg เมื่อรอยสาย 3 เสนตอทอ กรณีใชพูลลิ่งกริป(Pulling
Grip) 1 ชุดลากสายเคเบิล 1 เสน สําหรับสายเคเบิลขนาด 240 ต.มม. แรงดึงลากสายไมเกิน 453 kg เมื่อ
รอยสาย 1 เสนตอทอ และไมเกิน 906 kg เมื่อรอยสาย 3 เสนตอทอ
2.11.2 กรณีใชพูลลิ่งอาย(Pulling Eye)ลากสายเคเบิล สายเคเบิลขนาด 400 ต.มม. แรงดึงลากสายไมเกิน 2,268
kg เมื่อรอยสาย 1 เสนตอทอ และไมเกิน 2,722 kg เมื่อรอยสาย 3 เสนตอทอ กรณีใชพูลลิ่งกริป(Pulling
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 85
และ พื้นที่พิเศษ

Grip) 1 ชุดลากสายเคเบิล 1 เสน สําหรับสายเคเบิลขนาด 400 ต.มม. แรงดึงลากสายไมเกิน 453 kg เมื่อ


รอยสาย 1 เสนตอทอ และไมเกิน 906 kg เมื่อรอยสาย 3 เสนตอทอ
2.11.3 SIDE WALL PRESSURE ตองไมเกิน 446 kg/m
2.11.4 รัศมีความโคงของสายเคเบิลตองไมนอยกวา 15 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของสาย
2.11.5 แรงดันตกในสายเคเบิล ซึ่งมาตรฐานแรงดันตก ในสภาวะปกติกําหนดไว ± 5% และสภาวะฉุกเฉิน
กําหนดไว ± 10%
2.11.6 การตอสายใหพิจารณาใชวิธีการและวัสดุที่เหมาะสมในการตอสายเคเบิล และในกรณีที่กอสรางแบบ
รอยทอฝงดิน หรือ DUCT BANK ใหตอสายเคเบิลในบอพักสายเทานั้น
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 86
และ พื้นที่พิเศษ

บทที่ 4 การออกแบบ การติดตั้ง และ การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบ


จําหนายแรงต่ํา 400/230 V

เนื่องจากพื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ และ พื้นที่พิเศษ เปนพื้นที่ที่มี


ความสําคัญและมีประชากรอาศัยอยูกันอยางหนาแนน ดังนั้นการออกแบบ และ การติดตั้งระบบจําหนายตอง
พิจารณาและคํานึงถึงความปลอดภัย ความสวยงาม และ ความเชื่อไดของระบบไฟฟา ซึ่งรูปแบบในการออกแบบ
ระบบจําหนายแรงต่ําสามารถพิจารณาได 2 รูปแบบ ไดแก ระบบจําหนายแรงต่ําที่เปนสายอากาศ และ ระบบ
จําหนายแรงต่ําเปนเคเบิลใตดิน กรณีที่กอสรางระบบจําหนายแรงต่ําในยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยว
ที่สําคัญ ใหการกอสรางระบบจําหนายแรงต่ําเปนเคเบิลใตดิน แตสําหรับกรณีที่กอสรางระบบจําหนายแรงต่ํา
ผานพื้นที่นอกเหนือจากยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ ใหกอสรางระบบจําหนายแรงต่ําเปน
สายอากาศ แตในกรณีที่ตองการความสวยงามหรือกรณีที่ระยะหางทางไฟฟาระหวางสายไฟกับพื้นดินไมเพียง
พอ สามารถพิจารณาใชสายหุมฉนวนแรงต่ําตีเกลียว ซึ่งการออกแบบและรายละเอียดในการออกแบบเปนดังนี้:

1 การออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศ
การออกแบบ การติดตั้ง และ เลือกใชงานอุปกรณในระบบจําหนายแรงต่ําที่เปนสายอากาศมีขอพิจารณา
ดังนี้
1.1 ชนิดและขนาดของสายจําหนายแรงต่ําที่เปนสายอากาศ
การออกแบบสายจําหนายแรงต่ําที่เปนสายอากาศ สามารถออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําเปนไดทั้งสาย
อะลูมิเนียมหุมฉนวนพีวีซี. 750 โวลต 70 องศาเซลเซียส มอก. 293 และ สายอะลูมิเนียมหุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิ
เอทิลีน 0.6/1 kV 90 องศาเซลเซียส (CV)
ทั้งนี้สายเฟส A, B, C และ N ตองเปนสายอะลูมิเนียมหุมฉนวน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 87
และ พื้นที่พิเศษ

ขนาดสายไฟฟาใหพิจารณาจากขนาดกระแสของโหลด โดยขนาดของสายไฟใหพิจารณาจากตารางที่
4.1 และ ตารางที่ 4.2 สําหรับสายอะลูมิเนียมหุมฉนวนพีวีซี. และ สายอะลูมิเนียมหุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน
(CV) ตามลําดับ
ผูออกแบบสามารถพิจารณาเลือกขนาดสายไฟฟาจากหมอแปลงแตละขนาดตามตารางที่ 4.3 และ 4.4
สําหรับสายอะลูมิเนียมหุมฉนวนพีวีซี. และ สายอะลูมิเนียมหุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน(CV) ตามลําดับ

ตารางที่ 4.1 ตารางขนาดกระแสของสายอะลูมิเนียมหุมฉนวน พีวีซี. อุณหภูมิตัวนํา 70 องศาเซลเซียส ขนาดแรง


ดัน 750 โวลต อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส
ขนาดกระแส(แอมป)
ขนาดพื้นที่หนาตัดของสาย วิธีการติดตั้ง
(ตร.มม.)

วิธี ก. วิธี ข.
25 73 86
35 91 108
50 111 132
70 144 171
95 177 210
120 206 245
185 274 327
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 88
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 4.2 ตารางพิกัดกระแสใชงานของสายอะลูมิเนียมหุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน(CV) อุณหภูมิตัวนํา 90


องศาเซลเซียส ขนาดแรงดัน 600/1,000 โวลต อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส
ขนาดกระแส(แอมป)
ขนาดพื้นที่หนาตัดของสาย วิธีการติดตั้ง
(ตร.มม.)

วิธี ก. วิธี ข.
25 94 111
35 117 139
50 150 171
70 187 222
95 230 273
120 269 319
185 359 428

หมายเหตุ ตารางที่ 4.1 และ 4.2


1. คากระแสของตารางทั้งสองนี้อางอิงจากมาตรฐาน IEC 60364-5-52
2. วิธี ก. หมายถึง การเดินสายหุมฉนวนแรงต่ําตีเกลียว
3. วิธี ข. หมายถึง การเดินสายหุมฉนวนแรงต่ําบนฉนวนแรงต่ํา
4. De หมายถึง เสนผานศูนยกลางภายนอกของสาย
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 89
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 4.3 ตารางการเลือกใชงานสายอะลูมิเนียมหุมฉนวน พีวีซี.


ขนาดหมอ กระแสโหลด ขนาดสายไฟฟาหุมฉนวน พีวีซี.
แปลง เต็มดานแรงต่ํา (ตร.มม)
(kVA) (แอมป)
50 72.2 50 - - -
100 144.3 95 2x50 - -
160 230.9 120 2x50 - -
250 360.8 - 2x95 - -
315 454.7 - 2x120 3x95 -
500 721.7 - - 3x120 4x95
หมายเหตุ
1. ขนาดสายจากตารางนี้คิดจากขนาดกระแสของตารางที่ 4.1 วิธี ข.
2. ในกรณีที่ระบบจําหนายแรงต่ํามีระยะทางยาว ใหพิจารณาแรงดันตกดวย

ตารางที่ 4.4 ตารางการเลือกใชงานสายอะลูมิเนียมหุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน(CV)


ขนาดหมอ กระแสโหลด ขนาดสายไฟฟาหุมฉนวน ครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน
แปลง เต็มดานแรงต่ํา (ตร.มม)
(kVA) (แอมป)
50 72.2 35 - - -
100 144.3 50 2x35 - -
160 230.9 95 2x50 - -
250 360.8 120 2x95 - -
315 454.7 - 2x95 3x95 -
500 721.7 - 2x185 3x120 4x95
หมายเหตุ
1. ขนาดสายจากตารางนี้คิดจากขนาดกระแสของตารางที่ 4.2 วิธี ข.
2. ในกรณีที่ระบบจําหนายแรงต่ํามีระยะทางยาว ใหพิจารณาแรงดันตกดวย

ในการออกแบบขนาดสายไฟฟาใหพิจารณาแรงดันตกในสายดวย ซึ่งมาตรฐานแรงดันตกของสายไฟฟาใน
สภาวะปกติกําหนดไวไมเกิน 10%
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 90
และ พื้นที่พิเศษ

1.2 เสาและระยะหางระหวางเสา
ผูออกแบบควรพิจารณาเลือกเสาและระยะหางระหวางเสาใหเหมาะสมกับจํานวนของวงจรในระบบ
จําหนายแรงต่ํา ในการพาดสายแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย หรือ 3 สาย จํานวน 1 วงจร ใหใชเสา 8 เมตร ระยะหาง
ระหวางเสาไมเกิน 40 เมตร สําหรับการพาดสายแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย จํานวน 1 วงจร ใหใชเสา 9 เมตร ระยะหาง
ระหวางเสาไมเกิน 40 เมตร และ การพาดสายแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย จํานวน 2 วงจร ใหใชเสา 9 เมตร ระยะหาง
ระหวางเสาไมเกิน 20 เมตร

1.3 ฉนวนของระบบจําหนายแรงต่ํา
ฉนวนของระบบจําหนายแรงต่ํา เรียกวา ลูกรอกแรงต่ํา ซึ่งลูกรอกดังกลาวตองผานการทดสอบตาม
มาตรฐาน มอก. 227 แบบ ข. โดยการติดตั้งกับแร็ค ดังแสดงตัวอยางการติดตั้งลูกรอกแรงต่ํากับแร็คในรูปที่
4.1

รูปที่ 4.1 ตัวอยางการติดตั้งลูกรอกแรงต่ํากับแร็ค 4x200 มม.

1.4 การติดตั้งกับดักเสิรจแรงต่ํา และ การตอสายนิวทรัลลงดิน


เนื่องจากการติดตั้งกับดักเสิรจแรงต่ํา และ การตอสายนิวทรัลลงดินเปนการจํากัดแรงดันไฟฟาเกินพิกัด และ
ปองกันอุปกรณไฟฟาชํารุด รวมทั้งเกิดความปลอดภัยตอผูปฎิบัติงานและผูใชไฟในกรณีที่มีกระแสไฟฟารั่วเกิด
ขึ้น สําหรับการตอสายนิวทรัลลงดินในระบบจําหนายแรงต่ําที่ดีนั้นจะทําใหการปองกันดังกลาวมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นผูออกแบบตองพิจารณาใชสายทองแดงขนาด 25 ตร.มม. เปนสายดินและเดินในทอรอยสาย รวมทั้ง
หลักดินที่เปนแทงเหล็กอาบสังกะสี ซึ่งการเชื่อมตอระหวางสายดินเขากับหลักดินใหใชวิธีเชื่อมดวยความรอน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 91
และ พื้นที่พิเศษ

สําหรับการติดตั้งกับดักเสิรจแรงต่ํา และ การตอสายนิวทรัลลงดินใหดําเนินการดังนี้


1.4.1 การติดตั้งกับดักเสิรจแรงต่ํา
ผูออกแบบตองพิจารณาติดตั้งกับดักเสิรจแรงต่ํา เพื่อจํากัดแรงดันไฟฟาเกินพิกัด และ ปองกันอุปกรณ
ไฟฟาตองติดตั้งกับดักเสิรจแรงต่ําตามลักษณะและตําแหนงตางๆดังนี้
1) ที่จุดเชื่อมตอสายระหวางสายเคเบิลใตดินกับสายอากาศ
2) ที่สายระบบจําหนายแรงต่ําออกจากบุชชิ่งหมอแปลงบนนั่งรานหมอแปลง
3) ที่ปลายสาย และ ปลายสาขาของระบบจําหนายแรงต่ํา
4) ที่จุดแยกสายระบบจําหนายแรงต่ํา ซึ่งหางจากตําแหนงที่ติดตั้งกับดักเสิรจตําแหนงอื่นๆ เทากับหรือมากกวา
200 เมตร
5) ที่สายระบบจําหนายแรงต่ํา ตองติดตั้งกับดักเสิรจทุกๆระยะไมเกิน 400 เมตร และ ในยานฟาผารุนแรงใหติด
ตั้งกับดักเสิรจเพิ่มเติมตามความเหมาะสม

1.4.2 การตอสายนิวทรัลลงดิน
ผูออกแบบตองพิจารณาตอสายนิวทรัลลงดินตามลักษณะ และ ตําแหนงตางดังนี้
1) ที่ตําแหนงติดตั้งกับดักเสิรจ ยกเวน ที่สายระบบจําหนายแรงต่ําออกจากบุชชิ่งหมอแปลงบนนั่งรานหมอ
แปลง
2) ที่เสาตนถัดจากนั่งรานหมอแปลง ซึ่งหางจากนั่งรานหมอแปลงเทากับหรือมากกวา 20 เมตร
3) ที่จุดแยกสายระบบจําหนายแรงต่ํา

หมายเหตุ
1. คาความตานทานดินของสายดินแตละจุดตองไมเกิน 5 โอหม แตถาหากพื้นที่ยากแกการตอลงดิน ยอมใหคา
ความตานทานดินของเสาระบบจําหนายแตละตนตองไมเกิน 25 โอหม
2. คาความตานทานดินรวมของสายนิวทรัลในระบบจําหนายแรงต่ําทั้งหมดตองไมเกิน 2 โอหม
3. ถาคาความตานทานดินรวมของสายนิวทรัลในระบบจําหนายแรงต่ําทั้งหมดเกินกวา 2 โอหม ตองตอสาย
นิวทรัลลงดินเพิ่มอีกตามความเหมาะสม
4. สายนิวทรัลและกับดักเสิรจตองตอลงดินรวมกันโดยใชสายดินและหลักดินรวมกัน ยกเวน ที่สายระบบ
จําหนายแรงต่ําออกจากบุชชิ่งหมอแปลงบนนั่งรานหมอแปลง และ ที่เสาตนถัดจากนั่งรานหมอแปลง ซึ่ง
หากจากนั่งรานหมอแปลงเทากับหรือมากกวา 20 เมตร
5. หลีกเลี่ยงการตอสายนิวทรัลลงดินที่เสาระบบจําหนายแรงสูง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 92
และ พื้นที่พิเศษ

1.5 การปองกันรถชนเสา
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบเสาใหสามารถปองกันรถชนเสาใหสอดคลองกับขอ 1.6 ในบทที่ 2

1.6 ระยะหางทางไฟฟา
ผูออกแบบตองพิจารณาระยะหางทางไฟฟาใหสอดคลองกับขอ 1.7 ในบทที่ 2

1.7 จํานวนวงจรสูงสุดตอตนเสา
ผูออกแบบควรพิจารณาออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศไมใหเกิน 2 วงจรตอตนเสา เพื่อ
เพิ่มความเชื่อถือไดของระบบ สะดวกในการปฏิบัติงาน และ การบํารุงรักษาระบบจําหนาย โดยผูออกแบบให
พิจารณาออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําที่เปนสายอากาศ 2 วงจร

1.8 การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา
การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา สามารถติดตั้งได 2 รูปแบบ ไดแก ติดตั้งมิเตอรบนเสา และ ติดตั้งมิเตอรที่เมน
ชายคา ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของอาคารของผูใชไฟ
สําหรับการติดตั้งมิเตอร 1 เฟส บนเสา จํานวนมิเตอรตองไมเกิน 8 เครื่อง (ขางละ 4 เครื่อง) โดยพิจารณา
ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA4-015/37030 (การประกอบเลขที่ 0524A) สําหรับเสา 8 เมตร และ แบบมาตรฐาน
เลขที่ SA4-015/37033 (การประกอบเลขที่ 0525A) สําหรับเสา 9 เมตร ดังที่แสดงการติดตั้งในรูปที่ 4.2 โดยที่
ระยะหางระหวางเสาที่ติดตั้งมิเตอรกับแผงเมนสวิตชของผูใชไฟตองขึ้นอยูกับขนาดสายเมน และ โหลดของผูใช
ไฟ
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 93
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.2 การติดตั้งมิเตอรบนเสา

สําหรับการติดตั้งมิเตอรที่เมนชายคา ใหพิจารณา ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/24021 (การ


ประกอบเลขที่ 0517) สําหรับมิเตอร 1 เฟส และ แบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/23057 (การประกอบเลขที่ 0523)
สําหรับมิเตอร 3 เฟส ดังที่แสดงการติดตั้งในรูปที่ 4.3 ในกรณีที่มีการตกแตงอาคาร และ จําเปนตองปดสายเมน
ชายคาและมิเตอร ชวงที่ปดสายและมิเตอรจะตองจัดทําเปนแบบที่สามารถเปดหรือรือถอนไดงาย โดยไมเกิด
ความเสียหาย เพื่อใหสามารถสามารถแกไขเปลี่ยนสายเมนชายคา และ มิเตอรไดงาย รวมทั้ง สะดวกตอการอาน
จดหนวยมิเตอรดวย
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 94
และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.3 การติดตั้งมิเตอรที่เมนชายคาที่ใตกันสาด(รูปบน) และ ที่เมนชายคาที่เหนือกันสาด (รูปลาง)

1.10 หลีกเลี่ยงการติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 400/230 V บนเสาระบบสายสง 115 kV


ผูออกแบบควรพิจารณาหลีกเลี่ยงการติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 400/230 V บนเสาระบบสายสง 115 kV เพราะ
อาจจะเปนสาเหตุที่ทําใหมิเตอรชํารุดเสียหายได เนื่องจากแรงดันเหนี่ยวนําที่เกิดจากกระแสลัดวงจรของระบบ
สายสง 115 kV ลงดิน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 95
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

2 การออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําเปนเคเบิลใตดิน
การออกแบบ การติดตั้ง และการเลือกใชงานอุปกรณในระบบจําหนายแรงต่ําที่เปนเคเบิลใตดิน สําหรับ
กรณีที่กอสรางผานพื้นที่ยานธุรกิจที่สําคัญ หรือ สถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญ หรือ บริเวณที่ไมสามารถกอสราง
ระบบจําหนายแรงต่ําเปนสายอากาศได โดยมีขอพิจารณาดังนี้

2.1 ชนิดและขนาดของสายคเบิลใตดิน
การออกแบบสายจําหนายแรงต่ําที่เปนเคเบิลใตดิน สามารถออกแบบระบบจําหนายแรงต่ําไดทั้งสาย
ทองแดงหุม ฉนวนพีวซี .ี 750 โวลต 70 องศาเซลเซียส ตารางที่ 6 มอก. 11 (NYY) และสายทองแดงหุม ฉนวนครอสสลงิ้
โพลิเอทิลนี 0.6/1 กิโลโวลต 90 องศาเซลเซียส (CV) ขนาดของสายไฟฟาใหพิจารณาจากขนาดกระแสของโหลด
โดยใหพิจารณาจากตารางที่ 4.5 สําหรับสายทองแดงหุมฉนวนพีวีซี. และ จากตารางที่ 4.6 สําหรับสายทองแดง
หุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน

ตารางที่ 4.5 ตารางพิกัดกระแสใชงานของสายทองแดงหุมฉนวนพีวีซี. 750 โวลต 70 องศาเซลเซียส ตารางที่ 6


มอก. 11 (NYY) อุณหภูมิโดยรอบ 30 องศาเซลเซียส
ขนาด พิกัดกระแสใชงานตอวงจร(แอมแปร)
ความลึก
สาย(ต. จํานวนวงจร
(ม.)
มม.) 1 2 3 4 5 6 7 8
0.15 94 92 89 89 88 87 87 87
0.30 91 87 83 81 79 78 77 77
25 0.45 90 84 79 77 74 73 72 71
0.60 88 82 77 74 71 70 68 67
0.90 87 79 73 70 67 65 64 62
0.15 115 112 109 108 106 106 105 105
0.30 111 105 100 98 95 94 93 92
35 0.45 109 101 95 92 89 88 86 85
0.60 107 99 92 89 85 83 82 80
0.90 105 96 88 84 81 78 76 74
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 96
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 4.5 ตารางพิกัดกระแสใชงานของสายทองแดงหุมฉนวนพีวีซี. 750 โวลต 70 องศาเซลเซียส ตารางที่ 6


มอก. 11 (NYY) อุณหภูมิโดยรอบ 30 องศาเซลเซียส (ตอ)
ขนาด พิกัดกระแสใชงานตอวงจร(แอมแปร)
ความลึก
สาย(ต. จํานวนวงจร
(ม.)
มม.) 1 2 3 4 5 6 7 8
0.15 137 133 129 128 126 126 125 125
0.30 132 124 118 115 113 111 110 109
50 0.45 129 120 112 109 105 103 102 100
0.60 127 117 109 105 101 98 96 95
0.90 125 113 104 99 95 92 89 87
0.15 169 164 159 157 155 154 154 153
0.30 162 153 145 141 138 136 134 133
70 0.45 159 147 137 133 129 126 124 122
0.60 156 143 133 127 123 120 117 115
0.90 153 138 127 121 115 112 108 106
0.15 207 200 193 191 189 188 187 186
0.30 198 186 175 171 167 164 162 161
95 0.45 193 178 166 160 155 152 149 147
0.60 190 173 160 153 147 144 140 138
0.90 186 167 153 145 138 134 130 127
0.15 240 231 223 220 218 216 215 214
0.30 229 214 201 196 191 188 186 184
120 0.45 223 205 190 183 177 173 170 167
0.60 219 199 183 175 168 164 160 157
0.90 214 191 174 165 157 152 147 144
0.15 314 301 289 285 282 280 278 277
0.30 298 276 259 251 244 241 237 235
185 0.45 289 263 243 234 225 220 216 213
0.60 284 255 234 223 214 208 202 199
0.90 277 245 222 210 199 192 186 182
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 97
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

