You are on page 1of 19

โรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังยังคงเป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน ปัจจัยต่าง ๆ

ส่งเสริมให้โรคมีการดำเนินไปอย่างต่อเนื่องจนทำให้ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการไม่คงที่
ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และความสามารถในการดำรงชีวิตได้ แม้จะมีการศึกษาค้นคว้า
ยาชนิดใหม่ ๆ แต่การใช้ยาสูดพ่นยังคงเป็นช่องทางหลักในการรักษาโรคหืด และโรค
ปอดอุดกั้นเรื้อรังที่ให้ผลการรักษาดีกว่าการบริหารยารูปแบบอื่น แต่ในการดูแลรักษา
ผู้ป่วยกลับพบปัญหาจากการใช้ยาสูดพ่นที่ไม่ถูกต้อง ปัญหาดังกล่าวจึงยังเป็นประเด็น
หลักที่ท้าทายเภสัชกรที่ดูแลผู้ป่วยโรคหืด และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ซึ่งเป็นผู้มีบทบาท
หลักในการแนะนำเทคนิคสูดยาที่ถูกต้องให้กับผู้ ป่วย โดยในปัจจุบัน นโยบายการ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสามารถรับยาที่ร้านยาใกล้บ้าน ส่งผลให้เภสัชกร
ร้านยาเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น การให้คำแนะนำการใช้ยาสูดพ่น
หรือเทคนิคการสูดพ่นยาที่ถูกต้องจึงไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป
บทความนี้ จะกล่าวถึงกลไกการสะสมของยาในระบบทางเดินหายใจ และแนะนำ
อุปกรณ์นำส่งยาชนิดต่าง ๆ ที่พบได้บ่อย และอุปกรณ์ชนิดใหม่ ข้อดีของอุปกรณ์นำส่ง
ยาแต่ละชนิด รวมถึงข้อจำกัด และข้อผิดพลาดที่มักพบจากการสูดพ่นยาในผู้ป่วย โดย
ขอเน้ น ย้ ำ ถึ ง อุ ป กรณ์ ป ระเภท pressurized metered dose inhaler และ dry
powder inhaler ซึ่งเภสัชกรมีบทบาทมากในการแนะนำเทคนิคการใช้ยาสูดพ่น ที่
ถูกต้อง
ยาสูดพ่น, inhaler device, pressurized metered dose inhaler, dry
powder inhaler
ก็มีการพัฒนาอุปกรณ์ให้มีคุณสมบัติในการปลดปล่อย
เมื่อได้อ่านบทความแล้ว ผู้อ่านสามารถ อนุภาคยาให้ดีขึ้นตามการศึกษาที่เพิ่มขึ้น[1] จนถึงจุด
1. อธิบายลักษณะอุปกรณ์สูดพ่นยาแต่ละชนิด เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของอุปกรณ์สูดพ่นยาชนิด pMDI
2. ระบุข้อดี-ข้อเสีย และข้อผิดพลาดที่พบจากการใช้ คื อ การปร ะ กา ศส น ธ ิ ส ั ญ ญ าสา กล Montreal
อุปกรณ์สูดพ่นยาแต่ละชนิด protocol ซ ึ ่ ง ร ณ ร ง ค ์ ใ ห ้ ง ด ใ ช ้ ส า ร
chlorofluorocarbons (CFCs) ทั่วโลก เนื่องจากสาร
ดังกล่าวมีผลทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ จึงเกิด
การพัฒนาสูตรตำรับใหม่ของยาชนิด pMDI ขึ้นโดยใช้
โรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังยัง คงเป็น
สาร hydrofluoroalkane (HFA) เป็ น สารขั บ ดั น ยา
โรคที ่ พ บได้ บ ่ อ ยในปั จ จุ บ ั น นอกจากปั จ จั ย จาก
แทน ซึ่งนอกจากไม่มีผลให้เกิดอาการเย็น วาบในคอ
พันธุกรรมของผู้ป่วยแต่ละราย การรับสัมผัสมลพิษใน
(Cold Freon) เหมื อ นสาร CFC และยั ง ทำให้
อากาศ ทั้งควันจากการเผาไหม้ต่าง ๆ รวมถึงควันบุหรี่
ความเร็วในการปลดปล่อยละอองยาลดลง และขนาด
ต่างมีผลส่งเสริมให้โรคมีการดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง
อนุภาคลดลง ผลทั้งหมดจึงช่วยให้อนุภาคที่มีตัวยา
ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการคงที่ ขณะที่ผู้ป่วยบางราย
สำคั ญ เข้ า ไปสะสมในปอด (lung deposition) ได้
อาจมีอาการกำเริบจนต้องรับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน
เพิ่มขึ้น[1, 2] ต่อมาจึงมีการพัฒนายาสูดพ่นในรูปแบบ
ซึ่งมีสาเหตุส่วนหนึ่ง มาจากการใช้ยาควบคุมอาการ
Dry Powder Inhalers (DPI) ในปี ค.ศ.1987 มีการใช้
ชนิดสูดพ่นไม่ถูกต้อง ขณะที่บางรายอาจมีปัญหาความ
multidose DPI device ใ น ย า ก ล ุ ่ ม inhaled
ร่ ว มมื อ ในการใช้ ย าจากความไม่ เ ข้ า ใจ หรื อ ได้ รั บ
glucocorticosteroid (ICS) ช น ิ ด แ ร ก ค ื อ ย า
ผลข้างเคียงจากยาที่ได้รับ นอกจากนี้ ในปัจจุบันยังมี
budesonide[1] ข้อจำกัดของยาสูดจำพวก DPI คือ
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสามารถรับยาที่
แรงที่ใช้สูดยา (Inspiration flow rate) ซึ่งอุปกรณ์แต่
ร้านยาใกล้บ้าน เภสัชกรร้านยาจึงมีส่วนร่วมในการ
ละชนิดต้องการแรงสูดที่แตกต่างกัน ดังนั้ น การเกิด
ดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้มากขึ้น โดยมีส่วนช่วยดูแลเทคนิค
ประสิทธิภาพจากการใช้ยาสูดพ่นนั้น จึงไม่ได้ขึ้นอยู่กับ
การสูดพ่นยาของผู้ป่วยให้ถูกต้องยิ่งขึ้น ช่วยค้นหาและ
การเลือกยา หรือปรับยาให้เข้ากับอาการของผู้ป่วย
แก้ ไ ข รวมถึ ง ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ในการใช้ ย าให้
เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับการเลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสม
ต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลให้การใช้ยาให้ผลการรักษาที่ดี
กับความร่วมมือและความสามารถในการสูดยาของ
ต่อไป
ผู้ป่วย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้ยาเข้าสู่ตำแหน่ง
การบริหารยาเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจโดย
ออกฤทธิ์ได้ดี จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพของการใช้ยา
ใช้อุปกรณ์สูดพ่นยาเป็นช่องทางสำคัญในการรักษาโรค
เกิดได้มาก และผู้ป่วยได้รับผลข้างเคียงจากการใช้ยา
ในระบบทางเดินหายใจ โดยการใช้อุปกรณ์สูดพ่นยา
น้อยที่สุดด้วย เภสัชกรจึงควรเข้าใจการออกฤทธิ์ของ
แบบพกพามีการพัฒนาขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1956 ใน
ยาในทางเดินหายใจ และเข้าใจการทำงานของอุปกรณ์
ร ู ป แ บ บ pressurized Metered Dose Inhaler
สูดพ่นยาชนิดต่าง ๆ ที่มีความหลากหลายในท้องตลาด
(pMDI) และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย ขณะเดียวกัน
เพื่อให้คำแนะนำวิธีการสูด ยาให้กับผู้ป่วยได้ถูกต้อง
ต่อไป
เนื่องจากระดับ ยาที่ ตรวจวัด ได้ ในเลื อ ดไม่ 2. ปัจจัยทางเภสัชจลนศาสตร์ที่มีผลต่อการออก
สัมพันธ์กับการออกฤทธิ์ของยาที่ปอด แต่การวัดระดับ ฤทธิ์ของยาที่บริหารผ่านระบบทางเดินหายใจ
ความเข้มข้นของยาในเนื้อเยื่อปอดนั้นทำได้ ยากมาก ยาสูดพ่นชนิดและรูปแบบต่าง ๆ ที่บริหารยา
การศึกษาส่ว นใหญ่จึงคาดการณ์ จากคุณสมบัติ ท าง เข้าสู่ระบบทางเดินหายใจมีปัจจัยที่มีผลต่อการออก
เภสัชจลนศาสตร์ของยาที่บริหารยาผ่านอุปกรณ์นำส่ง ฤทธิ์ของยาหลายประการ ดังนี้
ยาให้ อ ยู ่ ใ นรู ป แบบอนุ ภ าคยาแขวนลอยในอากาศ 2.1 ขนาดอนุภาคยา (Particle size) และการสะสม
