You are on page 1of 16

รายงานการค้นคว้ าวิจัย 5 เรื่อง นางสาว ทิพวรรณ ชาวสมุน 611106459

1.ชื่อเรื่องงานวิจัย : ผลการจัดกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติโดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้


แบบ SSAPA+c เพือ่ พัฒนาการกำกับตนเองและความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
2.ชื่อผู้แต่ ง ระดับการศึกษา และปี พ.ศ. : นางสาวสุภาวดี พึ่งฉิ่ ง ระดับปริ ญญามหาบัณฑิต ภาค
วิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2562
3.จุดมุ่งหมายการวิจัย :
1) เพือ่ ศึกษาพฤติกรรมการกำกับตนเองของ เด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมศิลปะจาก
วัสดุธรรมชาติโดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ SSAPA+c
2) เพือ่ ศึกษาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมศิลปะจากวัสดุ
ธรรมชาติโดยใช้ รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ SSAPA+c และ
3) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดกิจกรรม ศิลปะจากวัสดุธรรมชาติโดย
ใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ SSAPA+
4.ตัวแปรอิสระที่ใช้ ในการวิจัย : การจัดกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติโดยใช้รูปแบบ การ
จัดการเรี ยนรู ้แบบ SSAPA+c
5.ตัวแปรตามที่ใช้ ในการวิจัย : 1 พฤติกรรมการกำกับตนเอง 2. ความคิดสร้างสรรค์ 3. ความพึง
พอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดกิจกรรมศิลปะ จากวัสดุ ธรรมชาติโดยใช้รูปแบบการจัดการ
เรี ยนรู ้แบบ SSAPA+c
6.ประชากรและกลุ่มตัวอย่ างที่ใช้ ในการวิจัย :
6.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นเด็กชายและหญิง อายุ 5–6 ปี ที่ก ำลังศึกษา อยูใ่ นระดับ
ชั้นอนุบาลปี ที่ 2 โรงเรี ยนวัดศาลาแดง สำนักงานเขตบางแค กรุ งเทพมหานคร ในภาคเรี ยนที่ 1
ปี การศึกษา 2562 จำนวน 2 ห้อง 70 คน
6.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ เด็กระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2 ห้อง 2 โรงเรี ยนวัด
ศาลาแดง สำนักงานเขตบางแค กรุ งเทพมหานคร ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 จำนวน 35
คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่ มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) โดยใช้หอ้ งเรี ยนเป็ น หน่วยสุ่ ม
เนื่องจากมีการจัดชั้นเรี ยนแบบคละความสามารถ
7.ผลการวิจัย : จากผลการวิจยั พบว่า ความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดกิจกรรมศิลปะ
จาก วัสดุธรรมชาติโดยใช้รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ SSAPA+c มีความพึงพอใจในภาพรวม
ที่ระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า มีความพึงพอใจที่ระดับมากทุกด้าน หากพิจารณาโดย
เรี ยงลำดับคะแนน เฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการร่ วมกิจกรรม 2)
ด้านการจัดการเรี ยนรู ้ และ 3) ด้านบรรยากาศในการเรี ยนรู ้ตามลำดับ เนื่องจากเด็กได้ลงมือ
ปฏิบตั ิ ออกแบบผลงาน เลือกวัสดุธรรมชาติน ำมาสร้างสรรค์ผลงานตรงกับความสนใจและ
ประเมินผลงานต่าง ๆ ทั้ง 24 กิจกรรม ด้วยตนเอง โดยนำวัสดุธรรมชาติที่อยูร่ อบตัวมาจัด
กิจกรรมศิลปะ เป็ นการกระตุน้ ให้ เด็กเกิดความสนใจที่อยากทำกิจกรรม จากการสังเกต
สัมภาษณ์ เด็กได้ให้ขอ้ มูล จะเห็นได้วา่ เด็กชอบกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ครู จดั ให้ ซึ่ง
เป็ นการจัดกิจกรรมที่ยดึ ผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ที่ส่งเสริ มให้เด็กเกิดการเรี ยนรู ้ การนำวัสดุ
ธรรมชาติมาใช้ในงานศิลปะกับเด็กในกรุ งเทพมหานคร 90 จึงเป็ นสิ่ งที่แปลกใหม่ น่าสนใจ
บรรยากาศในการเรี ยนรู ้เด็กมีความกระตือรื อร้นในการทำกิจกรรม ศิลปะที่ครู เตรี ยมมา มีความ
สุ ขและสนุกสนานเมื่อทำกิจกรรมศิลปะ ยังสอดคล้องกับผลการวิจยั ของ บุศกร บัวพุฒ (2556)
ได้พฒั นากิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติเพื่อส่ งเสริ มทักษะพื้นฐานทาง คณิ ตศาสตร์ของเด็ก
ปฐมวัย ผลการวิจยั พบว่าทักษะพื้นฐานทางคณิ ตศาสตร์หลังจากการจัดกิจกรรม เพิ่มขึ้นจากก่อน
การจัดกิจกรรม และความพึงพอใจของเด็กอยูใ่ นระดับมาก ตามที่ได้กล่าวในข้างต้นจากการที่
เด็กได้ปฏิบตั ิกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติโดยใช้ รู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้แบบ SSAPA+c
ตามขั้นตอนอย่างต่อเนื่องและแสดงถึงผลของพัฒนาการ กำกับตนเองและความคิดสร้างสรรค์
เมื่อพิจารณาผลความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยในแต่ละด้าน มีรายละเอียดดังนี้ ด้านประโยชน์ที่
ได้รับจากการร่ วมกิจกรรม โดยภาพรวมพบว่า เด็กมีระดับความ พึงพอใจอยูใ่ นระดับมากในทุก
ข้อ ทั้งนี้เนื่องมาจากกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติน ำรู ปแบบ การจัดการเรี ยนรู ้แบบ