หมายเหตุ
1) ลักษณะการติดตั้ง

ความลึก

2) วงจร หมายถึง สายเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V 3 เฟส 4 สาย (แตละเฟสใชสายจํานวน


1 เสน)
3) คาโหลดแฟคเตอร 100%
4) อุณหภูมิตัวนําสูงสุด 90 0C
5) อุณหภูมิโดยรอบ 30 0C
6) คาความตานทานความรอนของดิน 1.2 K.m/W
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 98
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 4.6 ตารางพิกัดกระแสใชงานของสายทองแดงหุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน 0.6/1 กิโลโวลต 90 องศา


เซลเซียส (CV) อุณหภูมิโดยรอบ 30 องศาเซลเซียส
ขนาด พิกัดกระแสใชงานตอวงจร(แอมแปร)
ความลึก
สาย(ต. จํานวนวงจร
(ม.)
มม.) 1 2 3 4 5 6 7 8
0.15 106 104 101 100 99 99 99 98
0.30 103 98 94 92 90 89 89 88
25 0.45 101 95 90 88 85 84 83 82
0.60 100 93 88 85 82 80 79 78
0.90 99 91 85 81 78 76 74 72
0.15 129 125 122 121 120 120 119 119
0.30 125 119 113 111 109 108 106 106
35 0.45 123 115 109 105 103 101 99 98
0.60 121 113 106 102 98 96 94 93
0.90 119 109 101 97 93 90 88 86
0.15 156 151 147 146 144 144 143 143
0.30 151 143 136 133 130 129 127 126
50 0.45 148 138 130 126 122 120 118 116
0.60 146 135 126 121 117 114 112 110
0.90 143 131 121 115 110 107 104 102
0.15 194 188 182 180 179 178 177 176
0.30 187 176 168 164 160 158 156 155
70 0.45 183 170 160 155 150 147 144 143
0.60 181 166 155 149 143 140 137 135
0.90 177 161 148 141 135 131 127 124
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 99
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 4.6 ตารางพิกัดกระแสใชงานของสายทองแดงหุมฉนวนครอสสลิ้งโพลิเอทิลีน 0.6/1 กิโลโวลต 90 องศา


เซลเซียส (CV) อุณหภูมิโดยรอบ 30 องศาเซลเซียส (ตอ)
ขนาด พิกัดกระแสใชงานตอวงจร(แอมแปร)
ความลึก
สาย(ต. จํานวนวงจร
(ม.)
มม.) 1 2 3 4 5 6 7 8
0.15 239 231 224 221 219 218 217 216
0.30 230 216 204 199 195 192 190 188
95 0.45 225 208 194 187 181 178 174 172
0.60 222 202 188 180 173 169 165 162
0.90 217 195 179 170 162 157 153 149
0.15 276 266 257 254 251 250 249 248
0.30 264 248 234 228 222 219 216 214
120 0.45 258 238 222 214 207 202 198 196
0.60 254 231 214 205 197 192 187 184
0.90 249 223 204 193 184 178 173 169
0.15 361 347 334 330 326 324 322 321
0.30 344 321 301 293 285 281 277 275
185 0.45 336 307 284 274 264 258 253 250
0.60 330 298 274 261 251 244 238 234
0.90 322 286 260 246 234 226 219 214

หมายเหตุ
1) ลักษณะการติดตั้ง

ความลึก
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 100
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

2) วงจร หมายถึง สายเคเบิลใตดินระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V 3 เฟส 4 สาย (แตละเฟสใชสายจํานวน


1 เสน)
3) คาโหลดแฟคเตอร 100%
4) อุณหภูมิตัวนําสูงสุด 90 0C
5) อุณหภูมิโดยรอบ 30 0C
6) คาความตานทานความรอนของดิน 1.2 K.m/W

ในการออกแบบขนาดสายไฟฟาใหพิจารณาแรงดันตกในสายดวย ซึ่งมาตรฐานแรงดันตกของสายไฟฟา
ในสภาวะปกติกําหนดไวไมเกิน 10% โดยผูออกแบบสามารถพิจารณาหาคาเปอรเซ็นตแรงดันตกไดจากกราฟ
ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/49014 (การประกอบเลขที่ 7123)

2.2 รูปแบบการกอสราง
การกอสรางระบบจําหนายเคเบิลใตดินแรงต่ํา สามารถพิจารณารูปแบบการกอสรางไดหลายวิธี ซึ่งใน
การพิจารณาวาจะเลือกใชรูปแบบการกอสรางแบบใด ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่หนางาน และ คาใชจายในการกอ
สราง โดยรูปแบบการกอสรางใหพิจารณาในลักษณะรอยสายในทอเพื่อใหงายและใชเวลานอยในการบํารุงรักษา
ระบบ สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน ใชกรณีทสี่ ภาพพื้นที่หนางานสามารถขุดเปดหนาดินได
สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดนิ แบบ DIRECTIONAL BORING และแบบการวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธี
ดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก ใชในกรณีทสี่ ภาพพื้นที่หนางานไมสามารถขุดเปดหนาดินได ซึ่งรายละเอียดในการ
กอสรางแตและแบบมีรายละเอียดดังนี้
2.2.1 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบรอยทอฝงดิน ใหกอสรางตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/36022 (การ
ประกอบเลขที่ 7402) ดังรูปที่ 4.4 หรือแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/36023 (การประกอบเลขที่ 7403) ดังรูปที่
4.5 และ ความลึกในการฝงทอรอยสายใหพิจารณาตามตารางที่ 4.7
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 101
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.4 การฝงเคเบิลใตดิน ในทอรอยสายประเภทโลหะ

รูปที่ 4.5 การฝงเคเบิลใตดิน ในทอรอยสายประเภทอโลหะ

ตารางที่ 4.7 ความลึกนอยที่สุดของการฝงทอรอยสาย


มี หรือ ไมมี ความลึกนอยที่สุดของการฝงทอรอยสาย (มม.)
ประเภททอรอยสาย แผนคอนกรีตปด
ใตพื้นดินทั่วไป ใตบริเวณทางเทา ใตถนน
ดานบน
มี 300 300 600
HDPE
ไมมี 450 450 -
RSC ไมมี 150 150 600
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 102
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

2.2.2 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL BORING ใหกอสรางตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-


015/37022 (การประกอบเลขที่ 7404) ดังรูปที่ 4.6 และ ความลึกที่ไมทําใหทอชํารุดในการกอสรางโดยใช
ทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN6.3 PN 8 และPN 10 พิจารณาจากตารางที่ 4.8

รูปที่ 4.6 การฝงเคเบิลใตดินแบบ DIRECTIONAL BORING

ตารางที่ 4.8 ตารางระดับความลึกมากที่สุด ของการใชทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง


ระดับความลึกมากที่สุด (ม.)
ขนาดทอ (มม.)
ชั้นคุณภาพ PN6.3 ชั้นคุณภาพ PN8 ชั้นคุณภาพ PN10
75 2.00 4.20 8.20
90 2.00 4.20 8.20
110 2.00 4.20 8.20
125 2.00 4.20 8.20
140 2.00 4.20 8.20
160 - 2.00 4.00
180 - 2.00 4.00
200 - 2.00 4.00
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 103
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

2.2.3 การกอสรางเคเบิลใตดินแบบการวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธีดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก(SMALL
SLEEVE) ใหกอสรางตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/38008 (การประกอบเลขที่ 7505) ดังรูปที่ 4.7

รูปที่ 4.7 การฝงเคเบิลใตดินแบบการวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธีดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก

2.3 ทอรอยสายเคเบิล
2.3.1 กรณีกอสรางแบบรอยทอฝงดิน ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอทิลีน ความ
หนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 6.3 ทอไฟเบอรกลาส ทอ Corrugated หรือทอโลหะหนา(RSC)
โดยขนาดของทอพิจารณาจากตารางที่ 4.9-4.10
2.3.2 กรณีกอสรางแบบ DIRECTIONAL BORING ทอรอยสายที่ใชสามารถเลือกใชไดทั้งทอโพลิเอ
ทิลีน ความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 6.3 หรือ PN 8 หรือ PN 10 ขึ้นอยูกับระดับความลึกใน
การออกแบบ โดยขนาดของทอพิจารณาจากตารางที่ 4.10
2.3.3 กรณีกอสรางแบบวางทอรอยสายลอดใตถนนโดยวิธีดันทอเหล็กปลอกขนาดเล็ก (SMALL
SLEEVE) ทอรอยสายทีใ่ ชสามารถเลือกใชไดทงั้ ทอโพลิเอทิลนี ความหนาแนนสูงชัน้ คุณภาพ PN
6.3 หรือ ทอไฟเบอรกลาส โดยขนาดของทอพิจารณาจากตารางที่ 4.10
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 104
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 4.9 ตารางเลือกขนาดทอรอยสายไฟฟาชนิด ทอโลหะหนา(RSC) และทอไฟเบอรกลาส


ขนาดสายเคเบิลใหญสุด(ต.มม.)
ขนาดทอ
เคเบิล 2 เสนตอทอ เคเบิล 4 เสนตอทอ
(มม.)
NYY CV NYY CV
25 2.5 16 - 6
32 10 35 2.5 16
40 25 70 10 35
50 70 120 25 70
65 120 185 70 120
80 185 300 120 185
90 300 400 185 240

ตารางที่ 4.10 ตารางเลือกขนาดทอรอยสายไฟฟาชนิด ทอโพลิเอทิลีน ความหนาแนนสูงชั้นคุณภาพ PN 6.3 หรือ


PN 8 หรือ PN 10
ขนาดสายเคเบิลใหญสุด(ต.มม.)
ขนาดทอ
เคเบิล 2 เสนตอทอ เคเบิล 4 เสนตอทอ
(มม.)
NYY CV NYY CV
25 - 6 - -
32 2.5 16 - 10
40 10 35 4 16
50 25 70 16 35
63 70 120 35 70
75 120 185 70 120
90 185 240 120 185
110 240 400 185 240
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 105
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

2.4 จํานวนทอรอยสาย
ในการออกแบบระบบการจายกระแสไฟฟาแบบเคเบิลใตดินนั้น ผูออกแบบควรที่จะออกแบบเผื่อใน
อนาคตกรณีที่ความตองการใชกระแสไฟฟาเพิ่มขึ้นหรือ เพื่อการบํารุงรักษา ดังนั้นจึงควรที่จะมีทอสํารองไว
สําหรับจํานวนทอรอยสายใหพิจารณาใหเหมาะสมกับจํานวนวงจรและทอสํารองดังตารางที่ 4.11

ตารางที่ 4.11 ตารางแนะนําจํานวนทอสํารอง

จํานวนทอที่ใชงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
จํานวนทอที่สํารอง 1 1 1 2 1 2 2 2 3 2
จํานวนทอที่กอสราง 2 3 4 6 6 8 9 10 12 12

2.5 บอพักสายเคเบิลใตดิน(HANDHOLE)
ผูออกแบบตองพิจารณาเลือกใชบอพักสายเคเบิลใตดินใหเหมาะสมกับลักษณะพื้นที่ใชงานโดยพิจารณา
เลือกแบบ HH-1 หรือ HH-2 ตามแบบมาตรฐานของ กฟภ. โดยระยะหางของบอพักสายใตดินไมควรเกิน 250
เมตร
2.5.1 แบบ HH-1 ใชสําหรับเปนจุดตอสาย จุดแยกสาย และการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดนิ เหมาะสําหรับ
กอสรางบริเวณพื้นผิวจราจร โดยสามารถรับเคเบิลใตดนิ ไดสงู สุด 3 วงจร และขนาดสายไมเกิน 185
ต.มม. (สาย CV หรือ NYY) ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/46009 (การประกอบเลขที่ 7360) ดัง
รูปที่ 4.8
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 106
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.8 บอพักสายเคเบิลใตดิน แบบ HH-1

2.6.2 แบบ HH-2 ใชสําหรับเปนจุดตอสาย จุดแยกตรง และการเลี้ยวโคงของเคเบิลใตดิน เหมาะสําหรับ


กอสรางบริเวณทางเทา โดยสามารถรับเคเบิลใตดินไดสูงสุด 3 วงจร และขนาดสายไมเกิน 185 ต.
มม. (สาย CV หรือ NYY) ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/46010 (การประกอบเลขที่ 7361) ดังรูป
ที่ 4.9
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 107
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.9 บอพักสายเคเบิลใตดิน แบบ HH-2

2.6 เสาตนขึ้นสายเคเบิลใตดินแรงต่ํา (Cable Riser)


ในกรณีที่ตองการเชื่อมตอสายเคเบิลใตดินแรงต่ําเขากับระบบจําหนายแรงต่ําที่เมนชายคาตัวอาคารให
พิจารณาออกแบบตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/49013 (การประกอบเลขที่ 7405) ดังรูปที่ 4.11-รูปที่ 4.13
ในกรณีที่มีการตอแยกสายเขากับระบบจําหนายแรงต่ําที่เมนชายคาหรือระบบจําหนายแรงต่ําสายอากาศ ให
ผูออกแบบพิจารณาติดตั้งอุปกรณปองกันที่จุดตอแยกสายตามความเหมาะสม
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 108
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.11 การติดตั้งระบบเคเบิลใตดินแรงต่ําชวงตอเชื่อมที่เมนชายคาตัวอาคาร


กรณีระบบจําหนายแรงต่ําอยูใตเมนชายคา
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 109
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.12 การติดตั้งระบบเคเบิลใตดินแรงต่ําชวงตอเชื่อมที่เมนชายคาตัวอาคาร


กรณีระบบจําหนายแรงต่ําอยูเหนือเมนชายคา
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 110
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.13 การติดตั้งระบบเคเบิลใตดินแรงต่ําชวงตอเชื่อมที่เมนชายคาตัวอาคาร


กรณีสายเคเบิลใตดินแรงต่ําขึ้นระหวางอาคาร
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 111
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

2.7 ตูมิเตอรแรงต่ํา
ผูออกแบบตองพิจารณาออกแบบการติดตั้งมิเตอร โดยพิจารณาจากชนิดของมิเตอร และ จํานวนมิเตอรที่
แตกตางกันตามแบบมาตรฐานของ กฟภ. ดังนี้
2.7.1 กรณีติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 1-2 เครื่อง ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/49015 (การ
ประกอบเลขที่ 7406) ดังรูปที่ 4.14

รูปที่ 4.14 การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 1-2 เครื่อง

2.7.2 กรณีติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 3-4 เครื่อง ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/49016 (การ
ประกอบเลขที่ 7407) ดังรูปที่ 4.15
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 112
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.15 การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 3-4 เครื่อง

2.7.3 กรณีติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย ตั้งแต 1-2 เครื่อง ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/49017 (การ
ประกอบเลขที่ 7408) ดังรูปที่ 4.16
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 113
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.16 การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย หรือ มิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 1-2 เครื่อง

2.7.4 กรณีติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย ตั้งแต 3-4 เครื่อง ตามแบบมาตรฐานเลขที่ SA1-015/49018 (การ
ประกอบเลขที่ 7409) ดังรูปที่ 4.17
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 114
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.17 การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย หรือ มิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 3-4 เครื่อง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 115
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

2.8 ตูจายไฟฟาแรงต่ํา
ผูออกแบบตองพิจารณาเลือกใชงานตูจายไฟฟาแรงต่ําตามลักษณะรูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบ
จําหนายแรงต่ําวาเปนแบบรัศมี หรือ วงรอบเปด ดังนี้
2.8.1 กรณีออกแบบรูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายแรงต่ําเปนแบบรัศมี ใหใชตูจายไฟฟาแรง
ต่ํา ดังรูปที่ 4.18

รูปที่ 4.18 ตูจายไฟฟาแรงต่ํากรณีรูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนแบบรัศมี

2.8.2 กรณีออกแบบรูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายแรงต่ําเปนแบบวงรอบเปด ใหใชตูจายไฟ


ฟาแรงต่ํา ดังรูปที่ 4.19
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 116
สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ

รูปที่ 4.19 ตูจายไฟฟาแรงต่ํากรณีรูปแบบการจายกระแสไฟฟาเปนแบบวงรอบเปด

2.9 ขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ
2.9.1 รัศมีความโคงของสายเคเบิลใตดินแรงต่ําตองไมนอยกวา 12 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของสาย
2.9.2 การตอสายใหตอในบอพักสายเทานั้น
2.9.3 กรณีออกแบบรูปแบบการจายกระแสไฟฟาของระบบจําหนายเคเบิลใตดินแรงต่ําเปนแบบรัศมี โดยไมได
ใชตูจายไฟฟาแรงต่ํา ขนาดสายเคเบิลใตดินแรงต่ําที่ตอแยกตองมีขนาดเทากับสายเมน
2.9.4 ใหตอสายนิวทรัลลงดินที่ตูจายไฟฟาแรงต่ํา และ ตูมิเตอร ทุกตู
2.9.5 คาความตานทานดินแตละจุดตองมีคาไมเกิน 5 โอหม ในกรณีที่กอสรางไดยากยอมใหมีคาไมเกิน 25
โอหม
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 117
และ พื้นที่พิเศษ

บทที่ 5 หลักเกณฑทางเทคนิคสําหรับผูใชไฟฟาในเขตพื้นที่ 2

หลักเกณฑทางเทคนิคสําหรับผูใชไฟฟาในเขตพื้นที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมือง


สําคัญ และ พื้นที่พิเศษ จัดทําขึ้นเพือ่ ใหผใู ชไฟฟาทีอ่ ยูใ นเขตพืน้ ที่ 2 สามารถเลือกใชอปุ กรณไดเหมาะสมกับระบบ
การจายกระแสไฟฟาของ การไฟฟาสวนภูมิภาค เปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการจายกระแสไฟฟา และ เพิ่ม
ความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา ทั้งในสวนของ กฟภ. และผูใชไฟฟาเอง โดยหลักเกณฑทางเทคนิคสําหรับผูใช
ไฟฟาแบงการพิจารณาเปน 3 สวนตามระบบดังนี้:

1 ผูใชไฟฟาในระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V
1.1 ความตองการกําลังไฟฟาสูงสุด
1.1.1 กรณีทผี่ ใู ชไฟฟาอยูใ นพืน้ ทีท่ มี่ รี ะบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศ ผูใ ชไฟฟามีความตองการกําลังไฟฟาสูง
สุดไมเกิน 66 kVA ผูใ ชไฟฟาตองรับกระแสไฟฟาจากระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V จากการไฟฟาสวนภูมิภาค
โดยการติดตั้งเครื่องวัดหนวยไฟฟาทางดานแรงต่าํ
ถามีความตองการกําลังไฟฟาสูงสุดเกิน 66 kVA ใหพจิ ารณารับกระแสไฟฟาจากระบบจําหนายแรงสูง 22 kV
หรือ 33 kV
1.1.2 กรณีทผี่ ใู ชไฟฟาอยูใ นพืน้ ทีท่ มี่ รี ะบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดนิ ผูใ ชไฟฟามีความตองการกําลังไฟฟาสูง
สุดไมเกิน 250 kVA ผูใ ชไฟฟาตองรับกระแสไฟฟาจากระบบจําหนายแรงต่ํา 400/230 V จากการไฟฟาสวนภูมิ
ภาค โดยการติดตั้งเครื่องวัดหนวยไฟฟาทางดานแรงต่าํ พรอมหมอแปลงกระแส(Current Transformer)
ถามีความตองการกําลังไฟฟาสูงสุดเกิน 250 kVA ใหพจิ ารณารับกระแสไฟฟาจากระบบจําหนายแรงสูง 22 kV
หรือ 33 kV
1.2 คําแนะนําการเลือกใชอุปกรณไฟฟา
กรณีผูขอใชไฟฟาหรือผูใชไฟฟาเปนผูจัดหาผูออกแบบและผูรับเหมากอสรางระบบจําหนายแรงต่ําจาก
หมอแปลงถึงเครื่องวัดหนวยไฟฟา และ ตองการสงมอบทรัพยสินใหการไฟฟาในภายหลัง ตองพิจารณาคา
แรงดันตกในระบบจําหนายแรงต่ําไมเกิน 8% นอกจากนี้ผูใชไฟฟาควรจัดเตรียมอุปกรณไฟฟาใหถูกตองตาม
มาตรฐาน ดังรายการตอไปนี้:
1.2.1 สายเมนแรงต่ํา กรณีสายเมนแรงต่ําเดินในอากาศ ตองเปนสายทองแดงหุมฉนวนชนิดที่เหมาะสม มีขนาด
เพียงพอที่จะรับโหลดและขนาดพื้นที่หนาตัดของสายตองไมเล็กกวา 4 ตร.มม. แตอนุญาตใหใชสายอะลูมิเนียม
เปนสายเมนแรงต่ําเดินในอากาศได แตตองเดินลอยบนวัสดุฉนวนภายนอกอาคารเทานั้นและขนาดพื้นที่หนาตัด
ของสายตองไมเล็กกวา 10 ตร.มม. หากสายเมนแรงต่ําเดินฝงดิน ตองเปนสายทองแดงหุมฉนวนชนิดที่เหมาะสม
มีขนาดเพียงพอที่จะรับโหลดและขนาดพื้นที่หนาตัดของสายตองไมเล็กกวา 10 ตร.มม.
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 118
และ พื้นที่พิเศษ