(aerosol) และการตอบสนองของร่างกายหลังได้รับยา ของอนุภาคยา (Droplet deposition)
เป็นข้อมูลเพื่อวัดประสิ ทธิภาพของยา[3] ข้อมูลจาก ขนาดของอนุภาคเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดที่มีผล
การศึ ก ษาจึ ง ถู ก นำมาใช้ อ อกแบบการนำส่ ง ยาใน ต่ อ การสะสมของยาในตำแหน่ง ออกฤทธิ ์ อุ ป กรณ์
รูปแบบต่างๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ยาสูดพ่น ไปถึง นำส่งยาประเภทให้กำเนิดอนุภ าคยาที่มีคุณสมบัติ
ตำแหน่งออกฤทธิ์ได้ aerodynamic ขนาดอนุ ภ าค (aerodynamic
จากที ่ ไ ด้ ก ล่ า วมา เภสั ช กรจึ ง ควรทบทวน particle diameter) แตกต่างกันระหว่าง 0.5-35 µm
ความรู้เรื่องอุปกรณ์สูดพ่นยา และเทคนิคการสูดยาที่ [4] เมื่อผู้ป่วยสูดพ่นยา ยาส่วนหนึ่งจะเกิดการตกค้าง
ถูกต้อง ในบทความนี้ขอกล่าวถึงกลไกการออกฤทธิ์ อยู่กับอุปกรณ์ส ูดพ่นยา ส่ว นปริมาณยาที่เหลือจะ
ของยาในทางเดินหายใจ อุปกรณ์นำส่งยาชนิดต่าง ๆ เคลื่อนที่ออกจากอุปกรณ์นำส่งยาเข้าสู่ระบบทางเดิน
ที่พบได้บ ่อยและอุ ป กรณ์น ำส่ งยาชนิดใหม่ รวมถึง หายใจ และเกิดการสะสม (aerosol deposition) ใน
ข้อจำกัดและข้อผิดพลาดที่มักพบจากการสูดพ่นยาใน ตำแหน่งต่างๆตามขนาดของอนุภาค ดัง แสดงในรูปที่
ผู้ป่วย 1 ดังนี้ [4]

รูป 1 ขนาดอนุภาคยาที่เคลื่อนที่ และเกิดการสะสมในตำแหน่งต่าง ๆ ในทางเดินหายใจ [1]


1. ขนาดใหญ่ ก ว่ า 10 µm อนุ ภ าคยาเคลื ่ อ นที ่ไป นอกจากนี้ อีกปัจจัยที่มีผลต่อการสะสมยาคือความเร็ว
สะสมบริเวณ oropharynx ที่อนุภาคยาถูกปลดปล่อยออกมาจากอุปกรณ์ อุปกรณ์
2. ขนาดระหว่าง 5-10 µm อนุภาคยาเคลื่อนที่ไป ที่ปลดปล่อยยาด้วยความเร็วสูงหรือผู้ป่วยที่สูดยาด้วย
สะสมบริเวณ trachea และหลอดลมขนาดใหญ่ แรงสูดที่มากเกินไปอาจทำให้ยาเกิดการสะสมที่ช่อง
3. ขนาดระหว่ า ง 1-5 µm อนุ ภ าคยาเคลื ่ อ นที ่ไป ปาก และลำคอได้มากกว่าในปอด
สะสมที่บริเวณทางเดินหายใจส่วนล่าง
2.2 การละลายของยาใน lung fluids
4. ขนาดน้อยกว่า 0.5 µm อนุภ าคยาประพฤติตัว
หลังจากยาเกิดการสะสมที่ปอดแล้ว ยาจะ
เหมือนแก๊ส และเคลื่อนออกจากทางเดิน หายใจ
เกิ ด การละลายเข้ า สู ่ epithelial-lining fluids
เมื่อหายใจออก
กระบวนการนี้มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือ สูตรตำรับของยา
ดั ง นั ้ น ขนาดอนุ ภ าคของยาที ่ ม ี โ อกาสเข้ า สู่
คุณสมบัติทางฟิสิกส์เคมีของยาและปัจจัยทางกายภาพ
ทางเดินหายใจส่วนล่างและเกิดการสะสมในปอดได้
ยาที่ถูกละลาย และอยู่ในรูปอิสระ (free form) จะถูก
มากที่ส ุดควรมี aerodynamic diameter ประมาณ
ดูดซึมได้อย่างรวดเร็ว ขณะที่ยาที่ต้องการให้ออกฤทธิ์
1.5–5 µm[3, 4] ขนาดอนุ ภ าคดั ง กล่ า วจึ ง เป็ น
นานอาจปรับสูตรตำรับให้ยาเกิดการละลายได้ช้าลง
เป้าหมายในการออกแบบการปลดปล่อยยาในอุปกรณ์
แต่ อ าจถู ก กำจั ด ด้ ว ยกระบวนการ mucociliary
ต่าง ๆ ขณะที่อนุภาคยาขนาดใหญ่ที่สะสมอยู่ในช่อง
clearance ได้เช่นกัน epithelial-lining fluids ใน
ปากหรือในลำคอจะถูกกลืนลงสู่ทางเดินอาหาร และ
แต่ละตำแหน่งมีลักษณะที่แตกต่างกัน บริเวณทางเดิน
อนุ ภ าคยาที ่ ม ี ข นาดเล็ ก มากที ่ ไ ม่ เ กิ ด การสะสมใน
หายใจส่วนบนมีลักษณะเป็น biphasic gel-aqueous
ทางเดินหายใจจะถูกพาออกมาพร้อมลมหายใจออก
mucus layer ขณะที่บริเวณถุงลมจะมีลักษณะเป็น
[5]
alveolar lining fluid ร่ ว มกั บ pulmonary
อนุภาคยาเมื่อเคลื่อนที่เข้าสู่ร ะบบทางเดิน
surfactant[3]
หายใจ จะเกิ ด การสะสมในตำแหน่ งต่ าง ๆ ด้ ว ย 3
ค ว า ม ห น า แ ล ะ ส ่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ชั้ น
ก ล ไ ก [4] ด ั ง แ ส ด ง ใ น ร ู ป ท ี ่ 2 ไ ด ้ แ ก่ Inertial
pulmonary lining fluid เป็นอีกปัจจัยที่มีผลต่อการ
impaction, Gravitational sedimentation แ ล ะ
ละลายของยา การต้องการให้ยาออกฤทธิ์ที่ตำแหน่งใด
Brownian diffusion
จึงอาจออกแบบได้จากคุณสมบัติของตัวยา และการ
ปรับปรุงสูตรตำรับของยาร่วมกัน
2.3 กระบวนการ Mucociliary clearance และ
macrophage clearance
ในหลอดลมยาที่ถูกสะสมแต่ไม่ถูกดูดซึมจะ
ถูกกำจัดโดย mucociliary clearance ซึ่งเป็นกลไก
ของร่างกายในการกำจัดสิ่งแปลกปลอม เช่น ฝุ่น และ
แบคทีเรีย cilia จะทำหน้าที่โบกพัดเอาเยื่อเมือกที่มีสิ่ง
รูป 2 กลไกการสะสมของอนุภาคยาในระบบหายใจ[5]
แปลกปลอมติดอยู่ขึ้นมาทาง pharynx อนุภาคยาที่
ถูกขับขึ้นมาจะถูกกลืนลงสู่ทางเดินอาหารต่อไป ยาที่ ยาจะคงอยู่ในเนื้อเยื่อของทางเดินหายใจได้
สะสมบริ เ วณหลอดลมส่ ว นต้ น จะถู ก กำจั ด อย่ า ง โดยมีปัจจัยส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถในการ
รวดเร็ว ขณะที่ยาที่สะสมบริเวณหลอดลมขนาดเล็ ก ละลายของยาในเนื ้ อ เยื ่ อ (pulmonary tissue
ส่วนปลายอาจใช้เวลามากกว่าในการเคลื่อนที่ขึ้ นมา partition coefficient) รวมถึงความสามารถในการ
ตามลำดั บ และขณะเคลื ่ อ นที ่ ข ึ ้ น มาก็ อ าจมี จับกับเนื้อเยื่อนั้น (tissue affinity) และยังมีผลจาก
กระบวนการดู ด ซึ ม ยาไปด้ ว ย ทั ้ ง นี ้ ก ระบวนการ การจั บ กั บ ตั ว รั บ ได้ น าน และปฏิ ก ิ ร ิ ย าของยากั บ
ดังกล่าวในผู้ป่วยอาจเกิดได้ช้าเนื่องจากมีชั้น mucus membrane lipid bilayers นอกจากนี้ บริเวณปอด
ที่หนาและมีความเหนียวกว่าภาวะปกติจากกลไกของ ยังมีเอนไซม์ที่ทำลายยาอยู่ แม้จะเกิดการทำลายได้
โรค[3] น้อยกว่าในระบบทางเดินอาหารและในตับก็ตาม[3]
ส่วนยาที่เคลื่อนที่ไปสะสมที่ alveoli จะถูก
กำจัดโดยกระบวนการ phagocytosis ของ alveolar 2.6 การกำจัดยา (Absorptive drug clearance)
macrophages จากนั ้ น จึ ง ถู ก กำจั ด โดยขนส่ ง ไปยั ง การกำจั ด ยาออกจากเนื ้ อ เยื ่ อ ปอดเป็ น
lung-draining lymph nodes กระบวนการนี้เกิดขึ้น กระบวนการสุดท้ายที่เกิดขึ้นในการบริหารยาทางปอด
ช้ามาก บริเวณนี้ยาส่วนใหญ่จึงเกิดการละลายได้ก่อน กระบวนการนี้ขึ้นอยู่กับระบบไหลเวียนโลหิตเป็นหลัก
ถูกกระบวนการกำจัดยาดังกล่าวทำลาย[3] ยาที ่ เ คลื ่ อ นที ่ เ ข้ า มาถึ ง alveoli จะถู ก ดู ด ซึ ม จาก
เนื ้ อ เยื ่ อ ปอดเข้ า สู ่ ร ะบบไหลเวี ย นโลหิ ต เพื ่ อ เกิ ด
2.4 การดูดซึมยาเข้าสู่เนื้อเยื่อปอด (Absorption
ก ร ะ บ ว น ก า ร ท ำ ล า ย ห ร ื อ ท ำ ใ ห้ ย า หม ดฤทธิ์
to lung tissue)
(absorptive clearance) ได้ง่ายกว่ายาที่มีการสะสม
ยาที่เกิดการละลายเข้าสู่ epithelial-lining
ในหลอดลม เนื่องจากบริเวณ alveoli มีการไหลเวียน
fluids และรอดพ้นจากการถูกกำจัดออกจากทางเดิน