SSAPA+c ทั้ง 5 ขั้นตอน มีส่วนช่วยส่งเสริ มพัฒนาการกำกับตนเองและ ความคิดสร้างสรรค์ดี
ขึ้น จากกิจกรรมที่เด็กได้คิดวางแผนและออกแบบผลงานที่ตรงกับความสนใจ และสามารถ
ประเมินผลงานตนเองในการทำกิจกรรม ซึ่งเป็ นไปตามหลักการจัดการเรี ยนรู ้ของ นักจิตวิทยา
บนพื้นฐานทฤษฎีจิตวิทยามนุษยนิยม (Humanistic Psychology) ของ (Combs, 1982; Maslow,
1970; Rogers, 1969,อ้างถึงใน ณัฐนันท์จุยคำวงศ์, 2562: 132) กล่าวว่า การจัดการเรี ยนรู ้ ที่มุ่ง
เน้นให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อนักเรี ยนนั้น ต้องส่งเสริ มให้นกั เรี ยนสมบูรณ์พร้อมทางด้านความ
รู ้ ความสามารถและทักษะที่จ ำเป็ นต่อการดำเนินชีวิตรวมถึงความรู ้สึกนึกคิดร่ วมถึงการสร้าง
บรรยากาศ ในชั้นเรี ยนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนสะท้อนให้เห็นถึงข้อผิดพลาดด้วย
ตัวของนักเรี ยนเอง ด้วยการสนทนา ถามไถ่ หรื อการตั้งคำถามจากครู ผสมผสานความสัมพันธ์
อันดีระหว่างครู และนักเรี ยน ในทิศทางทางบวก ด้านการจัดการเรี ยนรู ้โดยภาพรวมพบว่า เด็กมี
ระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก ในทุกข้อ ทั้งนี้เนื่องจาก เด็กได้ปฏิบตั ิกิจกรรมศิลปะด้วย
ความสนุกสนานได้ลงมือปฏิบตั ิกิจกรรม ตามความสนใจของตนเอง เข้าใจสิ่ งที่ครู อธิบายขั้น
ตอนการทำกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ ซึ่งเป็ นไปตามทฤษฎีจิตวิทยามนุษยนิยม
(Humanistic Psychology) ของ Maslow (1970) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ครู ตอ้ งให้
ความสำคัญต่อความต้องการของแต่ละบุคคล การสร้างลำดับ ขั้นตอนการเรี ยนรู ้ที่ชดั เจน ด้าน
บรรยากาศในการเรี ยนรู ้ เด็กมีระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากในทุกข้อ ทั้งนี้ เนื่องจาก เด็ก
ได้ปฏิบตั ิกิจกรรมด้วยความสนใจ กระตือรื อร้น มีความสุ ขและสนุกเมื่อได้ท ำกิจกรรม ชอบ
กิจกรรมและวัสดุธรรมชาติที่ครู เตรี ยมมา สอดคล้องกับ ทรรศนียว์ ราห์คา (2554: 72-73)กล่าวว่า
การสร้างบรรยากาศในการเรี ยนรู ้ที่เป็ นกันเอง ให้เป็ นระเบียบเรี ยบร้อยน่าจัดการเรี ยนรู ้การสร้าง
91 สภาพแวดล้อมในการเรี ยนการสอนส่ งเสริ มความสำคัญของผูเ้ รี ยนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่
ดีให้เกิดขึ้น ระหว่างนักเรี ยนด้วยกันเอง อีกทั้งส่ งเสริ มการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง
นักเรี ยนกับครู ในการปฏิบตั ิ กิจกรรมการเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิภาพ

1.ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย : การพัฒนากิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิด


สร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
2.ชื่อผู้แต่ ง ระดับการศึกษา และปี พ.ศ. : สายทอง พุม่ เกตุ หลักสูตรปริ ญญาการศึกษามหา
บัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนกรกฎาคม 2561
3.จุดมุ่งหมายการวิจัย : การวิจยั ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย
1)เพื่อสร้างและหาดัชนีประสิ ทธิ ผลของกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิด
สร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
2)เพื่อเปรี ยบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังเรี ยนด้วยการจัด
ประสบการณ์โดยการใช้กิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
4.ตัวแปรอิสระที่ใช้ ในการวิจัย : กิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ
5.ตัวแปรตามที่ใช้ ในการวิจัย : ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย
6.ประชากรและกลุ่มตัวอย่ างที่ใช้ ในการวิจัย :
1. ประชากร ได้แก่ นักเรี ยนระดับปฐมวัยที่มีอายุระหว่าง 4-5 ปี ที่ก ำลังศึกษาอยูช่ ้ นั อนุบาลปี ที่ 2
สังกัดคณะกรรมการอุดมศึกษาพิษณุโลก
2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนระดับปฐมวัยที่มีอายุระหว่าง 4-5 ปี ที่ก ำลังศึกษาอยูช่ ้ นั อนุบาลปี ที่
2 ปี การศึกษา 2560 ภาคเรี ยนที่ 2 โรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามจำนวน 39 คน
ซึ่งได้มาโดยการสุ่ มอย่างง่าย
7.ผลการวิจัย : 1. ผลการสร้างและหาดัชนีประสิ ทธิผลของกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่
ส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยดังนี้ 1.1 ผลการสร้างกิจกรรมศิลปะจากวัสดุ
ธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยในครั้งนี้ท ำให้ได้กิจกรรมศิลปะจากวัสดุ
ธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยจำนวน 15 กิจกรรมคือ 1) กิจกรรมการ
สร้างภาพสัตว์เลี้ยงน่ารัก 2) กิจกรรมการพิมพ์ภาพดอกไม้เริ งร่ า 3) กิจกรรมการปะติดดอกไม้
กับผีเสื้ อ 4) กิจกรรมการร้อยมือน้อยสร้างมาลัย 5) กิจกรรมการประดิษฐ์แจกันดอกไม้
6) กิจกรรมการสร้างภาพสัตว์เลี้ยงน่ารัก 7) กิจกรรมการพิมพ์ภาพดอกไม้เริ งร่ า กิจกรรมการปะ
ติดดอกไม้กบั ผีเสื้ อ 9) กิจกรรมการร้อยมือน้อยสร้างมาลัย 10) กิจกรรมการประดิษฐ์แจกัน
