You are on page 1of 10

หน่วย

กำรเรียนรูท้ ี่ ใบงำน 3.1 เรือ่ ง หน้ำที่ชำวพุทธ

คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่กิจกรรมกับหน้าที่ชาวพุทธให้ถูกต้องตามความเข้าใจของตนเอง

หน้ำที่ชำวพุทธ
ปกป้องและคุ้มครองพระพุทธศำสนำ เข้ำค่ำยคุณธรรม

เข้ำร่วมพิธีกรรมทำงศำสนำ แสดงตนเป็นพุทธมำมกะ

1. ปกป้องพระพุทธ 2. เข้าร่วมค่ายคุณธรรมเพื่อปลูกจิตสานึกให้ดีงาม
3. ศึกษาพระธรรม 4. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการทาพิธีกรรม
5. คานึงถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น 6. ศึกษาขั้นตอนการแสดงตนเป็นพุทธมามกะอย่างเข้าใจ
7. สืบสานพุทธวัฒนธรรม 8. เปิดใจพัฒนาจิตและแนวคิด
9. มีใจมั่นและตั้งใจเข้ารวมกิจกรรม 10. ชักชวนพ่อแม่พี่น้องเข้าร่วมกิจกรรม
11. ทาพิธีถูกต้องตามวิธีการ 12. จัดหาเวลาสถานที่ที่เหมาะสมในการแสดงตน
หน่วย
กำรเรียนรูท้ ี่ ใบงำน 3.2 เรือ่ ง กำรเป็นลูกที่ดีตำมหลักทิศ 6

คำชี้แจง ให้นักเรียนนาคาทีก่ าหนดให้มาเติมใต้ภาพพร้อมยกตัวอย่างให้ถูกต้อง

ทิศเบื้องหน้ำ ทิศเบื้องขวำ ทิศเบื้องหลัง


ทิศเบื้องซ้ำย ทิศเบื้องล่ำง ทิศเบื้องบน

หน้าที่ของลูกที่ดีตามทิศเบื้องต้นในทิศ 6 มีดังนี้
1………………………………………………………………………
2………………………………………………………………………
3………………………………………………………………………
4………………………………………………………………………
5………………………………………………………………………
หน่วย
กำรเรียนรูท้ ี่ ใบงำน 3.3 เรือ่ ง มำรยำทชำวพุทธ (กำรต้อนรับ)

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านสถานการณ์แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง

วันนี้เพื่อนของอรอุมาจะมาหาที่บ้าน โดยไม่บอกล่วงหน้า อรอุมาจึงได้เตรียม


สถำนกำรณ์ที่ 1 น้าผลไม้และขนมเค้กเพื่อต้อนรับเพื่อน แต่เพื่อนของเธออยากรับประทานอาหาร
จึงขอให้อรอุมาออกไปซื้อที่ตลาดมาให้

สุดาไปหาเพื่อนที่บ้าน เมื่อไปถึงแล้วเพื่อนขอให้เธอนั่งรอก่อน
สถำนกำรณ์ที่ 2 เพราะกาลังคุยโทรศัพท์อยู่ สุดาเห็นเพื่อนคุยนานมากแล้วจึงขอตัวกลับก่อน

1. จากสถานการณ์ที่ 1 เจ้าของบ้านและผู้เป็นแขกปฏิบัติตนอย่างไร
เจ้าของบ้าน ...............................................................................................................
ผู้เป็นแขก ............................................................................................................... .
2. จากสถานการณ์ที่ 2 เจ้าของบ้านและผู้เป็นแขกปฏิบัติตนอย่างไร
เจ้าของบ้าน ...............................................................................................................
ผู้เป็นแขก ............................................................................................................... .
3. ถ้านักเรียนเป็นเจ้าของบ้านในสถานการณ์ที่ 1 จะรู้สึกอย่างไร
............................................................................................................................. .............................................
4. ถ้านักเรียนเป็นแขกในสถานการณ์ที่ 2 จะรู้สึกอย่างไร
............................................................................................................................. .............................................
5. นักเรียนจะปฏิบัติกับแขกผู้มาเยือนที่บ้านของตนเองอย่างไร
............................................................................................................................. .............................................
..........................................................................................................................................................................
หน่วย
กำรเรียนรู้ที่ ใบงำน 3.4 เรือ่ ง มำรยำทชำวพุทธ (กำรปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ)