โลหิ ต สู ง สุ ด มี พ ื ้ น ที ่ ผ ิ ว มาก และเป็ น ตำแหน่ ง ที่
หายใจจะเกิดกระบวนการดูดซึมเข้าสู่ lung tissue ยา
epithelium บางมาก ทำให้ยาที่เกิดการละลายและ
ที่มีคุณสมบัติละลายได้ดีในไขมัน (lipophilic drugs)
สะสมใน alveoli คงอยู่ได้สั้นมากส่งผลให้ airway
จะถูกดูดซึ มอย่างรวมเร็ว โดยแพร่ผ ่าน epithelial
selectivity ของยาในบริเวณนี้น้อยกว่า ในหลอดลม
cells ส่วนยาที่มีคุณสมบัติละลายได้ดีในน้ำ ชนิดที่มี
จึงอาจกล่าวได้ว่าการดูดซึมของยาที่ alveoli อาจไม่มี
ขนาดเล็กอาจถูกดูดซึ มผ่านรูที่เป็นทางเข้าออกของ
บทบาทในกระบวนการออกฤทธิ์ของยาที่ปอด[3]
สารน้ำใน intercellular gap junctions นอกจาก
ทั้งนี้เพื่อให้ยาเกิดผลข้างเคียงจากการออก
คุ ณ สมบั ต ิ ข องยาแล้ ว คุ ณ สมบั ต ิ ท างกายภาพของ
ฤทธิ์ในระบบไหลเวียนโลหิตน้อยที่สุด ยาที่ใช้สูดพ่นจึง
ผู ้ ป ่ ว ย เช่ น พื ้ น ที ่ ผ ิ ว ของ alveolar space ระบบ
ควรมี bioavailability ต่ำ เพื่อลดการดูดซึมยาเมื่อยา
ไหลเวียนโลหิตที่มาหล่อเลี้ยง รวมถึงความหนาของชั้น
ถูกกลืนลงสู่ทางเดินอาหารและยาที่ถูกดูดซึมเข้าสู่
epithelial cells ก็มีผลต่อการดูดซึมยาเช่นกัน[3]
ระบบไหลเวียนโลหิตควรถูกทำลายอย่างรวดเร็ว[3]
2.5 การคงอยู ่ ข องยาในเนื ้ อ เยื ่ อ (Pulmonary จากที ่ ไ ด้ ก ล่ า วมา ยาที ่ บ ริ ห ารเข้ า สู ่ ร ะบบ
tissue retention) และการเปลี่ยนแปลงยาที่ปอด ทางเดินหายใจต้องผ่านกระบวนการต่างๆมากมาย
(pulmonary metabolism) ปัจจัยทั้งหมดต่างมีผ ลต่อการออกฤทธิ์ข องยาและ
ประสิทธิภาพการรักษาทั้งสิ้น ดังนั้นนอกจากการตั้ง
เภสัชตำรับ คุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติทาง 3.1 Pressurized metered dose inhalers
เคมีของยาแล้ว การออกแบบอุปกรณ์นำส่งยาเพื่อให้ (pMDIs)
ขนาดอนุภ าคยา และปริมาณที ่เหมาะสมก็เ ป็ น อี ก อุปกรณ์ประเภทนี้ส ามารถนำส่งสู่ทางเดิน
ปัจจัยที่มีความสำคัญมาก ซึ่งจะได้กล่าวถึงในหัว ข้อ หายใจได้ร้อยละ 15-50 จากปริมาณยาที่ถูกปลอด
ต่อไป ปล่อยออกมา[4, 6] โดยยาถูกบรรจุในกระบอกบรรจุ
(canister) และปลดปล่อ ยยาเป็ นละอองฝอยตาม
3. อุปกรณ์นำส่งยา (Inhaler devices)
ขนาดที่กำหนดในปริมาณที่ผู้ผลิตระบุ (± 20 ครั้ง) [7]
เมื่อเภสัชกรได้ศึกษาทำความเข้าใจถึงปัจจัย
อุปกรณ์ประเภท pMDI มีทั้งชนิดที่ใช้เป็นยาบรรเทา
ทางเภสัชจลนศาสตร์ของการบริหารยาเข้าสู่ทางเดิน
อาการ และใช้เป็นยาควบคุมอาการ โดยประเภทที่ใช้
หายใจแล้ว ประเด็นต่อมาที่มีความสำคัญต่อการออก
เป็นยาควบคุมอาการอาจมีส่วนเสริมที่ระบุปริมาณยา
ฤทธิ์ของยา คืออุปกรณ์นำส่งยา การออกแบบอุปกรณ์
เหลื อ (dose counter) ช่ ว ยให้ ผ ู ้ ป ่ ว ยตรวจสอบ
นำส่งยาที่ดี จะช่วยให้ขนาดอนุภาคยาเหมาะสมกับ
ปริมาณยาเหลือได้ง่าย สำหรับอุปกรณ์ที่ใช้เป็นยา
การเข้าไปยังตำแหน่งที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์ และ
ควบคุมอาการที่ไม่มีตัวนับปริมาณยาเหลือ ควรแจ้งให้
อุปกรณ์นำส่งยาที่ดี ไม่ควรมีวิธีใช้ที่ซับซ้อนมากเกินไป
ผู้ป่ว ยทราบว่ายาดังกล่าวสามารถใช้ได้กี่ ครั้ง และ
จนอาจก่อความสับสน หรือไม่สะดวกกับผู้ป่ว ยบาง
แนะนำให้นับจำนวนครั้งที่ใช้ หรืออ้างอิงจากจำนวน
ราย นอกจากนี ้ อุ ป กรณ์ ค วรต้ อ งการแรงสู ด ที่
วั น ที ่ ใ ช้ ไ ด้ โ ดยคำนวณจากจำนวนกดที ่ ใ ช้ ต ่ อ วั น
เหมาะสมกับผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการทำงาน
เนื่องจากตัวยาสำคัญอาจหมดก่อน แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่
ปอด โดยแรงสู ด เฉลี ่ ย จากการหายใจปกติ (tidal
มักใช้ยาต่อจนกว่าจะกดไม่ออก ซึ่งทำให้ผู้ป่วยได้รับ
breathing in seated position) ในเพศชาย และเพศ
แต่ส ารขับดันยา จึงมีโ อกาสที่ผ ู้ป่ว ยไม่ได้รับตัว ยา
หญิง เท่ากับ 18 และ 13 L/min ตามลำดับ [1] แต่
สำคัญจนส่งผลต่อการควบคุมอาการได้
การนำพายาเข้าสู่ทางเดินหายใจต้องใช้แรงสูดมาก ซึ่ง
แรงสู ด ที ่ เ หมาะสมสำหรั บ อุ ป กรณ์ ช นิ ด
ผู้ป่วยที่มีโรคทางเดินหายใจอาจไม่สามารถสูดยาได้
pMDI ขั้นต่ำสุดที่ยอมรับได้เท่ากับ 10 L/min แต่มี
เมื่อใช้อุปกรณ์ที่ต้องการแรงสูดมาก ปัจจัยเหล่านี้จึง
การศึกษาในอุปกรณ์ที่ใช้ HFA พบว่าแรงสูดที่ 30
เป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเสมอเมื่อต้องเลือก หรือประเมิน
L/min มีผลให้ยาเกิดการสะสมในช่องปากและลำคอ
การใช้อุปกรณ์สูดยาให้ผู้ป่วยแต่ละราย โดยอุปกรณ์
ได้น้อยกว่าที่แรงสูด 15 L/min แต่ยังไม่มีข้อมูลแรง
นำส่งยาแต่ละชนิดต่างมีจุดเด่น และจุดด้อยแตกต่าง
สูดที่ระบุได้อย่างชัดเจน ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านแนะนำ
กัน ดังนั้นความสามารถในการสูดยาของผู้ป่วยเมื่อใช้
ว่าอุปกรณ์ pMDI ต้องการแรงสูดที่เหมาะสมเท่ากับ
อุปกรณ์ชนิดหนึ่ง อาจไม่สามารถนำไปใช้คาดเดาว่า
30 L/min แต่ เ มื ่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ อุ ป กรณ์ ช นิ ด
สามารถสูดยาด้วยอุปกรณ์ชนิดอื่นได้
breath actuated inhaler (BAI) ที่ระบุแรงสูดขั้นต่ำ
อุ ป กรณ์ น ำส่ ง ยาในท้ อ งตลาดมี ค วาม
ที่กระตุ้นให้เกิดการปลดปล่อยยาเท่ากับ 20 L/min
หลากหลายมาก ในบทเรีย นนี้ จะขอกล่าวถึงเพียง
จึงอาจระบุได้ว่าแรงสูดขั้ นต่ำสำหรับอุปกรณ์จำพวก
อุ ป กรณ์ ป ระเภท pMDI และ DPI ที ่ พ บได้ บ ่ อ ย ซึ่ ง
pMDI (และ BAI) ควรมากกว่า 20 L/min ส่วนแรงสูด
เภสั ช กรมี บ ทบาทสำคั ญ ในการให้ ค ำแนะนำ และ
สู ง สุ ด (maximum inspiratory flow) สำหรั บ
ประเมินการใช้ยาสูดพ่นให้กับผู้ป่วย ดังนี้
อุ ป กรณ์ ส ู ด ยาจำพวก HFA pMDI (รวมถึ ง BAI)
กำหนดไว้ที่ 120 L/min การใช้แรงสูดที่มากเกินไป หมดไปแล้วก็ตาม ผู้ป่วยจึงเสี่ยงต่อการไม่ได้รับตัวยา
อาจทำให้ย าสะสมบริเวณช่องคอ แต่การใช้แรงสูด สำคัญจนส่งผลต่อการควบคุมโรคได้
มากกว่าแรงสูดที่กำหนดไม่มีรายงานต่อการเกิดอาการ เทคนิคสูดยาไม่ถูกต้อง โดยจุดผิดพลาดที่มัก
ไม่ พ ึ ง ประสงค์ และไม่ ไ ด้ บ ่ ง ชี ้ว ่ าเป็น วิธ ีส ูด ยาที่ไม่ พบ เช่น ไม่เขย่าหลอดยา, ไม่หายใจออกก่อนสูด, กด
ถูกต้องแต่อย่างใด[1] อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์ pMDI ไม่พร้อมสูด (ซึ่งเป็นจุดสำคัญของอุปกรณ์ประเภท
ที่ผลิตออกมาอาจมีความแตกต่างกันในความต้องการ MDI) ไม่ส ามารถสูดยาแบบช้า -ลึก ได้ และไม่ก ลั้ น
แรงสูดได้ ซึ่งบริษัทผู้ผลิตส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนด หรือ หายใจหลังสูดยา นอกจากนี้ผู้ป่วยที่ต้องใช้ยา 2 กดต่อ