ดอกไม้ 11) กิจกรรมการสร้างภาพต้นไม้แสนสวย 12) กิจกรรมการพิมพ์ภาพต้นไม้ให้ดอกผล
13) กิจกรรมการปะติดต้นไม้ให้ร่มเงา 14) กิจกรรมการปั้ นดอกไม้นานาพันธุ์ 15) กิจกรรมการ
ประดิษฐ์สวนสวยด้วยมือเราในแต่ละกิจกรรมมีข้นั ตอนและกระบวนการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ ม
ความคิดสร้างสรรค์ดงั นี้ ข้นั ตอนที่ 1 ขั้นกระตุน้ การเรี ยนรู ้หมายถึงการนำเข้าสู่กิจกรรมโดยมีสิ่ง
เร้ากระตุน้ การเรี ยนรู ้ที่สอดคล้องกับสาระที่ตอ้ งการให้เด็กนักเรี ยนอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นเพลง
นิทานของจริ งภาพกิจกรรมงานศิลปะจูงใจให้เด็กคิดและติดตามโดยใช้ค ำถามหรื อสนทนาขั้น
ตอนที่ 2 ขั้นนำเข้าสู่มโนทัศหมายถึงการกระตุน้ ให้เด็กสะท้อนคิดด้วยการโยงข้อความรู ้ที่เด็ก
เคยเรี ยนมากับสิ่ งที่เรี ยนรู ้ใหม่เพื่อให้เด็กขยายความความเข้าใจให้มากขึ้นใช้ค ำถามให้เด็กตอบ
คำถามจากมโนทัศน์ของเด็กที่เกิดจากการเรี ยนรู ้ของเด็กเองขั้นตอนที่ 3 ขั้นพัฒนาด้วยกิจกรรม
ศิลปะหมายถึงการมอบหมายให้เด็กถ่ายโยงความรู ้ความเข้าใจหรื อสาระที่เรี ยนรู ้ดว้ ยการทำ
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ตามรู ปแบบศิลปะที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนขั้นตอนที่ 4 ขั้น
สรุ ปสาระที่เรี ยนรู ้หมายถึงขั้นตอนการสรุ ปความรู ้อาจใช้การถามให้เด็กได้ทบทวนความรู ้ความ
เข้าใจสาระที่เรี ยนจากงานศิลปะที่ท ำโดยครู กบั เด็กสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้สรุ ป
1.2 กิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่พฒั นาขึ้น
ในภาพรวมมีค่าความเหมาะสมขององค์ประกอบต่างๆของกิจกรรมอยูใ่ นระดับเหมาะสมมาก
(X = 4.38, S.D. = 0.50) และเช่นเดียวกันทุกองค์ประกอบของกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติ
มีค่าความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก
1.3 ผลการตรวจสอบเนื้ อหาภาษาและเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่ง
เสริ มความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยกับนักเรี ยนโรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
สงครามจำนวน 5 คนพบว่าผลการตรวจสอบความเหมาะสมด้านเนื้ อหาภาษาและเวลาที่ใช้ใน
การจัดกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ดา้ นเนื้ อหามีความเหมาะ
สมกับผูเ้ รี ยนด้านภาษาเด็กฟังคำสัง่ ในการทำกิจกรรมศิลปะไม่ค่อยเข้าใจภาษาที่ใช้มีความเข้าใจ
ยากไม่เข้าใจความหมายของภาษาจึงฟังคำสัง่ ในการทำกิจกรรมศิลปะไม่ค่อยเข้าใจด้านเวลา
กิจกรรมบางกิจกรรมเวลาไม่เพียงพอจึงทำให้การทำกิจกรรมศิลปะได้ไม่ทนั ตามเวลาที่ก ำหนด
ซึ่งปรับปรุ งในส่ วนที่ยากไม่เข้าใจให้เป็ นที่เข้าใจง่ายมีความชัดเจนเหมาะสมกับวัยของนักเรี ยน
ในด้านของเวลามีการแก้ไขโดยเพิ่มเวลาในการทำกิจกรรมศิลปะให้มากขึ้น
1.4 ดัชนีประสิ ทธิผลของกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์มีค่า
เท่ากับ 0.7824 ซึ่งอยูใ่ นเกณฑ์ผา่ นเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 78.24 2. ผลการเปรี ยบเทียบความคิด
สร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่เรี ยนด้วยกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิด
สร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยพบว่าความคิดสร้างสรรค์โดยรวมและรายด้านของนักเรี ยนที่เรี ยน
ด้วยกิจกรรมศิลปะจากวัสดุธรรมชาติที่ส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยหลังเรี ยนสูง
กว่าก่อนเรี ยนมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ. 01
1.ชื่อเรื่องรายงานวิจัย : ผลการพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมด้านความร่ วมมือโดยใช้กิจกรรม
สร้างสรรค์ งานประดิษฐ์เศษวัสดุ ชั้นอนุบาลปี ที่ 2
2.ชื่อผู้แต่ ง ระดับการศึกษา และ ปี พ.ศ. : ไพริ นทร์ บุหลัน, พวงพิศ เรื องศิริกลุ , ชวนชม เครื อ
เขียว
3.จุดมุ่งหมายการวิจัย :
1. เพื่อศึกษาพัฒนาการพฤติกรรมทางสังคม ด้านความร่ วมมือของเด็กปฐมวัยระหว่าง การจัด
กิจกรรมสร้างสรรค์งานประดิษฐ์เศษวัสดุ
2. เพื่อศึกษาและเปรี ยบเทียบพฤติกรรมทางสังคม ด้านความร่ วมมือของเด็กปฐมวัยที่ ได้รับการ
จัดกิจกรรมสร้างสรรค์งานประดิษฐ์เศษวัสดุ ก่อนและหลังการทำกิจกรรม
4.ตัวแปรอิสระที่ใช้ ในการวิจัย : กิจกรรมสร้างสรรค์ งานประดิษฐ์เศษวัสดุ
5.ตัวแปรที่ใช้ ในการวิจัย : การพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมด้านความร่ วมมือ
6.ประชาการและกลุ่มตัวอย่ างที่ใช้ ในการวิจัย : ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัย
ระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2/2 โรงเรี ยนตาก สิ นราชานุสรณ์ อำเภอเมือง จังหวัดตาก สำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 จังหวัด ตาก ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 จำนวน 22 คน
