You are on page 1of 11

การดูแลตนเองจากอาการหวัดคัดจมูก

อ. ภญ.สิรินุช พละภิญโญ
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ ทราบถึงอาการและความสาคัญของอาการคัดจมูก
2. เพือ่ ให้ ทราบถึงวิธีการดูแลรักษาตัวเองจากอาการคัดจมูกด้ วยวิธีไม่ใช้ ยา เช่น การสูดดมไอน ้าร้ อน
3. เพือ่ ให้ เข้ าใจถึงกลไกการออกฤทธิ์และผลการศึกษาทางคลินิกของยาสามัญประจาบ้ านทีม่ ีตวั ยาสาคัญเป็ นน ้ามัน
หอมระเหย และยาลดอาการคัดจมูก ชนิดพ่นจมูก
4. เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจถึง วิธีการการใช้ ยาพ่นและยาหยอดจมูก และนาไปประยุกต์ในการให้ คาแนะนาแก่ผ้ ปู ่ วยได้
อย่างถูกต้ อง
บทคัดย่ อ
อาการคัดจมูก สาเหตุหลัก ๆ เกิดจากหลอดเลือดและโพรงไซนัสขยายตัวเนื่องจากกระบวนการอักเสบ โดยอาจเกิด
จากการติดเชื ้อไวรัสหวัด จมูกอักเสบภูมิแพ้ เป็ นต้ น การรักษาอาการหวัด คัดจมูกด้ วยตัวเอง อาจแบ่งได้ 2 วิธี คือ 1. การรักษา
โดยไม่ใช้ ยา เช่น การใช้ น ้าเกลือหยอดล้ างจมูก หรื อการสูดดมไอน ้าร้ อน 2. การรักษาโดยใช้ ยา เช่น ยาสามัญประจาบ้ านที่มี
น ้ามันหอมระเหยเป็ นส่วนประกอบ การใช้ ยาลดอาการคัดจมูกที่ออกฤทธิ์หดหลอดเลือดโดยตรง ซึ่งมีทงยารั ั ้ บประทานและยา
พ่น โดยยาชนิดพ่นมีประสิทธิภาพดี การเลือกใช้ ยาควรเลือกขนาดยาและความแรงให้ เหมาะสมกับช่วงอายุของผู้ป่วย รวมถึง
วิธีการพ่นยาให้ ถกู ต้ อง และถึงแม้ คาดว่าอาการไม่พึงประสงค์จากยาชนิดพ่นอาจจะน้ อยกว่า ยาในรูปแบบรับประทาน แต่ควร
เฝ้าระวังในผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัว โดยเฉพาะโรคหัวใจ อาจจะเกิดอาการปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง ใจสัน่ เป็ นต้ น
คาสาคัญ
คัดจมูก, ยาสามัญประจาบ้ านที่มีตวั ยาสาคัญเป็ นน ้ามันหอมระเหย, ยาลดอาการคัดจมูกชนิดพ่นจมูก, alpha-2 agonist
อาการและความสาคัญ
อาการคัดจมูก เกิดจากหลอดเลือดที่โพรงไซนัสขยายตัวหรื อเยื่อบุในโพรงจมูกผิดปกติเนื่องจากกระบวนการอักเสบ
ทาให้ ทางเดินหายใจบวมขึน้ โดยมีสาเหตุจากการติดเชื ้อไวรัสหวัด จมูกอักเสบภูมิแพ้ เป็ นต้ น ผู้ป่วยจะมีความรู้ สึกว่ามีสิ่ง
อุดตันภายในจมูกจนทาให้ หายใจไม่สะดวก ก่อให้ เกิดความราคาญ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะในเด็ก ผู้ป่วยบางรายมี
อาการคัดจมูกรุนแรงจนต้ องหายใจทางปาก มีปัญหาเรื่ องการรับกลิ่น และมีการอุดกั ้นทางเดินหายใจขณะหลับ1-3 การประเมิน
และวินิจฉัยอาการคัดจมูกประกอบด้ วย การซักประวัติ การตรวจร่ างกาย และการตรวจพิเศษเพื่อดูการไหลเวี ยนอากาศใน
โพรงจมูก สาหรับการดูแลอาการคัดจมูกในร้ านยาทาได้ โดยการซักประวัติ เพื่อสอบถามลักษณะการเกิดอาการ อาการร่ วม
ระยะเวลาที่มีอาการ ปั จจัยกระตุ้นต่าง ๆ เช่น น ้ามูก เลือดกาเดา อาการปวดแน่นด้ านเดียว อาการทางตา เพื่อทาการวินิจฉัย
แยกโรคร้ ายแรง เช่น เนื ้องอก เป็ นต้ น3-4
การรักษาอาการหวัด คัดจมูกด้ วยตัวเอง
1. การรักษาโดยไม่ ใช้ ยา
ส่วนใหญ่แล้ วอาจจะเริ่ มจากการใช้ น ้าเกลือล้ างจมูก ในเด็กทาโดยการใช้ น ้าเกลือหยอดล้ างจมูก และอาจใช้ เครื่ องเพิ่ม
ความชื ้นในอากาศ (humidifier) ซึ่งผู้ป่วยบางรายอาจเลือกใช้ น ้ามันหอมระเหยร่ วมด้ วย กรณีนี ้หากไม่ได้ ล้างทาความสะอาด
อย่างดี นา้ มันหอมระเหยและสิ่งตกค้ างในเครื่ องเพิ่มความชื ้นในอากาศอาจกระตุ้นทาให้ อาการภูมิแพ้ กาเริ บ และเกิดการ
อักเสบข้ างในโพรงจมูก ทาให้ มีอาการกลับมาเป็ นซ ้าได้ 5