1.2.2 ทอรอยสายเมนใตดินแรงต่ํา มี 2 แบบ คือ


1.2.2.1 ทอโลหะใชทอรอยสายไฟฟาชนิด intermediate metal conduit (IMC) หรือ rigid steel conduit
(RSC) มีคุณสมบัติตามที่ระบุในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม มอก. 770-2533 ไมอนุญาตใหใชทอโลหะ
ชนิด Electrical metallic tubing (EMT)
1.2.2.2 ทออโลหะ(nonmetallic conduit) มี 3 ชนิด คือ
1) Polyvinyl chloride (PVC)
2) High density polyethylene (HDPE)
3) Filament-wound reinforced thermosetting resin conduit (RTRC)
ทอรอยสายทั้ง 2 แบบนี้สามารถที่จะวางใตดิน วางใตทางเทา หรือวางใตพื้นถนน โดยความลึกของการวาง
ทอ(minimum depth) มีขอกําหนดดังนี้
- ใตพื้นถนน จะตองวางลึกไมนอยกวา 60 เซนติเมตร หากเปนทออโลหะจะตองมีแผน Concrete slab
ความหนาไมนอยกวา 5 เซนติเมตร วางอยูเหนือแนวทอรอยสาย
- ใตพื้นดิน หรือใตทางเทา
- หากเปนทอโลหะ จะตองวางลึกไมนอยกวา 15 เซนติเมตร และไมตองมีแผน Concrete slab วาง
เหนือแนวทอรอยสาย
- หากเปนทออโลหะ ที่มีแผน Concrete slab วางเหนือแนวทอรอยสาย จะตองวางลึกไมนอยกวา 30
เซนติเมตร
- หากเปนทออโลหะ ที่ไมมีแผน Concrete slab วางเหนือแนวทอรอยสาย จะตองวางลึกไมนอยกวา
45 เซนติเมตร
การไฟฟาสวนภูมิภาคแนะนําใหใชทอรอยสายแบบอโลหะ(Nonmetallic conduit) สําหรับสวนที่อยูใต
ดินตลอด และทอ RSC สําหรับสวนที่อยูเหนือดินหรือบางสวนอยูเหนือดิน
ขนาดของทอขึ้นอยูกับจํานวนและขนาดของสายที่ใช โดยคํานวณจากขนาดพื้นที่หนาตัดรวมของสายมี
คาไมมากกวา 31% (กรณีสาย 2 เสน) และ 40% (กรณีสาย 3 เสนขึน้ ไป) ของขนาดพืน้ ทีห่ นาตัดภายในของทอ
ทอรอยสายไฟฟาใตดินของผูใชไฟฟาตองขึ้น(Riser) ในที่ของผูใชไฟฟา หามมาขึ้นที่เสาไฟฟาของ
การไฟฟาสวนภูมิภาค
1.2.3 เมนสวิตช เปนเครื่องปลดวงจรทุกสายเสนไฟออกจากสายเมน มีเครื่องปองกันกระแสเกินในแตละสายเสน
ไฟ เปน สวิตชอัตโนมัติ Air-load interrupter switch หรือ ฟวส โดยทั่วไปตองมีความสามารถในการตัดกระแส
ลัดวงจรไมนอยกวา 10 kA ที่แรงดันใชงาน มีพิกัดสูงสุดไมเกินพิกัดเครื่องปองกันกระแสเกินตามตารางที่ 5.1
สําหรับสายเมนเดินในอากาศที่เปนสายทองแดง และ ตารางที่ 5.2 สําหรับสายเมนเดินฝงดิน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 119
และ พื้นที่พิเศษ

ตารางที่ 5.1 ขนาดสายเมนเดินในอากาศต่ําสุด เครื่องปองกันกระแสเกิน ที่ออกจากเครื่องวัดหนวยไฟฟา


ขนาดเครื่องวัด ขนาดของ ขนาดสายเมนต่ําสุด พิกัดสูงสุดของ
หนวยไฟฟา โหลดสูงสุด (ตร.มม.) เครื่องปองกัน
(แอมป) (แอมป) ตัวนํา ตัวนําทองแดง กระแสเกิน(แอมป)
อะลูมิเนียม
5(15) 12 4 10 16
15(45) 36 10 25 50
30(100) 80 35 50 100

ตารางที่ 5.2 ขนาดสายเมนเดินฝงดินต่ําสุด เครื่องปองกันกระแสเกิน ที่ออกจากเครื่องวัดหนวยไฟฟา


ขนาดของ
ขนาดเครื่องวัดหนวย ขนาดสายต่ําสุด พิกัดสูงสุดของเครื่องปอง
โหลดสูงสุด
ไฟฟา(แอมป) (ตร.มม.) กันกระแสเกิน(แอมป)
(แอมป)
5(15) 12 10 16
15(45) 36 16 50
30(100) 80 50 100
5(15) พรอม CT 150/5 120 70 160
5(15) พรอม CT 250/5 200 185 250
5(15) พรอม CT 400/5 360 2x120 400

หมายเหตุ
1. สายนิวทรัลและสายตอหลักดินที่ใชในกิจการที่มีการใชไฟฟา 3 เฟส บางสวนสามารถเปลี่ยนแปลงขนาดสาย
ได คํานวณตามหนังสือ “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย” ของ วสท.
2. สายตอหลักดินขนาด 10 ตร.มม. ควรเดินในทอโลหะหรือ PVC
3. ขนาดต่ําสุดของสายเมนตามตารางที่ 5.1 และ 5.2 เลือกจากพิกัดสูงสุดของเครื่องปองกันกระแสเกิน ในกรณีที่
ใชเครื่องปองกันกระแสเกินต่ํากวาที่กําหนดไวในตารางใหพิจารณาขนาดของสายเมนตามมาตรฐานการติดตั้ง
ทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย
1.2.4 วงจรยอย วงจรยอยทุกวงจรจะตองติดตั้งเครื่องปองกันกระแสเกิน สายสําหรับวงจรยอยและสายเตารับที่
ใชกับเครื่องใชไฟฟาขนาดไมเกิน 1,500 วัตต ตองมีพื้นที่หนาตัดไมต่ํากวา 2.5 ตร.มม. และ 1.5 ตร.มม. ตาม
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 120
และ พื้นที่พิเศษ

ลําดับ เตารับ ตองเปนแบบมีขั้วสายดิน และตองตอลงดินตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย


สายสวิตชและดวงโคม ตองมีพื้นที่หนาตัดไมต่ํากวา 0.5 ตร.มม.
1.2.5 การตอสายลงดินที่ตูเมนสวิตช ประกอบดวย
1.2.5.1 สายตอหลักดิน ตองทําดวยทองแดงเสนเดี่ยวหรือตีเกลียว และเปนเสนเดียวตลอดโดยไมมีการตัดตอ
1.2.5.2 ขนาดของสายตอหลักดินเลือกตามตารางที่ 5.3
1.2.5.3 หลักดินควรเปนแทงเหล็กชุบทองแดง ขนาดเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 16 มม. (5/8 นิ้ว) ยาวไม
นอยกวา 240 เซนติเมตร และปลายขางหนึ่งฝงจมลงไปในดินไมนอยกวา 240 เซนติเมตร หลักดินที่ดี
ฝงจมลงไปในดินแลวจะมีความตานทานการตอลงดินไมเกิน 5 โอหม
1.2.5.4 การตอสายตอหลักดินเขากับหลักดินควรใชวิธีเผาใหหลอมละลายในเบาหลอม วิธีนี้เรียกวา
Exothermic welding
1.2.5.5 ผังการตอลงดินที่ตูเมนสวิตช ขอใหปฏิบัติตามในภาคผนวก ข.
ตารางที่ 5.3 ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดินของระบบไฟฟากระแสสลับ
ขนาดตัวนําประธาน ขนาดต่ําสุดของสายตอหลักดิน
(ตัวนําทองแดง) (ตัวนําทองแดง)
(ตร.มม.) (ตร.มม.)
ไมเกิน 35 10*
เกิน 35 แตไมเกิน 50 16
เกิน 50 แตไมเกิน 95 25
เกิน 95 แตไมเกิน 185 35
เกิน 185 แตไมเกิน 300 50
เกิน 300 แตไมเกิน 500 70
เกิน 500 95
หมายเหตุ * แนะนําใหติดตั้งในทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง ทอโลหะบาง หรือทออโลหะ
1.2.6 รายละเอียดเพิ่มเติม ดูไดจากหนังสือ “มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย” ของ วสท.
1.2.7 การเลือกใชอุปกรณที่กอใหเกิดฮารมอนิก(harmonics) และ แรงดันกระเพื่อม(voltage fluctuation) ใน
ระบบไฟฟาจะตองไมเกินขีดจํากัด ที่แสดงในภาคผนวก ค.
กรณีที่การไฟฟาสวนภูมิภาค ตรวจสอบภายหลังการรับกระแสไฟฟาแลว และพบวามีระดับของ
Harmonics และ/หรือ Voltage fluctuation เกินคาเกณฑที่กําหนด การไฟฟาสวนภูมิภาค จะดําเนินการตาม
ระเบียบที่เกี่ยวของตอไป
2 ผูใชไฟฟาในระบบจําหนายแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 121
และ พื้นที่พิเศษ

ผูใชไฟฟารายใหม หรือ ผูใชไฟฟารายเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มอุปกรณไฟฟา ซึ่งอยูในตําแหนง


ที่ตองรับไฟฟาแรงสูงจากสายปอนของการไฟฟาสวนภูมิภาค ควรสอบถามจากการไฟฟาสวนภูมิภาค(เขตเจา
ของพื้นที่) ถึงขนาดแรงดันไฟฟาแรงสูงที่ผูใชไฟฟาจะไดรับขณะเริ่มใชไฟฟาวาเปน 22 kV หรือ 33 kV โดย
ปกติ การไฟฟาสวนภูมิภาค จะจายกระแสไฟฟาดวยระบบแรงดันปกติ 22 kV สําหรับพื้นที่ทั่วไปของประเทศ
ไทย ยกเวน จังหวัด ระนอง, สุราษฎรธานี, นครศรีธรรมราช, พังงา, ภูเก็ต, กระบี่, ตรัง, พัทลุง, สงขลา, สตูล,
ปตตานี, ยะลา และนราธิวาส ที่จายดวยแรงดันปกติ 33 kV โดยผูใชไฟฟาควรจัดเตรียมอุปกรณไฟฟาใหถูกตอง
ดังรายการตอไปนี้:
2.1 ความตองการกําลังไฟฟาสูงสุด
กรณีทผี่ ใู ชไฟฟามีความตองการกําลังไฟฟาสูงสุดไมเกิน 10,000 kVA ผูใ ชไฟฟาตองรับกระแสไฟฟาจาก
ระบบจําหนายแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV จากการไฟฟาสวนภูมิภาค โดยแยกการพิจารณาตามรูปแบบการกอ
สรางของระบบจําหนายแรงต่ํา ดังนี้
2.1.1 กรณีทผี่ ใู ชไฟฟาอยูใ นพืน้ ทีท่ มี่ รี ะบบจําหนายแรงสูงเปนสายอากาศ หากผูใ ชไฟมีความตองการกําลังไฟฟาสูง
สุดเกิน 66 kVA ใหพจิ ารณารับกระแสไฟฟาจากระบบจําหนายแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV
2.1.2 กรณีทผี่ ใู ชไฟฟาอยูใ นพืน้ ทีท่ มี่ รี ะบบจําหนายแรงสูงเปนเคเบิลใตดนิ หากผูใ ชไฟฟามีความตองการกําลังไฟ
ฟาสูงสุดเกิน 250 kVA ใหพจิ ารณารับกระแสไฟฟาจากระบบจําหนายแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV
ถามีความตองการกําลังไฟฟาสูงสุดเกิน 10,000 kVA ใหพจิ ารณารับกระแสไฟฟาจากระบบ 115 kV
2.2 จุดรับกระแสไฟฟา
จุดรับกระแสไฟฟาสําหรับระบบจําหนาย 22 kV หรือ ระบบจําหนาย 33 kV ผูใชไฟฟาสามารถพิจารณา
เลือกใชได 2 แบบ โดยขึ้นอยูกับระบบการจายกระแสไฟฟาของ กฟภ. ดังนี้:
2.2.1 ใชฟวส เพาเวอรฟวส หรือ สวิตชตัดตอน หรือ รีโคลสเซอร
กรณีระบบจําหนายเปนเคเบิลอากาศ ผูใชไฟฟาตองเตรียมพื้นที่สําหรับติดตั้งเครื่องวัดหนวยไฟ
ฟา โดยตําแหนงที่ติดตั้งเครื่องวัดหนวยไฟฟาตองหางจากแนวเขตที่ดินของผูใชไฟฟา ดานติดกับดานที่
มีระบบจําหนายแรงสูงของ กฟภ. ซึ่งมีความสามารถจายกําลังไฟฟาพาดผาน ไมเกิน 10 เมตร และ
พนักงานของการไฟฟาสวนภูมิภาค ตองสามารถเขาปฏิบัติงานไดตลอด 24 ชั่วโมงเพื่อการตรวจสอบ
และการบํารุงรักษา
2.2.2 ใช Ring Main Unit
กรณีระบบจําหนายเปนเคเบิลใตดนิ ผูใ ชไฟฟาจะตองจัดเตรียมสถานที่เพื่อติดตั้งอุปกรณปองกัน
ไฟฟาแรงสูง และ อุปกรณเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูง โดยหองเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูงตองอยูใน
ตําแหนงที่เจาหนาที่ของการไฟฟาสวนภูมิภาคสามารถเขาออกไดตลอด 24 ชั่วโมง และ สามารถขนยาย
อุปกรณไฟฟาไดสะดวก ควรอยูภายนอกอาคารบริเวณริมรั้วหรือริมอาคาร หากอยูภายในอาคารตองอยู
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 122
และ พื้นที่พิเศษ

ที่ระดับพื้นดินของอาคาร บริเวณริมอาคารที่ประตูหองเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูงเปดออกนอกอาคาร
ได
หากผูใชไฟฟาไมสามารถจัดหาหองได และ ตองการติดตั้งนอกอาคารจะตองจัดหาเครื่องหอ
หุมเพื่อติดตั้งอุปกรณปองกันไฟฟาแรงสูงและเครื่องวัดไฟฟาแรงสูง
ตําแหนงที่ติดตั้งเครื่องวัดหนวยไฟฟาตองหางจากแนวเขตที่ดินของผูใชไฟฟา ดานติดกับดานที่
มีระบบจําหนายแรงสูงของ กฟภ. ซึ่งมีความสามารถจายกําลังไฟฟาพาดผาน ไมเกิน 10 เมตร กฟภ. จะ
เปนผูรับผิดชอบคาใชจายในการกอสรางเคเบิลใตดนิ ทัง้ หมด หากตําแหนงที่ติดตั้งเครื่องวัดหนวยไฟฟา
ตองหางจากแนวเขตที่ดินของผูใชไฟฟาเกิน 10 เมตร ผูใชไฟฟาตองเปนผูรับผิดชอบคาใชจายในการกอ
สรางเคเบิลใตดนิ ในสวนทีเ่ กินทีม่ ากกวา 10 เมตร
การติดตั้งหมอแปลงไฟฟารวมไวในหองเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูงสวนที่มีไฟของหมอแปลง
ไฟฟาจะตองมีเครื่องหอหุมที่มิดชิด
การติดตั้งอุปกรณไฟฟาตามแบบขางตนรวมทั้งการติดตั้งในลักษณะอื่นตองปฏิบัติตาม
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย (วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย) ทัง้ นีผ้ ใู ชไฟฟาจะ
ตองสงแบบแสดงการติดตั้งของอุปกรณไฟฟาแรงสูงตาง ๆ ภายในหองเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูงให
การไฟฟาภูมภิ าคพิจารณาใหความเห็นชอบกอนดําเนินการกอสราง
2.3 คําแนะนําการเลือกใชอุปกรณไฟฟา
ผูใชไฟฟาสามารถพิจารณาเลือกรูปแบบการเชื่อมตอเขาระบบการจายกระแสไฟฟาของ การไฟฟาสวน
ภูมิภาค และเลือกใชอุปกรณไฟฟาในระบบจําหนาย 22 kV หรือ ระบบจําหนาย 33 kV แยกเปน 2 กรณีดังนี้:
1) เคเบิลอากาศ หรือ เคเบิลใตดนิ จาก เคเบิลอากาศของการไฟฟาสวนภูมิภาค
2) เคเบิลใตดิน จาก เคเบิลใตดินของการไฟฟาสวนภูมิภาค
โดยรายละเอียดในการเชื่อมตอระบบไฟฟาของผูใชไฟฟากับระบบไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค
สามารถดูไดจากไดอะแกรมเสนเดี่ยว(Single Line Diagram) ในภาคผนวก ง.
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 123
และ พื้นที่พิเศษ

2.3.1 สําหรับผูใชไฟฟารับไฟฟาแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV ดวยเคเบิลอากาศ หรือ เคเบิลใตดนิ จากเคเบิลอากาศ


ของการไฟฟาสวนภูมิภาค
2.3.1.1 เคเบิลอากาศ
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชเคเบิลอากาศ ในการพาดสายระบบจําหนายตามระดับแรงดันของ
ระบบจําหนายแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาค
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคของเคเบิลอากาศใหพิจารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตารางในภาค
ผนวก จ-1
2.3.1.2 ลูกถวย (Insulator) รับสายบนเสาไฟฟา
ผูใชไฟฟาสามารถพิจารณาเลือกชนิดลูกถวยแทงกานตรง (Pin Post) หรือ ลูกถวยแทง(Line Post)
รวมทั้งลูกถวยแขวน ใหพิจารณาเลือกใชตามระดับมลภาวะที่เหมาะสม
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคของลูกถวยใหพจิ ารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตารางในภาคผนวก จ-2
2.3.1.3 กับดักเสิรจ(Surge arrester)
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกกับดักเสิรจชนิด Metal Oxide Varistor (MOV) ไมมีชองวางอากาศ มี
เปลือกหุมของกับดักเสิรจเปน Silicone Rubber มีคาพิกัดแรงดัน(Ur) 21 kV หรือ 24 kV สําหรับระบบ
จําหนาย 22 KV ที่ไมมีการตอลงดินผานความตานทานที่สถานีไฟฟา(NGR) และ พิกัดแรงดัน(Ur) 24
kV สําหรับระบบจําหนาย 22 KV ทีม่ กี ารตอลงดินผานความตานทานทีส่ ถานีไฟฟา และ คาพิกดั แรงดัน(Ur)
30 kV สําหรับระบบจําหนาย 33 kV
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอืน่ ๆ ของกับดักเสิรจ ใหพจิ ารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตารางในภาค
ผนวก จ-3
2.3.1.4 ดรอพเอาทฟวสคัทเอาท (Dropout fuse cutout)
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาใชดรอพเอาทฟวสคัทเอาท เปนชนิด Single vent solid cap สําหรับระบบ
จําหนาย 22 kV ใหเลือกใชอปุ กรณทมี่ พี กิ ดั แรงดัน 27 kV ทีม่ คี า BIL 125 kV และสําหรับระบบจําหนาย 33
kV ใหเลือกใชอุปกรณที่มีพิกัดแรงดัน 27/34.5 kV ที่มีคา BIL 150 kV นอกจากนี้ดรอพเอาทฟวสคัท
เอาทตองสามารถทนกระแสลัดวงจรไดไมนอยกวา 12 kA ในสวนขนาดพิกัดกระแสของฟวสสามารถ
เลือกตามขนาดของการใชงาน
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ ของดรอพเอาทฟวสคัทเอาทใหพิจารณาเลือกใชตามขอแนะนํา
ในตารางในภาคผนวก จ-4
2.3.1.5 เพาเวอรฟวส (Power fuse )
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชเพาเวอรฟวส กรณีที่โหลดของผูใชไฟมากกวา 65 แอมป โดยมีพิกัด
กระแสตั้งแต 80-200 แอมป ตามขนาดการใชงาน สําหรับระบบจําหนาย 22 kV ใหเลือกใชอุปกรณที่มี
พิกัดแรงดัน 27 kV ที่มีคา BIL 125 kV และ โหลดของผูใชไฟมากกวา 50 แอมป โดยมีพิกัดกระแสตั้ง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 124
และ พื้นที่พิเศษ

แต 65-200 แอมป ตามขนาดการใชงาน สําหรับระบบจําหนาย 33 kV ใหเลือกใชอุปกรณที่มีพิกัดแรงดัน


