You are on page 1of 11

การออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย

(Isolation Room Design)

นายสุพจน์ เตชะอ�ำนวยวิทย์
ผู้จัดการฝ่ายการตลาด
บริษัท ไทยเอ็นจิเนียริ่งสเปเชียลลิซ จ�ำกัด

บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งที่จะสรุปเกี่ยวกับการออกแบบห้องแยก ที่มีอยู่ กับสภาพความงานจริงพร้อมทั้งปัญหาที่เคยเกิดขึ้น
เดี่ยวผู้ป่วย (Isolation Room Design) โดยเฉพาะ ผู้ป่วย จากการออกแบบและติดตัง้ ในอดีดทีผ่ า่ นมา ให้มคี วามเข้าใจ
แพร่เชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น วัณโรค หวัดนก ซาร์ ได้งา่ ยขึน้ และเหมาะกับสภาพอากาศในเมืองไทยซึง่ เป็นเขต
เป็นต้น ซึ่งเคยท�ำให้โลกเกิดความตื่นตัว มีหลายหน่วยงาน ร้อนชื้น ง่ายต่อการระบาดของโรค เพื่อป้องกันการระบาด
เสนอแนวทางการออกแบบห้องแยกเดีย่ วผูป้ ว่ ย เช่น สถาบัน ของโรคไม่ ให้ลุกลามไปได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเพื่อ
สถาปนิกอเมริกา (American Institute of Architects), ป้องกัน บุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้ป่วย,
ASHRAE, ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (Centers for บุคคลที่มาติดต่อกับทางสถาบันทางการแพทย์ สภาพ
Disease Control and Prevention), การบริหารความ แวดล้ อ ม และ เจ้ า หน้ า ที่ ส นั บ สนุ น เช่ น ฝ่ า ยบ� ำ รุ ง
ปลอดภัยและสุขภาพของผูป้ ระกอบวิชาชีพ (OSHA) เป็นต้น รักษาระบบปรับอากาศ พนักงานท�ำความสะอาด เป็นต้น
และเอกสารดังกล่าว มีอยู่จ�ำนวนมาก แม้ว่าโรคดังกล่าวจะ อย่างไรก็ตามบทความนี้ก็สามารถน�ำเสนอโดยสรุปเพียง
สามารถควบคุมได้แล้ว แต่ยังคงต้องเฝ้าระวังและป้องกัน ส่วนที่จ�ำเป็นต่อการออกแบบ ซึ่งผู้อ่านที่สนใจสามารถดู
ไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรค ดังนั้นจึงได้รวบรวมและ รายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารเฉพาะเรื่อง
สรุปแนวทางการออกแบบห้องแยกเดีย่ วผูป้ ว่ ยจากข้อมูลต่าง
56 บทความวิชาการ ชุดที่ 17
Isolation Room Design