การสูดดมไอน ้าร้ อนเป็ นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถทาได้ ที่บ้าน และมีประสิทธิภาพในการดูแลอาการหวัดรวมถึงโรคทางเดิน


หายใจอื่น โดยใช้ หลักการลดแรงต้ านภายในทางเดินหายใจจากอุณหภูมิที่เพิ่มขึ ้น อาจมีผลช่วยกาจัดเชื ้อโรค และลดการสร้ าง
สารคัดหลัง่ และสารก่อการอักเสบ 6-7 อีกทังยั ้ งช่วยเรื่ องการนอนหลับในผู้ที่เริ่ มต้ นนอนหลับยาก 8 และสามารถช่วยลดอาการ
ต่าง ๆ เช่น น ้ามูกไหล คันจมูก จาม เป็ นต้ น มีการศึกษาผลของการสูดดมไอน ้าร้ อนอุณหภูมิประมาณ 42-44 องศาเซลเซียส
เป็ นเวลา 5 นาที ในผู้ป่วยไทยที่เป็ นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ พบว่าช่วยลดอาการคัดจมูกได้ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.01)9
วิธีการสูดดมไอนา้ ร้ อนอย่ างเหมาะสม10
1) นาน ้าสะอาดต้ มให้ เดือด
2) เตรี ยมภาชนะปากกว้ าง เช่น ชามหรื ออ่างชนิดทนความร้ อน
3) เทน ้าเดือดใส่ภาชนะ คลุมศีรษะด้ วยผ้ าขนหนูโดยให้ คลุมรอบภาชนะเพื่อให้ สามารถรับไอน ้าร้ อนได้ อย่างสะดวก
หลับตาขณะสูดดมไอน ้าร้ อน และระมัดระวังน ้าร้ อนหก
4) สูดดมไอน ้าร้ อนโดยหายใจเข้ าออกปกติ ถ้ าไอน ้าร้ อนมากเกินไป อาจพักชัว่ คราว แนะนาให้ สดู ไอน ้าร้ อนก่อน
การพ่นยาทางจมูก (ถ้ ามี) โดยเฉพาะในรายที่มีอาการคัดจมูก เพื่อให้ ยาสัมผัสเยื่อบุจมูก และออกฤทธิ์ได้ ดีขึ ้น
5) สาหรับเด็กควรอยู่ภายใต้ การดูแลของผู้ปกครอง
2. การรักษาโดยใช้ ยา
2.1 ยาสามัญประจาบ้ านที่มีตัวยาสาคัญเป็ นนา้ มันหอมระเหย (Active aromatic vapors) อาจเป็ นน ้ามันหอม
ระเหยชนิดเดี่ยวหรื อผสมกัน กลไกการออกฤทธิ์เพื่อการลดอาการคัดจมูกของน ้ามันหอมระเหยแต่ละชนิดยังไม่สามารถสรุป
เป็ นที่แน่ชดั ได้ โดยน ้ามันหอมระเหยแต่ละชนิดมีกลไกการออกฤทธิ์ต่างกันไป อย่างไรก็ดี Dr. David และ Dr. Ardem อธิบาย
กลไกการออกฤทธิ์ของตัวยาสาคัญในน ้ามันหอมระเหยเบื ้องต้ นได้ จากการค้ นพบตัวรับความรู้สกึ ร้ อนหรื อเย็นที่อยู่ที่ผิวหนัง ชื่อ
ว่ า transient receptor potential หรื อ TRP ซึ่ ง องค์ ค วามรู้ ดั ง กล่ า วเป็ น ที่ ย อมรั บ และสนใจมากขึ น้ จน Dr. David และ
Dr. Ardem ได้ รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 2021 จากการศึกษาชนิดตัวรั บย่อยของ TRP ทัง้ 2 ชนิด คือ transient receptor
potential melastatin member 8 (TRPM 8) หรื ออาจเรี ยกว่า menthol receptor เป็ นตัวรับที่เกี่ยวข้ องกับการรับความรู้สกึ เย็น
และ transient receptor potential vanilloid 1 (TRPV 1) เป็ นตัวรั บที่เกี่ ยวข้ องกับการรั บความรู้ สึกร้ อน 11,12 ซึ่งนา้ มันหอม
ระเหยที่มีความเฉพาะเจาะจงกับตัวรับ TRPM 8 จะมีผลทาให้ อุณหภูมิภายในโพรงจมูกลดลง ช่วยลดอาการคัดจมูก ทาให้
ผู้ป่วยรู้สึกสบาย และหายใจได้ โล่งจมูกมากขึ ้น ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ น ้ามันหอมระเหยเป็ นสารออกฤทธิ์ที่มีจาหน่ายในปั จจุบนั มีทงั ้
รูปแบบที่มีน ้ามันหอมระเหยชนิดเดียวหรื อน ้ามันหอมระเหยหลายชนิดผสมกัน และมีทงในรู ั ้ ปแบบน ้ามันหอมระเหยชนิดดม
และยาทาระเหยชนิดขี ้ผึ ้ง อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบได้ เช่น อาการระคายเคืองบริ เวณที่สมั ผัส เป็ นต้ น 1,13 ตัวอย่างน ้ามัน
หอมระเหยที่มีใช้ เป็ นตัวยาสาคัญ