7.ผลการศึกษา : จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล พบว่า ผลการพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมด้านความ
ร่ วมมือ โดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์งานประดิษฐ์เศษวัสดุ ชั้นอนุบาลปี ที่ 2 ผูว้ ิจยั ได้จ ำแนก
ประเด็นอภิปราย เป็ น 2 ประเด็น ดังนี้ 1. จากผลการศึกษาดังกล่าวพบว่า การพัฒนาพฤติกรรม
ทางสังคมด้านความร่ วมมือโดย ใช้กิจกรรมสร้างสรรค์งานประดิษฐ์เศษวัสดุ ทำให้นกั เรี ยนมี
พัฒนาการดีข้ ึน ซึ่งสอดคล้องกับ สมมุติฐานที่ต้ งั ไว้ท้ งั นี้เนื่องมาจากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์
งานประดิษฐ์เศษวัสดุ เป็ นการจัด กิจกรรมที่เด็กได้ลงมือปฏิบตั ิจริ งได้ผา่ นกระบวนของการ
เรี ยนรู ้ การท างานเป็ นกลุ่ม ซึ่งจะเป็ นการ พัฒนาพฤติกรรมความร่ วมมือได้ดี การจัดกิจกรรม
สร้างสรรค์กระตุน้ ให้เด็กได้ร่วมมือกันในการคิด การทำงาน การเก็บอุปกรณ์ขณะที่เด็กร่ วมกิกร
รมที่ท ำอยูใ่ ห้เกิดพฤติกรรมความร่ วมมือ จากการ เสนอวิธีการท ากิจกรรมที่แปลกใหม่ ทำให้
เด็กเกิดความคิดจินตนาการที่น ำไปสู่ ความคิดสร้างสรรค์ เกิดขึ้น นอกจากนั้นการที่เด็กได้ร่วม
มือกันช่วยลดการยึดตนเองเป็ นศูนย์กลางและสร้างพฤติกรรม ให้เป็ นที่ยอมรับของเพื่อนอันก่อ
ให้เกิดพฤติกรรมทางสังคมในการท ากิจกรรมและนำไปสู่ ความตามที่ได้วางไว้อย่างราบรื่ นซึ่ง
สอดคล้องกับแนวคิดของ สิ ริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2557:91) ได้กล่าวไว้วา่ ลักษณะทางสังคม
ของเด็กวัย 4- 5 ปี เริ่ มมีการช่วยเหลือตนเองและสร้าง สัมพันธภาพกับเพื่อนปรับตัวในการเล่น
หรื อการอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ขทำหน้าที่ตามเวลา มีความรับผิดชอบ รู ้จกั กาลเทศะ
การช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันสอดคล้องกับ นภเนตร ธรรม บวร (2553:97) กล่าวไว้วา่
พัฒนาการทางสังคม คือ การเรี ยนรู ้ทกั ษะในการปฏิสมั พันธ์ที่ สลับซับซ้อนรวมตลอดถึงความ
สามารถในการตอบสนองทางสังคมต่างๆ เช่น มารยาทในการอยู่ ร่ วมกับผูอ้ ื่น การเลือกใช้ค ำพูด
ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น มารยาทในการอยูร่ ่ วมกับ ผูอ้ ื่น การเลือกใช้ค ำพูดที่เหมาะ
สมกับสถานการณ์ต่าง ๆ นอกจากนั้นยังรวมถึงความสามารถใน การเข้าใจสถานการณ์ อารมณ์
ความรู ้สึกของผูอ้ ื่นการแก้ปัญหาต่าง ๆ และบทบาททางสังคม จาก กิจกรรมที่ครู เป็ นผูจ้ ดั เตรี ยม
อุปกรณ์ ซึ่งจะใช้ได้ในขณะทำกิจกรรมและเมื่อจะทำกิจกรรมเด็กแต่ละ กลุ่มจะต้องไปจัดเตรี ยม
อุปกรณ์ของตนเองเด็กจะเกิดพฤติกรรมการร่ วมมือ การช่วยเหลือ มีความ รับผิดชอบและการ
เป็ นผูน้ ำเพิ่มขึ้น เด็กมีอิสระในการร่ วมกิจกรรม รู ้จกั การช่วยเหลือเอื้อเฟื้ อ เผือ่ แผ่ซ่ ึงกันและกัน
ทำให้ประสบความสำเร็ จในกิจกรรมที่ท ำอยู่ กิจกรรมที่จดั ขึ้นสนับสนุนให้เด็กได้ ช่วยเหลือกัน
ขึ้นในกลุ่มในการท างานเด็กแสดงถึงความมีวินยั และความรับผิดชอบในการทางานเป็ น กลุ ่ม
เด็กแต่ละคนมีความสามารถที่แตกต่างกัน ชอบแสดงออกและชอบเป็ นผูน้ ำการส่ งเสริ ม
พฤติกรรมร่ วมมือในเด็กทำได้โดยควรจัดกิจกรรมเป็ นกลุ่มย่อยให้เด็กได้เล่นและได้ร่วมกันทำ
เป็ น กลุ่มอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับวัยพัฒนาการและความต้องการของเด็ก ให้เด็กได้แสดง
ปฏิสมั พันธ์ ต่อกันอย่างเสมอภาคกันซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ เสาวนีย ์ รื่ นสุ ข (2552:58) ได้
ศึกษาพฤติกรรม ความร่ วมมือของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็ นกลุ่ม
ผลการวิจยั พบว่า เด็ก ปฐมวัยก่อนจัดกิจกรรมและระหว่างการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
เป็ นกลุ่ม ในแต่ละช่วงสัปดาห์ มีพฤติกรรมความร่ วมมือโดยเฉลี่ยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนยั
สำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และเมื่อ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระหว่างช่วงสัปดาห์พบว่า
คะแนนพฤติกรรมทางสังคมเฉลี่ยรวมมีการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่เพิ ่มขึ้นตลอดเวลา 8
สัปดาห์ เมื่อวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมทาง สังคมของเด็กปฐมวัยแยกเป็ นรายด้าน ๆ
ได้แก่ ความร่ วมมือ ความเห็นอกเห็นใจช่วยเหลือและแบ่ง บันพบว่า คะแนนพฤติกรรมทาง
สังคมทั้ง 3 ด้าน มีการเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่สอดคล้องกับ การวิเคราะห์แบบคะแนนรวม
ทั้งหมดซึ่งเพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ .001
2. ผลการเปรี ยบเทียบพฤติกรรมทางสังคมด้านความร่ วมมือของเด็กปฐมวัยก่อน -หลัง การจัด
กิจกรรมสร้างสรรค์งานประดิษฐ์เศษวัสดุ นักเรี ยนมีพฤติกรรมทางสังคมด้านความร่ วมมือราย
ด้านและภาพรวมแตกต่างกันในทางที่ดีข้ ึน คือ เด็กปฐมวัยมีพฤติกรมทางสังคมด้านความร่ วม
มือ สูงขึ้นพฤติกรรมความร่ วมมือของเด็กปฐมวัยมีการพัฒนาเพิม่ ขึ้นอย่างชัดเจน หลังจากได้รับ