บทน�ำ และนายแพทย์ ห รื อ ผู ้ บ ริ ห ารสถาบั น ทางการแพทย์ ที่


โรคระบาดทีเ่ กีย่ วกับระบบทางเดินหายใจจากเชือ้ ไวรัส เกี่ยวข้องจะน�ำไปใช้ให้สอดคล้องกับภูมิสถานที่และงบ
ไม่ว่าจะเป็น วัณโรค หวัดนก ซา เป็นต้น แม้ว่าจะสามารถ ประมาณที่มีอยู่ เนื่องจากมาตรการของแต่ละประเทศที่ใช้
ควบคุมการแพร่ได้ในระยะเวลาหนึ่ง แต่ก็ยังมีไวรัสชนิด นั้นแตกต่างกัน ซึ่งอาจเนื่องมาจากภูมิประเทศและภูมิ
ใหม่ๆ เกิดขึน้ อยูเ่ สมอ และทวีความรุนแรงของโรคต่อผูป้ ว่ ย อากาศต่างกัน ตลอดจนถึงมาตรการป้องกันด้านอื่นๆ เช่น
ไวรัสชนิดใหม่นอกจะท�ำลายระบบทางเดินหายใจ เช่น ปอด การอบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยเพื่อฆ่าเชื้อหลังจากผู้ป่วยออก
แล้ว ยังอาจลุกลามไปยังไต ซึ่งไวรัสชนิดนี้มีลักษณะคล้าย จากห้องแล้ว หรือ การให้มีเครื่องป้องกันส�ำหรับบุคลากรที่
กับไวรัสที่ท�ำให้เกิดโรคซาร์ และในอนาคต ก็ยังไม่มีใคร ต้องดูแลผู้ป่วย
รับรองว่าจะไม่มกี ารระบาดของโรคทางเดินหายใจทีเ่ กิดจาก
เชื้อไวรัส ดังนั้น ความจ�ำเป็นในการสร้างห้องแยกเดี่ยว การป้ อ งกั น การระบาดของโรคควรเริ่ ม
ผู้ป่วยยังคงต้องส�ำรองไว้ เพราะปัจจุบันการติดต่อเดินทาง
ระหว่างประเทศเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังอาจมีการ
ตอนไหน
ระบาดของโรคในลักษณะข้ามสายพันธุ์ เช่นจากสัตว์ประเภท การป้องกันการระบาดของโรคระบบทางเดินหายใจอัน
หนึ่งไปสัตว์อีกประเภทหนึ่ง หรือ จากสัตว์สู่คน เนื่องจาก เนื่องมากจากเชื้อโรค ควรเริ่มตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มเดินเข้ามาสู่
โรคทางเดินหายใจ ไม่ว่าจะเป็นวัณโรค หรือหวัดต่างๆ สถานพยาบาล เช่นโรงพยาบาล เนื่องจากการจามหรือไอ
สามารถติดต่อกันทางอากาศ โดยละอองจามหรือไอที่ออก แต่ละครัง้ ของผูป้ ว่ ยสามารถปล่อยอนุภาคนับล้านและมีสว่ น
มาจากผู้ป่วย ดังนั้น การออกแบบระบบระบายอากาศใน ผสมของอนุภาคที่มีจุลินทรีย์ปนเปื้อนด้วยอยู่ถึง 39,000
สถานพยาบาล จึงนับว่ามีความส�ำคัญอย่างมากต่อการ อนุภาค ซึ่งจ�ำเป็นต้องเจือจางให้น้อยกว่า 1 ส่วนใน 1 แสน
ป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ส่วน จึงจะเป็นอัตราส่วนที่ร่างกายสามารถต่อสู้กับเชื้อได้
นอกจากนั้นแล้ว ห้องผู้ป่วยฉุกเฉิน ยังมีความส�ำคัญใน หากเชื้อมีส่วนผสมที่เข้มข้นก็จะท�ำให้ผู้มีภูมิคุ้มกันต�่ำเกิด
การป้องกันการระบาดของโรคทางเดินหายใจเช่น วัณโรค อาการ เมื่อผู้ป่วยด้วยโรคหวัดหรือโรคไอเข้าสู่โรงพยาบาล
หากมีการจัดระบบการรับผู้ป่วยฉุกเฉินเกี่ยวกับวัณโรคหรือ จะต้องไปรอที่ห้องโถงรวมกับผู้ป่วยประเภทอื่นๆ ซึ่งการรอ
โรคหวัด ทัง้ แยกห้องโถง โดยจัดห้องโถงเฉพาะส�ำหรับผูป้ ว่ ย แต่ละครัง้ นัน้ อาจใช้เวลาเป็นชัว่ โมง จุดนีเ้ ป็นจุดทีอ่ าจท�ำให้
ประเภทนี้ รวมทั้งการแยกระบบระบายอากาศออกต่างหาก การระบาดของโรคเป็นไปได้อย่างรวดเร็วหากห้องโถงผูป้ ว่ ย
ไม่ให้อากาศทีด่ ดู ออกจากห้องผูป้ ว่ ยทางเดินหายใจปนเปือ้ น รอการตรวจนั้นมีผู่ป่วยอยู่หนาแน่นและผู้ป่วยด้วยโรคทาง
สู่แผนกอื่น ไม่ว่าจะเป็นห้องพักฟื้นผู้ป่วย ห้องผ่าตัด หรือ เดินหายใจนั้น ไม่ทราบว่าตัวเองนั้นเป็นผู้ป่วยด้วยเชื้อหรือ
ห้องผู้ป่วยที่ต้องดูแลอย่างใกล้ชิด ในกรณีที่ต้องรับผู้ป่วย ไข้หวัดทีเ่ ป็นอันตรายรุนแรง ดังนัน้ หากโรงพยาบาลสามารถ
เพื่อเข้ารับการรักษา ก็จ�ำเป็นต้องมีห้องพิเศษเฉพาะ เป็น มีที่เพียงพอเพื่อแยกแผนกส�ำหรับผู้ป่วยระบบทางเดิน
ห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย เพื่อควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่ระบาด หายใจออกจากผูป้ ว่ ยทัว่ ไปที่ไม่ได้มอี าการจากเชือ้ จุลนิ ทรีย์
จากผู้ป่วยไปสู่บุคคลอื่น จึงได้มีหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง แล้ว ก็อาจสามารถช่วยป้องกันการระบาดของโรคก่อน
ในระดับสากลก�ำหนดมาตรฐานของห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยที่ ลุกลามบานปลาย นี่เป็นข้อคิดเห็นหนึ่งเพื่อผู้ออกแบบ
เหมาะสมและสามารถป้องกันการระบาดของโรค ทัง้ จากการ พิจารณา โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อป้องกันการระบาดของโรค
ค�ำนวณแบบจ�ำลองและการทดสอบ เพื่อให้ได้ผลสรุปที่ ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ซึ่งเชื้อมักจะกลายพันธุ์อยู่
หน่วยงานอื่นๆ น�ำไปเป็นข้ออ้างอิง อย่างไรก็ตาม หลัก
เสมอ และทนต่อยาที่พัฒนาขึ้น
เกณฑ์การออกแบบนั้นก็ขึ้นอยู่กับวินิจฉัยของวิศวกรระบบ
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 57
การออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย

ประเภทของห้องพักผู้ป่วย หลักการระบายอากาศส�ำหรับห้องแยกเดีย่ วผูป้ ว่ ย คือ


ประเภทของผู้ป่วยที่มีผลต่อการออกแบบห้องพักนั้น 1. ทิศทางของกระแสลม นับว่ามีความส�ำคัญต่อการ
แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ผู้ป่วยแพร่เชื้อ คือ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ ป้องกันบุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าดูแลผู้ป่วยจากการติด
และสามารถแพร่เชื้อสู่อีกคนหนึ่งและมีโอกาสท�ำให้คนนั้น เชื้อ คือ อากาศใหม่ (Fresh Air)ที่เติมเข้าจะต้องผ่านจาก
เกิดติดเชือ้ ต่อได้ และ ผูป้ ว่ ยทีป่ ญั หาเรือ่ งภูมคิ มุ้ กันอาจเนือ่ ง บุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าดูแลผู้ป่วย จึงไปยังผู้ป่วย และ
มาจากร่างกายทีเ่ ป็นโรคอันตรายแต่ไม่แพร่เชือ้ แต่สามารถ ทิศทางของกระแสลม มีความส�ำคัญสูงกว่า แรงดันอากาศ
ติดเชื้อได้ง่าย ซึ่งลักษณะของผู้ป่วยมีผลต่อการออกแบบ ภายในห้อง กระแสลมควรไหลเข้าจากอากาศที่มีความ
ห้องพัก ผูป้ ว่ ยแพร่เชือ้ โดยเฉพาะเชือ้ ทีร่ นุ แรงและติดต่อได้ สะอาดกว่า แล้วผ่านพยาบาล จึงไปสู่จุดที่มีละอองเชื้อจาก
รวดเร็ว จ�ำเป็นต้องออกแบบห้องให้มีแรงดันอากาศในห้อง ผู้ป่วยปนเปื้อนอยู่ ซึ่งก็คือ ส่วนหัวเตียงของผู้ป่วย และ
ต�่ำกว่ารอบข้าง (Negative Pressure) .ในขณะที่ผู้ป่วยที่มี หัวดูดลมออก ในห้องผู้ป่วย ควรอยู่ใกล้จุดที่ผู้ป่วยจามหรือ
ปัญหาเรื่องภูมิแพ้หรือรับเชื้อได้ง่ายแต่ไม่ ใช่โรคติดต่อ ไอ เพื่อท�ำให้ละอองจากการจามหรือไอถูกดูดออกในทันที
จ�ำเป็นต้องอยู่ ในห้องที่มีแรงดันอากาศภายในห้องสู่กว่า ที่มีการจามหรือไอและไม่ฟุ้งกระจายไปสู่ส่วนอื่นของห้อง
ภายนอก (Positive Pressure) และผู้ป่วยทั่วไป ที่ไม่มี ในกรณีของห้องตรวจผู้ป่วยฉุกเฉิน ส�ำหรับผู้ป่วยเช่น
ปัญหาเรือ่ งการแพร่เชือ้ หรือติดเชือ้ ง่าย จะอยู่ในห้องแรงดัน วัณโรค ควรจัดให้กระแสลมผ่านจากบุคลากรของสถาบันไป
อากาศปกติ อย่างไรก็ตาม บทความนี้จะมุ่งเน้นที่ห้องแยก สู่ผู้ป่วย
เดี่ยวผู้ป่วยส�ำหรับผู้ป่วยแพร่เชื้อ หรือ ห้องแรงดันอากาศ
ต�่ำกว่ารอบข้างหรือแรงดันเป็นลบ ลักษณะของห้องแยก
เดีย่ วผูป้ ว่ ยแพร่เชือ้ ทีด่ นี นั้ จะสามารถป้องกันการระบาดของ
โรคไปสู่บุคลากรทางการแพทย์ที่เข้าไปท�ำการรักษาตลอด
จนถึงญาติมิตรของผู่ป่วยที่เข้าไปเยี่ยม และยังป้องกันเชื้อ
ไม่ให้ลุกลามไปสู่สภาพแวดล้อม ทั้งภายในโรงพยาบาลเอง
โดยระบาดไปสู่พื้นที่อื่นของโรงพยาบาล หรือ ภายนอก

การระบายอากาศ
การระบายอากาศในห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยนั้นนับว่ามี
ความส�ำคัญต่อการป้องกันการระบาดของโรค เพราะการ
ระบายอากาศสามารถลดความเสี่ยงต่อการระบาดของโรค รูปที่ 1ก แสดงทิศทางการไหลของกระแสลมส�ำหรับห้อง
ได้ 2 แนวทาง คือ การเจือจาง (Dilute) และ การน�ำออก แยกเดี่ยวผู้ป่วย
(Removal)

58 บทความวิชาการ ชุดที่ 17
Isolation Room Design

จากรูปที่ 2 เป็นลักษณะการออกแบบการกระจายลม
และทิศทางการไหลของลมทั้งดีและไม่ดีซึ่งเสนอโดยหน่วย
งานหลายแห่งเช่น ศูนย์ควบคุมโรคอเมริกนั , OSHA เป็นต้น
2. จะต้องออกแบบการกระจายการหมุนเวียนอากาศ
ภายในห้อง ให้อากาศใหม่ผสมกับอากาศเดิมภายในห้อง
มากทีส่ ดุ (Maximum Mixing Rate) ไม่กอ่ ให้เกิดจุดอับหรือ
รูป 1ข. แสดงทิศทางกระแสลมทางเดียวในแนวนอน จุดที่อากาศนิ่งภายในห้อง มีบางความเห็น ก�ำหนดถึง
การวิเคราะห์อายุของอากาศ (Age-Of-Air Analysis)
หมายถึง เวลาของอากาศทีหยุดนิง่ อยูก่ บั ที่ โดยไม่หมุนเวียน
หรือระบายออก หากนานเกินกว่าการหมุนเวียนของอากาศ
แต่ละรอบ เช่น ก�ำหนดการหมุนเวียนอากาศเท่ากับ 12 รอบ
ต่อชั่วโมง อายุของอากาศที่จะอยู่ภายในห้อง ย่อมเท่ากับ
60 นาที ÷ 12 รอบต่อนาที = 5 นาที หากมีอากาศหยุดนิ่ง
อยู่ ณ จุดใดจุดหนึ่งนานเกินกว่า 5 นาที ย่อมถือว่าจุดนั้น
รูป 1ค. แสดงทิศทางกระแสลมทางเดียวในแนวตั้ง
คือ จุดอับ ดังนั้นจึงควรจัดเครื่องเรือนเครื่องใช้ภายในห้อง
จากรูป 1ก, 1ข หรือ 1ค ข้างต้น เป็นตัวอย่างการ อย่าให้มีสิ่งกีดขวางกระแสลม หัวจ่ายลม นับว่ามีผลต่อ
ออกแบบท่อลมเข้าและออกจากห้องเพื่อควบคุมทิศทาง ทิศทางและระยะทางของกระแสลมภายในห้อง หัวจ่าย
กระแสลมให้ไหลไปในทางเดียวกัน เพือ่ ควบคุมไมให้อากาศ ที่มีคอเล็ก ช่วยเพิ่มความเร็วลม ท�ำให้ลมไปได้ไกล แต่มี
จากผู้ป่วยมากระทบคนที่ต้องเข้าใกล้ผู้ป่วย ข้อเสีย คือ การกระจายลมอาจไม่สามารถกระจายไปทัว่ ห้อง

รูปที่ 2 แสดงการจัดวางแนวหัวจ่ายและดูดออกส�ำหรับห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยแบบแรงดันลบที่ก�ำหนดโดยสถาบันต่างๆ
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 59
การออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย

อาจเกิดจุดอับภายในห้องได้ ในขณะที่หัวจ่ายลมแบบสี่ จากตารางที่ 1 จะเห็นได้วา่ อัตราหมุนเวียนของอากาศ