• เมนทอล (LevoMenthol) ในขนาดที่ ใช้ ในทางรั ก ษาสามารถจับกับ ตัวรั บ TRPM 8 ผ่ า นทางผิ ว หนัง กระตุ้นให้
แคลเซียมเข้ าเซลล์14 ทาให้ เกิด action potential ของกระแสประสาทนาไปที่บริเวณ dorsal horn ซึง่ เป็ นจุดสาคัญใน
การกระจายสัญญาณประสาทเพื่อส่งสัญ ญาณไปที่สมอง ทาให้ อุณหภูมิภายในโพรงจมูกลดลง รู้สึกโล่งสบายมาก
ขึ น้ ซึ่ง กระบวนการดังกล่ า วเกิดขึ น้ ภายในเวลาเพี ย งไม่ กี่วิน าที นอกจากนี ย้ ังพบว่า เมนทอลส่ ง ผลให้ เกิดการ
หดกล้ ามเนื ้อเรี ยบของหลอดเลือดภายในโพรงไซนัส ทาให้ ลดอาการคัดจมูกผ่านตัวรับ TRPM 8 อีกด้ วย15 นอกจากนี ้
เมนทอลมีผลต่อตัวรับ TRPV 1 บ้ าง แต่ไม่เด่นชัด
• การบูร (Camphor) ในขนาดที่ใช้ ในทางรักษาสามารถกระตุ้นตัวรับ TRPM 8 ทาให้ เกิดความรู้สกึ เย็น และโล่งสบาย
ขึ ้นทันทีหลังจากที่มีการสัมผัสกับตัวรับเช่นเดียวกับเมนทอล นอกจากนี ้การบูรยังกระตุ้นตัวรับ TRPV 1 ซึ่งเป็ นตัวรับ
หลักที่สามารถลดอาการปวดได้ 16 จากการศึกษาพบว่า การกระตุ้นตัวรับ TRPV 1 ที่มากพอมีผลลดความถี่ในการ
ปลดปล่อย bradykinin ทาให้ ความถี่การไอลดลง ทัง้ นีไ้ ม่ควรใช้ ผลิตภัณฑ์ที่มีการบูรทาในรู จมูกโดยเฉพาะในเด็ ก
เพราะการสัมผัสการบูรโดยตรงทาให้ เยื่อบุจมูกระคายเคืองและอักเสบ นอกจากนี ้ควรหลีกเลี่ยงการใช้ การบูรในเด็ก
ที่มีประวัติเป็ น febrile convulsion เพราะการบูรมีผลลดระดับ threshold ของการชักได้ และอาจทาให้ เกิดผื่นแพ้
สัมผัสในเด็กบางราย17 ดังนันการเลื
้ อกใช้ การบูรชนิดเดียว ซึ่งต้ องใช้ ปริ มาณสูง จึงไม่เหมาะสมโดยเฉพาะตารับยา
สาหรับเด็ก
• น า้ มั น ยู ค าลิ ป ตั ส (Eucalyptus oil) ในขนาดที่ ใ ช้ ใ นทางรั ก ษาสามารถกระตุ้น ตัว รั บ TRPM 8 และ transient
receptor potential ankyrin 1 (TRPA 1) ซึ่งเป็ นตัวรับที่มีฤทธิ์คลายกล้ ามเนื ้อ18 ซึ่งเป็ นผลดีสาหรับการใช้ ผลิตภัณฑ์
ที่มีน ้ามันยูคาลิปตัสเป็ นส่วนประกอบในโรคหวัด เนื่องจากผู้ป่วยมักมีอาการปวดเมื่อยกล้ ามเนื ้อร่ วมด้ วย ในน ้ามัน
ยูคาลิปตัสมีสารกลุ่ม cineole เป็ น active metabolite ซึ่งอยู่ระหว่างการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาเพิ่มเติม19 ทังนี ้ ้มี
ข้ อห้ ามส าหรั บ การใช้ น า้ มั น ยู ค าลิ ป ตั ส ในผู้ ป่ วย acute intermittent porphyria ซึ่ ง เป็ น กลุ่ ม โรคเลื อ ดที่ มี ส าร
porphyrin ในร่ างกายมากเกินไป และผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ สารจาพวกยางจากไม้ ตระกูลเดียวกับยูคาลิปตัส เช่น
fevertree, gum tree เป็ นต้ น และห้ ามรับประทานนา้ มันยูคาลิปตัสชนิด crude/undiluted เนื่องจากมีโอกาสที่จะ
ทาให้ เกิด fatal toxicity ได้ 20
การศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยแต่ละชนิดต่อการบรรเทาอาการคัดจมูก ทาโดย 1) ศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงการไหลของอากาศที่เข้ าไปในโพรงจมูกในผู้ป่วยที่มีอาการคัดจมูก และ 2) สอบถามหรื อประเมินอาการโดยผู้ป่วย
พบว่าการเปลี่ยนแปลงการไหลของอากาศที่เข้ าไปในโพรงจมูกไม่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มผู้ป่วยทัง้ 4 กลุ่ม ได้ แก่ A. ผู้ป่วยที่
สูดดมอากาศธรรมดา B. ผู้ป่วยที่สดู ดมการบูร C. ผู้ป่วยที่สดู ดมน ้ามันยูคาลิปตัส หรื อ D. ผู้ป่วยที่สดู ดมเมนทอล เป็ นเวลา 5
นาที แต่ผ้ ูป่วยกลุ่มที่สูดดมนา้ มันหอมระเหยทัง้ 3 ชนิด จะรู้ สึกโล่งสบาย มีความรู้สึกเย็นมากขึน้ และรู้ สึกว่าอาการคัดจมูก
บรรเทาลงเมื่อเทียบกับการสูดอากาศธรรมดา ซึ่งอาจเป็ นผลจาก cooling sensation ของนา้ มันหอมระเหย 21 นอกจากนี ้
เมื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพของการใช้ ผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสมของเมนทอล การบูร และน ้ามันยูคาลิปตัสรู ปแบบ
ยาขี ้ผึ ้งเปรี ยบเทียบกับยาพื ้นขี ้ผึ ้งในผู้ป่วยหวัด ทาโดยทายาขี ้ผึ ้งบริ เวณหน้ าอก จากนันติ
้ ดตามผลโดยใช้ nasometer ประเมิน
ทุก 5, 15, 30 นาที, 1, 2, 4, 8 และ 10 ชัว่ โมง พบว่าผู้ป่วยที่ใช้ ผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสมชนิดขี ้ผึ ้งเพิ่มการไหลเวียน
ของอากาศในจมูกได้ มากกว่าผู้ป่วยที่ใช้ ยาพื ้นขี ้ผึ ้งอย่างมีนยั สาคัญ โดยผู้ป่วยกลุ่มที่ทาผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสม
ของเมนทอล การบูร และน ้ามันยูคาลิปตัสรูปแบบยาขี ้ผึ ้ง มีการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนของอากาศในโพรงจมูกถึงระดับที่
สามารถลดอาการคัดจมูก (decongestion) ตัง้ แต่ 5 นาทีแรกหลังการทา และฤทธิ์ ดังกล่าวอยู่ต่อเนื่องนานถึง 8 ชั่วโมง22
นอกจากนี ้ความรู้สึกเย็นและโล่งสบายจมูกจาก cooling effect ของน ้ามันหอมระเหย ถือเป็ นหนึ่งในผลการรักษาที่ผ้ ปู ่ วยให้
ความสาคัญในการเลือกผลิตภัณฑ์กลุ่มนี ้ ซึ่งผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสมของเมนทอล การบูร และน ้ามันยูคาลิปตัส
รู ป แบบยาขี ผ้ ึ ง้ มี ก ารศึ ก ษาจากสถาบัน วิ จัย Common Cold and Nasal Research Centre, Cardiff University ประเทศ
อังกฤษ ปี ค.ศ. 2015 พบว่าผู้ป่วยหวัดที่ทาผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสมของเมนทอล การบูร และนา้ มันยูคาลิปตัส
รู ปแบบยาขีผ้ ึง้ รู้ สึกเย็นและโล่งสบายจมูกภายใน 12 วินาที - 15 นาที ซึ่งเร็ วกว่าผู้ป่วยที่ทายาพืน้ ขีผ้ ึง้ ปิ โตรเลียมอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ นอกจากนี ้เมื่อพิจารณาความรู้สึกลดอาการคัดจมูกพบว่าผู้ป่วยหวัดที่ทายาขี ้ผึ ้งสูตรดังกล่าวรู้สกึ ว่าอาการ
คัดจมูกลดลงภายในเวลาเพียง 62 วินาที ต่างจากกลุ่มที่ทายาพื ้นขี ้ผึ ้งปิ โตรเลียม (162 วินาที) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ23 ทังนี ้ ้
ระยะเวลาการลดอาการคัดจมูกหรื อความรู้สกึ เย็นและโล่งจมูกอาจแตกต่างกันในแต่ละรูปแบบผลิตภัณฑ์