ระบุ ข ้ อ มู ล แรงสู ด อย่ า งชั ด เจนให้ ก ั บ ผู ้ ป ่ ว ย หรื อ มื้อ มักกดยาติดกัน 2 ครั้ง ซึ่งทำให้ได้รับปริมาณยา
บุ ค ลากรทางการแพทย์ ท ราบยาประเภท pMDI เข้าสู่ทางเดินหายใจส่วนล่างลดลง
แบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ ได้แก่ หลังปรับเทคนิคการสูดยาแล้ว ผู้ป่วยบาง
3.1.1 Conventional pMDI เป็นชนิดที่ รายอาจทำได้ดีขึ้น แต่บางราย โดยเฉพาะเด็กเล็กและ
ต้องอาศัยการกดและสูดที่ต้องสัมพันธ์กัน หลังกด ยา ผู้ส ูงอายุมักไม่ส ามารถกดยาพร้อมสูดยาได้ แ ละไม่
จะถู ก ปลดปล่ อ ยออกมาพร้ อ มสารขั บ ดั น ยา สามารถกลั้นหายใจได้ กรณีนี้อาจพิจารณาใช้กระบอก
(propellant) จากนั้นสารขับดันยาจะเกิดการระเหย ช่วยสูดยาร่วมกัน
เหลือแต่อนุภาคยาที่มีขนาดเล็กลง และถูกสูดเข้าสู่
ทางเดิ น หายใจต่ อ ไป ดั ง แสดงในรู ป ที ่ 3 [6] โดย
ข้อผิดพลาดที่มักพบจากการอุปกรณ์ conventional
pMDI ได้แก่
ผู้ป่วยไม่ทราบข้อบ่งใช้ของยา ผู้ป่วยไม่ใช้ยา
ควบคุมอาการอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากไม่ทราบว่ายา
ชนิดนั้นมีผลชะลอการดำเนินไปของโรค เภสัชกรจึง
ควรอธิบ ายและเน้น ย้ำข้อบ่งใช้ของยาสูดพ่นแต่ละ
ชนิดให้ผู้ป่วยเข้าใจ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการใช้
ยา
ผู้ป่วยไม่ทราบว่าตัวยาสำคัญหมด ยาที่ใช้
เพื่อเป็นยาควบคุมอาการควรเน้นย้ำให้ผู้ป่วยสังเกต
ปริมาณยาที่เหลือ อุปกรณ์บางชนิดอาจมีตัวเลขระบุ
ปริมาณยาที่เหลือ (dose counter) ชัดเจน แต่ผู้ป่วย รูปที่ 3 ลักษณะภายในอุปกรณ์ pMDI [6] และ
บางรายอาจไม่ได้สังเกต หรือมองเห็นไม่ชัดเจน ขณะที่ อุปกรณ์ pMDI ที่มีจำหน่ายในท้องตลาด
อุปกรณ์ส่วนใหญ่ไม่มีตัวเลขระบุ กรณีนี้ควรแนะนำให้ เช่น Seretide® Evohaler® (Salmeterol xinafoate/ Fluticasone
ผู้ป่วยนับจำนวนยาที่เหลือจากจำนวนขนาดทั้งหมดที่ propionate 25/250µg/puff และขนาดอื่นที่มีจำหน่าย คือ 25/50
และ 25/125µg/puff) และ Symbicort® RapihalerTM
ผู้ผลิตระบุ เนื่องจากอุปกรณ์มักมีสารขับดันยาเหลือ
(Budesonide/Formoterol fumarate dihydrate 160/4.5µg/puff)
จึงสามารถกดให้เกิดละอองควัน ได้ แม้ตัวยาสำคัญ (ที่มา: คลินิกโรคปอด โรงพยาบาลพะเยา)
3.1.2 Spacers และ Valved holding
chambers (VHC) กระบอกช่วยสูดยาหรือ spacer
(รู ป ที ่ 4) เป็ น อุ ป กรณ์ เ สริ ม ลั ก ษณะเป็ น กรวยกั ก
ละอองยาระหว่างบริเวณปลดปล่อยยากับช่องปาก
ของผู้ป่วย ใช้ร่วมกับอุปกรณ์นำส่งยาจำพวก pMDI
เนื่องจากปริมาณยาร้อยละ 80 อาจตกค้างอยู่บริเวณ
oropharynx แต่ปริมาณยาเพียงร้อยละ 20 เท่านั้นที่
ถูกนำส่งสู่ทางเดินหายใจส่วนล่าง และหากผู้ป่ วยสูด
ยาไม่ถูกต้อง ปริมาณยาที่ถูกนำส่งสู่ทางเดินหายใจ
ส่ ว นล่ า งอาจน้ อ ยลงอี ก กระบอกช่ ว ยสู ด ยาจึ ง ถู ก
พัฒนาขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1950 เพื่อแก้ไขบางปัญหา
ของการสูดยา pMDI ที่ไม่ถูกต้อง กระบอกช่วยสูดยา
ทุกชนิดมีข้อดีร่วมกันคือช่วยอำนวยความสะดวกให้
ผู้ป ่ว ยที่ไม่ ส ามารถกดพร้ อมสูด ยาในเวลาเดี ย วกั น รูป 4 กระบอกช่วยสูดยาชนิดต่าง ๆ ซึ่งมีความ
(hand-lung coordination) ได้ ซึ่งมักพบในในผู้ป่วย แตกต่างทั้งรูปร่าง และปริมาตร (ที่มา: คลินิกโรคปอด
เด็ก และผู้ป่วยสูงอายุ และช่วยลดการตกค้างของยาที่ โรงพยาบาลพะเยา)
มี อ นุ ภ าคขนาดใหญ่ ซ ึ ่ ง อาจเคลื ่ อ นตั ว ไปสะสมใน
oropharynx โดยเฉพาะยาที ่ ม ี ส ่ ว นประกอบของ กระบอกช่วยสูดยาไม่ได้มีข้อดีเสมอไป การ
corticosteroids ซึ่งมักเป็น สาเหตุของการเกิดผล ใช้ spacer อาจทำให้ เ กิ ด ไฟฟ้ า สถิ ต (static
ข้างเคียง เช่น เสียงแหบและเชื้อราในช่องปากจนทำ electricity) ซึ่งจะดูดซับอนุภาคยาขนาดเล็กไว้บริเวณ
ให้ผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือในการใช้ยาตามมาได้ หรือ ผนังของกระบอกสูดได้ จึงอาจลดปริมาณยาที่ผู้ป่วย
ความรู้สึกรสขมในช่องปากจากการตกค้างของยาใน ได้ ร ั บ ต่ อ ครั ้ ง ได้ [8] โดย spacer แต่ ล ะชนิ ด อาจมี
ช่องปาก นอกจากนี้ กระบอกช่ว ยสูดยาส่วนใหญ่ ยัง ความสามารถในการนำส่งยาได้แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ
ช่วยนำส่งยาไปสู่ปอดดีขึ้น[8] ปัจจัยต่าง ๆ เช่น
การใช้ spacer หรื อ valved holding 3.1.2.1 ขนาด และปริมาตร กระบอกช่วย
chamber (VHC) (ลักษณะคล้าย spacer แต่มี one- สูดยาที่มีปริมาตรน้อย (ไม่เกิน 100mL) อาจสะดวก
way valve เปิดให้ละอองยาไหลเข้าสู่ช่องปากตาม ต่อการพกพา ขณะที่ กระบอกช่วยสูดยาขนาดกลาง
แรงสู ด โดยไม่ ใ ห้ ล ะอองยาเกิ ด การไหลย้ อ นกลับ ) (ปริมาตร 100-350 mL) และขนาดใหญ่ (ปริมาตร
spacer หรือ VHC ช่วยให้ละอองยาที่ถูกปลดปล่อย มากกว่า 700 mL) อาจไม่สะดวกต่อการพกพา แต่
จากอุปกรณ์สูดยาเคลื่อนที่ช้าลง และเกิดการลดขนาด ในทางทฤษฎีแล้ว กระบอกช่วยสูดยาที่เหมาะสมควรมี
อนุภาคลง จึงมีผลช่วยให้ยาถู กนำส่งสู่ทางเดินหายใจ ปริมาตรระหว่าง 100-700 mL และควรมีระยะห่าง
ส่วนล่างได้มากขึ้น[8] จากอุปกรณ์ปลดปล่อยยาถึงปากผู้ป่วยอย่างน้อย 10
เซนติเมตร เพื่อเพิ่มระยะเวลาให้สารขับดันยาเกิดการ
ระเหยให้อนุภาคยาลดขขนาดลง ซึ่งจะช่วยให้นำพาสู่ ข้อผิดพลาดที่มักพบจากการใช้กระบอกช่วยสูดยา
ทางเดินหายใจส่วนล่างได้ดีขึ้น ดังนั้น จากปัจจัยเรื่อง ผู ้ ป ่ ว ยมั ก กดยาแล้ ว สู ด เพี ย งครั ้ ง เดี ย ว
ขนาด และปริมาตร กระบอกช่วยสูดยาบางชนิดอาจ จากนั้นนำกระบอกช่วยสูดยาออกทันที ทำให้ปริมาณ
ช่วยแก้ไขเรื่องการกดพร้อมสูดยา แต่อาจมีผลต่อการ ยาที่ได้รับน้อย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีแรงสูดยาน้อย
เพิ่มปริมาณยาที่เข้าสู่ปอดได้เพียงเล็กน้อย[8] กรณีที่ประเมินพบว่าผู้ป่วยมีแรงสูดน้อย หรือกลั้ น
3.1.2.2 วาล์วเปิดปิด (valves) วาล์วเปิด หายใจไม่ได้ ควรให้ผู้ป่วยหายใจเข้า ออกในกระบอก
ปิดแบบ one-way (unidirectional valve) ช่วย ช่วยสูดยาประมาณ 3-5 ครั้ง โดยไม่นำกระบอกช่วย
ให้ล ะอองยาถูกกัก อยู่ ในกระบอกช่ว ยสูดยาโดยไม่ สูดยาออกก่อน
ล่องลอยสู่อากาศไปก่อนผู้ป่วยสูดยา นอกจากนี้ยังช่วย การทำความสะอาดกระบอกช่วยสูดยาควร
ป้องกันไม่ให้ลมจากการหายใจออกไหลย้อนสู่กระบอก ล้างด้วยน้ำเปล่าหรือน้ำสบู่อ่อน แล้วจึงล้างออกด้วย
ช่วยสูดยาอีกด้วย[8] น้ำเปล่า จากนั้นผึ่งลมให้แห้งโดยไม่ควรเช็ดผนังด้าน
3.2.1.3 วัสดุที่ใช้ผลิต spacer วัสดุที่มีผล ในอุปกรณ์ ซึ่งอาจเป็นการทำให้เกิดไฟฟ้าสถิตและดูด
ให้เกิดประจุไฟฟ้า (electrostatic charge) อาจดึงดูด ซับผงยาไว้ที่ผิวกระบอกสูดยาได้