38 kV ที่มีคา BIL 150 kV นอกจากนี้เพาเวอรฟวสตองสามารถทนกระแสลัดวงจรไดไมนอยกวา 12 kA
2.3.1.6 สวิตชตัดตอน (Disconnecting switch)
ผูใ ชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชสวิตชตดั ตอน กรณีทโี่ หลดของผูใ ชไฟฟามากกวา 200 แอมป สําหรับ
ระบบจําหนาย 22 kV ใหเลือกใชอุปกรณที่มีพิกัดแรงดัน 25.8 kV ที่มีคา BIL 150 kV และ สําหรับ
ระบบจําหนาย 33 kV ใหเลือกใชอุปกรณที่มีพิกัดแรงดัน 38 kV ที่มีคา BIL 200 kV นอกจากนี้สวิตชตัด
ตอนตองสามารถทนกระแสลัดวงจรไดไมนอยกวา 12 kA
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ ของสวิตชตัดตอนใหพิจารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตาราง
ในภาคผนวก จ-5
2.3.1.7 รีโคลสเซอร
ผูใชไฟฟาอาจพิจารณาเลือกใชรีโคลสเซอรแทนสวิตชตัดตอน กรณีที่โหลดของผูใชไฟฟามากกวา
200 แอมป และ มีโอกาสทีจ่ ะเกิดไฟฟาดับไดงา ยเนือ่ งจากตนไม หรือ สัตวตา งๆ
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ ของรีโคลสเซอรใหพิจารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตารางใน
ภาคผนวก จ-6
2.3.1.8 เคเบิลใตดิน
ผูใ ชไฟฟาควรพิจารณาเลือกใชสายทองแดงพิกดั แรงดัน 12/20(24) kV สําหรับระบบจําหนาย 22 kV
และ พิกัดแรงดัน 18/30(36) kV สําหรับระบบจําหนาย 33 kV ตามมาตรฐาน IEC 60502 โดยมีโครง
สรางสายเปน single core, crosslinked polyethylene insulated (XLPE), copper wire screen and
polyethylene jacketed การไฟฟาสวนภูมิภาคแนะนําขนาดเคเบิลใตดินที่การไฟฟาสวนภูมิภาคใชอยู
เพื่อประโยชนในการบํารุงรักษาไดแก ขนาด 50, 240 และ 400 ตารางมิลลิเมตร ซึ่งรับกระแสสูงสุดได
ประมาณ 150, 400 และ 600 แอมป ตามลําดับ
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ ของเคเบิลใตดินใหพิจารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตารางใน
ภาคผนวก จ-7
2.3.1.9 หัวเคเบิล(Terminator)
ผูใชไฟฟาควรพิจารณาเลือกใชหัวเคเบิลพิกัดแรงดัน 24 kV และ 36 kV สําหรับระบบจําหนาย
22 kV และ 33 kV ตามลําดับ และ มีความเหมาะสมกับขนาดเคเบิลใตดินตามขอ 1.3.1.9 เปนแบบ
Indoor หรือ Outdoor ตามความเหมาะสมกับสถานที่ติดตั้ง
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอืน่ ๆ ของหัวเคเบิลใหพจิ ารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตารางในภาค
ผนวก จ-8
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 125
และ พื้นที่พิเศษ

2.3.1.10 ทอรอยสายไฟฟา
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชทอรอยสายไฟฟาชนิดทอโพลิเอทิลีนความหนาแนนสูง(HDPE) ที่
ผานการทดสอบตามมาตรฐาน มอก. 982 หรือ ทอโลหะหนา(RSC) ที่ผานการทดสอบตามมาตรฐาน
มอก. 770 หรือ ทอไฟเบอรกลาส(RTRC) สําหรับจํานวนทอที่ขึ้นเสา riser อยางนอย 2 ทอ ขนาด
เสนผาศูนยกลางภายในอยางนอย 100 มิลลิเมตร สําหรับเคเบิลใตดินขนาดไมเกิน 50 ตารางมิลลิเมตร
และขนาดเสนผาศูนยกลางภายในอยางนอย 140 มิลลิเมตร สําหรับเคเบิลใตดินขนาดเกินกวา 50
ตารางมิลลิเมตร แตไมเกิน 400 ตารางมิลลิเมตร หรือพิจารณาเลือกขนาดทอตามตารางที่ 5.3

ตารางที่ 5.3 เลือกขนาดทอรอยสายไฟฟา


ขนาดทอ เสนผานศูนยกลางภายนอกของเคเบิลแตละเสน (มม.)
เสนผานศูนยกลางภายใน(มม.) เคเบิล 1 เสนตอทอ เคเบิล 3 เสนตอทอ
96.8 - 102 UP TO 70 UP TO 32
110 - 114 UP TO 80 UP TO 37
123.4 - 127 UP TO 90 UP TO 42
140 - 144.6 UP TO 100 UP TO 48
150 - 152 UP TO 109 UP TO 50
177.2 - 180.8 UP TO 129 UP TO 60

การติดตั้งทอรอยสายจะตองจัดใหทอรอยสายผานเขาไปในพื้นที่ที่จัดเตรียมไว เพื่อความสะดวกใน
การติดตัง้ อุปกรณปอ งกันระบบไฟฟาแรงสูงและอุปกรณเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาแรงสูงในอนาคต
2.3.1.11 บอพักสายใตดิน
หากผูใชไฟฟามีการออกแบบระบบเคเบิลใตดินใหมีบอพักสายใตดิน ผูใชไฟฟาจะตองจัดเตรียม
บอพักสายใตดิน เพื่อความสะดวกในการเดินเคเบิลใตดินและปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับ
เคเบิลใตดิน โดยใหจัดเตรียมบอพักสายใตดินตามแบบมาตรฐานของการไฟฟาสวนภูมภิ าค
2.3.1.12 หองเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูง
ผูใ ชไฟฟาจะตองจัดเตรียมสถานทีเ่ พือ่ ติดตัง้ อุปกรณปอ งกันไฟฟาแรงสูง และอุปกรณเครือ่ งวัดหนวยไฟฟา
แรงสูง โดยหองเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูงตองอยูในตําแหนงที่เจาหนาที่ของการไฟฟาสวนภูมิภาคสามารถเขา
ออกไดตลอด 24 ชั่วโมง และสามารถขนยายอุปกรณไฟฟาไดสะดวก ควรอยูภายนอกอาคารบริเวณริมรั้วหรือ
ริมอาคาร หากอยูภายในอาคารตองอยูที่ระดับพื้นดินของอาคาร บริเวณริมอาคารที่ประตูหองเครื่องวัดหนวยไฟ
ฟาแรงสูงเปดออกนอกอาคารได
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 126
และ พื้นที่พิเศษ

หากผูใชไฟฟาไมสามารถจัดหาหองได และตองการติดตั้งนอกอาคารจะตองจัดหาเครื่องหอหุมเพื่อติด
ตั้งอุปกรณปองกันไฟฟาแรงสูงและเครื่องวัดไฟฟาแรงสูง โดยใหหารือเจาหนาที่ การไฟฟาสวนภูมิภาคกอน
ดําเนินการ การติดตัง้ หมอแปลงไฟฟารวมไวในหองเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาแรงสูง สวนทีม่ ไี ฟของหมอแปลง
ไฟฟาจะตองมีเครือ่ งหอหุม ทีม่ ิดชิด
การติดตั้งอุปกรณไฟฟาตามแบบขางตนรวมทั้งการติดตั้งในลักษณะอื่นตองปฏิบัติตามมาตรฐานการติด
ตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย(วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย) ทั้งนี้ผูใชไฟฟาจะตองสงแบบแสดงการติดตัง้
ของอุปกรณไฟฟาแรงสูงตางๆ ภายในหองเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาแรงสูงใหการไฟฟาภูมิภาคพิจารณาใหความเห็น
ชอบกอนดําเนินการกอสราง
2.3.1.13 อุปกรณปองกันระบบไฟฟาแรงสูงและอุปกรณเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูง
ในหองเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาเปนทรัพยสนิ ของการไฟฟาสวนภูมภิ าค ถาการไฟฟาสวนภูมภิ าคเปนผูจัดหา
โดยทั่วไปอุปกรณปองกันระบบไฟฟาแรงสูงที่การไฟฟาสวนภูมิภาค จัดหาจะเปน gas-insulated ring main
unit ที่มี Transformer feeder ขนาด 200 A. ใชกับระบบไฟฟาแรงสูงที่มีการหอหุมในสวนที่มีไฟอยางมิดชิด
เชน เคเบิลใตดินออกจากอุปกรณเครื่องวัดหนวยไฟฟาไปเขาหมอแปลงไฟฟา มี transformer cover หอหุมใน
สวนที่มีไฟฟาอยางมิดชิด
ในกรณีที่ระบบไฟฟาแรงสูงของผูใชไฟฟาหลังเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูงมีการติดตั้ง หมอแปลงไฟ
ฟามากกวา 1 เครื่อง หรือ เปนระบบสายอากาศหรือบางสวนเปนระบบสายอากาศ อุปกรณปองกันระบบไฟฟา
แรงสูง ตองติดตั้ง gas-insulated ring main unit ที่มี transformer feeder เปน Circuit-breaker พรอมอุปกรณ
ปองกัน ขนาด 600 A. โดยผูใชไฟฟาตองเสียคาใชจายสวนตางของ gas-insulated ring main unit ที่มี
transformer feeder ระหวางชนิดที่เปน Load break switch with fuse ขนาด 200 A. และ ชนิดที่เปน Circuit-
breaker ขนาด 600 A.
2.3.1.14 แผงสวิตชแรงสูง
ผูใ ชไฟฟาจะตองจัดเตรียมแผงสวิตชแรงสูงหลังเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาไวสาํ หรับปองกันระบบไฟฟา
ของผูใชไฟฟา แผงสวิตชแรงสูงตองมีขอกําหนดทางเทคนิคตามขอแนะนําในตารางในภาคผนวก จ-9
2.3.1.15 หมอแปลง(Transformer)
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาใชหมอแปลงไฟฟาที่มีพิกัดแรงดันดานปฐมภูมิ, Winding connection, BIL,
Power frequency withstand voltage และคาความสูญเสียทางไฟฟา ตามทีก่ ารไฟฟาสวนภูมภิ าคกําหนด ดัง
นี้:
1) หมอแปลงไฟฟาที่ใชในระบบ 22 kV
- Primary voltage : 22 kV
- Winding connection : Dyn 11
- BIL full wave : 125 kVpeak
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 127
และ พื้นที่พิเศษ

- Power frequency withstand voltage : 50 kVrms


- Total loss (No-load and load losses) : < 1.5% kVA rating ที่ pf. = 1.0
2) หมอแปลงไฟฟาที่ใชในระบบ 33 kV
- Primary voltage : 33 kV
- Winding connection : Dyn 11
- BIL full wave : 170 kVpeak
- Power frequency withstand voltage : 70 kVrms
- Total loss (No-load and load losses) : < 1.5% kVA rating ที่ pf. = 1.0
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอืน่ ๆ ของหมอแปลง ใหพจิ ารณาเลือกใชตามขอแนะนําในตารางใน
ภาคผนวก จ-10
ทัง้ นีก้ รณีทผี่ ใู ชไฟฟาซือ้ หมอแปลงไฟฟาเอง สําหรับหมอแปลงไฟฟาทีม่ ขี นาดพิกดั ไมเกิน 250 kVA
ตองมีรายละเอียดทางเทคนิคตามที่กําหนดใน ภาคผนวก จ-10 และตองมีการทดสอบคุณสมบัติโดยการ
ไฟฟาสวนภูมภิ าค(กองหมอแปลง สํานักงานใหญ) กอนการติดตัง้ สวนหมอแปลงทีม่ ขี นาดพิกดั มากกวา
250 kVA ตองไดรับการตรวจสอบสภาพจากการไฟฟาสวนภูมิภาค (สํานักงานในพื้นที่ที่รับผิดชอบ)
โดยเมื่อติดตั้งหมอแปลงไฟฟาแลวเสร็จ ตองไดรับการตรวจสอบกอนการจายกระแสไฟฟาโดย
การไฟฟาสวนภูมิภาค (สํานักงานในพื้นที่ที่รับผิดชอบ) ตามกระบวนการและขั้นตอนที่กําหนดทุกครั้ง
2.3.1.16 คาปาซิเตอร (Capacitor)
ผูใชไฟฟาควรพิจารณาเลือกใชคาปาซิเตอรแรงต่ํา ในการปรับปรุงคาประกอบกําลัง(Power factor)
แตถาหากใชคาปาซิเตอรแรงสูง ควรเลือกใชคาปาซิเตอรที่มีพิกัดแรงดันเทากับ 12.7 kV และ พิกัดคา
BIL เทากับ 125 kV สําหรับระบบ 22 kV ตอแบบ Y-ungrounded และ ควรเลือกใชคาปาซิเตอรที่มี
พิกัดแรงดันเทากับ 19 kV และ พิกัดคา BIL เทากับ 150 kV สําหรับระบบ 33 kV ตอแบบ Y-grounded
สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆของคาปาซิเตอรแรงต่ํา และ คาปาซิเตอรแรงสูงใหพิจารณาเลือก
ใชตามขอแนะนําในตารางในภาคผนวก จ-11
ทัง้ นี้ ผูใ ชไฟฟาตองควบคุมระดับคาตัวประกอบกําลัง(Power factor) ใหอยูใ นเกณฑ ระหวาง 0.9
lagging – 1.0 หากผูใชไฟฟาไมสามารถควบคุมใหอยูในเกณฑดังกลาวได กฟภ. จะเรียกเก็บคาชดเชยใน
สวนดังกลาวตามอัตราที่การไฟฟาสวนภูมิภาคไดกําหนดไว
2.3.1.17 เอกสาร/แบบที่ตองจัดสงใหการไฟฟาสวนภูมิภาค
ผูขอใชไฟฟาตองจัดสงเอกสาร/แบบเพื่อใหการไฟฟาสวนภูมิภาครับรองพรอมการขอใชไฟฟา
ประกอบดวยเอกสาร/แบบดังนี้:
- หลักฐานวิศวกรผูออกแบบการกอสราง
- หลักฐานวิศวกรผูควบคุมการกอสราง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 128
และ พื้นที่พิเศษ

- แบบแสดงอาณาบริเวณของสถานที่ใชไฟฟาและจุดรับไฟฟา
- Single line diagram
- Load schedule และรายการคํานวณทางไฟฟา
- แบบ Layout การปกเสา พาดสาย หรือการวางสายใตดิน และติดตั้งอุปกรณไฟฟา
- แบบ Layout ของหองไฟฟา (กรณีติดตั้งหมอแปลงและแผงสวิตชในหองไฟฟา)
- Specification ของอุปกรณไฟฟา
- ฯลฯ
ในการสงแบบทางดานโยธาจะตองมีวิศวกรโยธา ซึ่งมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอยางต่ําขั้น
ภาคี และแบบทางดานไฟฟาจะตองมีวิศวกรไฟฟา ซึ่งมีใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมอยางต่ําขั้นสามัญ
2.3.1.18 การเลือกใชอปุ กรณทกี่ อ ใหเกิดฮารมอนิกส(Harmonics) และแรงดันกระเพือ่ ม(Voltage fluctuation)
เชนเดียวกันกับขอ 1.2.7
2.3.1.19 ขอแนะนําเพิ่มเติม
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาติดตั้งอุปกรณไฟฟาใหหางจากเครื่องระบายความรอนซึ่งจะทําใหเกิดไอน้ํา
และละอองน้ํา และการติดตั้งอุปกรณไฟฟาในบริเวณที่โลงแจงใหมีการออกแบบระบบปองกันฟาผา
โดยการติดตั้งสายลอฟา
2.3.2 สําหรับผูใชไฟฟารับไฟฟาแรงสูง 22 kV หรือ 33 kV ดวยเคเบิลใตดินจากเคเบิลใตดินของการไฟฟา-
สวนภูมิภาค
2.3.2.1 เคเบิลใตดิน(Underground cable)
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.8
2.3.2.2 หัวเคเบิล(Terminator)
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.9
2.3.2.3 ทอรอยสายเคเบิลใตดิน
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.10
2.3.2.4 บอพักสายใตดิน
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.11
2.3.3.4 หองเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูง
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.12
2.3.3.5 อุปกรณปองกันระบบไฟฟาแรงสูงและอุปกรณเครื่องวัดหนวยไฟฟาแรงสูง
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.13
2.3.3.6 แผงสวิตชแรงสูง
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.14
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 129
และ พื้นที่พิเศษ

2.3.3.7 หมอแปลง
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.15
2.3.3.8 คาปาซิเตอร(Capacitor)
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.16
2.3.3.9 แบบที่ตองจัดสงใหการไฟฟาสวนภูมิภาค
เชนเดียวกันกับขอ 2.3.1.17
2.3.3.10 การเลือกใชอปุ กรณทกี่ อ ใหเกิดฮารมอนิกส(harmonics) และแรงดันกระเพือ่ ม(voltage fluctuation)
เชนเดียวกันกับขอ 1.2.7
2.3.3.11 ขอแนะนําเพิ่มเติม
ผูใชไฟฟาตองจัดสง As built drawing ลักษณะและตําแหนงของทอรอยสายและบอพักสายใตดิน
พรอมทั้งจัดทํา Wiring diagram ของระบบไฟฟาตั้งแตดานรับไฟของอุปกรณปองกันระบบไฟฟาของ
การไฟฟาสวนภูมิภาค จนถึงดานไฟออกของแผงสวิตชแรงสูงที่คงทนถาวรและเห็นไดชัดติดตั้งไวใน
หองเครื่องวัดหนวยไฟฟาและหองที่ติดตั้งแผงสวิตชแรงสูง
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 130
และ พื้นที่พิเศษ

3 ผูใชไฟฟาในระบบสายสง 115 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาค


3.1 ความตองการกําลังไฟฟาสูงสุด
กรณีที่ผูใชไฟฟามีความตองการกําลังไฟฟาสูงสุดเกิน 10,000 kVA ผูใชไฟฟาตองรับกระแสไฟฟาจาก
ระบบสายสง 115 kV จากการไฟฟาสวนภูมภิ าค โดยรับกระแสไฟฟาผานสถานีไฟฟา
3.2 สถานีไฟฟา
สถานีไฟฟาตองติดตั้งอยูภายในพื้นที่ของผูใชไฟฟา โดยอยูในสถานที่ซึ่งบุคคลที่มีหนาที่เกี่ยวของเขาถึง
ไดโดยสะดวกตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อทําการตรวจสอบและบํารุงรักษา โดยจะตองจัดชองทางใหสามารถขนยาย
หมอแปลงและอุปกรณตางๆ เขาออกจากสถานีไฟฟาไดสะดวกในกรณีหมอแปลงหรืออุปกรณเหลานั้นเสียหาย
และตองจัดใหมีการระบายอากาศอยางเพียงพอดวย
กรณีสถานีไฟฟาอยูภายในอาคาร หมอแปลงไฟฟากําลัง (Power transformer) จะตองติดตั้งอยูชั้นพื้นดิน
บริเวณริมอาคารที่สามารถเปดประตูออกนอกอาคารได
3.3 จุดรับกระแสไฟฟา
รูปแบบของสถานีไฟฟาเพือ่ รับกระแสไฟฟาของผูใ ชไฟฟาตองพิจารณาเลือกตามขอกําหนดตอไปนี้
1) กรณีที่ผูใชไฟฟามีความตองการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาที่มีกําลังไฟฟาสูงสุดเกิน 20 MVA และ/หรือ
มีระยะทางระหวางแนวสายสงของ กฟภ. กับจุดติดตั้ง 115 kV Circuit-breaker ของผูใชไฟฟา เกิน
80 เมตร ใหรับกระแสไฟฟาผานสถานีไฟฟา (Terminal Station) แบบ H configuration ดังแสดง
ตามรูปที่ 1.3 พรอมติดตั้งระบบปองกัน Line differential relay หรือ Pilot distance relay ขึ้นอยูกับ
รูปแบบที่ใชงานในพื้นที่นั้นๆ
2) กรณีที่ผูใชไฟฟามีความตองการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาขนาดไมเกิน 20 MVA หรือมีระยะทาง
ระหวางแนวสายสงของ กฟภ. กับจุดติดตั้ง 115 kV Circuit-breaker ของผูใชไฟฟา ไมเกิน 80 เมตร
โดยเปนจุดรับไฟจุดแรก หรือจุดที่ 2 ระหวางสถานีไฟฟาของ กฟภ. หรือผูใชไฟฟารายอื่น ที่มี
ระบบปองกันแบบ Line differential relay หรือ Pilot distance relay ใหสามารถรับกระแสไฟฟา
โดยใชรูปแบบของสถานีไฟฟาแบบ Air Insulated Switchgear ดังแสดงตามรูปที่ 1.4 ที่เชื่อมตอโดย
ตรงกับสายสง (Directly Tapped Line) โดยผานโหลดเบรกสวิตช
3) กรณีที่ผูใชไฟฟาตองการติดตั้งหมอแปลงไฟฟาขนาดไมเกิน 20 MVA และมีระยะทางระหวางแนว
สายสงของ กฟภ. กับจุดติดตั้ง 115 kV Circuit-breaker ไมเกิน 80 เมตร แตเปนจุดรับไฟจุดที่ 3
ระหวางสถานีไฟฟาของ กฟภ. หรือผูใชไฟฟารายอื่น ที่มีระบบปองกันแบบ Line differential relay
หรือ Pilot distance relay ใหใชรูปแบบการรับกระแสไฟฟาตามขอ 1)
4) กรณีที่มีวงจรเฉพาะจายไฟใหกับผูใชไฟฟาในพื้นที่ดังกลาวแลว ใหสามารถเลือกใช รูปแบบของ
สถานีไฟฟาแบบ Air Insulated Switchgear ดังแสดงตามรูปที่ 1.4 ที่เชื่อมตอโดยตรงกับสายสง
(Directly Tapped Line) โดยผานโหลดเบรกสวิตช ทั้งนี้ใหพิจารณาเปนกรณีพิเศษเฉพาะพื้นที่ที่มี
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 131
และ พื้นที่พิเศษ

การจายไฟดวยวงจรเฉพาะแลวเทานัน้ หากเปนพืน้ ทีท่ ยี่ งั ไมมวี งจรเฉพาะใหพจิ ารณาตามหลักเกณฑ