การศึ ก ษาการใช้ น า้ มัน หอมระเหยในเด็ ก จากการศึก ษาเรื่ อ ง Vapor Rub, Petrolatum, and No Treatment for
Children With Nocturnal Cough and Cold Symptoms ศึกษาเกี่ยวกับอาการหวัดและการนอนหลับในผู้ป่วยเด็กที่ เป็ นหวัด
อายุ 2 ถึง 11 ปี จานวน 138 คน แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม กลุ่มแรกได้ รับผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสมของเมนทอล การบูร
และนา้ มันยูคาลิปตัสรู ปแบบยาขีผ้ ึง้ กลุ่มที่ 2 ได้ ยาพืน้ ขีผ้ ึง้ ปิ โตรเลียม และกลุ่มที่ 3 ไม่ได้ รับการรั กษา 24 พบว่ากลุ่มที่ใช้
ผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสมของเมนทอล การบูร และน ้ามันยูคาลิปตัสรูปแบบยาขี ้ผึ ้ง มีประสิทธิภาพในการลดความ
รุนแรงและความถี่ของอาการไอได้ ดีกว่ากลุ่มที่ไม่ได้ รับการรักษาอย่างมีนยั สาคัญ (p<0.01) และมีแนวโน้ มในการลดอาการไอ
ได้ ดีกว่ากลุ่มที่ได้ รับยาพืน้ ขีผ้ ึง้ ปิ โตรเลียม (p=0.09) ทัง้ นีอ้ าจเนื่องจากการทาถูนวดเป็ นการกระตุ้นทาให้ เกิดความร้ อน ส่ง
ผลต่อตัวรับ TRPV 1 ซึ่งสามารถช่วยลดอาการไอได้ นอกจากนี ้ผู้ป่วยเด็กที่ทานวดด้ วยผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยสูตรผสม
ของเมนทอล การบูร และน ้ามันยูคาลิปตัสรูปแบบยาขี ้ผึง้ มีคณ ุ ภาพการนอนและระยะเวลาการนอนโดยไม่ตื่นระหว่างคืนดีกว่า
ทังกลุ
้ ่มที่ทานวดด้ วยยาพื ้นขี ้ผึ ้งและกลุ่มที่ไม่ได้ รับการรักษาอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.05) จากข้ อมูลข้ างต้ นสรุปว่าการ
ใช้ น ้ามันหอมระเหยสูตรผสมของเมนทอล การบูร และน ้ามันยูคาลิปตัสรูปแบบยาขี ้ผึ ้ง ช่วยให้ ผ้ ปู ่ วยรู้สกึ จมูกโล่งสบาย ช่วยให้
หลับได้ ดี รวมถึงยังบรรเทาอาการอื่น ๆ เช่น อาการไอและคัดจมูกที่เกี่ยวเนื่องกับหวัดได้ โดยไม่พบอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรง
ทังนี
้ ้ผู้ผลิตแนะนาให้ ใช้ ผลิตภัณฑ์ในเด็กตั ้งแต่อายุ 2 ปี ขึ ้นไป และเก็บให้ พ้นมือเด็ก