อนุภาคยาไว้ได้ถึงมากถึงร้อยละ 50 จึงมีผลให้ขนาด 3.2 Soft-Mist inhaler (SMI)
ยาที่ถูกนำสู่ทางเดินหายใจลดลงได้ การแก้ไขอาจทำ เป็นอุปกรณ์นำส่งยาที่ถูกคิดค้นขึ้นมาใหม่
ได้โดยพ่นยาใส่กระบอกช่วยสูดยาให้ละอองยาเคลือบ (รูปที่ 5) โดยชื่ออุปกรณ์ที่มีจำหน่ายในท้องตลาด
ไว้ก่อน แต่อาจทำให้สิ้นเปลืองยาได้ หรืออาจใช้น้ำสบู่ ปัจจุบันยังมีชนิดเดียวคือ Respimat® โดยนำส่งยาใน
อ่อนๆทำความสะอาด และหลังทำความสะอาดควร ร ู ป แ บ บ ล ะ อ อ ง ฝ อ ยโ ด ย ไ ม ่ ใ ช ้ สา รข ั บดั น ยา
ปล่อย spacer ให้แห้งเอง หลีกเลี่ย งการขัดหรือถู (propellant-free) กลไกแรงดั น จากสปริ ง ขั บ
บริเวณภายใน เพื่อลดโอกาสการสร้างประจุไฟฟ้าให้ สารละลายยาปริมาตร 15 µL ยาผ่านรูเปิดขนาดเล็ก
เกิดขึ้นอีก[8] จนเกิดควันละอองยาขนาดเล็ก (soft mist aerosol)
จากความแตกต่างของลักษณะกระบอกช่วย
สู ด ยา เภสั ช กรควรประเมิน ปั ญ หาในการสู ด ยาให้
ถูกต้อง ซึ่งจะนำไปสู่การเลือกกระบอกช่วยสูดยาที่
เหมาะสม เพื่อแก้ไขปัญหาในการสูดยาสำหรับผู้ป่วย
รายนั้นได้ถูกต้อง สำหรับแรงสูดที่ใช้สำหรับอุปกรณ์
pMDI ที่ต่อกับ spacers หรือ VHC ใช้แรงสูดใกล้เคียง
กับการสูด pMDI เดี่ยวๆ (ประมาณ 30 L/min) แต่ รูป 5 อุปกรณ์ Respimat® ที่มีจำหน่ายในประเทศ
แรงสูดที่น้อยเกินไป เช่นในผู้ป่วยเด็ก อาจไม่เพียงพอ ได้แก่ (ซ้าย) Spiriva® Respimat® (Tiotropium Br
จะมีผ ลให้ว าล์ ว ใน VHC บางชนิดเปิดให้ล ะอองยา monohydrate 2.5µg/dose)[9] และ (ขวา)
เคลื่อนออกมาได้[1]
Spiolto® Respimat® (Tiotropium Br
monohydrate 2.5µg/Olodaterol HCl
2.5µg/dose) [10] และลักษณะภายในอุปกรณ์[6]
Respimat® มีข้อดีกว่ายา pMDI ทั่วไปคือ ยาจะถูกทำให้กระจายออก (อุปกรณ์หลายชนิดอาจใช้
ยาถูกปลดปล่อยออกมาอย่างช้าๆ และยาวนานกว่า ตะแกรงให้ อ นุภ าควิ ่ งชน) จากนั้ นอนุภ าคยาจึ ง ถู ก
และให้ ก ำเนิ ด fine particle fractoin ได้ ส ู ง กว่ า กระจายออก และนำพาสู่ระบบทางเดินหายใจต่อไป
อุป กรณ์ pMDI และ DPI ชนิดอื่น จึงส่งผลให้ก าร [5] โดยยาถูกนำส่งสู่ทางเดินหายใจได้ร้อยละ 10-30
สะสมของยาในปอดได้ ม ากขึ ้ น โดยการศึ ก ษา จากปริมาณยาที่ระบุ[4]
เปรียบเทียบกับ ประสิทธิภาพการนำส่งยาในผู้ป ่ว ย ปัจจัยที่สำคัญสำหรับอุปกรณ์จำพวก DPIs
COPD พบว่าอุป กรณ์ Respimat ให้ป ระสิทธิภาพ คื อ แรงต้ า นภายในอุ ป กรณ์ น ำส่ ง ยา (intrinsic
เท่ากับขนาดยากึ่งหนึ่งของขนาดยาที่ใช้ผ่าน pMDI resistance devices) อุปกรณ์ที่ออกแบบให้อนุภาค
และมีประสิทธิภาพกว่าการใช้ Handihaler® ถึง 3.6 ยาแตกตัว หรือกระจายตัวออกจากตัวพาได้ดี (อาจใช้
เท่า ข้อจำกัดของอุปกรณ์ชนิดนี้คือนำส่งปริมาตรยาได้ แรงเหวี่ยง หรือใช้การชนกับตะแกรง) จะมี airflow
น้อย ยาที่ใช้ต้องเตรียมและคงตัวในรูปสารละลายได้ resistance มากกว่ า แม้ จ ะช่ ว ยให้ เ กิ ด lung
เพื่อนำส่งยาในขนาดที่คงที่ และการบรรจุยารวมถึง deposition ได้มากกว่า อุปกรณ์ที่มีแรงต้านภายใน
การเตรียมยาก่อนสูดต้องหมุนอุปกรณ์ด้วยแรงที่มาก น้อย แต่กลับต้องใช้แรงสูดที่ต้องการในการทำให้เกิด
พอควร จึงอาจเป็นข้อจำกัดในผู้ป่วยสูงอายุได้[11] การชนกันของอนุภาคยามากขึ้น [5, 11] ซึ่งอาจเป็น
ข ้ อ ผ ิ ด พ ล า ด ท ี ่ ม ั ก พ บ จ า ก ก า ร ใ ช้ ปัญหาสำหรับผู้ป่วยที่มีการทำงานของระบบทางเดิน
Respimat® การประกอบยาทำได้ยากและการหมุน หายใจผิดปกติได้ หากแบ่งอุปกรณ์จำพวก DPIs ตาม
เพื่อบรรจุยาต้องใช้แรงมาก จึงอาจไม่เหมาะสมกับ แรงต้านภายในของอุปกรณ์ (intrinsic resistance)
ผู้ป่วยสูงอายุที่ต้องใช้ยาเอง โดยขณะหมุนยาควรระวัง จะแบ่งได้เป็น 3 ระดับ โดยแต่ละระดับต้องการแรงสูด
ไม่ให้กดปุ่มปล่อยยาก่อนและผู้ป่วยต้องกลั้นหายใจ แตกต่างกัน[11] ได้แก่
หลังสูดยาได้เช่นเดียวกับอุปกรณ์พวก conventional - High intrinsic resistance devices ต้องอาศัย
MDI แรงสูดอย่างน้อย 90 L/min
3.3 Dry powder inhaler (DPI) - Medium intrinsic resistance devices ต้อง
ยาที ่ ถ ู ก เตรี ย มให้ ใ ช้ ก ั บ อุ ป กรณ์ น ำส่ ง ยา อาศัยแรงสูดอย่างน้อย 60-90 L/min
จำพวก DPIs แบ่ ง เป็ น 2 รู ป แบบ คื อ adhesive - Low intrinsic resistance devices ต้องอาศัย
mixture formulations คือการนำอนุภาคยาที่ผ่าน แรงสูดต่ำกว่า 50 L/min ก็เพียงพอ
การบดลดขนาดแล้วไปกระจายตัวบนอนุภาคตัว พา
และ spherical agglomerates (pellet
formulation) คือ การนำอนุภาคยาเดี่ยวๆ หรือยา
ผสมกับ สูตรตำรับ แล้วนำไปผ่านกระบวนการให้ได้
ขนาดอนุ ภ าคทรงกลมที ่ ใ กล้ เ คี ย งกั น (รู ป ที ่ 6)
ส่วนประกอบในสูตรตำรับของทั้ง 2 รูปแบบมักเป็น รูป 6 ลักษณะอนุภาคยาผงแห้งที่เตรียมใน 2 รูปแบบ
lactose ซึ่งนอกจากช่วยให้เกิดการกระจายของขนาด (A) Adhesive mixture และ (B) Soft spherical
ยาแล้ ว ยั ง ช่ ว ยให้ เ พิ ่ ม คุ ณ สมบั ต ิ ก ารลอยตั ว ของ agglomerates/pellets [5]
อนุภาคด้วย เมื่อผู้ป่วยสูดยา อนุภาคของตัวพาที่บรรจุ
อุป กรณ์ป ระเภท DPI มีความหลากหลาย อย่างไรก็ตาม แรงสูดที่ใช้สำหรับอุปกรณ์
มาก แตกต่างกันตามแนวคิดการออกแบบการนำส่งยา ชนิด turbuhaler® อาจแตกต่างกันตามตำแหน่งของ
และสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของผู้ผลิต แต่การใช้ ทางเดินหายใจที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์ ยาสูดชนิด
อุปกรณ์สูดยากลุ่มนี้ต้องเน้นย้ำให้ผู้ป่วยเป่าลมหายใจ turbuhaler® ที่มียาออกฤทธิ์ต่างกันจึงต้องการแรงสูด
ออกก่ อ นสู ด โดยระวั ง อย่ า เป่ า ลมหายใจเข้ า ไปใน ที่แตกต่างกัน โดยข้อผิดพลาดที่ มั ก พบจากการใช้
อุปกรณ์ และแนะนำให้สูดแบบ แรง-ลึก ขอยกตัวอย่าง Turbuhaler® ได้แก่
อุปกรณ์สูดยาที่มีจำหน่ายในประเทศและพบได้บ่อย ผู้ป่วยเตรียมยาไม่ถูกต้อง ผู้ป่วยมักหมุนฐาน
เพื่อให้เภสัชกรได้ศึกษาการทำงานของอุปกรณ์และ กระบอกสูดยาเพียงครั้งเดียว ทำให้ร่องจานบรรจุยาไม่
ข้อผิดพลาดที่มักพบจากการใช้ยา ดังนี้ หมุ น ไปสู ่ ช ่ อ งสู ดยา ควรเน้ น ย้ำ ผู ้ป ่ ว ยให้ห มุนฐาน
3.3.1 Turbuhaler ® ผลิตภัณฑ์นำส่งยา กระบอกสูดยา 2 ครั้ง ให้ได้ยินเสียง “คลิ๊ก” 1 ครั้ง
เป็น multidose powder inhaler ที่มีการเก็บตัวยา ต่อการสูดยา 1 ขนาด นอกจากนี้ การเปิดใช้อุปกรณ์
ในภาชนะบรรจุแบบ reservoir (รูปที่ 7) โดยบรรจุยา เป็นครั้งแรก ควรหมุนให้ได้ยินเสียงดัง “คลิ๊ก” 3 ครั้ง
ในช่องที่ตวงปริมาณยาแล้วสูด ข้อเสียของผลิตภัณฑ์ที่ ก่อนสูดยา เพื่อให้ร่องจานที่มียาบรรจุแล้วหมุนมาอยู่