ปกติ
5) ทัง้ นีห้ า มไมใหมกี ารทําเชื่อมตอโดยตรงกับสายสง จากวงจรทีเ่ ปนสายปอนดานเขาของสถานีไฟฟา
6) กรณีที่ผูใชไฟฟาเดิมที่มีการเชื่อมตอโดยตรงกับสายสงอยูแลว ตองดําเนินการปรับปรุงใหเปนสถานี
ไฟฟาตามแนวทางขางตน หากผูใชไฟฟามีการเพิ่มขนาดหมอแปลงไฟฟา หรือเปลี่ยนแปลงการรับ
กระแสไฟฟาใหม หรือเปนความตองการของผูใชไฟฟาเอง
คาใชจายในการกอสรางระบบสายสงของผูใชไฟจากจุดตอแยกจากสายสงของการไฟฟาสวนภูมิภาค
และสถานีไฟฟาของผูใชไฟ ผูขอใชไฟฟาตองเปนผูรับภาระคาใชจายเพื่อขอรับกระแสไฟฟาทั้งหมด รวมถึงที่
ดินในการกอสราง, คากอสรางดานโยธา, คากอสรางระบบไฟฟา, คาใชจายในการตรวจสอบและการทดสอบ
กอนการจายกระแสไฟฟา
3.4 คําแนะนําการเลือกใชอุปกรณไฟฟา
มาตรฐานอางอิงที่ใชคือ
1.1 IEC standard
1.2 ANSI, IEEE, NEMA standard
1.3 VDE, DIN standard
1.4 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย (วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย)
1.5 หากผูใชไฟฟาใชมาตรฐานอื่นนอกจากนี้ ขอใหสงการไฟฟาสวนภูมิภาคใหการรับรอง
กอน
3.5 อุปกรณ ควรมีคุณสมบัติดังนี้
3.5.1 สถานีไฟฟา ตองมีคา Rated short time withstand current, 1 sec ไมนอยกวา 31.5 kA สําหรับพื้นที่ทั่วไป
หรือไมนอยกวา 40 kA ในพื้นที่ที่มีคาความรุนแรงของกระแสลัดวงจรมากกวาปกติ โดยใหหารือและได
รับอนุมัติจากการไฟฟาสวนภูมิภาคกอน
3.5.1.1 สถานีไฟฟาแบบ H configuration
ตองเปนสถานีไฟฟาที่มี 2 line bays และ 1 transformer bay โดยผูใชไฟฟาสามารถเลือกชนิดของ
สถานีไฟฟาเปน Outdoor conventional type หรือ แบบ Indoor GIS หรือ แบบ Compact switchgear
หรือชนิดอื่นๆ ที่การไฟฟาสวนภูมิภาคยอมรับ โดยมีรายละเอียดทางเทคนิคของอุปกรณหลักดังตอ
ไปนี้
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 132
และ พื้นที่พิเศษ

3.5.1.1.1 Circuit-breaker
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชตามพิกัดตอไปนี้ :
Rated voltage : 123 kV
Rated continuous current : 2000 A
Rated breaking current : >31.5 kA
Rated making current : >63 kA
BIL : 550 kV
Rated power frequency withstand voltage : 230 kV
Operating duty cycle : O-0.3 sec -CO- 3 min –CO
Operating mechanism : Motor charged springs
ทั้งนี้สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ ของ Circuit-breakerใหพิจารณาเลือกใชตามขอ
แนะนําในตารางในภาคผนวก ฉ-1
3.5.1.1.2 Disconnecting switch
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชตามพิกัดตอไปนี้ :
Rated voltage : 123 kV
Rated continuous current : 2000 A
Rated short time withstand current, 1 sec : 31.5 kA
Rated peak withstand current : 63 kA
BIL : 550 kV
Rated power frequency withstand voltage : 230 kV
Operating mechanism : motor drive
สําหรับ Disconnecting switch ดานที่ตอกับ Line ตองมี Earthing switch ดวย
ทั้งนี้สําหรับขอกําหนดทางเทคนิคอื่นๆ ของ Disconnecting switch ใหพิจารณาเลือกใช
ตามขอแนะนําในตารางในภาคผนวก ฉ-2
3.5.1.1.3 Current transformer
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชตามพิกัดที่กําหนดในภาคผนวก ฉ-3
ทั้งนี้สําหรับ Current transformer ที่ใชกับเครื่องวัดหนวยของการไฟฟาสวนภูมิภาคตอง
แยกจาก Current Transformer ทีใ่ ชกบั ระบบปองกัน และตองมีพกิ ดั และเงือ่ นไขตามขอ
กําหนดของการไฟฟาสวนภูมิภาค ในภาคผนวก ฉ-4
3.5.1.1.4 Voltage transformer
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชตามพิกัดที่กําหนดในภาคผนวก ฉ-5
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 133
และ พื้นที่พิเศษ

ทั้งนี้สําหรับ Voltage transformer ที่ใชกับเครื่องวัดหนวยของการไฟฟาสวนภูมิภาค ตอง


แยกจาก Voltage Transformer ที่ใชกับระบบปองกัน และตองมีพิกัด และเงื่อนไขตามขอ
กําหนดของการไฟฟาสวนภูมิภาค ในภาคผนวก ฉ-4
3.5.1.1.5 ระบบปองกันของสถานีไฟฟา
ใหดําเนินการตามขอกําหนดการกอสรางสถานีไฟฟาแบบ Terminal Station
สําหรับผูขอใชไฟฟาในระบบ 115 kV ในภาคผนวก ฉ-6
3.5.1.2 สถานีไฟฟาแบบ Directly tap
ผูใชไฟฟาสามารถเลือกใชรูปแบบ Switchgear แบบ Outdoor conventional type หรือ
Indoor GIS หรือรูปแบบอื่น ที่การไฟฟาสวนภูมิภาคยอมรับ โดยมีรายละเอียดทางเทคนิคของ
อุปกรณหลักดังตอไปนี้
3.5.1.2.1 Circuit-breaker
เชนเดียวกันกับขอ 2.5.1.1.1
3.5.1.2.2 Disconnecting switch
เชนเดียวกันกับขอ 2.5.1.1.2
3.5.1.2.3 Current transformer
เชนเดียวกันกับขอ 2.5.1.1.3
3.5.1.2.4 Voltage transformer
เชนเดียวกันกับขอ 2.5.1.1.4
3.5.1.2.5 ระบบปองกันของสถานีไฟฟา
ขึ้นกับความตองการของผูใชไฟฟา แตตองไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟาสวนภูมิภาค
กอนการติดตั้ง
3.5.1.3 ระบบปองกันฟาผา
ผูใชไฟฟาตองจัดใหมีระบบปองกันฟาผาที่เหมาะสม ซึ่งประกอบดวย Overhead ground
wire, air terminal, down conductor ตอเขากับ ground mesh ของสถานีไฟฟา และตองจัดใหมี
Lightning arrester พรอม Surge counter ในจุดทีเ่ หมาะสมเพือ่ ปองกันอุปกรณในสถานีไฟฟา
3.5.2 หมอแปลงไฟฟากําลัง
ผูใชไฟฟาตองพิจารณาเลือกใชตามพิกัดที่กําหนดในภาคผนวก ฉ-7 และควรมีการติดตั้งอุปกรณ On
Load Tap Changer (OLTC) เพื่อควบคุมระดับแรงดัน
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 134
และ พื้นที่พิเศษ

3.5.3 Auxiliary power supply


ตองจัดใหมี DC power supply(battery with charger) ที่สามารถจายไฟตอเนื่องใหกับ switchgear และ
หมอแปลงเพื่อใชในวงจรควบคุมและปองกัน โดยใหสามารถจายไฟตอเนื่องเมื่อไฟจากการไฟฟาสวนภูมิ
ภาคดับไมนอยกวา 10 ชั่วโมง
ตองจัดใหมี AC power supply ขนาด 100 A 400/230 V 3-phase 4W ไวใชในสถานีไฟฟาสําหรับ
งาน ซอมแซมและบํารุงรักษา อยางนอย 1 ชุด ผานสวิตชสับถาย
3.5.4 Ventilation system
อุปกรณที่ติดตั้งภายในอาคารตองจัดใหมีการระบายอากาศที่เหมาะสมและมีพัดลมดูดอากาศสําหรับ
ดูดควันไฟที่อาจเกิดขึ้น
3.5.5 ในกรณีที่เปนสถานีไฟฟาแบบ Indoor
ควรจัดใหมี Overhead crane สําหรับยกอุปกรณภายในสถานี และ ควรจัดใหมีระบบดับเพลิงในหอง
หมอแปลงไฟฟากําลัง
3.5.6 กอนสั่งซื้ออุปกรณตองสงรายละเอียดดังตอไปนี้ใหการไฟฟาสวนภูมิภาคพิจารณาใหการรับรอง ดังนี้
3.5.6.1 Layout plan แสดงพื้นที่ของผูใชไฟฟาและตําแหนงสถานีไฟฟาที่จะกอสราง
3.5.6.2 Single line diagram ของสถานีไฟฟา และระบบไฟฟาแรงสูงที่จะติดตั้งเพิ่ม
3.5.6.3 Substation equipment layout
3.5.6.4 รายละเอียด(Specification) ของอุปกรณไฟฟาแรงดันสูงเกิน 1,000 V. ที่ติดตั้งใหมทั้งหมด
3.5.6.5 รายละเอียด(Specification) ของ protective relay พรอมทั้ง characteristic curve ของ relay
3.5.6.6 หากเปนสถานีไฟฟายอยแบบ Indoor ใหสงรายละเอียดชองทางขนยายอุปกรณแสดงประตู crane
ชองยกของ แบบแสดงวิธีระบายอากาศ และ underground duct bank หรือ cable trench
3.5.6.7 แบบรายละเอียด(Specification) ของเคเบิลใตดินแรงสูงพรอมหัว terminator แบบแสดงแนว
และวิธีการเดินสายไฟฟาแรงสูง
3.5.6.8 หนังสือรับรองและสําเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรไฟฟาควบคุมตามพระราชบัญญัตวิ ศิ วกร
พ.ศ. 2542 ของผูอ อกแบบและผูค วบคุมงาน ทัง้ นี้ ผูอ อกแบบตองลงชือ่ ในแบบทุกใบดวย
3.5.7 กอนติดตั้งอุปกรณ ตองสงรายละเอียดดังตอไปนี้ให การไฟฟาสวนภูมิภาคตรวจสอบ
3.5.7.1 รายละเอียดของอุปกรณที่จัดซื้อจริง ตามขอ 2.5.6
3.5.7.2 Schematic diagram ของสถานีไฟฟา
3.5.7.3 แบบ grounding system และรายการคํานวณ
3.5.7.4 แบบแสดงตําแหนงการติดตั้งเครื่องวัดไฟฟาและ wiring diagram ของ Voltage transformer และ
Current transformer
3.5.7.5 Factory test reports ของอุปกรณสถานีไฟฟา
หลักเกณฑการออกแบบ การติดตั้ง และ การไฟฟาสวนภูมิภาค
การเลือกใชงานอุปกรณไฟฟาในระบบไฟฟา กองมาตรฐานระบบไฟฟา
สําหรับพืน้ ที่ 2 : พื้นที่เทศบาลนคร พื้นที่เมืองธุรกิจ พื้นที่เมืองสําคัญ วันที่ : 24 พ.ย. 2549 แกไขครั้งที่ : 00 หนาที่ : 135
และ พื้นที่พิเศษ

3.5.8 กอนการจายไฟ จะตองจัดใหมีการทํา Commissioning test ซึ่งประกอบดวย Individual tests, Functional


tests และ Final tests ตามที่กําหนดใน ขอกําหนดการทดสอบอุปกรณในสถานีไฟฟากอนการจายไฟ
สําหรับผูใชไฟฟาในระบบ 155 kV ตามภาคผนวก ฉ-8 และแจงใหการไฟฟาสวนภูมิภาคทราบลวงหนา
เพื่อสงเจาหนาที่เขารวมเปนพยานในการทดสอบ โดยผูใชไฟฟาตองเปนผูรับผิดชอบคาใชจายในการ
ทดสอบทั้งหมด
3.5.9 ผูใชไฟฟาตองรับผิดชอบในการตั้งคาการทํางานของอุปกรณปองกัน โดยตองไดรับอนุมัติจากการไฟฟา
สวนภูมิภาคกอนการจายกระแสไฟฟา
3.5.10 การติดตั้งอุปกรณประกอบเครื่องวัดหนวย
ผูใ ชไฟฟาจะตองจัดเตรียมอุปกรณประกอบเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาแรงสูงและดําเนินการตามขอกําหนด
มาตรฐานอุปกรณเครือ่ งวัดระบบ 115 kV ทีต่ ดิ ตัง้ ใชงานในสถานีไฟฟาของผูใ ชไฟฟา ตามภาคผนวก ฉ-4
ทั้งนี้ การไฟฟาสวนภูมิภาคไมอนุญาตใหผูใชไฟฟานําอุปกรณไฟฟาใดๆ มาตอรวมทาง secondary
winding ของ Current และ Voltage transformer ที่ใชกับเครื่องวัดหนวยของการไฟฟาสวนภูมิภาค และ
จะตองมีการทดสอบโดยการไฟฟาสวนภูมิภาคกอนใชงาน
Terminal box ของ Current transformer และ Voltage transformer ที่ใชกับเครื่องวัดไฟฟาของการ
ไฟฟาสวนภูมิภาค และอุปกรณปองกันของสถานียอยจะตองแยกวงจรออกจากกัน สวนที่ใชกับเครื่องวัด
ของการไฟฟาสวนภูมิภาคจะตองปดผนึกเพื่อปองกันการกระทําใดๆ จากบุคคลอื่นที่ไมใชเจาหนาที่การ
ไฟฟาสวนภูมิภาค
เครื่องวัดไฟฟาอยูในตําแหนงที่เจาหนาที่การไฟฟาสวนภูมิภาคสามารถเขาทํางานไดโดยสะดวก
ตลอด 24 ชั่วโมง
3.5.11 หากมีการจัดเตรียมอุปกรณหรือระบบการจายไฟที่แตกตางไปจากนี้ขอใหปรึกษากับเจาหนาที่การไฟฟา
สวนภูมิภาคเปนกรณีๆ ไป
3.5.12 การเลือกใชอุปกรณที่กอใหเกิดฮารมอนิกส(harmonics) และแรงดันกระเพื่อม(voltage fluctuation) ใน
ระบบไฟฟาจะตองไมเกินขีดจํากัด ที่แสดงในภาคผนวก ค.
ภาคผนวก ก
แบบมาตรฐานการกอสรางที่อางถึง

1. การติดตั้งหัวเคเบิลที่เสาตนสุดทาย ระบบ 33 kV แบบเลขที่ SA1-015/35013 การประกอบเลขที่ 3418