ทิศทาง ก็มสี ว่ นช่วยให้กระแสการหมุนเวียนอากาศไปได้ทวั่ ทีม่ เี หมาะสมในการดึงอนุภาคปนเปือ้ นออกจะอยูท่ ี่ 12 รอบ/
ห้อง แต่มีข้อด้อย คือ ความเร็วลมจะต�่ำกว่า เหตุผลในการ นาที ดังนั้นหลายหน่วยงาน เช่น ศูนย์ควบคุมโรคแห่ง
ก�ำหนดอัตราหมุนเวียนของอากาศที่ 6 – 12 รอบ/นาที อเมริกา หรือ สถาบันสถาปนิกอเมริกา ก็กำ� หนดให้มอี ากาศ
นั้นมาจากการทดสอบและค�ำนวณประสิทธิภาพการก�ำจัด หมุนเวียนภายในห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยที่ 12 รอบต่อชั่วโมง
อนุภาคฝุ่นที่ปนเปื้อน ดังตารางที่ 2 แต่ไม่น้อยกว่า 6 รอบต่อชั่วโมง ส่วนประเทศออสเตรเลีย
ก�ำหนดเพิม่ เติม ให้มอี ากาศหมุนเวียนไม่นอ้ ยกว่า 145 ลิตร
ต่อวินาที (310 ลบ.ฟุตต่อนาที) ส�ำหรับผู้ป่วย 1 คน และ
อีกสิง่ หนึง่ คือ ควรค�ำนวณปริมาณอากาศหมุนเวียนทีผ่ ปู้ ว่ ย
รู้สึกสบายไม่อึดอัด

ตารางที่ 1 แสดงเวลาที่ต้องใช้ไปเพื่อดึงอนุภาคปนเปื้อนออกจากห้องผู้ป่วย เป็น นาที เมื่อเปลี่ยนอัตราหมุนเวียน


ของอากาศภายในห้อง (รอบ/นาที)

60 บทความวิชาการ ชุดที่ 17
Isolation Room Design

3. หัวจ่ายลมออก ควรอยู่ใกล้กับส่วนหัวของผู้ป่วย แผ่นกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (HEPA Filter) ต้องมีระบบ


ข้างเตียงผูป้ ว่ ย และควรอยูเ่ หนือจากพืน้ ห้องประมาณ 6 นิว้ การถอดเข้าออกแผ่นกรองอากาศผ่านถุง พีวีซี (Bag-In
(150 มม.) ไม่ควรติดตั้งอยู่ในต�ำแหน่งที่สูงกว่าผู้ป่วยมาก Bag-Out) โดยไม่ต้องให้ฝ่ายบ�ำรุงรักษาแตะต้องแผ่นกรอง
เหตุผลคือ เพื่อดึงเอาอากาศที่มีส่วนผสมของละอองจาม อากาศที่ใช้แล้ว เนื่องจากแผ่นกรองอากาศมีการปนเปื้อน
หรือไอของผู้ป่วยออกจากห้องให้เร็วที่สุด (Removal) ใน เชือ้ วัณโรคหรือจุลนิ ทรียท์ กี่ อ่ ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรค
กรณีของมาตรฐานของประเทศออสเตรเลีย AS 1668.2 หรือติดตั้งหลอดอุลตร้าไวโอเลตซี ควบคู่กับแผ่นกรอง
ก�ำหนดท่อลมดูดออกในแนวตั้งควรมีความเร็วลมอยู่ที่ อากาศประสิทธิภาพสูง เพือ่ ท�ำลายเชือ้ จุลนิ ทรียท์ แี่ ผ่นกรอง
ประมาณ 5 เมตร/วินาที หรือ 1,000 ฟุต/นาที และปลาย อากาศดักไว้ได้ เป็นการป้องเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ�ำรุงรักษา
ปล่องของท่อลมดูดออกอยูเ่ หนือหลังคาจุดทีด่ ดู ออกไม่นอ้ ย 4. ปริมาณลมหมุนเวียนภายในห้อง ที่ก�ำหนดโดย
กว่า 3 เมตรหรือสูงกว่าหลังคาของอาคารหรือสิ่งปลูกสร้าง สถาบันหลายแห่งทั้ง ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค หรือ
อื่น (ในแนวนอน) ในแนวรัศมีไม่เกิน 15 เมตรในแนวตั้ง สถาบันสถาปนิกอเมริกา ก�ำหนดอากาศหมุนเวียนที่ 12 รอบ
ไม่น้อยกว่า 3 เมตร เพื่อมีความเร็วเพียงพอที่จะน�ำพา ต่อชั่วโมง (12 Air Change Per Hour) แต่ไม่ควรจะน้อยกว่า
ละอองเชื้อไปสู่บรรยากาศภายนอกโดยไม่ย้อนกลับเข้ามา 6 รอบต่อชั่วโมง ความหมายของการหมุนเวียนอากาศเป็น
ปนเปือ้ นอาคารใกล้เคียง ในขณะทีส่ ถาบันสถาปนิกอเมริกนั รอบต่อชั่วโมงนั้น หมายถึง การดึงอากาศออกจากห้อง 12
ก�ำหนดให้อากาศทีถ่ กู ดูดออก (Exhaust) นัน้ สามารถกระท�ำ รอบโดยปริมาตรของห้อง เช่น ห้องขนาด 4 x 6 x 2.5 เมตร
ได้ 2 วิธี คือ ออกทางปล่องทีอ่ ยูห่ า่ งจากช่องเติมอากาศใหม่ ปริมาตรห้องเท่ากับ 60 ลบ.เมตร เมื่อก�ำหนดปริมาณ
ของระบบปรับอากาศหรือระบายอากาศภายในสถานพยาบาล หมุนเวียนอากาศ 12 รอบต่อชั่วโมง อากาศที่ควรดูดออก
หรือ จุดที่มีคนเดินผ่าน มากกว่า 25 ฟุตขึ้นไป (ตามข้อ เท่ากับ 60 x 12 = 720 ลบ.เมตรต่อชั่วโมง (CMH) ส�ำหรับ
ก�ำหนดของสถาบันสถาปนิกอเมริกา) หรือ อากาศที่ดูด ASHRAE มีทศั นะอีกด้านหนึง่ เพือ่ วิเคราะห์อตั ราหมุนเวียน
ออกจะต้องผ่านระบบกรองอากาศที่มีแผ่นกรองอากาศ อากาศ โดยพิจารณาจากอายุของอากาศแต่ละจุดภายในห้อง
ประสิทธิภาพสูง(HEPA-High Efficiency Particulate Air (Age-Of-Air Analysis) หากอากาศในจุดใดภายในห้อง
Filter) ในการกรองฝุ่นขนาด 0.3 ไมครอนได้ไม่น้อยกว่า มีอายุหรือหยุดนิ่งนานเกินกว่าอายุของอากาศที่ออกจาก
99.99% เมื่อทดสอบโดยสาร DOP หรือ PAO เนื่องจาก ห้อง ถือว่า จุดนั้นมีอัตราการหมุนเวียนอากาศต�่ำ ในกรณี
ขนาดของอนุภาคที่มีเชื้อ (Droplet Nuclei) มีขนาด 1 – 5 นีอ้ ายุของอากาศเฉลีย่ ภายในห้องเท่ากับ 5 นาที และในส่วน
ไมครอน และในกรณีที่เลี่ยงไม่ได้ อาจสามารถน�ำลมที่ดูด ของอัตราการหมุนเวียนอากาศในห้องน�้ำควรค�ำนวณแยก
ออกกลับมาสู่ห้องอีกได้ โดยต้องผ่านแผ่นกรองอากาศ ต่างหาก
ประสิทธิภาพสูงข้างต้น ส่วนการใช้หลอดอุลตร้าไวโอเลต
5. อัตราส่วนระหว่างปริมาณอากาศที่เติมเข้าสู่ห้อง
เพื่อการฆ่าเชื้อ (UVGI-Ultraviolet Germicidal Irradiation)
และดูดออกจากห้อง ควรมีการดูดอากาศออกจากห้องใน
สามารถใช้ ไ ด้ เ พื่ อ เสริ ม แผ่ น กรองอากาศแต่ ไ ม่ ค วรใช้
ปริมาณที่สูงกว่าอากาศที่เติมเข้าอยู่ร้อยละ 10-15 แต่ต้อง
เดี่ยวๆ แต่ก็มีบางสถาบันไม่ยอมรับให้มีการน�ำอากาศที่ดูด
ต่างกันไม่น้อยกว่า 50 ลบ.ฟุต/นาที ตามข้อก�ำหนดของ
ออกนี้กลับมาหมุนเวียนภายในห้องอีก ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับ
ศูนย์ควบคุมโรคแห่งอเมริกา
วิจารณญาณของวิศวกรผู้ออกแบบหรือแพทย์ฝ่ายบริหารที่
รับผิดชอบ ในบางแห่งก�ำหนดให้ระบบดูดอากาศออกที่มี
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 61
การออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย

6. โดยรอบห้องจ�ำเป็นต้องมีการอุดกันการรัว่ ซึมของ ส�ำหรับการตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสลมว่า


อากาศของอากาศในทุกจุด และในส่วนของวงกบรอบประตู มีลมเล็ดลอดออกจากห้องผูป้ ว่ ยหรือเป็นไปตามทีอ่ อกแบบ
ต้องมีการติดปะเก็นกันการรั่วของอากาศระหว่างประตูกับ ไว้ คือ เข้าทางใต้ประตูนนั้ อาจใช้เครือ่ งสร้างควัน (Aerosol
วงกบในส่วนบนและด้านข้างทัง้ สองด้าน ยกเว้น ช่องว่างใต้ Generator) หรือวัสดุที่ท�ำให้เกิดควัน เช่น ก๊าซไนโตรเจน
ประตูเข้าห้อง ซึ่งอาจมีช่องว่างได้ไม่เกิน ½ นิ้ว อากาศใต้ เหลว น�้ำแข็งแห้ง ควันธูป ถือไว้ใต้ประตูตรงช่องว่าง
ประตูจะชดเชย (Offset) อากาศทีถ่ กู ดูดออกในปริมาณทีส่ งู สังเกตดูว่าควันนั้นไหลจากที่ ใดไปสู่ที่ ใด หากไหลจาก
กว่าการน�ำเข้าอากาศ จึงท�ำให้หอ้ งแรงดันเป็นลบ(Negative ห้องเฉลียง (Anteroom) ไปสู่ห้องผู้ป่วย ก็ถือว่าเป็น
Pressure) ความเร็วลมที่ผ่านเข้าทางใต้ประตู ไม่ควรจะต�่ำ ไปตามที่ อ อกแบบไว้ หรื อ อาจใช้ เ ครื่ อ งวั ด แรงดั น ต่ า ง
กว่า 100 ฟุต/นาที (Manometer) เพื่อวัดความต่างของแรงดันระหว่างห้องพัก
และเฉลียง ตามรูปที่ 3
7. ส� ำ หรั บ ทางประเทศออสเตรเลี ย ก� ำ หนดให้ ดู ด
อากาศออกทิ้ง 100% โดยไม่มีการหมุนเวียนน�ำกลับมาใช้
ใหม่ ซึ่งในข้อนี้จะต่างจากข้อก�ำหนดของสถาบันสถาปนิก
อเมริกา ทีอ่ นุญาตให้มกี ารน�ำอากาศทีผ่ า่ นแผ่นกรองอากาศ
ประสิทธิภาพสูง (HEPA Filter) มาใช้ใหม่ได้ตามทีก่ ล่าวแล้ว
ในข้อ 3
8. ห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยควรมีห้องน�้ำส�ำหรับผู้ป่วย
ในตัว เพือ่ ป้องกันการแพร่ของโรคอันเนือ่ งมาจากผูป้ ว่ ยต้อง
ออกจากห้องไปใช้ห้องน�้ำรวม ซึ่งอาจท�ำให้มีเชื้อติดอยู่
ภายนอกห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย
9. ฝ้าเพดานของห้องควรเป็นแบบฝ้าฉาบเรียบ และ
อุดกันรั่วซึมของอากาศ ไม่ควรใช้ฝ้าแบบเคลื่อนย้ายได้
ส่วนโคมไฟควรใช้แบบติดตัง้ ทีผ่ วิ ฝ้าเพดาน ควรติดปะเก็นที่
รอบข้างประตูและส่วนบนของประตู ประตูต้องใช้อุปกรณ์
แบบปิดเองได้
10. พั ด ลมที่ ดู ด ออกควรอยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง ที่ ใ กล้ กั บ
รูปที่ 3 แสดงช่องว่างใต้ประตูเข้าห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยสูง ปล่องทางออก เพื่อให้มั่นใจว่าท่อลมดูดอากาศออกจาก
ไม่เกิน 1/2 นิ้ว และการใช้เครื่องวัดแรงดันต่าง หรือ การใช้ ห้องจะมีแรงดันเป็นลบหรือต�่ำกว่าบรรยากาศภายนอกเพื่อ
เครื่องสร้างควัน (Aerosol Generator) เพื่อทดสอบทิศทาง ป้องกันเชื้อแพร่กระจายอันเนื่องมาจากท่อลมรั่ว
การไหลของกระแสลม