บรรจุยาแบบ reservoir คือยาอาจสัมผัสความชื้นใน ในช่ อ งสู ด ยา นอกจากนี ้ ผู ้ ป ่ ว ยบางรายอาจจั บ
อากาศหลังเปิดใช้ย าได้ แรงสูดที่เ หมาะสมสำหรับ กระบอกสูดยาไม่ถูกต้อง โดยอาจจับโดยใช้นิ้วบัง ช่อง
อุปกรณ์ turbuhaler® ระดับที่รับได้อยู่ระหว่าง 30- ลมหลักที่ฐานกระบอกสูดยาซึ่งอาจส่งผลให้แรงลมที่
60 L/min แต่แรงสูดที่มากกว่า 60 L/min จะให้ ช่วยนำพายาเข้าสู่ทางเดินหายใจลดลง
ขนาดอนุภ าค และการนำส่งยาสู่ทางเดิน หายใจถึง การใช้ในขนาดควบคุมอาการ และบรรเทา
ส่วนล่างได้ดี[1] อาการ เนื่องจากยาสามารถใช้เป็นยาควบคุมอาการ
และยาบรรเทาอาการได้ จึ ง ควรเน้ น ย้ ำ ผู ้ ป ่ ว ยถึ ง
ปริ ม าณที ่ ต ้ อ งใช้ เ พื ่อ เป็ น ยาควบคุ ม อาการและให้
ผู ้ ป ่ ว ยนั บ จำนวนครั ้ ง ที ่ ใ ช้ เ พื ่ อ บรรเทาอาการเพื่ อ
พิจารณาปรับขนาดยาควบคุมอาการต่อไป
การสังเกตยาหมด ยารูปแบบ มีตัวเลขระบุ
จำนวนยาที่เหลือ ผู้ป่วยบางรายอาจเข้าใจผิดว่าแถบสี
แดงปรากฏหมายถึงยาหมด จึงไม่ใช้ต่อหรือนำยาไป
ทิ้ง ควรแจ้งผู้ป่วยว่าเมื่อยาหมดจะเห็นแถบสีแดงทั้ง
รูป 7 อุปกรณ์ Turbuhaler® ที่มีจำหน่ายในประเทศ ช่องร่วมกับตัวเลข “0” (รูปที่ 8)
ได้แก่ Symbicort® Turbuhaler®
(Budesonide/Formoterol fumarate dihydrate
80/4.5 และ 160/4.5µg/dose), Symbicort® Forte
Turbuhaler® (320/9 µg/dose) และ Pulmicort®
รูป 8 ตัวอย่าง dose counter ของยา Symbicort®
Turbuhaler® (Budesonide 100 และ
Turbuhaler®
2005µg/dose) และลักษณะภายในอุปกรณ์[12]
3.3.2 Accuhaler ® (Diskus®) อุปกรณ์ ผู้ป่วยถืออุปกรณ์สูดยาในแนวตั้ง ซึ่งอาจไม่
สูดยาชนิดนี้จัดเป็น multidose powder inhaler ที่ สะดวกในการสูด แนะนำถืออุปกรณ์ในแนวระนาบ
มีตัวยาสำคัญและสูตรตำรับ บรรจุใน blister strip โดยหันด้านที่มีตัวเลขระบุปริมาณยาเหลือขึ้นด้านบน
(รูปที่ 9) ให้ปริมาณยา 1 สูดต่อการบรรจุยา 1 ครั้ง หากแนะนำให้ผู้ป่วยสูดยาซ้ำ 1-2 สูด ควร
จึงมีข้อดีที่ยาจะมีความคงตัวต่อความชื้นได้มากกว่า เน้นย้ำว่าไม่ต้องกดบรรจุยาซ้ำ
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท ี ่ บ รรจุ ย าแบบ reservoir แรงสู ด ยาที่ 3.3.3 Swinghaler® เป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ถู ก
เหมาะสมสำหรับอุปกรณ์ชนิดนี้ควรมีค่าอย่างน้อย 30 พั ฒ นาขึ ้ น ในประเทศญี ่ ป ุ ่ น จึ ง ไม่ ม ี ข ้ อ มู ล ศึ ก ษา
L/min ขึ้นไป การใช้แรงสูดที่มากขึ้นสามารถช่วยให้ เปรียบเทียบกับอุปกรณ์นำส่งยาชนิดอื่น รวมถึงข้อมูล
การนำส่ ง ยา และขนาดอนุ ภ าคยาดี ข ึ ้ น [1] โดย แรงต้านภายในอุปกรณ์หรือแรงสูดขั้นต่ำ ปัจจุบันยัง
ข้อผิดพลาดที่มักพบจากการใช้ Accuhaler® ได้แก่ พบการใช้อุปกรณ์ชนิดนี้บ้างในโรงพยาบาลบางแห่ง
ผู้ป่วยเขย่ายาก่อนเปิด หรือหลังกดบรรจุยา (รู ป ที ่ 10) โดยข้ อ ผิ ด พลาดที ่ ม ั ก พบจากการใช้
แนะนำผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องเขย่ายา Swinghaler® ได้แก่ ผู้ป่วยไม่เขย่ายาก่อนใช้ และหลัง
สูดยาผู้ป่วยมักลืมกดกระบอกสูดยาซ้ำอีก 1 ครั้ง

รูป 9 อุปกรณ์ Accuhaler® ที่มีจำหน่ายในประเทศ ได้แก่ Seretide® Accuhaler®


(Salmeterol/Fluticasone propionate) ในหลายความแรง ได้แก่ 50/100, 50/250 และ 50/500 µg/dose และ
ลักษณะภายในอุปกรณ์ (ที่มา: คลินิกโรคปอด โรงพยาบาลพะเยา)

รูป 10 อุปกรณ์ Swinghaler® ที่มีจำหน่ายในประเทศ ได้แก่ Meptin® Swinghaler® (Procaterol HCl 10


µg/dose)[13], Obucort® Swinghaler® (Budesonide 200 µg/dose) และลักษณะภายในอุปกรณ์ (ที่มา: คลินิก
โรคปอด โรงพยาบาลพะเยา)
3.3.4 ElliptaTM อุปกรณ์ชนิดนี้อาจมีแผง ออกให้หมดก่อน โดยควรสังเกตปริมาณผงยา หากยัง
ยาภายใน 1 หรือ 2 ชนิดแยกกัน (รูปที่ 11) ตามชนิด เหลือมากควรใช้แรงสูดที่มากขึ้นในครั้งต่อไป
ยาที่บรรจุภายใน มีข้อดีที่เป็นอุปกรณ์พร้อมใช้ โดยไม่
3.3.6 Single-dose capsule DPI มี
ต้องบรรจุย าก่อนสูดเหมือนอุป กรณ์ DPI บางชนิด อุปกรณ์นำส่งยา แยกกับตัวยาสำคัญ โดยตัวยาสำคัญ
ผู้ป่วยสามารถกดเปิดแล้วสูดยาได้เลย จึงมีขั้นตอนการ
ถูกบรรจุในแคปซูล ผู้ป่วยต้องเตรียมยาโดยนำแคปซูล
ใช้น้อยกว่า อุปกรณ์จัดว่ามีแรงต้านภายในระดับปาน
บรรจุ ใ นอุ ป กรณ์ น ำส่ ง ยาแล้ ว เตรี ย มยาตามชนิ ด
กลาง จากการศึกษาพบว่าอุปกรณ์สามารถนำส่งยา อุปกรณ์
ด้วยแรงสูด 30 L/min และการศึกษาพบว่าการใช้แรง
สูดในช่วง 43.5-130 L/min สามารถนำส่งขนาดยาได้ 3.3.6.1 Breezhaler ® ตั ว ยาสำคั ญ ถู ก
คงที่ ซึ่งสอดคล้องกับแรงสูดที่ ระบุจากผู้ผลิตคือ 30- บรรจุในแคปซูล (รูปที่ 13) ผู้ป่วยต้องแกะแคปซูลยา
90 L/min[1] ข้อผิดพลาดที่มักพบจากการใช้อุปกรณ์ แล้ ว นำแคปซู ล บรรจุ ใ นเครื ่ อ งแล้ ว เจาะเพื ่ อ สูดยา
ชนิดนี้เหมือนกับใน Accuhaler® ข้อมูลจากการศึกษา โดยทั่วไปการสูดยาเพียง 1 สูดก็เพียงพอต่อการนำพา
แสดงว่าผู้ป่วยสามารถสูดยาได้แม้มีร ะยะของโรคที่ ยาสู่ทางเดินหายใจ แต่กรณีที่ผู้ป่วยมีแรงสูดน้อย หรือ
รุนแรงก็ตาม แต่อาจมีความแปรปรวนได้ในผู้ป่วยจริง ผู ้ ป ่ ว ยที ่ ส ู ด สั ้ น ๆอาจทำให้ ม ี ผ งยาหลงเหลื อ อยู ่ ใ น
เนื ่ อ งจากความแตกต่ า งของสมรรถภาพปอดที่ แคปซูล (ซึ่งมักเป็นแคปซูลโปร่งแสง ทำให้มองเห็นผง
หลงเหลือเมื่อโรคดำเนินไป[11] โดยข้อผิดพลาดที่มัก ยาภายในได้) ซึ่งเป็นข้อดีที่ผู้ป่วยจะสังเกตได้ โดยอาจ
พบจากการใช้ ElliptaTM ได้แก่ แนะนำให้ผู้ป่วยใช้แรงสูดที่มากขึ้น หรือสูดซ้ำจนกว่า
- หลังดึงฝาครอบลงเพื่อบรรจุยา ผู้ป่วยบางรายมัก ไม่มีผงยาหลงเหลือในแคปซูล นอกจากนี้ หากผู้ปว่ ยมี
เผลอดึงฝาครอบกลับ โดยไม่สูดยา แรงสูดที่เพียงพอ ขณะสูดยาผู้ป่วยจะได้ยินเสียงจาก
- ผู้ป่วยเอามือปิดช่องตะแกรงทางเดินอากาศ ซึ่ง การสั่นของแคปซูลในช่องบรรจุยา[11] อุปกรณ์ชนิดนี้
อาจส่ ง ผลรบกวนแรงลมที ่ น ำพายาสู ่ ท างเดิ น มีแรงต้านต่ำ โดยต้องการแรงสูดขั้นต่ำอย่างน้อย 30
หายใจ L/min โดยนำส่งปริมาณยาได้ไม่แตกต่างกันหากใช้
3.3.5 Easyhaler ® เป็ น อุ ป กรณ์ ที ่ม ีแรง แรงสูดในช่วง 30-100 L/min บางการศึกษาระบุว่า
ต้านภายในสูง โดยต้องการแรงสูดขั้น ต่ำ 30L/min อุปกรณ์ Breezhaler® สามารถสร้างสัด ส่วนอนุภาค
(รูปที่ 12) แต่การใช้แรงสูดที่มากขึ้น (เช่น แรงสูดที่มี ยาแบบละเอียด (fine particle fraction) และทำให้
การศึกษาที่ 60L/min) ก็ให้ผลดีกว่าทั้งการให้กำเนิด ยาสะสมในปอดได้มากกว่าอุปกรณ์ Handihaler®[1,
ขนาดอนุภาคที่เหมาะสมและการสะสมของยาในปอด 11] แต่อุปกรณ์มีข้อจำกัดคือ มีขั้นตอนการใช้หลาย