2. การหยอนยานของสายอลูมีเนียมเปลือย 400 ต.มม. แบบเลขที่ S02-015/19089 การประกอบเลขที่ 5132
3. ระยะหางระหวางชวงเสาของโครงสรางสายสง 115 kV(กรณีที่กอสรางระบบจําหนาย 22,33 kV ใตแนวสาย
สง 115 kV โครงสรางเสาสําหรับทางตรงและทางโคง) แบบเลขที่ SA1-015/48001 การประกอบเลขที่ 5151
4. โครงสรางเสาตนขึ้นหัวเสาสายเคเบิลใตดิน 115 kV เสาคูตนสุดทาย แบบ SD-UG-2 แบบเลขที่ SA1-
015/36017 การประกอบเลขที่ 5453
5. รายละเอียดที่ 10A ฐานรากเสา (แบบที่ 17 ชนิดสําเร็จรูป) แบบเลขที่ SA1-015/47018 การประกอบเลขที่
5678A
6. รายละเอียดที่ 10A ฐานรากเสา (แบบที่ 18) แบบเลขที่ SA1-015/47019 การประกอบเลขที่ 5678B
7. รายละเอียดที่ 10B ฐานรากเสา (แบบที่ 9 ชนิดสําเร็จรูป) แบบเลขที่ SA1-015/47020 การประกอบเลขที่
5678C
8. รายละเอียดที่ 10B ฐานรากเสา (แบบที่ 10) แบบเลขที่ SA1-015/47021 การประกอบเลขที่ 5678D
9. รายละเอียดที่ 10A ฐานรากเสา (แบบที่ 19 ชนิดสําเร็จรูป) แบบเลขที่ SA1-015/47022 การประกอบเลขที่
5678E
10. รายละเอียดที่ 10A ฐานรากเสา (แบบที่ 20 ชนิดสําเร็จรูป) แบบเลขที่ SA1-015/47023 การประกอบเลขที่
5678F
11. รายละเอียดที่ 10A ฐานรากเสา (แบบที่ 21) แบบเลขที่ SA1-015/47024 การประกอบเลขที่ 5678G
12. รายละเอียดที่ 10A ฐานรากเสา (แบบที่ 22) แบบเลขที่ SA1-015/47025 การประกอบเลขที่ 5678H
13. รายละเอียดที่ 10A ฐานรากเสา (แบบที่ 23) แบบเลขที่ SA1-015/47026 การประกอบเลขที่ 5678I
14. รายละเอียดที่ 10B ฐานรากเสา (แบบที่ 11) แบบเลขที่ SA1-015/47027 การประกอบเลขที่ 5678J
15. รายละเอียดที่ 10B ฐานรากเสา (แบบที่ 12) แบบเลขที่ SA1-015/47028 การประกอบเลขที่ 5678K
16. ขอกําหนดการใชงานโครงเหล็ก แบบเลขที่ SA1-015/45005 การประกอบเลขที่ 5701
17. โครงเหล็กทางตรงแบบที่ 1 แบบเลขที่ SA1-015/45006 การประกอบเลขที่ 5702
18. โครงเหล็กสําหรับทางโคง 90 องศา แบบเลขที่ SA1-015/45007 การประกอบเลขที่ 5703
19. การตอลงดินสําหรับสายเคเบิลใตดิน ระบบ22kV,33 kVและ115 kV แบบเลขที่ SA1-015/38019 การ
ประกอบเลขที่ 7131
20. โครงสราง Duct Bank และทอรอยสายสําหรับระบบแรงสูง (ขอกําหนดทั้วไป) แบบเลขที่ SA1-015/31015
การประกอบเลขที่ 7141
21. การประกอบเลขที่ 7201 รูปหนาตัดของ DUCT BANK ใตดิน สําหรับระบบแรงสูง แบบเลขที่ SA1-
015/31016 การประกอบเลขที่ 7201
22. MANDHOLE แบบ 2T-1 สําหรับ การกอสราเคเบิลใตดินแรงสูง แบบเลขที่ SA1-015/31030 การประกอบ
เลขที่ 7301
23. MANDHOLE แบบ 2T-2 สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแรงสูง แบบเลขที่ SA1-015/31032 การประกอบ
เลขที่ 7302
24. MANDHOLE แบบ 2T-3 สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแรงสูง แบบเลขที่ SA1-015/31034 การประกอบ
เลขที่ 7303
25. MANDHOLE แบบ 2T-5 สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแรงสูง แบบเลขที่ SA1-015/37005 การประกอบ
เลขที่ 7305
26. MANDHOLE แบบ 2T-6 สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแรงสูง แบบเลขที่ SA1-015/37012 การประกอบ
เลขที่ 7306
27. MANDHOLE แบบ 2T-9 สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแรงสูง แบบเลขที่ SA1-015/38011 การประกอบ
เลขที่ 7309
28. MANDHOLE แบบ 2S-2 สําหรับการกอสรางเคเบิลใตดินแรงสูง แบบเลขที่ SA1-015/37015 การประกอบ
เลขที่ 7317
29. การตอลงดิน สําหรับ MANDHOLE แบบเลขที่ SA1-015/31023 การประกอบเลขที่ 7341
30. การเดินสายไฟฟาแรงสูงใตดิน ระบบ 22 kV, 33 kV แบบรอยสายในทออโลหะ แบบเลขที่ SA1-015/36017
การประกอบเลขที่ 7502
31. แรงดันตกในสายเคเบิลใตดินแรงต่ํา ระบบ 3 เฟส 4 สาย แบบเลขที่ SA1-015/49014 การประกอบเลขที่
7123
32. การเดินสายไฟฟาแรงสูงใตดิน ระบบ 22 kV, 33 kV แบบไมตองขุดเปดหนาดิน แบบเลขที่ SA1-015/37022
การประกอบเลขที่ 7504
33. การวางสายเคเบิลใตดิน ระบบ 22 kV, 33 kV ลอดใตถนนโดยวิธี PIPE KACKING แบบเลขที่ SA1-
015/44018การประกอบเลขที่ 7506
34. การติดตั้งหัวเคเบิลที่เสาตนสุดทาย ระบบ 22 kV แบบเลขที่ SA1-015/35003(7603) การประกอบเลขที่ 7603
35. การติดตั้ง มิเตอร 22 kV แบบภายในอาคาร สําหรับระบบเคเบิลใตดิน 22 kV แบบเลขที่ SA1-015/39011
การประกอบเลขที่ 7702
36. การติดตั้ง มิเตอร 22 kV แบบภายนอกอาคาร สําหรับระบบเคเบิลใตดิน 22 kV แบบเลขที่ SA1-015/39012
การประกอบเลขที่ 7703
37. ตารางพิกัดกระแสใชงานของเคเบิลอากาศ แบบเลขที่ SA4-015/38004 การประกอบเลขที่ 9208
38. โครงสรางเสาระบบจําหนาย 22-33 kV 1-2 วงจร สําหรับแขวนเคเบิลอากาศ แบบเลขที่ IB2-015/40009 การ
ประกอบเลขที่ 8253
39. โครงสรางเสาระบบจําหนาย 22-33 kV, 1 วงจร สําหรับพาดเคเบิลอากาศ (SAC) บนลูกถวยแทง หรือลูกถวย
แทงกานตรง แบบเลขที่ SA2-015/47001 การประกอบเลขที่ 8255
40. โครงสรางเสาระบบจําหนาย 22-33 kV, 2 วงจร สําหรับพาดเคเบิลอากาศ (SAC) บนลูกถวยแทง หรือลูกถวย
แทงกานตรง แบบเลขที่ SA2-015/47002 การประกอบเลขที่ 8256
41. หลักเกณฑการใชลูกถวยแรงสูงในระบบจําหนาย 22 kV แบบเลขที่ SA4-015/40019 การประกอบเลขที่
9502
42. หลักเกณฑการใชลูกถวยแรงสูงในระบบจําหนาย 33 kV แบบเลขที่ SA4-015/40016 การประกอบเลขที่
9506
43. การติดตั้งหมอแปลง ขนาด 50-160 kVA 3 เฟส 22 kV แขวนบนเสาเดี่ยว แบบเลขที่ SA4-015/35001 การ
ประกอบเลขที่ 2719
44. การติดตั้งหมอแปลง ขนาด 50-160 kVA 3 เฟส 33 kV แขวนบนเสาเดี่ยว แบบเลขที่ SA4-015/35006 การ
ประกอบเลขที่3715
45. การติดตั้งหมอแปลง 3 เฟส ระบบ 22 kV ขนาด 50-500 kVA บนนั่งราน แบบเลขที่ SA4-015/44001 การ
ประกอบเลขที่ 2725
46. การติดตั้งหมอแปลง 3 เฟส ระบบ 33 kV ขนาด 50-500 kVA บนนั่งราน แบบเลขที่ SA4-015/44011 การ
ประกอบเลขที่ 3718
47. การทาสีเสาไฟฟาเพื่อปองกันอุบัติเหตุรถชนเสาไฟฟา แบบเลขที่ SA4-015/43020 การประกอบเลขที่ 8604
48. การปองกันอุบัติเหตุจากรถชนเสาไฟฟาดวยทอคอนกรีต แบบเลขที่ SA4-015/43021 การประกอบเลขที่
8605
49. แบบ CONCRETE BARRIER แบบเลขที่ IB2-015/43021 การประกอบเลขที่ 8606
50. มาตรฐานระยะหางที่ปลอดภัยในการกอสรางทางไฟฟา แบบเลขที่ SA2-015/45017 การประกอบเลขที่ 9301
51. แนวปฏิบัติในการกอสรางปกเสาพาดสายระบบจําหนาย และสายสง 115 kV ของ กฟภ. ลอดใต หรือใกลกับ
แนวสายสงของ กฟผ. แบบเลขที่ SA4-015/45022 การประกอบเลขที่ 9304
52. หลักเกณฑการใชลูกถวยแรงสูงในบริเวณใกลชายฝงทะเล แบบเลขที่ SA1-015/24019 การประกอบเลขที่
9502
53. หลักเกณฑการใชลูกถวยแรงสูงในระบบจําหนาย 33 kV แบบเลขที่ SA4-015/40016 การประกอบเลขที่
9506
54. หลักของการกอสรางระบบจําหนายแรงสูงสําหรับแบบเหนือดิน แบบเลขที่ SA2-015/45003 การประกอบ
เลขที่ 9507
55. HANDHOLE แบบ HH-1 สําหรับกอสรางเคเบิลใตดินแรงต่ํา แบบเลขที่ SA1-015/46009 การประกอบเลขที่
7360
56. HANDHOLE แบบ HH-2 สําหรับกอสรางเคเบิลใตดินแรงต่ํา แบบเลขที่ SA1-015/46010 การประกอบเลขที่
7361
57. การติดตั้งระบบเคเบิลใตดินแรงต่ําชวงตอเชื่อมที่เมนชายคาตัวอาคาร แบบเลขที่ SA1-015/49013 การ
ประกอบเลขที่ 7405
58. การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 1-2 เครื่อง แบบเลขที่ SA1-015/49015 การประกอบเลขที่ 7406
59. การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย ตั้งแต 3-4 เครื่อง แบบเลขที่ SA1-015/49016 การประกอบเลขที่ 7407
60. การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย ตั้งแต 1-2 เครื่อง แบบเลขที่ SA1-015/49017 การประกอบเลขที่ 7408
61. การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย ตั้งแต 3-4 เครื่อง แบบเลขที่ SA1-015/49018 การประกอบเลขที่ 7409
62. การติดตั้งมิเตอร 1 เฟส 220 โวลต ขนาด 3-15 แอมป บนเสาคอนกรีต 8 ม. (สายเขามิเตอรทองแดง) แบบ
เลขที่ SA4-015/37030 การประกอบเลขที่ 0524 A
63. การติดตั้งมิเตอร 1 เฟส 220 โวลต ขนาด 3-15 แอมป บนเสาคอนกรีต 9 ม. (สายเขามิเตอรทองแดง) แบบ
เลขที่ SA4-015/37033 การประกอบเลขที่ 0525 A
64. การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 1 เฟส 220 โวลต ที่เมนชายคาตัวอาคาร แบบเลขที่ SA1-015/24021 การประกอบเลข
ที่ 0517
65. การติดตั้งมิเตอรแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย ที่เมนชายคา แบบเลขที่ SA1-015/23057 การประกอบเลขที่ 0523
ภาคผนวก ข
ผังวงจรการตอลงดินที่ตูเมนสวิตช
1.เมนสวิตชใชเครื่องตัดวงจรกระแสเกินขั้วเดี่ยว(1-pole)
1.1 กรณีใชขั้วตอสายศูนยและขั้วตอสายดินรวมกัน
L N หมายเหตุ
1. ควรมีเครื่องตัดไฟรั่ว(RCD) ดวย การมีเครื่องตัดไฟ
รั่วดวยจะชวยเสริมการปองกันอันตรายจากไฟฟา ให
สมบูรณปลอดภัยยิ่งขึ้น
2. กรณีที่มีขั้วตอสายศูนยเพียงชุดเดียว(ใชรวมกันกับขั้ว
ตอสายดิน) จะตอเครื่องตัดไฟรั่วไดเฉพาะในวงจร
RCD
ยอยเทานั้น
3. จะใชเครื่องตัดไฟรั่วในวงจรหลักไดตองมีขั้วตอสาย
ศูนยและขั้วตอสายดินแยกออกจากกัน
4. Circuit breaker ของวงจรหลัก ตองมีคุณสมบัติของ
L N G
เครื่องปลดวงจรดวย
1.2 กรณีมีขั้วตอสายดิน(ground bus) ดวย
หมายเหตุ
L N 1. ควรมีเครื่องตัดไฟรั่ว(RCD) ดวย การมีเครื่องตัดไฟ
รั่วดวยจะชวยเสริมการปองกันอันตรายจากไฟฟา ให
สมบูรณปลอดภัยยิ่งขึ้น
RCD 2. เครื่องตัดไฟรั่วสามารถใชไดทั้งในวงจรหลักและใน
วงจรยอย
3. Circuit breaker ของวงจรหลัก ตองมีคุณสมบัติของ
เครื่องปลดวงจรดวย
RCD 4. ขั้วตอสายดิน(G) ตองไมเล็กกวาขั้วตอสายศูนย(N)
5. ขั้วตอสายศูนย(N) ตองมีฉนวนคั่นกับตัวตูที่เปน
โลหะ
L N G
6. กรณีที่ไมใชเครื่องตัดไฟรั่ว สายศูนยจะตอตามผัง
หรือสายศูนยจากเครื่องวัด จะตอเขาที่ขั้วตอสายศูนย
(N) เลยก็ได แตตองมีสายตอฝากระหวางขั้ว N และ
ขั้ว G ตามขนาดที่กําหนด และสายตอหลักดินจะตอ
จากขั้วตอสายศูนย(N) หรือขั้วตอสายดิน(G) ก็ได
กรณีนี้ขั้วตอสายศูนยไมจําเปนตองมีฉนวนคั่นกับตัว
ตูที่เปนโลหะ
2. เมนสวิตชใชเครื่องตัดวงจรกระแสเกินชนิดมี 2 ขั้ว (2-pole)
L N หมายเหตุ
1. ควรมีเครื่องตัดไฟรั่ว(RCD) ดวย การมีเครื่องตัดไฟ
รั่วดวยจะชวยเสริมการปองกันอันตรายจากไฟฟา ให
สมบูรณปลอดภัยยิ่งขึ้น
2. เครื่องตัดไฟรั่วสามารถใชไดทั้งในวงจรหลักและใน
RCD
วงจรยอย
3. Circuit breaker ของวงจรหลัก ตองมีคุณสมบัติของ
เครื่องปลดวงจรดวยและตองตัดพรอมกัน 2 ขั้ว
4. ขั้วตอสายดิน(G) ตองไมเล็กกวาขั้วตอสายศูนย(N)
RCD 5. ขั้วตอสายศูนย(N) ตองมีฉนวนคั่นกับตัวตูที่เปน
โลหะ
L N G

3. เมนสวิตชใชเครื่องปลดวงจรชนิด 2 ขั้ว(2-pole) พรอมฟวส


L N หมายเหตุ
1. ควรมีเครื่องตัดไฟรั่ว(RCD) ดวย การมีเครื่องตัดไฟ
รั่วดวยจะชวยเสริมการปองกันอันตรายจากไฟฟา ให
สมบูรณปลอดภัยยิ่งขึ้น
2. เครื่องตัดไฟรั่วสามารถใชไดทั้งในวงจรหลักและใน
RCD วงจรยอย
3. ขั้วตอสายดิน(G) ตองไมเล็กกวาขั้วตอสายศูนย(N)
4. ขั้วตอสายศูนย(N) ตองมีฉนวนคั่นกับตัวตูที่เปน
โลหะ
RCD 5. เครื่องปลดวงจรตองเปนชนิดปลด load ได และตอง
ปลดพรอมกันทั้ง 2 ขั้ว กรณีใชคัทเอาทและใช
cartridge fuse หรือ circuit breaker เปนตัวปองกัน
L N G
กระแสเกิน
6. หามตอฟวสในวงจรสายศูนย
4. เมนสวิตชใชเครื่องตัดวงจรกระแสเกินชนิดมี 3 ขั้ว(3-pole)
หมายเหตุ
L1 L2 L3 N 1. ควรมีเครื่องตัดไฟรั่ว(RCD) ดวย การมีเครื่องตัดไฟ
รั่วดวยจะชวยเสริมการปองกันอันตรายจากไฟฟา ให
สมบูรณปลอดภัยยิ่งขึ้น
ขอยกเวน เมนสวิตชขนาดเกิน 1000 A ตองมีเครื่อง
ตัดไฟรั่ว
RCD
2. Circuit breaker ของวงจรหลัก ตองมีคุณสมบัติของ
เครื่องปลดวงจรดวย
3. ขั้วตอสายดิน(G) ตองไมเล็กกวาขั้วตอสายศูนย(N)
4. ขั้วตอสายศูนย(N) ตองมีฉนวนคั่นกับตัวตูที่เปน
L1 L2 L3 N G โลหะ
5. กรณีที่ไมใชเครื่องตัดไฟรั่ว สายศูนยจะตอตามผัง
หรือสายศูนยจากเครื่องวัด จะตอเขาที่ขั้วตอสายศูนย
(N) เลยก็ได แตตองมีสายตอฝากระหวางขั้ว N และ
ขั้ว G ตามขนาดที่กําหนด และสายตอหลักดินจะตอ
จากขั้วตอสายศูนย(N) หรือขั้วตอสายดิน(G) ก็ได
กรณีนี้ขั้วตอสายศูนยไมจําเปนตองมีฉนวนคั่นกับตัว
ตูที่เปนโลหะ
ภาคผนวก ค
ขีดจํากัดของฮารมอนิกสในระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค

ผูใชไฟฟาจะตองมีปริมาณฮารมอนิกสเปนไปตามขอกําหนดขอใดขอหนึ่งดังตอไปนี้
(1) ปริมาณกระแสฮารมอนิกสที่เกิดจากโหลดของผูใชไฟฟาจะตองไมเกินคาในตารางตอไปนี้

ตารางขีดจํากัดกระแสฮารมอนิกสสําหรับผูใชไฟฟารายใดๆ ที่จุดตอรวม*
ระดับแรงดัน อันดับฮารมอนิกสและขีดจํากัดของกระแส (A ms)
ไฟฟาที่จุดตอ
รวม (kV) 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19
0.4 48 34 22 56 11 40 9 8 7 19 6 16 5 5 5 6 4 6
22 และ 33 11 7 5 9 4 6 3 2 2 6 2 5 2 1 1 2 1 1
69 8.8 5.9 4.3 7.3 3.3 4.9 2.3 1.6 1.6 4.9 1.6 4.3 1.6 1 1 1.6 1 1
115 and above 5 4 3 4 2 3 1 1 1 3 1 3 1 1 1 1 1 1
*ยอมใหเกินไดไมเกินรอยละ 10 หรือ 0.5 A (คาที่มากกวาคาใดคาหนึ่ง) ใชกับขีดจํากัดกระแสไดไม
เกิน 2 อันดับ และคาความเพี้ยนฮารมอนิกสของแรงดันที่จุดตอรวม (PCC) กอนที่จะตอเชื่อมโหลด
ใหมดังกลาว จะตองมีคาไมเกิน 75% (หากเกินใหพิจารณาดวยขอ 2) ของคาขีดจํากัด ความเพี้ยน
ฮารมอนิกสตามตารางในขอ 2
(2) เมือ่ ผูใ ชไฟฟาเชือ่ มตอเขากับระบบของ กฟภ. แลวความเพีย้ นฮารมอนิกสของแรงดัน (harmonic
voltage distortion) จะตองไมเกินคาในตารางดังตอไปนี้

ตารางขีดจํากัดความเพี้ยนฮารมอนิกสของแรงดันสําหรับผูใชไฟฟารายใดๆ ที่จุดตอรวม
(รวมทั้งระดับความเพี้ยนที่มีอยูเดิม)
คาความเพี้ยนฮารมอนิกสของแรงดัน
ระดับแรงดันไฟฟา คาความเพื้ยนฮารมอนิกส
แตละอันดับ (%)
ที่จุดตอรวม (kV.) รวมของแรงดัน (%)
อันดับคี่ อันดับคู
0.4 5 4 2
22 4 3 1.75
33 3 2 1
69 2.45 1.63 0.82
115 and above 1.5 1 0.5

อางถึง : PRC-PQG-01/1998, ขอกําหนดกฎเกณฑฮารมอนิกสเกี่ยวกับไฟฟาประเภทธุรกิจและอุตสาหกรรม


คณะกรรมการปรับปรุงความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา โดยการไฟฟาฝายผลิต-
แหงประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมิภาค และ การไฟฟานครหลวง
ขีดจํากัดของแรงดันกระเพื่อมในระบบของการไฟฟาสวนภูมิภาค

ผูใชไฟฟาที่มีโหลดที่ทําใหเกิดแรงดันกระเพื่อม (voltage fluctuation) เชน การเริ่มเดิน


โหลดขนาดใหญ หรือการสตารทมอเตอร เปนตน จะตองเปนไปตามขอกําหนดขอใดขอหนึ่งดังตอ
ไปนี้
1. เควีเอของโหลดที่ทําใหเกิดแรงดันกระเพื่อมตองไมเกิน 0.2% ของเควีเอลัดวงจรต่ํา
สุดที่จุดตอรวม
2. กรณีโหลดที่ไมเกิน 3% ของคาเควีเอลัดวงจรต่ําสุดที่จุดตอรวม จะตองเปนดังนี้ :
2.1 แรงดันเปลี่ยนแปลง (∆u/u, %) ของแตละโหลดตองไมเกินเสนกราฟหมาย
เลข 1
2.2 ดรรชนีไฟกะพริบระยะสั้น (short-term severity values, Pst) ซึ่งวัดโดยเครื่อง
flickermeter ตองมีคาไมเกิน 0.5
3. กรณีไมผานขอ 1 และ 2 ใหประเมินจากแรงดันกระเพื่อมของโหลดใหมและ
โหลดเดิมที่มีอยูในระบบตามวิธีที่กําหนดโดย จะตองไมทําใหเกิดแรงดันเปลี่ยน
แปลงเกินเสนกราฟหมายเลข 2 หรือ Pst ไมเกิน 1 และจะตองไมทําใหคา long-
term severity value (Plt) มีคาเกิน 0.8 โดยคา Plt คํานวณไดจากสูตร
× (Pst j )
1 j =n 3
Plt = 3
n j =1
n= จํานวนของคา Pst ในชวงเวลาที่หาคา Plt ชวงเวลาที่เแนะนําคือ 2 ชั่วโมง
ดังนั้น n=12
อางถึง : PRC-PQG-02/1998, ขอกําหนดกฎเกณฑแรงดันกระเพื่อมเกี่ยวกับไฟฟาประเภทธุรกิจและอุตสาหกรรม
คณะกรรมการปรับปรุงความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา โดยการไฟฟาฝายผลิตแหง
ประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมิภาค และ การไฟฟานครหลวง
ภาคผนวก ง
ไดอะแกรมเสนเดี่ยวการเชื่อมตอระบบไฟฟาของผูใชไฟฟากับระบบไฟฟา
ของการไฟฟาสวนภูมิภาค
ภาคผนวก จ-1
คุณสมบัติทางเทคนิคของสายเคเบิลอากาศ (Spaced Aerial Cable)

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
Type of conductor - Aluminum
Nominal cross-sectional area mm2 50 95 120 185 50 95 120 185
Stranding - Compact stranded
Outside diameter +1% mm 8.33 11.45 12.95 15.98 8.33 11.45 12.95 15.98
Conductor
Calculated breaking strength Min. N 7,890 14,380 19,110 29,600 7,890 14,380 19,110 29,600
2
Volume resistivity of Al wire Ω-mm /m 0.028264
at 20oC Max.
o
DC resistance at 20 C Max. Ω/km 0.592 0.313 0.245 0.161 0.592 0.313 0.245 0.161
Conductor Thickness, not less than Min. mm 0.0635
shield Average mm 0.3
DC volume resistivity Ω-cm 50,000
at 90oC Max.
Insulation Thickness mm 3.175 4.445
Jacket Thickness mm 3.175 3.175
Cable Overall outside diameter, approx. mm 22.0 25.2 26.7 29.7 24.6 27.7 29.2 32.2
Electrical AC test voltage for 5 minutes kV 38 49
test voltage DC test voltage for 5 minutes kV 100 125
ภาคผนวก จ-2
คุณสมบัติทางเทคนิคของลูกถวย

57-2 57-3 57-4


ลูกถวยแทง (Line post type)

56/57-2 56/57-3 56/57-4


ลูกถวยแทงกานตรง (Pin post type)

52-1 52-4
ลูกถวยแขวน (Suspension type)
ลูกถวยแทง (Line post type)
ชนิดลูกถวย
รายการ หนวย
57-2 57-3 57-4
พิกัดทางมิติ ต่ําสุด
ระยะรั่ว mm 559 737 1015
ระยะอารกแหง mm 241 311 368
พิกัดทางกล
ความแข็งแรงทางยื่น (Cantilever strength) kN 12.5 12.5 12.5
ความทนโหลดทางยื่น kN 5 5 5
พิกัดทางไฟฟา
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวแหงความถี่ต่ํา kV 110 125 150
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวเปยกความถี่ต่ํา kV 85 100 125
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤตทางบวก kV 180 210 255
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤตทางลบ kV 205 260 340
พิกัดทางแรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุ
แรงดันไฟฟาทดสอบความถี่ต่ํา คารากของกําลังสอง kV 22 30 44
เฉลี่ยเทียบกับดิน
แรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุสูงสุด µV 100 200 200
ที่ 1000 กิโลเฮิรตซ
ลูกถวยแทงกานตรง (Pin post type)
ชนิดลูกถวย
รายการ หนวย
56/57-2 56/57-3 56/57-4
พิกัดทางมิติ ต่ําสุด
ระยะรั่ว mm 534 699 953
ระยะอารกแหง mm 267 356 483
พิกัดทางกล
ความแข็งแรงทางยื่น (Cantilever strength) kN 12.5 12.5 12.5
ความทนโหลดทางยื่น kN 5 5 5
พิกัดทางไฟฟา
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวแหงความถี่ต่ํา kV 110 120 140
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวเปยกความถี่ต่ํา kV 80 85 95
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤตทางบวก kV 180 210 225
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤตทางลบ kV 205 230 300
พิกัดทางแรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุ
แรงดันไฟฟาทดสอบความถี่ต่ํา คารากของกําลังสอง kV 22 30 44
เฉลี่ยเทียบกับดิน
แรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุสูงสุด µV 100 200 200
ที่ 1000 กิโลเฮิรตซ
ลูกถวยแขวน (Suspension type)
ชนิดลูกถวย
รายการ หนวย
52-1 52-4
พิกัดทางมิติ ต่ําสุด
ระยะรั่ว mm 178 292
พิกัดทางกล
ความแข็งแรงรวมทางกลและทางไฟฟา kN 44.48 66.72
ความแข็งแรงตอการกระทบทางกล cm-N 507.37 621.34
ความทนแรงดึง kN 22.24 33.36
โลดเวลา kN 26.69 44.48
พิกัดทางไฟฟา
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวแหงความถี่ต่ํา kV 60 80
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวเปยกความถี่ต่ํา kV 30 50
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤตทางบวก kV 100 125
แรงดันไฟฟาวาบไฟตามผิวอิมพัลสวิกฤตทางลบ kV 100 130
แรงดันไฟฟาเจาะผานความถี่ต่ํา kV 80 110
พิกัดทางแรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุ
แรงดันไฟฟาทดสอบความถี่ต่ํา คารากของกําลังสอง kV 7.5 10
เฉลี่ยเทียบกับดิน
แรงดันไฟฟารบกวนคลื่นวิทยุสูงสุด µV 50 50
ที่ 1000 กิโลเฮิรตซ
ภาคผนวก จ-3
คุณสมบัติทางเทคนิคของกับดักเสิรจ (Surge arrester)