2.2 ยาลดอาการคัดจมูก ออกฤทธิ์โดยหดหลอดเลือดดาในเยื่อบุจมูก ทาให้ เยื่อบุจมูกยุบบวมลง จึงลดอาการ


คัด จมูกได้ ยาลดคัดจมูก มักเป็ นยาในกลุ่ม alpha agonist ที่ สามารถหด vascular smooth muscle ซึ่ง แบ่ ง ย่อยได้ เ ป็ น 2
subtypes คือ alpha-1 และ alpha-2 โดยที่ alpha-2 จะพบมากบริ เวณ venous sinusoids ในโพรงจมูก25 ดังนัน้ ยาที่จับกับ
alpha-2 หรื อมี potency ต่อ alpha-2 ที่มากกว่าสามารถลดอาการคัดจมูกได้ ดีกว่า ยาลดคัดจมูกมีทงยาในรู
ั้ ปแบบรับประทาน
และยาใช้ เฉพาะที่ สาหรับยาใช้ เฉพาะที่ยงั มีทงในรู
ั ้ ปแบบที่ใช้ พ่นและรูปแบบหยดเข้ าไปในโพรงจมูก

ตัวอย่างยาชนิดรับประทาน เช่น pseudoephedrine ซึง่ ในประเทศไทยจัดเป็ นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทประเภท 2


โดยสารนี ้ทังที ้ ตรเดี่ยวและสูตรผสม มีข้อกาหนดใช้ ในสถานพยาบาลเท่านัน้ 26 เนื่องจากอาจทาให้
้ ่เป็ นวัตถุดิบ ยาสาเร็จรูปทังสู
เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติกทั่วร่ างกาย เช่น กระวนกระวาย สั่น ความดันโลหิตสูง
หัวใจเต้ นเร็ว เป็ นต้ น27

ยาชนิดพ่นจมูกที่ใช้ กันในปั จจุบนั สามารถแบ่งตามโครงสร้ างทางเคมีของตัวยาสาคัญที่ใช้ ออกฤทธิ์ออกเป็ น 2 กลุ่ม


คื อ 1) ยาในกลุ่ ม beta phenylethylamine ได้ แ ก่ ยา ephedrine ซึ่ ง เป็ น วัต ถุ อ อกฤทธิ์ ต่ อ จิ ต และประสาทประเภท 2 มี
ข้ อกาหนดใช้ ในสถานพยาบาลเท่านัน้ และต้ องจดบันทึกจานวนการใช้ 28 อีกทังตั ้ วยานี ้มีความคงตัวต่าจึงต้ องจัดเก็บยาไว้ ใน
ตู้เย็นเสมอ 2) ยาในกลุ่ม imidazoline ได้ แก่ oxymetazoline xylometazoline หรื อ naphazoline เป็ นต้ น ซึ่งมีรายงานศึกษา
แสดงว่ายากลุ่ม imidazoline นี ้ไม่ได้ มีฤทธิ์ด้อยไปกว่ายาในกลุ่มแรกแต่อย่างใด พบมีจาหน่ายในท้ องตลาดหลายตัวยาดังที่
กล่าวมาข้ างต้ น อย่างไรก็ตามการใช้ ยาพ่นจมูกนันอาจพบอาการไม่
้ พึงประสงค์ได้ บ้าง เช่น รู้สกึ แสบหรื อไม่สบายในโพรงจมูก
หลังใช้ ยา ทังนี
้ ้ขึ ้นกับการตั ้งสูตรตารับของยาแต่ละชนิดอีกด้ วย หรื อหากใช้ ยากลุ่มนี ้ต่อเนื่องเป็ นระยะเวลานานจนเกินไปอาจ
ทาให้ เกิด rebound congestion หรื อ rhinitis medicamentosa ซึง่ ยังไม่ทราบกลไกที่ชดั เจน29

ทัง้ นีม้ ีหลายการศึกษาที่แสดงถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการใช้ ยาหดหลอดเลือดชนิดพ่นทัง้ ในผู้ป่วย