การจัด กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์งานประดิษฐ์เศษวัสดุ พฤติกรรมความร่ วมมือที่เกิดจากเรี ยนรู ้
เป็ นการ ท างานร่ วมกับผูอ้ ื่น การช่วยเหลือ การแบ่งปัน การเป็ นผูน้ ำผูต้ าม เมื่อจัดกิจกรรมศิลปะ
สร้างสรรค์ประดิษฐ์เศษวัสดุ เด็กมีพฤติกรรมความร่ วมมือมากขึ้นจากความสามารถทำกิจกรรม
ตาม ความคิดและวิธีการที่ตนเองต้องการอย่างอิสระ เด็กจะมีความตั้งใจและทำงานศิลปะด้วย
ความ เพลิดเพลินความคิดจินตนาการที่หลากหลายซึ่งสัปดาห์แรก เด็กจะทำตามครู หลังจากได้
รับการจัด กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์งานประดิษฐ์เศษวัสดุหลายสัปดาห์เริ่ มมีความมัน่ ใจและ
กล้าที่จะทำและ ตัดสิ นใจด้วยความคิดและทำให้เด็กมีวิธีการเป็ นของตัวเอง เกิดการร่ วมมือ มี
การช่วยเหลือและมี ความรับผิดชอบกับงานของตนเองและของเพื่อนในกลุ่มทำให้เกิดความ
ภูมิใจกับผลงานที่ร่วมกัน คิดค้นใหม่ๆ อยูเ่ สมอ การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์งานประดิษฐ์
เศษวัสดุ เป็ นการส่ งเสริ มให้เด็ก ได้มีการท างานร่ วมกับคนอื่นสอดคล้องกับ สวาท เกษมแตง
สกุลวุฒิ (2551 :48) กล่าวว่า พฤติกรรม ร่ วมมือ เป็ นพฤติกรรมทางสังคมที่เกิดการที่บุคคลตั้งแต่
2 คนขึ้นไป ร่ วมกันทำงานหรื อทำกิจกรรมร่ วมกันมีการปรับตัวมีการสื่ อสาร วางแผน เสนอ
ความคิดเห็น เพื่องานสำเร็ จตามเป้ าหมายของกลุ่ม ที่ก ำ หนดไว้สอดคล้องกับ เอื้องฟ้ า ท่าขุน
ขันธ์ (2547:50) กล่าวว่าพฤติกรรมร่ วมมือ เป็ นพฤติกรรม ทางสังคมที่เกิดจากการท ากิจกรรม
ร่ วมกันของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่ร่วมกันทำกิจกรรมเพือ่ ให้งาน สำเร็ จตามเป้ าหมายของกลุ่ม
อย่างมีประสิ ทธิภาพ เด็กแสดงออกทางการกระทำหรื อคำพูดในขณะ ทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่ วมกับ
ผูอ้ ื่น โดยมีการวางแผน ร่ วมกันคิดแก้ปัญหา ช่วยเหลือซึ่งกันและกันแสดง การเป็ นผูน้ ำและรับ
ผิดชอบร่ วมกันและสอดคล้องกับ สิ ริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2557:91) กล่าวว่า พฤติกรรมทาง
สังคมคือความสามารถของเด็กในการช่วยเหลือตนเองและสร้างสัมพันธภาพกับเพื่อน ปรับตัว
ในการเล่นหรื อการอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ขทำหน้าที่ตามเวลามีความรับผิดชอบ รู ้จกั
กาลเทศะการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวันสอดคล้องกับงานวิจยั ของ อนุพนั ธ์ พูลเพิ่ม
(2551 :43) ได้ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านของไทยที่มีต่อพฤติกรรมร่ วมมือของ
เด็ก ปฐมวัย โรงเรี ยนพัทธยาอรุ โณทัย จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการ
จัด กิจกรรมการละเล่นพื้นบ้านของไทย มีพฤติกรรมร่ วมมือหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการ
ทดลองอย่าง มีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจยั ของ วีระพงษ์ บุญประจักษ์
(2553:50) ศึกษาความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมทางสังคมพบว่า เด็กปฐมวัยก่อนการจัด
ประสบการณ์และ ระหว่างการจัดประสบการณ์การเล่นพื้นบ้านไทยในแต่ละช่วงสัปดาห์มี
พฤติกรรมทางสังคมโดยเฉลี่ย รวมแตกต่างกัน อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ .001 และเมื่อ
วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระหว่างช่วง สัปดาห์พบว่า คะแนนพฤติกรรมทางสังคมเฉลี่ยรวมมี
การเลี่ยนแปลงไปในทางที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา 8 สัปดาห์ เมื่อวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม
ทางสังคมของเด็กปฐมวัยแยกเป็ นรายด้าน ๆ ได้แก่ ความร่ วมมือ ความเห็นอกเห็นใจ ช่วยเหลือ
และแบ่งปัน พบว่า คะแนนพฤติกรรมทางสังคมทั้ง 3 ด้านมีการเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่
สอดคล้องกับการวิเคราะห์แบบคะแนนรวมทั้งหมดซึ่งเพิ่มขึ้น อย่างมีนยั สำคัญหางสถิติที่ .001

1.ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย : การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปี ที่ 3 ด้วย


การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
2.ชื่อผู้แต่ ง ระดับการศึกษา และ ปี พ.ศ. : ภาวิณี โตส าลี , ณัฐทิญาภรณ์ การะเกตุ นักศึกษาสาขา
วิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี 2021
3.จุดมุ่งหมายการวิจัย :
1. เพื่อศึกษาพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย เมื่อได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะ
สร้างสรรค์
2. เพื่อเปรี ยบเทียบพัฒนาการด้านความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัด
กิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์
4.ตัวแปรอิสระที่ใช้ ในการวิจัย : กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
5.ตัวแปรตามที่ใช้ ในการวิจัย : ความสามารถทางความคิดสร้างสรรค์