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
System grounding - Solidly NGR Solidly
Rated voltage, Ur kV 21 24 30
Nominal discharge current, 8/20 µs wave shape kA,peak 10 10 10
Max. residual voltage, at nominal discharge kV,peak 60 68.5 85.5
current
High-current impulse withstand kA,peak 100 100 100
Line discharge - Class 2
Virtual duration of peak µs 2000
-
Housing material Silicone rubber
Creepage distance mm 600 900
ภาคผนวก จ-4
คุณสมบัติทางเทคนิคของดรอพเอาทฟวสคัทเอาท

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
Rated maximum (design) voltage kV 27 27/34.5
Rated continuous current A 100 or 200 100 or 200
Rated asymmetrical interrupting current kA,rms 12 8
Basic impulse insulation level (BIL) kV,peak 125 150
Min. normal-frequency dry test voltage, kV,rms 42 70
terminal to ground
Min. creepage distance of porcelain insulator, mm 320 650
From live part to ground
ภาคผนวก จ-5
คุณสมบัติทางเทคนิคของสวิตชตัดตอน (Disconnecting Switch)

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
Rated maximum (design) voltage kV 25.8 38
Rated continuous current A 600 600
Rated short-time withstand current, 1 second kA,rms 25 25
Basic impulse insulation level (BIL) kV,peak 150 200
Rated 1-min power-frequency withstand kV,rms 70 95
voltage,dry
Rated 10-sec power-frequency withstand kV,rms 60 80
voltage,wet
ภาคผนวก จ-6
คุณสมบัติทางเทคนิคของรีโคลสเซอร

Description Required data

Nominal system voltage kV 22 33


Rated voltage kV 24 36
Rated frequency Hz 50 50
Rated continuous current, not less than A 560 560
Rated symmetrical interrupting current kArms 12 10
Rated impulse withstand voltage (BIL), not less than kV, peak 125 150
1-minute low frequency withstand voltage, dry kVrms 60 70
10-seconds low frequency withstand voltage, wet kVrms 50 60
Creepage distance live part to ground, not less than mm 600 900
ภาคผนวก จ-7
คุณสมบัติทางเทคนิคของเคเบิลใตดิน

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
Type of conductor - Annealed copper
Nominal cross-sectional area mm2 50 240 400 50 240 400
Min. number of wires - 6 34 53 6 34 53
Conductor
Stranding - Compact round stranded
Outside diameter +1% mm 8.33 18.47 23.39 8.33 18.47 23.39
DC resistance at 20oC Max. Ω/km 0.387 0.0754 0.0470 0.387 0.0754 0.0470
-
Conductor Material Semi-conductive XLPE
screen Thickness, approx. mm 0.5
Material - XLPE
-
Curing method Dry curing process
Insulation
Thickness, average mm 5.5 8.0
Diameter over insulation, approx. mm 20.5 30.5 35.5 25.5 35.5 40.5
Insulation Material - Semi-conductive XLPE
screen Thickness, average mm 0.5
Material - Copper wires with copper contact tape
Metallic
Total cross-section area, min. mm2 10 25 25 10 25 25
screen
Number of wires - 20 30 30 20 30 30
Water Material - Non-conductive non-biodegradable tape
blocking
Non-metallic Material - Black PE
sheath Thickness, average mm 1.8 2.2 2.4 2.0 2.4 2.6
Overall diameter, approx. mm 30 42 48 35 47 55
ภาคผนวก จ-8
คุณสมบัติทางเทคนิคของหัวเคเบิล (Cable terminator)

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
- Pre-molded slip-on ,or Pre-molded shrinkable,
Type
or Heat shrinkable
Material - Polymeric
Nominal cross-section area of conductor mm2 50 120 185 240 400 50 120 185 240 400
Twisted Aerial Cable mm 7.7-8.6 12.5- 15.5- 17.8- - 7.7-8.6 12.5- 15.5- 17.8- 7.7-8.6
Diameter of
13.5 16.8 19.2 13.5 16.8 19.2
conductor
Underground Cable mm 8.33 12.95 15.98 18.47 23.39 8.33 12.95 15.98 18.47 23.39
Overall Twisted Aerial Cable mm
diameter Underground Cable mm 30 34 38 42 48 35 40 44 47 55
ภาคผนวก จ-9
คุณสมบัติทางเทคนิคของแผงสวิตชแรงสูง

Ring Main Unit (RMU)

Item Description 22 kV system 33 kV system

1 Rated voltage 24 kV 36 kV

2 Rated lightning impulse withstand voltage 125 kV peak 170 kV peak

3 Rated one-minute power frequency withstand voltage 50 kV r.m.s. 70 kV r.m.s.

4 Rated frequency 50 Hz 50 Hz

5 Rated normal current

- cable feeder 600 A 400 A

- transformer feeder 200 A 200 A

6 Rated short-time current (1 sec), at rated voltage 16 kA 16 kA

7 Rated short-circuit making current, at rated voltage 40 kA peak 40 kA peak


22 kV Air Insulated Switchgear (AIS)

- Circuit breaker
The circuit breaker shall have the following design and performance criteria, or better:

Item Description 22 kV System


1 Rated Voltage 24 kV
2 Rated short time breaking current 25 kA rms
3 Rated short circuit making current 63 kA peak
4 Rated duration of short circuit 1 sec
5 Rated operating sequence O-0.3s-CO-15s-CO
6 Rated autoreclosing duty O-0.3s-CO-15s-CO
7 Rated total time break Not more than 70 ms
- Switchgear

The switchgears shall have the following design and performance criteria, or better:

Item Description 22 kV
1 Rated normal current, at special site and service conditions: According to customer demand
2 Rated short time withstand current 25 kA rms
3 Rated peak withstand current 63 kA peak
4 Rated duration of short circuit 1 sec
6 Degree of protection for cubicle and between compartments IP4X
7 Rated voltage 24 kV
8 Power frequency 50 Hz
9 Number of phases 3
10 Power frequency withstand voltage
- Phase to earth and between phases 50 kV
- Across open switching device and isolate distance 60 kV
11 Lightning impulse withstand voltage
- Phase to earth and between phases 125 kV
Item Description 22 kV
- Across open switching devices and isolated distance 145 kV
12 Applicable standard IEC 60298
22 kV and 33 kV Gas Insulated Switchgear

The switchgears shall have the following design and performance criteria, or better:
Item Description 22 kV System 33 kV System
1 Rated normal current, at special site and service According to customer demand
conditions:
2 Rated short time withstand current in 1 second 25 kA rms
3 Rated peak withstand current 63 kA rms
4 Rated duration of short circuit 1
5 Degree of protection for control unit and auxiliary IP4X
equipment
6 Degree of protection for SF6 gas compartment IP65
9 Rated voltage 24 36
10 Power frequency 50 Hz
11 Number of phases 3
12 Power frequency withstand voltage
- Phase to earth and between phases 50 kV 70 kV
- Across isolate distance 60 kV 80 kV
13 Lightning impulse withstand voltage
- Phase to earth and between phases 125 kV 170 kV
- Across open switching devices and isolated distance 145 kV 195 kV
14 Applicable standard IEC 60298
ภาคผนวก จ-10
คุณสมบัติทางเทคนิคของหมอแปลง

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
Primary voltage kV 22 33
Secondary voltage V 400/230
Winding connection - Dyn11
Basic impulse insulation level (BIL), full wave kV,peak 125 170
Power frequency withstand voltage kV,rms 50 70
Tapping - +/- 2 x 2.5%

Losses and short-circuit impedance

Transformer Losses (Watts) Short-circuit


Rating No-load losses Load loss at 75oC Impedance
(kVA) 22 kV 33 kV (% at 75oC)
100 250 260 1,550 4
160 360 370 2,100 4
250 500 520 2,950 4
315 600 630 3,500 4
400 720 750 4,150 4
500 860 900 4,950 4
630 1,010 1,050 5,850 4
800 1,200 1,270 9,900 6
1,000 1,270 1,300 12,150 6
1,250 1,500 1,530 14,750 6
1,500 1,820 1,850 17,850 6
2,000 2,110 2,140 21,600 6
ภาคผนวก จ-11
คุณสมบัติทางเทคนิคของคาปาซิเตอรแรงสูง

Description Unit Required data


System voltage kV 22 33
Type - Single-phase
Number of bushing - 2 1
Rated voltage kV 12.7 19
Connection - Star connection with floating neutral
Basic impulse insulation level (BIL), full wave kV,peak 95 125
Creepage distance, live part to ground mm 450 660
ภาคผนวก ฉ-1
คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 kV CIRCUIT BREAKER
ที่ รายการ หนวย ความตองการ
1 Type - SF6 gas, outdoor, live-tank,
single pressure
2 Nominal voltage kV 115

3 Rated voltage kV 123

4 Power frequency Hz 50

5 Number of phases - 3

6 Power frequency withstand voltage in 1 minute


- Phase to earth and between phases kV rms 230
- Across open switching device and isolate distance kV rms 265
7
Lightning impulse withstand voltage (kV peak)
- Phase to earth and between phases kV peak 550
- Across open switching devices and isolated distance kV peak 630
9 Number of interrupter per pole - 1
10 Rated normal current A 2000
11 Rated short time withstand current in 1 second kA rms 31.5 or 40
12 Rated total time (closing or breaking) ms Not more than 60
13 Operating mechanism for closing and opening - Spring
14 Operating sequence - O-0.3s-CO-15s-CO
15 Creepage distance, based on rated voltage mm/kV 25 or 31
16 Line terminal - 4 Hole NEMA-Pad
17 Applicable standard - IEC62271-100, IEC60694 and
IEC61233
ภาคผนวก ฉ-2
คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV DISCONNECTING SWITCH
ที่ รายการ หนวย ความตองการ
1 Type - Outdoor, three-pole, rotating
insulator, horizontal double-side
break type

2 Nominal voltage kV 115

3 Rated voltage kV 123

4 Power frequency Hz 50

5 Number of phases - 3

6 Power frequency withstand voltage in 1 minute


- Phase to earth and between phases kV rms 230
- Across open switching device and isolate distance kV rms 265
7
Lightning impulse withstand voltage (kV peak)
- Phase to earth and between phases kV peak 550
- Across open switching devices and isolated distance kV peak 630
8 Equipment minimum clearance (metal to metal)
- Phase to phase mm 1,400
- Phase to earth mm 1,100
9 Rated normal current A 2000
10 Rated short time withstand current in 1 second kA rms 31.5 or 40
11 Creepage distance, based on rated voltage mm/kV 25 or 31
12 Line terminal - 4 Hole NEMA-Pad
13 Applicable standard - IEC 62271-102
ภาคผนวก ฉ-3
คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV CURRENT TRANSFORMERS
ที่ รายการ หนวย ความตองการ

1 Type - Outdoor, single phase,


oil filled
2 Nominal voltage kV 115
3 Rated voltage kV 123
4 Power frequency Hz 50
5 Number of phases - 3
6 Power frequency withstand voltage in 1 minute kV rms 230
7 Lightning impulse withstand voltage kV peak 550
8 Primary short circuit current IPSC kA rms 31.5 or 40
9 Rated primary current
- For terminal station, line bay A 1800-1200
- For terminal station, transformer bay A Transformer size
- For directly tapped station A Transformer size
10 Rated output and class - VA Class
- For protection 20 5P20
- For metering (not for Billing) 20 0.5
11 Creepage distance, based on rated voltage mm/kV 25 or 31
12 Insulation class - A
13 Line terminal - 4 Hole NEMA-Pad
14 Porcelain insulator color - Brown
15 Applicable standard - IEC 60044-1 & IEC
60044-6
ภาคผนวก ฉ-4
ขอกําหนดทางเทคนิคของอุปกรณ C.T. และ V.T. สําหรับติดตั้งมิเตอรผูใชไฟระบบ 115 kV

ขอกําหนดนี้บังคับใชสําหรับผูขอใชไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ตองการรับกระแสไฟฟา
ในระบบแรงดัน 115 kV ผานสายสงระบบ 115 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาค (ขอกําหนดนี้เปนไปตาม
อนุมัติ ผวก. ลว. 21 มี.ค. 2548) โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) ผูใชไฟฟาเปนผูจัดหา C.T., V.T. และเดินสายควบคุม โดยมีรายละเอียดทางเทคนิคดังนี้
Current transformer (C.T.)
- Accuracy : class 0.3
- Rated burden : ไมนอยกวา 30 VA
- Rated primary current : ไมเกิน 2 เทาของกระแสโหลดสูงสุดที่ใชงาน
- Rated secondary current : 5A
กรณีที่มีแผนที่จะเพิ่มเติมโหลดในอนาคตใหใช C.T. แบบเปลี่ยนขนาดได (Multi-range)
Voltage transformer (V.T.)
- Accuracy : class 0.3
- Rated burden : ไมนอยกวา 50 VA
- Rated primary voltage : 115,000 3 V
- Rated secondary voltage : 115 3 V
Control cable : ขนาดไมนอยกวา 2x10 sq.mm.
2) ระยะหางระหวางจุดติดตั้ง C.T. และ V.T. กับมิเตอร ตองไมเกิน 40 เมตร
3) อุปกรณ C.T. และ V.T. ตองผานการทดสอบความเที่ยงตรงจากหองทดสอบของหนวยงานภายใน
ประเทศ เชน กฟผ. เปนตน หรือหองทดสอบของบริษัทผูผลิต โดยมีเจาหนาที่ กฟภ. รวมในการ
ทดสอบดวย
4) ผูใชไฟฟาตองจัดสงรายละเอียดทางเทคนิค ให กฟภ. ตรวจสอบ ซึ่งประกอบดวย Test report และ
Specification ของ C.T. และ V.T. พรอม Single line diagram, แผนผัง Layout ของสถานีไฟฟาและ
โรงงาน
5) เมื่อผูใชไฟฟาดําเนินการติดตั้ง C.T. และ V.T. พรอมเดินสายควบคุม เสร็จเรียบรอยแลว ใหทํา
หนังสือแจง กองมิเตอร การไฟฟาสวนภูมิภาค เพื่อดําเนินการติดตั้งมิเตอรกอนรับกระแสไฟฟาอยาง
นอย 7 วันทําการ
ภาคผนวก ฉ-5
คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV VOLTAGE TRANSFORMERS
ที่ รายการ รายการ ความตองการ
1 Type - Outdoor, single phase, oil
filled
2 Nominal voltage kV 115
3 Rated voltage kV 123
4 Power frequency Hz 50
5 Number of phases - 3
6 Power frequency withstand voltage in 1minute kV rms 230
7 Lightning impulse withstand voltage kV peak 550
8 Rated secondary voltage V 115/115/ √3 // 115/115/ √3
9 Rated output and class - VA Class
- For protection 50 3P
- For metering (not for Billing) 50 0.3
10 Rated output simultaneously: at least VA 100
11 Number of secondary winding - 2
12 Creepage distance, based on rated voltage Mm/kV 25 or 31
13 Class insulation - A
14 Line terminal (Vertical) - 4-Hole NEMA Pad
15 Porcelain insulator color - Brown
16 Applicable standard - IEC60044-2
ภาคผนวก ฉ-6
ขอกําหนดการกอสรางสถานีไฟฟาแบบ Terminal Station
สําหรับผูขอใชไฟฟาในระบบ 115 kV

ขอกําหนดนี้บังคับใชสําหรับผูขอใชไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ตองการรับกระแสไฟฟา
ในระบบแรงดัน 115 kV ผานสายสงระบบ 115 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาค และมีการกําหนดใหตอง
กอสรางสถานีไฟฟาแบบ Terminal Station เพื่อเปนจุดรับกระแสไฟฟา

ก. รูปแบบของสถานีไฟฟา
สถานีไฟฟาที่กอสรางสามารถดําเนินการไดทั้งชนิดภายนอกอาคาร หรือภายในอาคาร โดยมีรูปแบบ
การจัดวางบัสเปนชนิด Single-bus, Single-C.B. ตามเอกสารแนบ มีจํานวนเซอรกิตเบรกเกอร 3 ชุด
เปนดานรับกระแสไฟฟา 2 ชุด และดานจายกระแสไฟฟาใหผูขอใชไฟฟา 1 ชุด พรอมอุปกรณปอง
กันเบื้องตนที่การไฟฟาสวนภูมิภาคกําหนดตามแบบ 115 kV CUSTOMER TERMINAL STATION
จํานวน 2 แผน แนบทายภาคผนวกนี้ ทั้งนี้การไฟฟาสวนภูมิภาคขอสงวนสิทธในการเปลี่ยนแปลงรูป
แบบอุปกรณปองกันตามความเหมาะสม โดยอุปกรณที่ใชในสถานีไฟฟาตองมีมาตรฐานตามที่การ
ไฟฟาสวนภูมิภาคกําหนด หรือไดรับความเห็นชอบจากการไฟฟาสวนภูมิภาค
ข. คาใชจายในการกอสรางสถานีไฟฟาและระบบสายสง
คาใชจายในการกอสรางระบบสายสงของผูใชไฟจากจุดตอแยกจากสายสงของการไฟฟาสวนภูมิภาค
และสถานีไฟฟาของผูใชไฟ ผูขอใชไฟฟาตองเปนผูรับภาระคาใชจายเพื่อขอรับกระแสไฟฟาทั้งหมด
รวมถึงที่ดินในการกอสราง, คากอสรางดานโยธา, คากอสรางระบบไฟฟา, คาใชจายในการตรวจสอบ
และการทดสอบกอนการจายกระแสไฟฟา
ค. จุดแบงความรับผิดชอบในการดําเนินการและสิทธิ์ในการควบคุมสถานีไฟฟา
1. กําหนดใหเสาไฟฟาตนแรกนับจากแนวสายสง 115 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาค เปนจุดแบง
ความรับผิดชอบ
2. การไฟฟาสวนภูมิภาคขอสงวนสิทธิ์ในการเขาไปควบคุมในสวนของอุปกรณเซอรกิตเบรกเกอร
ทั้งสองชุด ดานรับกระแสไฟฟา Disconnecting switches พรอม Earthing switches ทุกตัวจนถึง
หนาเซอรกิตเบรกเกอรดานจายกระแสไฟฟาไดโดยอิสระ เพื่อความมั่นคงของระบบสายสงของ
การไฟฟาสวนภูมิภาค และเขาจดหนวยการใชพลังงานไฟฟา โดยผูขอใชไฟฟาตองจัดทําถนน
เฉพาะจากทางสาธารณะไปยังอาคารควบคุม เพื่อใหเจาหนาที่ของการไฟฟาสวนภูมิภาคหรือผูที่
ไดรับมอบหมายจากการไฟฟาสวนภูมิภาค สามารถเขาไปยังอาคารควบคุมไดตลอด 24 ชั่วโมง
3. กรณีที่อุปกรณในสวนที่การไฟฟาสวนภูมิภาคสงวนสิทธิ์ในการควบคุมไดรับความเสียหายอัน
เกิดจากการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของการไฟฟาสวนภูมิภาค การไฟฟาสวนภูมิภาคจะรับผิด
ชอบในการซอมแซม แกไข หรือเปลี่ยนอุปกรณใหม นอกเหนือจากกรณีดังกลาว การไฟฟาสวน
ภูมิภาคจะดําเนินการตรวจสอบเพื่อเสนอแนวทางแกไข โดยผูใชไฟฟาตองรับผิดชอบคาใชจาย
ในการซอมแซม แกไข หรือเปลี่ยนอุปกรณทั้งหมดเอง
ง. การปรับปรุง เพิ่มเติมอุปกรณในอนาคต
1. การไฟฟาสวนภูมิภาคขอสงวนสิทธิ์ที่จะเขาดําเนินการปรับปรุง เพิ่มเติมอุปกรณที่มีความสําคัญ
ตอความมั่นคงของระบบไฟฟาในอนาคต เชนการติดตั้งอุปกรณปองกัน, อุปกรณควบคุม
อัตโนมัติ ในสวนของอุปกรณที่การไฟฟาสวนภูมิภาคสงวนสิทธไวในขอ ค.
2. ผูขอใชไฟฟาตองจัดเตรียม Terminals สําหรับเดินสายเชื่อมโยงจากอุปกณในสถานีไฟฟา ใหการ
ไฟฟาสวนภูมิภาคสามารถติดตั้งอุปกณ Remote Terminal Unit (RTU) และอุปกรณสื่อสารเพื่อ
เชื่อมโยงเขาระบบสั่งการระบบไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาคในอนาคตดวย
3. หากผูใชไฟฟาตองการปรับปรุง เพิ่มเติม หรือ เปลี่ยนแปลงอุปกรณที่เกี่ยวของกับการควบคุม
หรือระบบปองกันที่เกี่ยวของกับอุปกรณที่การไฟฟาสงวนสิทธิ์ไวในขอ ค. ตองไดรับความเห็น
ชอบจากการไฟฟาสวนภูมิภาคกอนทุกครั้ง
จ. การทดสอบสถานีไฟฟากอนการจายกระแสไฟฟา
ภายหลังจากการกอสรางสถานีไฟฟาแลวเสร็จ ใหผูขอใชไฟฟาแจงการไฟฟาสวนภูมิภาคลวงหนา
เพื่อเขารวมเปนพยานในการทดสอบสถานีไฟฟา โดยใหปฏิบัติตามขอกําหนดการทดสอบอุปกรณใน
สถานีไฟฟากอนจายไฟสําหรับผูใชไฟฟาในระบบ 115 kV (ตามภาคผนวก ฉ-8) ของการไฟฟาสวน
ภูมิภาค
ภาคผนวก ฉ-7
คุณสมบัติทางเทคนิคของ 115 KV ON LOAD TAP CHANGER POWER TRANSFORMERS
ที่ รายการ รายการ ความตองการ
1 Type - Outdoor, three-phase, two-
winding, oil-filled, conservator
type with on-load tap changer
2 Power frequency Hz 50
3 Rated voltage
- High voltage side kV 115
- Low voltage side kV As per customer requirement
4 Highest System Voltage
- High voltage side kV 123