เด็กและผู้ใหญ่ ตัวอย่างเช่น การใช้ oxymetazoline ในเด็กอายุตัง้ แต่ 6 ปี ถึง 72 ปี (อายุเฉลี่ย 32.5 ปี ) จานวน 292 ราย30
พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้ อยละ 80 หลังพ่นยา oxymetazoline เพียงครัง้ เดียวสามารถลดอาการคัดจมูกที่มีสาเหตุจาก
โรคทาง หู คอ จมูกได้ เร็ วกว่า และมีฤทธิ์นานกว่ายา pseudoephedrine ชนิดรับประทาน รวมถึงสามารถลดสารคัดหลัง่ และ
ขับสารคัดหลั่งออกได้ ง่ายอีกด้ วย (p<0.01) รวมถึงมีการศึกษาการใช้ ยา oxymetazoline ชนิดพ่นจมูกแสดงผลในการเพิ่ม
อัตราการไหลเวียนอากาศได้ ดีกว่า pseudoephedrine ชนิดรับประทานอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 31 และมีการศึกษาการลด
อาการคัดจมูกและอาการทางจมูกอื่น ๆ จากโรคหวัด32 รวมถึงมีการศึกษา in vitro ที่สนั นิษฐานว่า oxymetazoline มีผลลดการ
อักเสบเนื่องจากสามารถลด TNF-alpha และ oxidative stress ได้ ซึ่งควรมีการศึกษาทางคลินิกเพิ่มเติมต่อไปเพื่อยืนยันผล
ดังกล่าวให้ แน่ชดั 33 นอกจากนี ้มีการศึกษาการใช้ ยา oxymetazoline ชนิดพ่นจมูกโดยใช้ เป็ นยาเดี่ยวต่อเนื่องนาน 10 วัน พบว่า
สามารถใช้ ยา oxymetazoline ชนิดพ่นจมูกต่อเนื่องได้ นาน 10 วัน โดยที่ไม่เกิด rhinitis medicamentosa34 หรื อการศึกษา
ยาหดหลอดเลือดอื่นในกลุ่มนี ้ เช่น xylometazoline พบให้ ผลลดอาการคัดจมูกที่เกิดจากอาการหวัดได้ ดีกว่ายาหลอกในด้ าน
nasal conductance peak (VAS) และอาการทางจมูกอื่น ๆ อันเกิดจากหวัด (symptom score; p<0.05)35

ในทางเวชปฏิบตั ิมีการนายา alpha agonist ชนิดพ่นจมูกมาใช้ ร่วมกับ intranasal corticosteroids ในผู้ป่วย chronic
allergic rhinitis เพื่อลดอาการคัดจมูกที่เกิดขึ ้นเบื ้องต้ นก่อนรักษาต่อเนื่องด้ วย intranasal corticosteroids โดยมีการศึกษา
ทางคลินิกในผู้ใหญ่หลายการศึกษาที่ยืนยันประสิทธิภาพในการลดอาการคัดจมูกจากโรคดังกล่ าวเมื่อใช้ ยาพ่นจมูกที่มีตวั ยา
สาคัญคือ oxymetazoline ร่วมกับ intranasal corticosteroids ทัง้ fluticasone หรื อ mometasone แนะนาให้ พ่นยาลดอาการ
คัดจมูกที่ออกฤทธิ์หดหลอดเลือด เช่น oxymetazoline ก่อน เพื่อทาให้ ช่องภายในโพรงจมูกกว้ างขึน้ เมื่อพ่นยา intranasal
corticosteroids ต่อช่วยให้ ตวั ยาสาคัญสามารถไปจับกับตัวรับของสเตียรอยด์ในเยื่อบุโพรงจมูกได้ มากขึ ้น และไม่พบรายงาน
การเกิด rhinitis medicamentosa ถึงแม้ ใช้ ต่อเนื่องเป็ นระยะเวลา 28 วัน36
คาแนะนาทั่วไปสาหรับการใช้ ยาพ่ นจมูกชนิดที่มีฤทธิ์หดหลอดเลือด37-39
1. ทาความสะอาดช่องจมูกโดยกาจัดน ้ามูกออกจากจมูกให้ หมด (ถ้ ามี) แล้ วล้ างมือให้ สะอาด
2. เขย่าขวดยา เปิ ดฝาครอบขวด จับขวดยาในลักษณะตั ้งตรง
3. ก่อนใช้ ยาครัง้ แรกหรื อไม่ได้ ใช้ ยาขวดเดิมเป็ นเวลานาน ให้ ทดลองพ่นยาออกไปในอากาศ 1-2 ครัง้ หรื อจนกว่าจะ
สังเกตว่ายาที่พ่นออกมามีลกั ษณะเป็ นละอองฝอยสม่าเสมอ
4. นัง่ ตัวตรง ตั ้งศีรษะตรง ก้ มศีรษะเล็กน้ อย หายใจออกช้ า ๆ
5. ใช้ มือข้ างทีถ่ นัดจับขวดยา สอดปลายที่พ่นยาเข้ าไปในรู จมูกข้ างใดข้ างหนึง่ ลึกประมาณ 1 เซนติเมตร โดยให้
ปลายหลอดชี ้ไปทางผนังด้ านข้ างจมูก และหันออกจากผนังกั ้นช่องจมูก
6. ปิ ดรูจมูกข้ างทีเ่ หลือโดยกดเบา ๆ บนปี กจมูกด้ วยนิ ้วมืออีกข้ าง สูดหายใจเข้ าช้ า ๆ พร้ อมกับกดที่พน่ ยาเข้ าจมูก
7. จากนันกลั
้ ้นหายใจประมาณ 2-3 วินาที และหายใจออกทางปาก
8. พ่นยาในรูจมูกอีกข้ างโดยปฏิบตั ิตามขันตอนข้
้ อ 4-6 (ถ้ าต้ องพ่นยาเข้ าจมูกทังสองข้
้ าง)
9. เช็ดทาความสะอาดปลายที่พ่นยา ปิ ดฝาเก็บให้ เรี ยบร้ อย อย่าใช้ ยาร่วมกับผู้อื่น
คาแนะนาวิธีการใช้ ยาชนิดที่มีฤทธิ์หดหลอดเลือดหยอดจมูก37,39
1. ทาความสะอาดช่องจมูกโดยกาจัดน ้ามูกออกจากจมูกให้ หมด (ถ้ ามี) แล้ วล้ างมือให้ สะอาด
2. คลายเกลียวหลอดหยด และดูดยาขึ ้นมาจากหลอดหยดโดยบีบที่จกุ ยาง ยังไม่ต้องเอาหลอดหยดออกจากขวด
3. เงยหน้ าหรื อนอนหงาย จากนัน้ หยดยาเข้ าทางช่องจมูกตามจานวนที่กาหนด โดยระวังไม่ให้ ปลายหลอดหยด
สัมผัสกับโพรงจมูก
4. เงยหน้ าค้ างไว้ หรื อนอนในท่าเดิม 1-2 นาที เพื่อป้องกันยาไหลย้ อนออก และมัน่ ใจว่ายากระจายทัว่ โพรงจมูก
5. หยอดยาในรูจมูกอีกข้ างด้ วยวิธีการเดียวกัน (ถ้ าต้ องหยอดยาในรูจมูกทังสองข้
้ าง)
6. ปิ ดฝาขวดหลังใช้ อย่าใช้ ยาร่วมกับผู้อื่น