62 บทความวิชาการ ชุดที่ 17
Isolation Room Design

11. ควรแยกระบบท่อลมเข้าและท่อลมออกเฉพาะ ส�ำหรับในเมืองไทยนั้น ได้มีวิศวกรผู้ออกแบบงาน


ส�ำหรับห้องแยกเดีย่ วผูป้ ว่ ยทีต่ อ้ งใช้เป็นแรงดันลบออกจาก ระบบบางท่าน ก�ำหนดค่าแรงดันต่างภายในห้องผู่ป่วยต้อง
ระบบท่อลมส�ำหรับห้องอื่นของโรงพยาบาล ต�่ำกว่าภายนอกไม่น้อย 10-15 ปาสคาล เช่น ต้องต�่ำกว่า
12. ปริมาณลมดูดเข้าและออกจากห้องผู้ป่วยควรเป็น ห้องเฉลียง (Anteroom) ไม่น้อยกว่า 10-15 ปาสคาล และ
แบบคงที่ ห้องเฉลียงต้องมีแรงดันต่างต�ำ่ กว่าแนวทางเดินไม่นอ้ ยกว่า
5 ปาสคาล ซึงการออกแบบห้องเฉลียงให้มีแรงดันระดับนี้
13. พัดลมดูดออกควรเชือ่ มระบบให้สมั พันธ์กบั พัดลม
ก็เพื่อให้เป็นการออกแบบที่มีข้อดี คือ ป้องกันการแพร่ของ
จ่ายลมเข้าห้อง ให้ตดั การท�ำงานของพัดลมจ่ายเข้าห้องเมือ่
เชื้อจากห้องผู่ป่วยสู่ห้องเฉลียง ในขณะเดียวกัน หากห้อง
พัดลมที่ดูดออกไม่ท�ำงาน พร้อมทั้งมีระบบสัญญาณแจ้ง
เฉลียงเกิดปนเปื้อนก็ไม่แพร่กระจายไปสู่ทางเดิน เนื่องจาก
เตือนว่าระบบดูดอากาศบกพร่อง เพื่อป้องกันการแพร่
มีแรงดันต�่ำกว่าแนวทางเดิน
กระจายของเชื้อ เนื่องจากหากพัดลมดูดอากาศออกไม่
ท�ำงาน จะมีแต่การจ่ายลมเข้า ท�ำให้ภายในห้องมีแรงดัน
เป็นบวก กระแสลมจะไหลจากห้องสู่ภายนอก
14. ระบบต่างๆ ทั้งระบบไฟฟ้าหรือเครื่องกล ควรติด
ตัง้ ให้สามารถบ�ำรุงรักษาได้โดยง่าย และหากเป็นไปได้ ควร
บ�ำรุงรักษาได้จากภายนอกห้องผู้ป่วย
15. ควรมีการติดตั้งป้ายแจ้งเตือนลักษณะห้องให้เห็น
ชัดเจน ว่า “ห้องนี้ เป็น ห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย แรงดันลบ”
อีกทัง้ ควรมีปา้ ยแจ้งเตือนไม่ให้ผไู้ ม่เกีย่ วข้องท�ำการปิดพัดลม
ดูดอากาศออก ตลอดระยะเวลาที่มีผู้ป่วยพักภายในห้อง กราฟที่ 1 แสดงปริมาณลมทีร่ วั่ เทียบกับแรงดันต่างระหว่าง
ตามพื้นที่ของการรั่ว