[1] โดยข้อผิดพลาดที่มักพบจากการใช้ Easyhaler® ขั้นตอน ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยสับสนได้
ได้แก่ 3.3.6.2 HandiHaler® (รูปที่ 14) ข้อมูล
ระวังอย่าให้น้ำเข้าไปในอุปกรณ์ เนื่องจากผง ตามการศึกษาสรุปได้ว่าแรงสูดขั้นต่ำสำหรับอุปกรณ์
ยาอาจดูดซับความชื้นจนส่งผลให้ยาเสื่อมสภาพได้ สู ด ยาชนิ ด นี ้ เ ท่ า กั บ 20 L/min ขณะที ่ แ รงสู ด ที่
เหมาะสมควรมากกว่า 30 L/min[1] ยาที่พบได้บ่อย
หากต้องใช้ยามากกว่า 1 ครั้ง ให้เคาะปาก
ในการปฏิบัติงาน ได้แก่ tiotropium bromide
กระบอกสูดยากับพื้นหรือฝ่ามือเบาๆเพื่อนำผงยาเดิม
รูป 11 อุปกรณ์ ElliptaTM ที่มีจำหน่ายในประเทศ ได้แก่ RelvarTM ElliptaTM (Vilanterol/fluticasone furoate)
ในความแรง 25/100[14] และ 25/200 µg/dose[15] และลักษณะภายในอุปกรณ์

รูป 12 อุปกรณ์ Easyhaler ที่มีจำหน่ายในประเทศ ได้แก่ Beclomet (Beclomethasone dipropionate 200µg/


สูด[16], Giona (Budesonide 200µg/สูด) [17] และ Buventol (Salbutamol sulphate 200µg/สูด) [18]

รูป 13 อุปกรณ์ Breezhaler® ที่มีจำหน่ายในประเทศ ได้แก่ Onbrez® (Indacaterol maleate 150 และ
300µg/capsule), Seebri® (Glycopyrronium Br 50µg/capsule) และ Ultibro (Indacaterol maleate 143µg
[indacaterol 110µg]/Glycopyrronium Br 63µg [glycopyrronium 50µg])

รูป 14 อุปกรณ์ HandiHaler® ที่มีจำหน่ายในประเทศ ได้แก่ Spiriva® HandiHaler® (Tiotropium Br


monohydrate 18µg/capsule)
ยา HandiHaler®สามารถดูดซับ ความชื้ น drug delivery in COPD: The role of
ในอากาศได้ง่าย จึงส่งผลต่อประสิทธิภาพการออก inhaler devices. Respir Med. 2017;124:6–
ฤทธิ์ของยาได้ การนำแคปซูลยาออกจากแผงจึงต้อง 14.
ระวั ง ไม่ ใ ห้ ฉ ี ก แผงบรรจุ ย าเกิ น ขี ด ที ่ ร ะบุ โดย 3. Borghardt JM, Kloft C, Sharma A. Inhaled
ข้อผิดพลาดที่มักพบจากการใช้ Breezhaler® และ Therapy in Respiratory Disease: The
HandiHaler® ได้แก่ Complex Interplay of Pulmonary Kinetic
ผู้ป่วยไม่ควรฉีกแคปซูลยาทิ้งไว้ล่วงหน้า และ Processes. Can Respir J. 2018;1–11.
ต้องเช็ดมือให้แห้งขณะหยิบแคปซูล 4. Kelly HW, Sorkness CA. Asthma. In:
ผู้ป่วยสามารถสูดยาใรเม็ดแคปซูลเดิมซ้ำได้ DiPiro JT, Talbert RL, Yee GC, Matzke GR,
โดยไม่จำเป็นต้องกดเข็มเจาะยาซ้ำ Wells BG, Posey LM, editors.
ควรแนะนำผู้ป่วยว่าผงยามีขนาดเล็กและมี Pharmacotherapy a pathophysiologic
ปริมาณน้อยมาก การสูดยาที่เหมาะสมอาจไม่มีผงยา approach, 10th ed. New York, NY:
ตกค้ า งในช่ อ งปาก ผู ้ ป ่ ว ยจึ ง ไม่ ร ั บ รู ้ ร สชาติ ข องยา McGraw-Hill Education; 2017. p. 343-
เนื่องจากผู้ป่วยบางรายอาจเข้าใจผิดโดยนำเม็ดยาไป 373.
รับประทานได้ 5. Demoly P, Hagedoorn P, de Boer AH,
Frijlink HW. The clinical relevance of dry
powder inhaler performance for drug
ปัจจุบันมีอุปกรณ์การสูดยาชนิดใหม่หลาย delivery. Respir Med. 2014;108(8):1195–
ชนิด โดยแต่ละชนิดต่างมีข้อดี และข้อเสียแตกต่างกัน 203.
อุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ต้ อ งการแรงสู ด ที ่ แ ตกต่ า งกั น 6. Pleasants RA, Hess DR. Aerosol Delivery
ขณะที่ผ ู้ป ่ว ยแต่ล ะรายก็ มี ความสามารถในการสู ด Devices for Obstructive Lung Diseases.
ข้ อ จำกั ด ทางร่ า งกายที ่ อ าจมี ผ ลต่ อ การสู ด ยาและ Respir Care. 2018;63(6):708–33.
ข้อผิดพลาดในการใช้อุปกรณ์สูดยาที่แตกต่างกันไป ซึง่ 7. Myers TR. The Science Guiding Selection
จะได้นำไปใช้เฝ้าระวังและให้คำแนะนำเทคนิคการสูด of an Aerosol Delivery Device. Respir
พ่นยาที่ถูกต้องให้กับผู้ป่วยต่อไป Care. 2013;58(11):1963–73.
8. Vincken W, Levy ML, Scullion J, Usmani
OS, Dekhuijzen PNR, Corrigan CJ. Spacer
devices for inhaled therapy: why use
1. Haidl P, Heindl S, Siemon K, Bernacka M,
them, and how? ERJ Open Res.
Cloes RM. Inhalation device
2018;4(2):00065–2018.
requirements for patients’ inhalation
9. Image of spiriva respimat soln for
maneuvers. Respir Med. 2016;118:65–75.
inhalation 2.5 mcg/puff 2.5 mcg/puff x
2. Rogliani P, Calzetta L, Coppola A, Cavalli
60 puffs Inhaler | MIMS.com Thailand
F, Ora J, Puxeddu E, et al. Optimizing
[Internet]. [cited 2019 Nov 17]. Available
from: nfo/meptin%20swinghaler%20dry%20po
https://www.mims.com/thailand/image/i wd%20inhaler%2010%20mcg-
nfo/spiriva%20respimat%20soln%20for puff/10%20mcg-
%20inhalation%202-5%20mcg-puff/2- puff%20x%20200%20puffs?id=9f782f1d-
5%20mcg- 5f55-48f1-a2fc-a82300c9518c
puff%20x%2060%20puffs?id=fcda86cd- 14. Image of relvar ellipta inhalation powd
9189-483a-b3c6-a65d00fb6fc3 100/25 mcg 100/25 mcg Inhaler |
10. Image of spiolto respimat soln for MIMS.com Thailand [Internet]. [cited
inhalation 2.5 mcg 2.5 mcg Inhaler | 2019 Nov 17]. Available from:
MIMS.com Thailand [Internet]. [cited https://www.mims.com/thailand/image/i
2019 Nov 17]. Available from: nfo/relvar%20ellipta%20inhalation%20p
https://www.mims.com/thailand/image/i owd%20100-25%20mcg/100-
nfo/spiolto%20respimat%20soln%20for 25%20mcg?id=70abc4cb-1a98-4f72-8f01-
%20inhalation%202.5%20mcg/2.5%20m a6a600e1e989
cg?id=583d98ce-40cd-499e-ac59- 15. Image of relvar ellipta inhalation powd
a73000eb4161 200/25 mcg 200/25 mcg Inhaler |
11. D’Urzo A, Chapman KR, Donohue JF, MIMS.com Thailand [Internet]. [cited
Kardos P, Maleki-Yazdi MR, Price D. 2019 Nov 17]. Available from:
Inhaler Devices for Delivery of https://www.mims.com/thailand/image/i
LABA/LAMA Fixed-Dose Combinations in nfo/relvar%20ellipta%20inhalation%20p
Patients with COPD. Pulm Ther. owd%20200-25%20mcg/200-
2019;5(1):23–41. 25%20mcg?id=dd9408a6-f8c3-4909-
12. Turbuhaler. Courtesy AstraZeneca. | a40d-a6a600e1e997
Download Scientific Diagram [Internet]. 16. Image of beclomet easyhaler powd for
[cited 2019 Nov 17]. Available from: inhalation 200 mcg/dose 200 mcg/dose
https://www.researchgate.net/figure/Tur x 200 doses Inhaler | MIMS.com
buhaler-Courtesy- Thailand [Internet]. [cited 2019 Nov 17].