6.ประชาการและกลุ่มตัวอย่ างที่ใช้ ในการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ นักเรี ยน
ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาอยูใ่ นชั้น อนุบาลปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2563
โรงเรี ยนวัดโบสถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สิ งห์บุรี จำนวน 49 คน โดย
ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง
7.ผลการศึกษา : 1. เด็กปฐมวัยที่ได้ท ำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ หลังการทดลองมีความคิด
สร้างสรรค์ สูงกว่าก่อนการ ทดลอง อย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับ
สมมติฐานที่ต้ งั ไว้ แสดงให้เห็นว่าการจัดกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ ส่ งผลให้เด็กปฐมวัยมีความ
คิดสร้างสรรค์สูงขึ้น โดยด้านความคิดริ เริ่ มอยูใ่ นระดับสูง ส่ วนด้าน ด้านความคิดละเอียดลออ
ความคิดยืดหยุน่ และความคิดคล่องแคล่ว อยูใ่ นระดับปานกลาง สามารถอภิปราย ผลได้ดงั นี้
2. ความสามารถทางความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่เพิม่ ขึ้นนั้น มีปัจจัยที่ช่วยส่งเสริ ม คือ
การจัด กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เนื่องจากในการปฏิบตั ิกิจกรรมนี้ เด็กมีโอกาสได้สร้างสรรค์
ผลงานและเลือกวัสดุ อุปกรณ์ในการท ากิจกรรมที่หลากหลายอย่างอิสระ ตามความคิดและ
จินตนาการ เด็กได้เรี ยนรู ้ ได้ลงมือปฏิบตั ิ ฝึ กฝนและพัฒนางานศิลปะของเด็กที่ไม่ซ้ำแบบใคร
ทำให้เกิดองค์ความรู ้ดว้ ยตนเอง พร้อมทั้งนำประสบการณ์เดิม มาผสมผสานกับสิ่ งแวดล้อมรอบ
ตัวเด็ก จึงได้ผลงานที่ออกมามีความแปลกใหม่ รวมถึงเด็กได้ฝึกการท างานอย่างเป็ นระบบ
เนื่องจากการปฏิบตั ิบ่อยครั้ง จึงเกิดความคล่องแคล่ว ความรวดเร็ วและความชำนาญในการ
ทำงาน ทำ ให้มีพฒั นาการทางความคิดสร้างสรรค์สูงขึ้นสอดคล้องกับทฤษฎีความคิดสร้างสรรค์
ของทอแรนซ์ (ทิวตั ถ์ นกบิน, 2542, หน้า 13; อ้างอิงจาก Torrance, 1964) ที่กล่าวว่าผูท้ ี่มีความ
คิดสร้างสรรค์เมื่อเห็นและเข้าใจ จะรวบรวม ประสบการณ์และข้อมูลต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อ
แสวงหาวิธีใหม่ ๆ การที่เด็กได้เลือกอุปกรณ์อย่างอิสระและคิด รู ปแบบของงาน การลงมือ
ปฏิบตั ิ ค้นหาคำตอบด้วยตนเองนับว่าเป็ นหัวใจสำคัญของการส่ งเสริ มความคิด สร้างสรรค์ เมื่อ
เด็กเกิดการเรี ยนรู ้และปฏิบตั ิบ่อยครั้งทำให้ได้ผลงานที่แปลกใหม่ออกมา ดังนั้น ในการทำงาน
ศิลปะสร้างสรรค์ ทำให้เด็กเกิดการเรี ยนรู ้และสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการซึ่งถือว่าเป็ นการ
พัฒนาความคิด สร้างสรรค์
3. การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็ นกิจกรรมที่เป็ นรู ปธรรม เด็กสามารถแสดงออกทาง ความ
คิด สร้างสรรค์ของตนเองผ่านการท างานศิลปะที่หลากหลาย เช่น การวาดภาพระบายสี การฉี ก
การตัด การประดิษฐ์ เป็ นต้น ดังที่ (พีระพงษ์ กุลไพศาล, 2533, หน้า 9) กล่าวไว้วา่ กิจกรรม
ศิลปะช่วยส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ และ จินตนาการได้ดี การที่เด็กวาดภาพสักภาพก็เป็ น
เครื่ องพิสูจน์แล้วว่า เด็กเกิดการเรี ยนรู ้ โดยในช่วง 6 ปี แรกเป็ น ระยะที่เด็กมีจินตนาการสูงและ
ศักยภาพด้านความคิดสร้างสรรค์ก ำลังพัฒนา ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีพฒั นาการ ของอิริคสัน
(Erikson) ที่กล่าวว่าเด็กปฐมวัยเป็ นระยะที่มีความคิดสร้างสรรค์ ถ้าหากให้มีส่วนร่ วมในการคิด
และทำ กิจกรรมต่าง ๆ อย่างเสรี จะทำให้เด็กเกิดการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การท ากิจกรรม
ศิลปะสร้างสรรค์ สามารถ ทำได้หลากหลาย แล้วแต่เด็กจะเลือกวัสดุ ที่ตนเองชอบมาสร้างผล
งานที่แปลกใหม่ มีความหลากหลาย มี รายละเอียดในชิ้นงานแต่ละชิ้น รวมถึงความคล่องแคล่ว
ในการทำงาน ซึ่งเด็กจะได้เรี ยนรู ้จากการท ากิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์อยูเ่ ป็ นประจำ โดยเน้น
ให้เด็กเกิดการคิดค้นผลงานที่แปลกใหม่ดว้ ยตนเอง มีการน าเสนอผลงานทำให้ เด็กเกิดความ
ภาคภูมิใจ พัฒนาการเหล่านี้เป็ นพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถใน
การ สร้างสรรค์น้ นั นับเป็ นความสามารถที่มีคุณค่าต่อผูท้ ี่มีความคิดสร้างสรรค์เองด้วย เพราะ
การสร้างผลงานชิ้นใดชิ้น หนึ่งขึ้นมาทำให้ผทู้ ี่สร้างสรรค์มีความพอใจ และมีความสุ ข เด็กจะ
เกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของตนเอง และกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ สามารถนำมาส
ร้างสรรค์ผลงานที่หลากหลายในการทำกิจกรรม ทำให้เกิดชิ้นงานที่ แปลกใหม่ โดยอับราฮัม
มาสโลว์ (Abraham Maslow) กล่าวว่ามนุษย์ทุกคนจะต้องมีความต้องการแสวงหาสิ่ ง ใหม่ ๆ
เพื่อตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจให้กบั ตนเองโดยเด็กจะนำมาสร้างผลงานที่
แปลกใหม่ มา ใช้ได้ตามจินตนาการของตนเอง เด็กจะได้คิดและวางแผนในการท าชิ ้นงานที่