ข้อก�ำหนดเรื่องแรงดันลบของห้อง
ศูนย์ควบคุมโรคอเมริกา ได้ก�ำหนดแรงดันลบภายใน กราฟที่ 1 แสดงให้เห็นถึงรอยรัว่ ทีเ่ กิดขึน้ ต่อการรักษา
ห้ อ งแยกเดี่ ย วผู ้ ป ่ ว ยต้ อ งมี ร ะดั บ ต�่ ำ กว่ า ห้ อ งรอบข้ า ง ระดับแรงดันภายในห้องและปริมาณลมรั่วที่เกิดขึ้น เพื่อ
ไม่น้อยกว่า 0.25 ปาสคาล (0.001 นิ้วน�้ำ) ซึ่งนับว่ามีระดับ ป้องกันไม่ให้เกิดการรัว่ ของอากาศภายในห้องผูป้ ว่ ยแรงดัน
น้อยมาก โดยก�ำหนดให้ใช้ติดตั้งเครื่องมือวัดความดันต่าง ลบสู่ภายนอก แม้มีรอยรั่วเพียงเล็กน้อย อากาศที่เกิดการ
(Differential Pressure Gauge) ซึ่งมีทั้งชนิดแสดงผลอย่าง รั่วซึมก็อาจท�ำให้แรงดันห้องเกิดปัญหา ดังนั้นจึงจ�ำเป็น
เดียว หรือ แบบสามารถส่งสัญญาณไปสูร่ ะบบควบคุมอาคาร ต้องมีการอุดรอยรัว่ ตามแนวต่อต่างๆภายในห้อง และควรมี
อื่น หรือ เป็นแบบสวิตช์ ซึ่ง เปิด-ปิด ด้วยการตั้งค่าแรงดัน ห้องเฉลียง (Anteroom) เหมือนห้องกันชน
ต่าง (Differential Pressure) เมื่อเบี่ยงเบนจากต่าที่ตั้งไว้ ประโยชน์ของการจัดให้มหี อ้ งเฉลียง (Anteroom) ก่อน
โดยท�ำสัญญาณเตือนความผิดปรกติของแรงดันห้องท�ำงาน เข้าห้องผูป้ ว่ ยนัน้ เพือ่ เป็นกันชนป้องกันห้องผูป้ ว่ ยไม่ให้เกิด
ไม่ว่าจะเป็นสัญญาณเสียงหรือสัญญาณแสง แรงดันเป็นบวกหรือมีอากาศเล็ดลอดจากห้องผูป้ ว่ ยสูบ่ ริเวณ
สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 63
การออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย

ข้างเคียงเมื่อมีผู้เปิดประตูเข้าสู่ห้อง ในขณะเดียวกัน ก็อาจ ตัวอย่างกรณีศึกษาการออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยแบบ


ใช้เป็นห้องเปลี่ยนชุดส�ำหรับผู้ที่ต้องเข้าไปในห้อง ไม่ให้ฝุ่น แรงดันลบ
ปนเปือ้ นทีอ่ าจเกาะอยูต่ ามเสือ้ ผ้าแพร่สภู่ ายนอก และยังเป็น รูปต่อไปนี้เป็นเพียงตัวอย่างส่วนหนึ่งเพื่อให้เห็นภาพ
ห้องพักในกรณีทมี่ กี ารขนถ่ายอุปกรณ์ที่ใช้ภายในห้องผูป้ ว่ ย และเข้าใจหลักการ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถน�ำไปปรับใช้ตาม
ส�ำหรับห้องเฉลียงนั้น ทางสถาบันสถาปนิกอเมริกา, ความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และงบประมาณ
ส�ำนักงานวางแผนและพัฒนาสุขภาพทัว่ มลรัฐแคลิฟอร์เนียร์
(OSHPD-Office of Statewide Health Planning and
Development (California)), ASHRAE เป็นต้น ก�ำหนด
อัตราหมุนเวียนอากาศภายในห้องไม่น้อยกว่า 10 รอบ
ต่อชั่วโมง และควรมีแรงดันสูงกว่าห้องผู่ป่วยแต่ต�่ำกว่า
ภายนอกหรือทางเดิน ตามข้อก�ำหนดของสถาบันสถาปนิก
อเมริกา ส่วน OSHPD ก�ำหนดให้มีแรงดันเท่ากับทางเดิน
ภายนอก
นอกจากนั้นภายในห้องผู้ป่วยควรมีห้องน�ำ้ เฉพาะซึ่ง
ได้กล่าวถึงแล้ว และควรมีแรงดันต�่ำกว่าห้องผู้ป่วยเพื่อให้
อากาศไหลจากห้องผู้ป่วยเข้าสู่ห้องน�้ำ ในบางแห่งเช่น
บทบัญญัตเิ กีย่ วกับเครือ่ งกลของแคลิฟอร์เนีย ก�ำหนดอัตรา รูปที่ 4 ตัวอย่างการออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยแบบ
หมุนเวียนของอากาศภายในห้องน�้ำของผู้ป่วยนี้เท่ากับ 10 แรงดันลบ
รอบต่อชั่วโมง มีแรงดันต่างเป็นลบเมื่อเทียบกับห้องผู้ป่วย
และ ดูดออกสู่ภายนอกอาคารโดยตรง และปริมาณอากาศ
ที่ชดเชย (Offset) เท่ากับ 50 ลบ.ฟุตต่อนาที ระหว่างห้อง ข้อก�ำหนดเบื้องต้น
ผู้ป่วยและห้องน�้ำก็เพียงพอ ห้องข้างต้นเป็นห้องที่ประกอบด้วยห้องเฉลียงและ
สิ่งส�ำคัญ คือ อากาศที่ถูกดูดออกโดยรวมทั้งจากห้อง ห้องน�้ำในตัว ขนาดห้อง กว้าง 3 เมตร x ยาว 3.5 เมตร x
ผู้ป่วยและห้องน�้ำต้องสูงกว่าอากาศที่เติมเข้าสู่ห้องผู้ป่วย สูง 2.75 เมตร ดังนั้นปริมาตรห้องเท่ากับ 28.875 ลบ.เมตร
และ ปริมาณอากาศที่ดูดออกจากห้องผู้ป่วยเองจะต้องสูง หรือ ประมาณ 1,000 ลบ.ฟุต
กว่าอากาศที่จ่ายเข้าสู่ห้อง