AstraZeneca_fig1_257838713 Available from:
13. Image of meptin swinghaler dry powd https://www.mims.com/thailand/image/i
inhaler 10 mcg/puff 10 mcg/puff x 200 nfo/beclomet%20easyhaler%20powd%
puffs Inhaler | MIMS.com Thailand 20for%20inhalation%20200%20mcg-
[Internet]. [cited 2019 Nov 17]. Available dose/200%20mcg-
from: dose%20x%20200%20doses?id=370172
https://www.mims.com/thailand/image/i dc-f4e9-47c5-a4b4-a7c100ec228b
17. Image of giona easyhaler powd for 18. Image of buventol easyhaler powd for
inhalation 200 mcg/dose 200 mcg/dose inhalation 200 mcg/dose 200 mcg/dose
x 200 doses Inhaler | MIMS.com x 200 doses Inhaler | MIMS.com
Thailand [Internet]. [cited 2019 Nov 17]. Thailand [Internet]. [cited 2019 Nov 17].
Available from: Available from:
https://www.mims.com/thailand/image/i https://www.mims.com/thailand/image/i
nfo/giona%20easyhaler%20powd%20for nfo/buventol%20easyhaler%20powd%2
%20inhalation%20200%20mcg- 0for%20inhalation%20200%20mcg-
dose/200%20mcg- dose/200%20mcg-
dose%20x%20200%20doses?id=d214d6 dose%20x%20200%20doses?id=1fc6a1a
b2-cb63-4773-98a1-a7c100f2b17f c-f6e7-4f3f-b01b-a7c100eec363
1. สำหรับโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังข้อใดคือข้อดีของ 4. การเกิดไฟฟ้าสถิตในกระบอกช่วยสูดยามีผลต่อยาสูดพ่น
การใช้สารขับดันยาเป็นสารกลุ่ม hydrofluoroalkane อย่างไร
ก. ทำลายชั้นโอโซนได้เทียบเท่ากับสารกลุ่ม CFC ก. ช่วยผลักให้ยาเข้าสู่ปอดมากขึ้น
ข. ขนาดอนุภาคยาลดลง ข. ไม่มผี ลต่อปริมาณยาทีส่ ูดได้
ค. เกิด cold Freon ช่วยให้ทราบว่าผู้ป่วยสูดยาได้ ค. ดูดซับอนุภาคยาไว้ที่กระบอกช่วยสูดยา
ลึก ง. ช่วยให้อนุภาคยาเกิดประจุและเคลื่อนที่ได้ดีขึ้น
ง. ยาตกค้างในปอดลดลง จ. ลดการสะสมของยาในช่องปาก
จ. ละอองยาฟุ้งกระจายได้น้อย 5. ประโยชน์ของการเขย่ายาสูดพ่นชนิด pMDI ก่อนสูดยา
2. อนุภาคยาที่เหมาะสมต่อการสะสมที่ปอดได้มาก ควรมี คือข้อใด
ขนาดเท่าใด ก. สารละลายยากระจายตัวเข้าตัวสารขับดันยาได้ดี
ก. มากกว่า 10 ไมโครเมตร ข. ทำให้ขนาดอนุภาคยาลดลง
ข. 0.5-35 ไมโครเมตร ค. ลดปริมาณสารขับดันยา
ค. 5-10 ไมโครเมตร ง. ลดการตกค้างของยาในช่องปาก
ง. 1.5-5 ไมโครเมตร จ. ยาออกฤทธิไ์ ด้มากขึ้น
จ. น้อยกว่า 0.5 ไมโครเมตร 6. ข้อดีของการใช้กระบอกช่วยสูดยาร่วมกับยาสูดชนิด
3. ข้อใดคือคุณสมบัติที่ดีของยาที่บริหารสูร่ ะบบทางเดิน pMDI มีดังนี้ ยกเว้น
หายใจ ก. ลดปริมาณยาที่ตกค้างในช่องปาก
ก. อยู่ในรูป ionized-form ข. ช่วยแก้ไขการต้องกดยาพร้อมสูดยาในเวลา
ข. มี bioavailability ต่ำ เดียวกัน
ค. ถูกทำลายได้ช้าหลังดูดซึมเข้าสู่ระบบไหลเวียน ค. ช่วยให้นำส่งยาสู่ปอดได้ดีขึ้น
โลหิต ง. ลดการเกิดผลข้างเคียงจากยา corticosteroids
ง. มีความสามารถในการจับกับเนื้อเยื่อในปอดได้น้อย จ. ช่วยให้ผู้ปว่ ยกลั้นหายใจได้ดีขึ้น
และจับในเวลาอันสั้น 7. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการออกแบบอุปกรณ์นำส่งยา
จ. คุณสมบัตลิ ะลายได้ดีในไขมัน ก. ให้กำเนิดขนาดอนุภาพที่เหมาะสม
ข. วิธีใช้ยาง่าย ไม่ซับซ้อน
ค. ไม่ดดู ซับตัวยาสำคัญไว้ในอุปกรณ์
ง. ไม่ต้องใช้แรงสูดยามาก
จ. ขนาดใหญ่
8. ลักษณะทีด่ ีของอุปกรณ์จำพวก DPIs คือข้อใด 12. ข้อดีของอุปกรณ์สูดยา Breezhaler® คือข้อใด
ก. สูดแล้วให้รสชาติหวาน ก. แคปซูลส่วนใหญ่มลี ักษณะใส ทำให้สังเกตได้ว่าสูด
ข. มี intrinsic resistance มาก ยาหมดหรือไม่
ค. มี intrinsic resistance น้อย ข. ผู้ป่วยใช้แรงสูดน้อยก็เพียงพอต่อการสูดยา
ง. นำส่งเม็ดยาออกจากอุปกรณ์ได้อย่างเป็นระเบียบ ค. อุปกรณ์ให้กำเนิดอนุภาคละเอียดได้น้อย
จ. ลดการแตกตัวขออนุภาคยา ง. อุปกรณ์มีขั้นตอนการใช้น้อย และใช้ง่าย
9. ข้อเสียของอุปกรณ์ที่มี intrinsic resistance มากคือข้อ จ. สามารถแกะแคปซูลเพื่อนำผงยาผสมน้ำได้
ใด 13. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์สูดยาแบบ DPIs ที่มีการบรรจุยาแบบ
ก. ต้องการแรงสูดมาก reservoir
ข. ไม่มตี ัวเลขระบุจำนวนยาที่เหลือ ก. Turbuhaler®
ค. อนุภาคยาแตกตัวได้น้อย ข. Accuhaler®
ง. ต้องใช้หลักการชนตะแกรงเท่านั้น ค. Swinghaler®
จ. เกิดการสะสมของยาในปอดได้น้อย ง. Easyhaler®
10. ปัจจัยสำคัญที่มผี ลต่อการนำส่งยารูปแบบ DPIs คือข้อใด จ. ไม่มีคำตอบที่ถูกต้อง
ก. ปริมาตรอุปกรณ์สดู ยา 14. ข้อดีของการบรรจุยา DPIs แบบ blister strip ที่
ข. แรงสูดยาของผูป้ ่วย เหนือกว่าแบบ reservoir คือข้อใด
ค. ปริมาณผงยา ก. ยาคงตัวต่อความชื้นได้มากกว่า
ง. ลักษณะอนุภาคผงยา ข. สามารถบรรจุยาได้มากกว่า
จ. การเก็บรักษายา ค. ใช้แรงสูดน้อยกว่า
11. ข้อควรระวังในการใช้ Spiriva® Handihaler® คือข้อใด ง. ไม่ต้องเขย่ายาก่อนสูด
ก. ตัวยาดูดซับความชื้นได้ จึงห้ามฉีกแคปซูลทิ้งไว้ จ. มีตัวเลขระบุจำนวนยาที่เหลือ
ข. ควรเจาะแคปซูลหลายๆครั้งเพื่อให้ผงยากระจาย 15. ข้อใดไม่ใช้คำแนะนำการใช้ยา DPIs ที่ถูกต้อง
ทั่วช่องสูดยา ก. หากสูดยาถูกต้องจะรูส้ ึกมีรสชาติหวานที่ลิ้น
ค. ยาเป็นผง ไม่จำเป็นต้องเป่าลมหายใจออกก่อนสูด ข. ยาที่บรรจุในแคปซูลสามารถสูดซ้ำได้
ง. หากสูดยาไม่ถูกต้องจะมีเสียงแคปซูลสั่น ค. ก่อนสูดยาควรเป่าลมหายใจออกก่อน
จ. ควรเป่าลมใส่อุปกรณ์เพื่อให้ยากระจายตัวก่อนสูด ง. ควรใช้ยาควบคุมอาการตามแพทย์สั่งอย่างต่อเนื่อง
จ. ระวังอย่าเป่าลมหายใจเข้าไปในอุปกรณ์

You might also like