สรุปการดูแลตนเองจากอาการคัดจมูก ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองโดยไม่ใช้ ยาร่ วมกับการใช้ ยาสามัญประจาบ้ านที่มี


ตัวยาสาคัญเป็ นนา้ มันหอมระเหย (Active aromatic vapors) เพื่อลดอาการคัดจมูกและอาการอื่น ๆ จากหวัด หากอาการ
รุนแรงสามารถพิจารณาเลือกยาลดอาการคัดจมูกกลุ่ม alpha agonist ชนิดใช้ เฉพาะที่ (ยาพ่นจมูกหรื อยาหยอดจมูก) ซึ่งเป็ น
กลุ่มยาที่มีประสิทธิภาพลดอาการคัดจมูก ได้ ดี ควรเลือกขนาดยาหรื อความแรงของยาให้ เหมาะสมกับช่วงอายุของผู้ป่วย
แม้ ว่ารายงานอาการไม่พึงประสงค์จากยากลุ่มนี ้มีน้อยกว่ายาลดอาการคัดจมูกรูปแบบรับประทาน แต่ควรเฝ้าระวังการใช้ ใน
ผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจเป็ นโรคประจาตัว เนื่องจากอาจเกิดอาการปวดศีรษะ ภาวะความดันโลหิตสูง หรื อใจสัน่ ได้