ออกมาในแต่ละชิ้นมาสร้างสรรค์ ผลงานตามขั้นตอนและความสนใจของตนเอง ทำให้เด็กได้ฝึก
ทำกิจกรรม ดังนั้น การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เป็ นกิจกรรม กิจกรรมหนึ่งที่มีส่วนทำให้
ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยสูงขึ้น
4. กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็ นกิจกรรมเสรี เปิ ดโอกาสให้เด็กได้เลือกวัสดุอุปกรณ์ นำมา ทำ
กิจกรรม เพื่อให้เกิดผลงานที่แปลกใหม่ หลากหลาย มีความละเอียดลออและความคล่องแคล่ว
ใน การทำงาน ให้เด็กรู ้จกั การสังเกต การวางแผน การตัดสิ นใจ ทั้งเกิดทักษะด้านจินตนาการ
ไปสู่ การ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การ ปฏิบตั ิกิจกรรมทำให้สมองซีกขวาที่เกี่ยวข้องกับ
จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดแปลกใหม่พฒั นา สอดคล้องกับกิลฟอร์ด (Guilford)
กล่าวไว้วา่ ความคิดสร้างสรรค์ เป็ นสมรรถภาพทางด้านสมองที่มีอยูใ่ นทุกคน ความคิด
สร้างสรรค์เป็ นความคิดอเนกนัย คิดได้หลายทิศทาง หลายแง่ หลายมุม (อารี รังสิ นนั ท์, 2532,
หน้า 3; อ้างอิงจาก Guilford, 1950) และ (สุ ชาดา นทีตานนท์, 2550) พบว่า ลักษณะต่าง ๆ ที่
กล่าวมานั้นมีอยูใ่ นตัว บุคคลแต่จะเกิดขึ้นมามากน้อยขึ้นอยูก่ บั สิ่ งเร้าต่าง ๆ หากได้รับการส่ ง
เสริ ม ฝึ กฝนอย่างถูกวิธีกจ็ ะทำให้บุคคลนั้น เกิดลักษณะองค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ใน
เด็กปฐมวัย อายุ 3 – 5 ปี โดยทัว่ ไปจะมีองค์ประกอบของ ความคิดสร้างสรรค์ในด้านความริ เริ่ ม
ความยืดหยุน่ ความละเอียดลออ ความไวต่อปัญหา การมีอารมณ์ขนั ความ มุ่งมัน่ แต่ถา้ เด็กได้
รับการดูแลจัดประสบการณ์อย่างถูกต้องตามพัฒนาการอย่างไม่ขาดตกบกพร่ อง เด็กอาจจะมี
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ทุกด้าน ดังนั้น การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริ มความคิด
สร้างสรรค์ จึงมีความจำเป็ น อย่างยิง่ ในการพัฒนาเด็กในด้านการจัดกิจกรรมศิลปะ ครู เป็ นผูท้ ี่มี
บทบาทสำคัญมาก ในการส่ งเสริ มความคิด สร้างสรรค์ แก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และส่ ง
เสริ มความถนัดของเด็ก เปิ ดโอกาสให้เด็กคิด ได้คน้ พบ และ แสดงออกอย่างอิสระ โดยครู เลือก
ใช้เทคนิคการจัดกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อกระตุน้ และส่ งเสริ มพัฒนาการด้าน ความคิด
สร้างสรรค์ ของเด็กแต่ละคน ในการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ครู เปิ ดโอกาสให้เด็กได้ท ำ
อย่างอิสระ และคอยดูแลเมื่อเด็กเกิดปัญหา ทำให้หลังจากสิ้ นสุ ดการทดลองเด็กมีความคิด
สร้างสรรค์เพิม่ ขึ้น
1.ชื่อเรื่องรายงานการวิจัย : การจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากเส้นเชือกเพื่อส่ งเสริ มสมาธิในการ
ท างานของเด็กปฐมวัย
2.ชื่อผู้แต่ ง ระดับการศึกษา และ ปี พ.ศ. : สุ นิสา โสภาอุทก, วรรณิ ษา หาคูณ นิสิตปริ ญญาตรี
สาขากาศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2559
3.จุดมุ่งหมายการวิจัย :
1. เพื่อศึกษาผลการส่ งเสริ มสมาธิในการท างานของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมงาน
ประดิษฐ์จากเส้นเชือก 2. เพื่อเปรี ยบเทียบความสามารถในการใช้สมาธิในการท างานของเด็ก
ปฐมวัย ก่อนและ หลังได้รับการจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากเส้นเชือก
4.ตัวแปรอิสระที่ใช้ ในการวิจัย : กิจกรรมงานประดิษฐ์จากเส้นเชือก
5.ตัวแปรที่ใช้ ในการวิจัย : สมาธิในการท างานของเด็กปฐมวัย
6.ประชาการและกลุ่มตัวอย่ างที่ใช้ ในการวิจัย :
1. ประชากรที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่ก ำลัง ศึกษาอยู่
ในชั้นอนุบาลปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 ประจำปี การศึกษา 2559 โรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏ
มหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 75 คน
2.กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้เป็ นเด็กปฐมวัยชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่ก ำลัง ศึกษา
อยูใ่ นชั้นอนุบาลปี ที่ 3/2 ภาคเรี ยนที่ 2 ประจำปี การศึกษา 2559 โรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 24 คน
ซึ่ง ได้มาโดยวิธีสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)
7.ผลการศึกษา : จากผลการวิจยั การใช้งานประดิษฐ์จากเส้นเชือก เพื่อส่ งเสริ มสมาธิในการ
ทำงานของเด็ก ปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากเชือก สรุ ปได้ดงั นี้
1. เด็กปฐมวัยก่อนการจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากเชือก เด็กมีคะแนนความสามารถใน การใช้
สมาธิในการทำงานของเด็กปฐมวัยเฉลี่ย (̅ ) เท่ากับ 2.58 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ
1.28 และหลังทำกิจกรรมพบว่า เด็กมีคะแนนเด็กมีคะแนนความสามารถในการใช้สมาธิใน การ