64 บทความวิชาการ ชุดที่ 17
Isolation Room Design

การค�ำนวณปริมาณลม รูปต่อไปแสดงถึงแบบของซุ้มผู้ป่วยชั่วคราวเพื่อเป็น
จากปริมาตรข้างต้นเท่ากับ 1,000 ลบ.ฟุต ก�ำหนดให้ ทางเลือกกรณีที่ขาดทั้งสถานที่และงบประมาณสนับสนุน
มีอากาศหมุนเวียนภายในห้องไม่นอ้ ยกว่า 12 รอบต่อชัว่ โมง
ดังนั้น ปริมาณลมที่ต้องจ่ายเข้าสู่ห้องต้องไม่น้อยกว่า
12,000 ลบ.ฟุตต่อชัว่ โมง หรือ 200 ลบ.ฟุตต่อนาที (12,000
÷ 60 = 200) กรณีตามรูปที่ 4 หากก�ำหนดให้มกี ารดูดอากาศ
ออกรวมเท่ากับ 300 ลบ.ฟุตต่อนาที มีข้อพิจารณาว่า ควร
ดูดออกจากหัวดูดลมออกภายในห้องผู้ป่วยและดูดลมออก
ทางห้องน�้ำเท่าไหร่จึงจะเหมาะสม
1. ควรจะดู ด ลมออกจากภายในห้ อ งเองทิ้ ง 250
ลบ.ฟุตต่อนาที และจากออกน�้ำอีก 50 ลบ.ฟุตต่อนาที หรือ
2. ดูดลมจากภายในห้อง 200 ลบ.ฟุตต่อนาทีและ
ดูดลมออกจากห้องน�้ำ 100 ลบ.ฟุตต่อนาที
รูปที่ 5 ซุ้มแยกผู้ป่วยแพร่เชื้อที่ประกอบชุดดูดอากาศ
พร้อมแผ่นกรองอากาศประสิทธิภาพสูง (HEPA Filter)
ทางเลือกที่เหมาะสมและเหตุผล
ควรดูดลมห้องจากห้อง 250 ลบ.ฟุตต่อนาที และ
ดูดลมออกจากห้องน�้ำอีก 50 ลบ.ฟุตต่อนาที เนื่องจาก จะ
ท�ำให้ห้องผู้ป่วยนั้นมีสภาวะแรงดันภายในห้องเป็นลบ หรือ
ต�่ำกว่าห้องเฉลียงหรือห้องข้างเคียง ในขณะที่แบบที่ 2 นั้น
จะท�ำให้แรงดันภายในห้องเท่ากับห้องข้างเคียง ซึ่งไม่
สอดคล้องกับบทบัญญัติตามที่หลายหน่วยงานก�ำหนด

ท�ำอย่ า งไรกรณี ห ้ อ งแยกเดี่ ย วผู ้ ป ่ ว ย


ไม่เพียงพอ
ในกรณีที่เกิดโรคระบาดรุนแรง ท�ำให้เกิดผู้ป่วยมาก รูปที่ 6 การใช้ตู้ปลอดเชื้อ (Laminar Flow Cabinet) เพื่อ
โรงพยาบาลบางแห่งอาจมีห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วยไม่เพียงพอ ป้องกันการแพร่เชื้อของผู้ป่วย
การจะให้ผู้ป่วยแพร่เชื้อนอนในห้องพักผู้ป่วยรวมนั้นนับว่า จากรู ป ที่ 5 และ 6 เป็ น รู ป แบบตั ว อย่ า งการหา
มีความเสี่ยงสูงต่อการระบาดของโรคไปสู่ผู้ป่วยอื่นที่ไม่ได้ อุปกรณ์เพื่อน�ำมาใช้ไม่ว่าจะเป็นกรณีทั่วไปหรือฉุกเฉินเพื่อ
เป็นโรคติดต่อร้ายแรง การท�ำซุ้มแยกต่างหากเพื่อคลุม ป้องกันการระบาดของโรค ซึง่ ผูบ้ ริหารสถานพยาบาลรวมทัง้
เฉพาะเตียงก็อาจท�ำได้รวดเร็วและค่าใช้จ่ายก็ไม่สูงดังเช่น ผูอ้ อกแบบระบบระบายอากาศจ�ำเป็นต้องพิจารณาให้เหมาะสม
การเพิ่มห้องผู้ป่วย ซึ่งต้องใช้งบประมาณและสถานที่มาก กับงบประมาณและสถานที่ ตามความเหมาะสมต่อไป

สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย 65
การออกแบบห้องแยกเดี่ยวผู้ป่วย

สรุป
ห้ อ งแยกเดี่ ย วผู ้ ป ่ ว ยชนิ ด แรงดั น ลบนั้ น ควรมี การ แพทย์ทเี่ กีย่ วข้อง ผูป้ ว่ ยอืน่ ๆ ภายในโรงพยาบาล ญาติมติ ร
ออกแบบเพื่ อ ป้ อ งกั น การแพร่ ร ะบาดของโรค ซึ่ ง ต้ อ ง ของผูป้ ว่ ยทีม่ าเยีย่ ม ฝ่ายบ�ำรุงรักษาตลอดจนถึงสิง่ แวดล้อม
พิจารณาตามความเหมาะสมกับสถานที่มาตรฐานกลาง โดยเฉพาะบริเวณใกล้เคียงที่เป็นชุมชน โดยไม่ดูดอากาศที่
โดยยึดหลักการส�ำคัญ คือ การปกป้องบุคลากรทางการ ปนเปื้อนเชื้อสู่บรรยากาศในรัศมีต�่ำกว่าที่ก�ำหนดไว้

เอกสารอ้างอิง
[1] Francis J.Curry National Tuberculosis Center, Isolation Room; Design, Assessment, and
Upgrade (1999)
[2] Pranab K. Chowdhury & Samta Bajaj; HVAC Design Criteria for Isolation Rooms,
July-September 2002
[3] Mar Ortega, Josep Mensa; Preventive Isolation in the Emergency Department,
Emergencias2009, 21:36-41
[4] Duncan Phillips, and Glenn Schuyler; Infectious Disease Control Issues; Principles of
Isolation Room Design; Technotes, Issue No.22
[5] Duncan Phillips, Ray J. Sinclair, and Glenn D.Schuyler; Isolation Room Ventilation Design
Case Studies.
[6] Kevin Moon; Design of Hospital Isolation Rooms; Business Briefing; Hospital Engineering &
Facility Management 2004
[7] Victoria Advisory Committee on Infection Control 2007; Guideline for the Classification and
Design of Isolation Rooms in Health Care Facilities.

66 บทความวิชาการ ชุดที่ 17

You might also like