เอกสารอ้ างอิง
1. Fireman P. Otitis media and eustachian tube dysfunction: connection to allergic rhinitis. J Allergy Clin
Immunol. 1997; 99(2): S787 – 97.
2. Stuffy or runny nose – adult [Internet]. Mount Sinai [cited 2022 July6]. Available form:
https://www.mountsinai.org/health-library/symptoms/stuffy-or-runny-nose-adult.
3. Corey JP, Houser SM, Ng BA. Nasal congestion: a review of its etiology, evaluation, and treatment. Ear
Nose Throat J. 2000; 79(9): 690 – 693.
4. ทุนชัย ธนสัมพันธ์, ปารยะ อาศนะเสน. ภาวะคัดแน่นจมูก (Nasal Obstruction). ใน: สาธิต คูระทอง, พิสนธิ์ ไข่แก้ ว,
ชาดากานต์ ผโลประการ, จิราภรณ์ ศรี อ่อน และ ศิริวรรณ ตั ้งจิตกมล, บรรณาธิการ. เวชศาสตร์ เขตเมือง 4.0. พิมพ์
ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช. 2560. หน้ า 1 – 18.
5. Humidifiers and health [Internet]. MedlinePlus [cited 2022 July 10]. Available from:
https://medlineplus.gov/ency/article/002104.htm.
6. Olsson P and Bende M. Influence of environmental temperature on human nasal mucosa. Ann Otol Rhinol
Laryngol. 1985; 94: 153 – 155.
7. Steam Inhalation: What Are the Benefits? [Internet]. Healthline [cited 2022 July 6]. Available from:
https://www.healthline.com/health/steam-inhalation.
8. Ichiba T, Kakiuchi K, Suzuki M and Uchiyama M. Warm steam inhalation before bedtime improved sleep
quality in adult men. Evid Based Complement Alternat Med. 2019: 2453483.
9. Vathanophas V, Pattamakajonpong P, Assanasen P and Suwanwech T. The effect of steam inhalation on
nasal obstruction in patients with allergic rhinitis. Asian Pac J Allergy Immunol. 2021; 39(4): 304 – 308.
10. ปารยะ อาศนะเสน. การบาบัดโรคจมูกและไซนัสด้ วยวิธีสดู ไอน ้าร้ อน (Steam Inhalation for Sinonasal Diseases)
[Internet]. หมอชาวบ้ าน. 2552 [cited 2022 July 6]. Available from: https://www.doctor.or.th/clinic/detail/9165.
11. Moran MM, McAlexander MA, Bíró T and Szallasi A. Transient receptor potential channels as therapeutic
targets. Nat Rev Drug Discov. 2011; 10(8): 601 – 620.
12. Press release: The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2021 [Internet]. The Nobel Prize [cited 2022 July
6]. Available from: https://www.nobelprize.org/prizes/medicine/2021/press-release/
13. Eccles R. Menthol and related cooling compounds. J Pharm Pharmacol. 1994; 46(8): 618 – 630.
14. Menthol [Internet]. Pubchem [cited 2022 July 6]. .Available from:
https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/compound/Menthol.
15. Silva H. Current Knowledge on the Vascular Effects of Menthol. Front Physiol. 2020; 11: 298.
16. Selescu T, Ciobanu AC, Dobre C, Reid G, Babes A. Camphor activates and sensitizes transient receptor
potential melastatin 8 (TRPM8) to cooling and icilin. Chem Senses. 2013; 38(7): 563 – 575.
17. Camphor [Internet]. Drugbank [cited 2022 July 6]. Available from:
https://go.drugbank.com/drugs/DB11345.
18. Caceres AI, Liu B, Jabba SV, Achanta S, Morris JB and Jordt SE. Transient Receptor Potential Cation
Channel Subfamily M Member 8 channels mediate the anti-inflammatory effects of eucalyptol. Br J
Pharmacol. 2017; 174(9): 867 – 879.
19. Takaishi M, Fujita F, Uchida K, Yamamoto S, Sawada Shimizu M, Hatai Uotsu C et al. 1,8-cineole, a TRPM8
agonist, is a novel natural antagonist of human TRPA1. Mol Pain. 2012; 8: 86.
20. Eucalyptol [Internet]. Pubchem [cited 2022 July 6]. .Available from:
https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/compound/Eucalyptol.
21. Burrow A, Eccles R and Jones AS. The effects of camphor, eucalyptus and menthol vapour on nasal
resistance to airflow and nasal sensation. Acta Otolaryngol. 1983; 96(1-2): 157 – 161.
22. Blanchard CL, Borsanyi SJ and Grubb TC. Evaluation of nasal decongestant drugs. Eye Ear Nose Throat
Mon. 1964; 43: 76 – 82.
23. Eccles R, Jawad M, Ramsey DL and Hull JD. Efficacy of a topical aromatic rub (Vicks VapoRub®)-speed
of action of subjective nasal cooling and relief from nasal congestion. Open Journal of Respiratory. 2015;
5 (1): 10 – 18.
24. Paul IM, Beiler JS, King TS, Clapp ER, Vallati J and Berlin CM. Vapor rub, petrolatum, and no treatment for
children with nocturnal cough and cold symptoms. Pediatrics. 2010; 126: 1092 – 1099.
25. Corboz MR, Rivelli MA, Mingo RL, McLeod L. Varty Y, JiaJ.A. et al. Mechanism of decongestant activity of
α2-adrenoceptor agonists. Pulm Pharmacol Ther. 2008. 21 (3): 449 – 454.
26. ซู โ ดอี เ ฟดรี น (pseudoephedrine) [Internet] กองควบคุม วัต ถุ เ สพติ ด ส านัก งานคณะกรรมการอาหารและยา
[updated 2020 October; cited 2022 March 3]. Available from:
https://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SitePages/ViewAcademic.aspx?IDitem=5
27. Gorodetsky R. Pseudoephedrine in: Philip Wexler. Encyclopedia of Toxicology. Third Edition. Academic
Press; 2014. 1123 – 1125.
28. อีเฟดรา (Ephedra/Ephedrine) [Internet] กองควบคุมวัตถุเสพติด สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา [cited
2022 Jul 9]. Available from: https://mnfda.fda.moph.go.th/narcotic/?p=5954.
29. Mortuairea G, Gaboryb L, Francois M, Masséd G, Bloche F, Brionf N et al. Rebound congestion and rhinitis
medicamentosa: Nasal decongestants in clinical practice. Critical review of the literature by a medical
panel. Eur Ann Otorhinolaryngol Head Neck Dis. 2013; 130: 137 – 144.
30. Aikman PM. Evaluation of a new oxymetazoline preparation in the treatment of nasal congestion. The
Practitioner. 1975; 214: 685 – 688.
31. Connell JT and Linzmaywe MU. Comparison of Nasal Airway Patency Changes After Treatment with
Oxymetazoline and Pseudoephedrine. Am J Rhinol. 1987; DOI:
https://doi.org/10.2500/105065887781693358.
32. Akerlund A, Klint T, Olén L and Rundcrantz H. Nasal decongestant effect of oxymetazoline in the common
cold: an objective dose-response study in 106 patients. J Laryngol Otol. 1989; 103(8): 743 – 746.
33. Beck-Speier I, Oswald B, Maier KL, Karg E and Ramseger R. Oxymetazoline inhibits and resolves
inflammatory reactions in human neutrophils. J Pharmacol Sci. 2009; 110(3): 276 – 284.
34. Graf P, Enerdal J and Hallén H. Ten days' use of oxymetazoline nasal spray with or without benzalkonium
chloride in patients with vasomotor rhinitis. Arch Otolaryngol Head Neck Surg. 1999; 125(10): 1128 – 1132.
35. Eccles R, Martensson K and Chen SC. Effects of intranasal xylometazoline, alone or in combination with
ipratropium, in patients with common cold. Curr Med Res Opin. 2010; 26(4): 889 – 899.
36. Neighbors CL, Salvador CF, Zhu B, Camacho M and Tsai P. Intranasal corticosteroid and oxymetazoline
for chronic rhinitis: a systematic review. J Laryngol Otol. 2022; 136: 8 – 16.
37. Scadding GK, Kariyawasam HH, Scadding G, Mirakian R, Buckley RJ, Dixon T et al. BSACI guideline for
the diagnosis and management of allergic and non-allergic rhinitis (Revised Edition 2017; First edition
2007). Clin Exp Allergy. 2017; 47(7): 856 – 889.
38. Poowaruttanawiwit P, Phonkasapsin C, Punnapong P, Chantim C, Chaibhuddangul J, Puwarattanawiwit J
et al. Development of new instruction for intranasal drug administration. Thai J Pharm Prac. 2020; 12 (4):
1228 – 1247.
39. สุชาดา ชุติมาวรพันธ์ , โพยม วงศ์ภูวรักษ์ , อภิฤดี เหมะจุฑา, ฐิ ติมา ด้ วงเงิน, กิติยศ ยศสมบัติ, บรรณาธิการ. คู่มือ
ทักษะตามเกณฑ์ความรู้ ความสามารถทางวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม (สมรรถนะร่ วม) พ.ศ. 2562.
นนทบุรี: บริษัท เอช อาร์ พริน้ ซ์ แอนด์ เทรนนิ่ง จากัด; 256

You might also like