ทำงานของเด็กปฐมวัยเฉลี่ย ( ̅ ) เท่ากับ 3.83 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.82 โดยมีค่า
คะแนนพัฒนาการเท่ากับ 17.24
2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากเชือก เด็กมีคะแนนความสามารถ ในการ
ใช้สมาธิในการทำงานของเด็กปฐมวัย สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมงานประดิษฐ์จากเชือก โดยค่า
เฉลี่ยหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
รายชื่อวิจยั เกี่ยวกับปฐมวัย 20 เรื่ อง
1.การพัฒนาการจัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้การประยุกต์ใช้ท ่ารำมวย
โบราณที่มีต่อพัฒนาการของนักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ของ รติกร อินานันท์
2. การพัฒนาการดำเนินงานการเสริ มสร้างวินยั นักเรี ยน ของนักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 1/6
โรงเรี ยนอนุบาลสกลนคร อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร / การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ของ ไฉไลศรี เพชรใต้
3. การพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญาของนักเรี ยนชั้น
อนุบาลปี ที่ 2 โดยการจัดกิจกรรมตามรู ปแบบ ACACA / การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ของ ครองใจ ขวัญเกษม
4. การพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริ ยธรรมของนักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 โดยใช้ทฤษฎีพหุ
ปัญญา / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ นิภา วรฉันท์
5. ผลของกิจกรรมการเล่านิทานพื้นบ้านที่มีต่อพัฒนาการทางภาษาด้านการพูดของนักเรี ยนชั้น
อนุบาลปี ที่ 2 โรงเรี ยนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม / การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ของ ดวงสมร ศรี ใสคำ
6. การพัฒนาสื่ อประสมตามรู ปแบบมอนเทสซอรี่ ที่ส่งเสริ มทักษะการเขียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 /
การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ วิไลวรรณ สาระขันธ์
7. การพัฒนาการจัดประสบการณ์การเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้การประยุกต์ใช้ท ่ารำมวย
โบราณที่มีต่อพัฒนาการของนักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ของ รติกร อินานันท์
8. การพัฒนาการพูดภาษาอังกฤษของนักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 ที่ได้รับการจัดประสบการณ์ตาม
แนวคิดวอลดอร์ฟ / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ศิวพร นิลสุ ข
9. การพัฒนากิจกรรมการเรี ยนรู ้เพื่อเตรี ยมความพร้อมด้านทักษะภาษาไทย และภาษามือไทย
สำหรับนักเรี ยนที่มีความบกพร่ องทางการได้ยนิ ชั้นอนุบาล 2 / วิทยานิพนธ์
ของ กรรณิ การ์ บุญประเสริ ฐ
10. การพัฒนาความพร้อมของนักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 โดยใช้แบบฝึ กความพร้อมด้านสติ
ปัญญา / วิทยานิพนธ์ ของ ธิดารัตน์ จูมพลา
11. การพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์กิจกรรมการเล่นตามมุมตามแนวการสอนภาษาแบบ
ธรรมชาติเพื่อพัฒนาด้านการเขียนสำหรับนักเรี ยนชั้นอนุบาลปี ที่ 1 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ
ของ ไพรวัลย์ ขนานแข็ง
12. การพัฒนาคุณธรรมจริ ยธรรมโดยใช้กิจกรรมการเล่านิทานชั้นอนุบาลปี ที่ 1 / การศึกษา
ค้นคว้าอิสระ ของ วิสามาส ขันชัยภูมิ
13. การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยของนักเรี ยนชั้นอนุบาล 1 โดยใช้กิจกรรมการเล่านิทาน
และกิจกรรมการศึกษานอกห้องเรี ยน / วิทยานิพนธ์ ของ วิภาวรรณ ยาประดิษฐ์
14. การพัฒนาแบบฝึ กเตรี ยมความพร้อมด้านสติปัญญาสำหรับนักเรี ยน ชั้นอนุบาลปี ที่ 2 /
วิทยานิพนธ์ ของ สุ กมุ าลย์ ปัตตาลาโพธิ์
15. การพัฒนาแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้โดยใช้เทคนิค TGT หน่วยสิ่ งต่าง ๆ รอบตัว
เรื่ องอาหารดีมีประโยชน์ช้ นั อนุบาลปี ที่ 2 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ สุพิชญา ชมวิชา
16. การพัฒนาสื่ อประสมตามรู ปแบบมอนเทสซอรี่ ที่ส่งเสริ มทักษะการเขียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 /
การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ วิไลวรรณ สาระขันธ์
17. ผลการจัดประสบการณ์การเล่านิทานประกอบคำถามปลายเปิ ดที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์
ของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาลปี ที่ 2 / การศึกษาค้นคว้าอิสระ ของ ธีรนุช แสนหาญ
18.ความสามารถทางการพูดของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเล่านิทานประกอบหุ่น ของ
ณัฐวดี ศิลาการณ์
19. การส่ งเสริ มทักษะทางด้านการพูดของเด็ก ปฐมวัยโดยใช้หนังสื อนิทาน ผูว้ ิจยั นางสาวสมัย
สุ ภาพ
20. การพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมของเด็กปฐมวัย โดยการจัดกิจกรรมการวาดภาพต่อเติม
จากภาพปะติดเป็ นกลุ่ม ปริ ญญานิพนธ์ ของ จริ ยา สันตานน

You might also like