- Low voltage side kV As per customer requirement


5 Rated capacity MVA As per customer requirement
Basic Impulse Level (BIL)
- HV Delta winding kV 550
- HV Star winding kV 450
- HV Star neutral kV 170
- LV winding kV As per customer requirement
- LV neutral kV As per customer requirement
6 Vector group - As per customer requirement
7 Impedance voltage - 7.5% at self cooled rating
8 Winding insulation temperature class - A
9 Surge arrester on HV side
- Quantity per phase - 1
- Rated voltage kV 96
10 Applicable standard - IEC 60076-1, IEC 60076-10,
IEC 60214,
IEC 60354 & TIS 384
ภาคผนวก ฉ-8

ขอกําหนดการทดสอบอุปกรณในสถานีไฟฟากอนการจายไฟ สําหรับผูใชไฟฟา
ในระบบ 115 kV
เพื่อเปนการตรวจสอบความถูกตอง ภายหลังการติดตั้งอุปกรณภายในสถานีไฟฟา กอนจาย
กระแสไฟฟาใหผูขอใชไฟฟา ตองมีการทดสอบอุปกรณ พรอมเจาหนาที่การไฟฟาสวนภูมิภาคเขารวม
เปนพยานดวย โดยผูขอใชไฟฟาตองรับผิดชอบคาใชจายในการทดสอบทั้งหมด
การทดสอบประกอบดวย
- การทดสอบแยกรายอุปกรณ (Individual tests)
- การทดสอบการทํางาน (Functional tests)
- การทดสอบขั้นสุดทาย (Final tests)
ภายหลังการทดสอบ ผูขอใชไฟฟาตองจัดทํารายงานผลการทดสอบและจัดสงใหการไฟฟา
สวนภูมิภาค

1. การทดสอบแยกรายอุปกรณ (Individual tests)

1.1 Gas Insulated Switchgear

• การตรวจสอบดวยสายตา
• การตรวจสอบโครงสราง
• การตรวจสอบเทียบกับแบบและคูมือการติดตั้ง
• การตรวจสอบการเรียงลําดับเฟส
• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 5,000 VDC
• การวัดคาความตานทานของวงจรหลัก (Main circuit resistance measurement)
• การทดสอบการดิสชารจบางสวน (Partial discharge test) ตามมาตรฐาน IEC 60270
• การทดสอบการรั่วซึมของกาซ (Gas leakage test)
• การวัดคา Moisture content หรือ Dew point ของ SF6 gas กอนการเติม
• การทดสอบ Gas tightness test
• การวัดคา Moisture content หรือ Dew point ของ SF6 gas หลังการเติม
• การทดสอบ SF6 gas purity หลังการเติม
• การทดสอบการคงทนตอแรงดันไฟฟา (Power frequency withstand test) ที่ระดับ 80% ของ
การทดสอบประจํา (Routine test)
• การทดสอบเซอรกิตเบรคเกอร (ดูหัวขอ Circuit Breaker)
• การทดสอบ Disconnecting Switch (ดูหัวขอ Disconnecting Switch)
• การทดสอบ Current Transformer (ดูหัวขอ Current Transformer)
• การทดสอบ Voltage Transformer (ดูหัวขอ Voltage Transformer)
• การทดสอบการทํางานของอุปกรณ รวมทั้งอุปกรณปองกันทั้งหมด
• การตรวจสอบความถูกตองของการเดินสายไฟฟาเทียบกับแบบและขอกําหนดทางเทคนิค
• การทดสอบอื่นๆ ตามที่ผูผลิตแนะนํา
1.2 Circuit Breaker
• การตรวจสอบดวยสายตา
• การตรวจสอบโครงสราง
• การตรวจสอบเทียบกับแบบและคูมือการติดตั้ง
• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 5,000 VDC
• การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส (Contact resistance measurement)
• การทดสอบเวลาการทํางาน (Timing test) ที่ระดับแรงดันพิกัดและแรงดันต่ํา สําหรับการ
- ปดวงจร (Close)
- เปดวงจร (Trip)
- การทํางาน เปด-ปด-เปด (O-C-O operation)
• การวัดคาเวลาการชารจสปริงของชุดกลไก
• การทดสอบการทํางาน (Operation tests)
• การตรวจสอบความถูกตองของการเดินสายไฟฟาเทียบกับแบบและขอกําหนดทางเทคนิค
• การทดสอบการเปดวงจรฉุกเฉิน (Emergency trip test)
• การทดสอบการปดวงจรฉุกเฉิน (Emergency closing test) ถามี
• การทดสอบ Position indicator และ operation counter
• การทดสอบการคงทนตอแรงดันไฟฟา (Power frequency withstand test) ที่ระดับ 80% ของ
การทดสอบประจํา (Routine test)
• การทดสอบอื่นๆ ตามที่ผูผลิตแนะนํา

1.3 Disconnecting Switch and Earthing Switch

• การตรวจสอบดวยสายตา
• การตรวจสอบโครงสราง
• การตรวจสอบเทียบกับแบบและคูมือการติดตั้ง
• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 5,000 VDC
• การวัดคาความตานทานของหนาสัมผัส (Contact resistance measurement)
• การทดสอบแรงบิด (Operating torque)

• การทดสอบการทํางาน ไดแก การเปด-ปด, กลไกการทํางาน, การ Interlocking

• การทดสอบอื่นๆ ตามที่ผูผลิตแนะนํา

1.4 Instrument Transformer

1.4.1 Current Transformer (including specific for power transformers)

• การตรวจสอบดวยสายตา
• การตรวจสอบโครงสราง
• การตรวจสอบเทียบกับแบบและคูมือการติดตั้ง
• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 5,000 VDC
• การทดสอบ Magnetization curve ที่แทปสูงสุด และแทปที่ใชงาน
• การทดสอบคาประกอบกําลังสูญเสียของฉนวน (Loss tangent) ที่แรงดัน 10 kV AC
• การทดสอบคาความตานทานของขดลวดทุติยภูมิ
• การทดสอบอัตราทด (Ratio test)
• การทดสอบขั้ว (Polarity test)
• การทดสอบอื่นๆ ตามที่ผูผลิตแนะนํา

1.4.2 Voltage Transformer

• การตรวจสอบดวยสายตา
• การตรวจสอบโครงสราง
• การตรวจสอบเทียบกับแบบและคูมือการติดตั้ง
• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 5,000 VDC
• การทดสอบคาประกอบกําลังสูญเสียของฉนวน (Loss tangent) ที่แรงดัน 10 kV AC
• การทดสอบคาความตานทานของขดลวดทุติยภูมิ
• การทดสอบอัตราทด (Ratio test)
• การทดสอบขั้ว (Polarity test)
• การทดสอบอื่นๆ ตามที่ผูผลิตแนะนํา

1.4 Surge Arresters

• การตรวจสอบดวยสายตา
• การตรวจสอบโครงสราง
• การตรวจสอบเทียบกับแบบและคูมือการติดตั้ง
• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 5,000 VDC
• การทดสอบกระแสรั่วไฟฟาสลับ (AC leakage current) ที่พิกัดแรงดันใชงาน และที่ระดับ
แรงดันสูงสุด (MCOV)
• การทดสอบกระแสรั่วไฟฟาตรง (DC leakage current) ที่พิกัดแรงดันใชงาน และที่ระดับ
แรงดันสูงสุด (MCOV)
• การทดสอบคาประกอบกําลังสูญเสียของฉนวน (Loss tangent) ที่แรงดัน 10 kV AC
• การทดสอบอื่นๆ ตามที่ผูผลิตแนะนํา

1.6 อุปกรณลานไก และสายไฟฟา (Switchyard and Cables)

1.6.1 Bus, Bus Connector and Fitting

• การวัดคาความตานทานหนาสัมผัส (Contact resistance) ของทุกจุดตอ


• การตรวจสอบการจัดเรียงเฟส
• การตรวจสอบความแนนหนาของการขันจุดตอตางๆ

1.6.2 High Voltage Power Cable and Terminator, Single Circuit

• การตรวจสอบดวยสายตา
• การตรวจสอบเทียบกับแบบและคูมือการติดตั้ง
• การตรวจสอบการเรียงลําดับเฟส
• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 5,000 VDC
• การตรวจสอบการเชื่อมตอของสายชีลดกับดิน
• การทดสอบความคงทนตอแรงดันไฟฟากระแสสลับ (Hi-pot test)
• การทดสอบความคงทนตอแรงดันไฟฟาของสายชีลด ที่ 2 kV เปนเวลา 1 นาที

1.6.3 Low – Voltage Cable and Control Cable

• การทดสอบคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance test) ที่แรงดัน 500 VDC


• การตรวจสอบความตอเนื่องของตัวนํา
• การตรวจสอบการเชื่อมตอของสายชีลดกับดิน
• การตรวจสอบความถูกตองของการทําเครื่องหมายสาย (Wire marking)

1.7 Grounding System

• การตรวจสอบการแตกหรือรอยขีดขวนบนสายเชื่อมตอ
• การตรวจสอบความตอเนื่องของสายเชื่อมตอลงดิน
• การวัดคาความตานทานดิน (6 times of diagonal)

1.8 Control Panel / Protection Panel

• Visual inspection (completeness of equipment and accessories, fastening of individual


cubicles, etc.)
• Conformity of assembly with drawings and instructions
• Verification of wiring against drawings and specification
• Metering instrument test including tests of at least as specified elsewhere for relevant
instrument)
• Protective and auxiliary relay test
• Annunciator test
• Heater (including heating circuit) test
• Service lighting and outlets check
• Synchroscope test
• Function test including operation and calibration test of all device and accessories
(According to Approved Drawing)

1.9 Protective and Auxiliary Relay Test

1.9.1 การทดสอบทั่วไป

สําหรับระบบปองกันทั้งหมดตองทําการทดสอบอยางนอยตามรายการตอไปนี้ :
• General construction
• Protective relay calculations and relay setting sheets shall be provided by the
Construction Contractor and approved by the Head Contractor.
• Test each relay and device in accordance with manufacturer requirements
• Check all settings, switches, timers, dials, link connections and adjustments
• Circuit continuity check
• Insulation resistance measurement of each circuit
• Check mechanical movements and operation
• Verify proper voltage and current polarities and phase angles at the relays
• Verify proper power circuit breaker and motor operated disconnect switch control and
operation by each protective circuit main control system (a “dummy” circuit breaker
can be used to verify proper circuit breaker tripping from each circuit, however an
overall check shall also be made with the actual power circuit breaker)
• Complete functional tests verifying proper speed, sequence of operation and equipment
control required from the control system and protective devices
• Verify proper pick up levels of relay elements
• Test all indication, annunciation, alarms and system monitoring requirements
• Check panel cable entrance for satisfactory cable support and entrance sealing
• Panel mounting and grounding

1.9.2 Over current relay (50/51)

• Minimum pick up test at all tap settings


• Time characteristic tests at 3 current levels on the maximum, minimum and in service
time dial setting
• Instantaneous unit test at service setting
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps target and seal-in unit operation check
• Breaker fail initiation check
1.9.3 Transformer differential relay (87T)

• Check ratio and polarity of current transformers


• Check performance of the relay with secondary injection by using an appropriate relay test set
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps, target and seal-in unit operation check
• Minimum pick up test at the in service setting
• Measure currents on incoming CT leads with normal load current
• Measure differential current with normal load current flowing
• Check fault sensitivity by short circuiting one or more winding CTs
• Breaker fail initiation check

1.9.4 Bus differential relay (87B)

• Minimum pick up tests at the in service setting


• Check ratio and polarity of current transformer
• Operating time at service setting
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps, target and seal-in unit operation check
• Breaker fail initiation check
1.9.5 Bus wire supervision relay (95B)
Relay resistance check
Minimum operating voltage check
Relay Operation for open circuit check
Alarms check
1.9.6 Distance relay (21/21N)
• Impedance characteristic measurements necessary for plotting points on an R-X diagram
of the characteristics of all impedance relays
• Testing shall be performed using secondary current injection for determining relay
response
• Logic test (Construction Contractor shall utilise test equipment capable of functionally
testing all of the relay system logic)
• Verify proper relay system operation for different types of simulated power system faults
(phase to earth, phase-to-phase,3 phase) with the test set and secondary current injection
• Overcurrent elements shall be tested for proper pick up current level and time vs. current
characteristics shall be checked at minimum of 3 different current levels
• Verify proper interfacing with audio tone equipment (keying, received signals, audio
tone signal levels and communication equipment signal boosting levels)
• Check phasing and phase rotation after energising the instrument transformer primary
windings
• Check instrument transformer ratio and polarity
• Check of all timing unit operation and verification of timing
• Check of auto reclosure initiation and blocking
• Check of breaker fail protection initiation
• Check of proper sequence of event recorder, annunciator and indication operations
• Check operation of trip output relays
• Check power supply voltage and voltage regulation
1.9.7 Reclosing relay (79)
• Check initiation from line relay system
• Measurement and checkout of all timing operations (dead time timer, master timer and
follower timer)
• Functional check of master / follower logic
• Check reclosure blocking features
• Check for proper reset and lockout operation of the reclosing system
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Check operation of the synchronism check relay
• Overcurrent blocking unit test for proper pick up current level and time vs. current
characteristics at a minimum of 3 different current levels.
1.9.8 Synchronizing check relay (25)
• Minimum pick up voltage check
• Phase angle check
• Undervoltage blocking check
• Differential voltage blocking test
• System angle check (instantaneous and delay on operation)
• Dead line/live bus monitor check
• Alarms check
1.9.9 Directional over current relay (67/67N)
• Minimum pick up test at all tap settings
• Check polarizing voltages
• Forward tripping operation check
• Reverse blocking operation check
• Time characteristic tests in forward direction at 3 current levels on the maximum,
minimum and in service time dial setting
• Instantaneous unit test at service setting (forward)
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps target and seal-in unit operation check
• Breaker fail initiation check
1.9.10 Current differential relay (87L)
• Check ratio and polarity of current transformers
• Check performance of the relay with secondary injection by using an appropriate relay
test set
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps, target and seal-in unit operation check
• Minimum pick up test at the in service setting
• Measure currents on incoming CT leads with normal load current Measure differential
current with normal load current flowing
• Check fault sensitivity by short circuiting one or more winding CTs
• Breaker fail initiation check
1.9.11 Breaker failure relay (50/62BF)
• Minimum pick up level of all current detector units
• Initiation from desired protection relays
• Check timer operation to ensure proper timing
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps, target and seal – in unit operation
• Functional check of breaker fail control logic to ensure proper operation and tripping of
desired circuit breakers, proper direct transfer trip keying and operation of end zone
protection circuit.
1.9.12 Time delay relay (62)
• Time characteristic tests at maximum, minimum, and in service settings
• Indicating lamps, target and seal-in unit operation check
1.9.13 Under frequency relay (81)
• Minimum pick up tests at all tap settings
• Time characteristic tests at maximum, minimum, and in service settings
• Indicating lamps, target and seal-in unit operation check
• Indicating lamps, target and seal-in unit operation check
1.9.14 Restrict earth fault relay (87GL)
• Check ratio and polarity of current transformers
• Check performance of the relay with secondary injection by using an appropriate relay
test set
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps, target and seal-in unit operation check
• Minimum pick up test at the in service setting
• Measure currents on incoming CT leads with normal load current
• Measure differential current with normal load current flowing
• Check fault sensitivity by short circuiting one or more winding CTs
• Breaker fail initiation check
1.9.15 Earth fault black up relay (64)

• Minimum pick up test at all tap settings


• Time characteristic tests at 3 current levels on the maximum, minimum and in service
time dial setting
• Instantaneous unit test at service setting
• Check of proper sequence of events recorder, annunciator and indication operation
• Indicating lamps target and seal-in unit operation check
• Breaker fail initiation check

1.9.16 Trip circuit supervision relay (95)


• Relay resistance check
• Minimum operating voltage check
• Non operation CB open/CB closed test
• Relay Operation for Trip circuit Open
• Alarms check

2. การทดสอบการทํางาน (FUNCTIONAL TESTS)


• Operation of annunciators and alarm
• Operation of indication and lamp test circuit
• Remote manual control for all remote manual functions of each equipment which has
this requirement including interlocking operations
• Sequence operation control of all relay contacts to actuate associated equipment by
mean of secondary injection test
• Operation of synchronizing circuit
• Recloser operations
• All protective device functions at service setting test
• CT circuit single ground point check
• CT service setting tap check
• CT and VT circuit burden measurement
• CT and VT loop check by mean of DC kick test and primary injection test
• CT circuit of differential relay stabilizing test
• CT summation check (if any)
3. การทดสอบขั้นสุดทาย (FINAL TESTS) หรือการทดสอบจายไฟจริง

3.1 การวัดคาความตานทานฉนวน (Insulation resistance measurement)

ตองทําการวัดคาความตานทานฉนวนของอุปกรณดวยแรงดันไฟฟา 5,000 VDC ทั้งกอนและ


หลังการทดสอบจายไฟ ตามขั้นตอนตอไปนี้
การทดสอบตองดําเนินการในขณะที่อุปกรณในระบบ 115 kV ตอกับเซอรกิตเบรกเกอร และ
ใหทําการปดวงจร Disconnecting switches ในระหวางการทดสอบดวย

3.2 การทดสอบจายไฟเลี้ยง (Energizing test)

ภายหลังการวัดคาความตานทานฉนวนตามที่กลาวไวขางตนแลว ใหทําการจายไฟเลี้ยงสถานี
ไฟฟา ดวยแรงดันไฟฟากระแสสลับที่ระดับแรงดันใชงานปกติของระบบเปนเวลาตอเนื่อง
24 ชั่วโมง โดยใหปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้

กอนการทดสอบตองทําการปดวงจรเซอรกิตเบรกเกอรและ Disconnecting switch ทุกชุด ยก


เวนเฉพาะเซอรกิตเบรกเกอรที่ตอกับระบบสายสง 115 kV ของการไฟฟาสวนภูมิภาคที่ตอง
เปดวงจรไวเพื่ อไมให สงผลกระทบตอระบบสายสงในกรณี ที่เกิ ดความผิดพลาดในการ
ทดสอบหรือทดสอบไมผาน

ในระหวางการทดสอบตองทําการบันทึกขอมูลดังตอไปนี้

• ตัวชี้วัดตางๆ ที่แสดงผลที่อุปกรณวัดบนแผงควบคุม

• ขนาดและมุมของกระแส และแรงดันไฟฟาที่แผงตอสายเพื่อทดสอบรีเลย (Relay test


terminals) เพื่อเปนการยืนยันความถูกตองของการเชื่อมตอสายในวงจรไฟฟาดาน
ทุติยภูมิทุกวงจร

3.3 เงื่อนไขในการทดสอบ

ผูขอใชไฟฟา ตองเปนผูรับผิดชอบในการจัดหาแหลงจายไฟฟาและเตรียมอุปกรณที่จําเปน
ในการทดสอบจายไฟเลี้ยงทั้งหมด รวมทั้งอุปกรณปองกัน หรืออุปกรณเสริม เพื่อปองกัน
ความเสียหายกับอุปกณตางๆ ดวย
หากการทดสอบไมผาน การไฟฟาสวนภูมิภาคจะไมอนุญาตใหจายกระแสไฟฟาจนกวาจะมี
การแกไขและทําการทดสอบจนผานกอน

ทั้งนี้การเขารวมเปนพยานในการทดสอบกอนการจายกระแสไฟฟาของเจาหนาที่การไฟฟา
สวนภูมิภาค และการอนุญาตใหจายกระแสไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค เปนเพียงขั้น
ตอนเพื่อความปลอดภัย และความมั่นคงของระบบการสงกําลังไฟฟา เพื่อปองกันปญหาหาก
เกิดการชํารุดเสียหายของอุปกรณภายในสถานีไฟฟา อันเนื่องจากการเลือกใชและการติดตั้ง
อุปกรณไมถูกตองตามมาตรฐาน และทําใหเกิดความเสียหายตอระบบการสงกําลังไฟฟาของ
การไฟฟาสวนภูมิภาค หรือผูใชไฟฟารายอื่นๆ ไมไดครอบคลุมถึงความรับผิดชอบในกรณีที่
เกิ ด ป ญ หาการชํารุ ด เสี ย หายของอุ ป กรณ ภ ายในสถานี ไ ฟฟ าของผูใ ช ไฟฟา หลังการจ าย
กระแสไฟฟา หรือในอนาคต
การไฟฟาสวนภูมิมภิ าคเปนองคกรชั้นนําใน
ภูมิมภิ าคอาเซียน ดานธุรกิจการใหบริการ
พลังงานไฟฟา อยางมีประสิทธิภาพ
ปลอดภัย เชื่อถือได สรางความพึงพอใจสูง
สุดแลลูกคาทั่วประเทศ

พิมพที่ : กองการพิมพ ฝายธุรการ

You might also like