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความที่กาหนดให้ทาเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ถูก และทาเครื่องหมาย X


หน้าข้อความที่ผิด พร้อมบอกเหตุผลประกอบ

ข้อควำม เหตุผลประกอบข้อควำมที่ผิด
……………………1 เมื่อต้องเดินสวนทางกับพระสงฆ์บนทางเท้า
สาธารณะ ควรหยุดเดินและประนมมือขึ้นไหว้
……………………2 ผู้ชายและผู้หญิงสามารถรับสิ่งของจากมือ
ของพระสงฆ์ได้โดยตรง
……………………3 ไม่ต้องประนมมือตลอดการสนทนากับ
พระสงฆ์ ควรประนมมือขณะที่ฟังสวด หรือรับศีลเท่านั้น
……………………4 การแต่งกายไปวัดไม่ควรใส่เสื้อผ้าสีสัน
ฉูดฉาด ต้องแต่งกายด้วยชุดสีสุภาพ เช่น ขาว เทา ดา เท่านั้น
……………………5 กรณีมีม้านั่งยาวเพียงตัวเดียว ผู้หญิงไม่ควร
นั่งติดกับพระสงฆ์ เพราะพระสงฆ์อาจอาบัติได้
……………………6 หากนั่งอยู่กับพื้นเมื่อพระสงฆ์เดินผ่านให้รีบ
ลุกขึ้นยืนและยกมือไหว้ เพื่อแสดงความเคารพ
……………………7 เมื่อนิมนต์พระมาประกอบพิธีที่บ้าน
สามารถให้พระนั่งกับพื้นได้โดยมีการจัดอาสนะให้พระนั่ง
……………………8 หลังจากรับสิ่งของจากพระสงฆ์แล้วให้รับ
เดินออกไปทันทีโดยไม่ต้องแสดงความเคารพ
……………………9 ศาสนิกชนสามารถทั่งเสมอกับพระได้ทั้งชาย
และหญิง
……………………10 การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง
หมายถึงการแสดง
หน่วย
กำรเรียนรูท้ ี่ ใบงำน 3.5 เรือ่ ง คำศัพท์ที่ใช้กับพระภิกษุ

คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาความหมายของศัพท์ต่อไปนี้ แล้วเติมลงในช่องว่าง

ปฏิสันถาร ปุรัตถิมทิศ ศาสนพิธี อุบาสิกา อาสนทาน


สวดพระพุทธมนต์ ไทยธรรม ธรรมาสน์ ประเคน อาพาธ
มรณภาพ นิมนต์ บริขาร กุฏิ ถวายอดิเรก
อุบาสก รูป อาตมา ฉัน คิลานเภสัช
อุปสมบท สามเณร ฆราวาส จาพรรษา
อาบัติ บิณฑบาต

1. “เป็นธรรมเนียมไทยแท้ แต่โบราณ ใครมาถึงเรือนชานต้องต้อนรับ” หรือเรียกอีกอย่างว่าการ


.............................................................................................
2. .......................................คือผู้หญิงที่นับถือพระพุทธศาสนา และไม่ใช่ภิกษุณี
3. ในวันพระ พระอาจารย์นั่งแสดงธรรมบน................................
4. .......................................หรือทิศเบื้องหน้าซึ่งหมายถึงบิดามารดา
5. การต้อนรับพระสงฆ์ด้วยการแสดงที่นั่งหรือให้ที่นั่งแก่พระสงฆ์ เรียกอีกอย่างว่า....................................
6. สุรชัยได้....................พระ 10 รูปมา...............................................ในงานทาบุญอัฐิซึ่งเป็นงานอวมงคล
7. อุบาสกได้.................เครื่อง...................และ............มีบาตร จีวรเป็น ต้น แก่พระภิกษุบน.......................
8. ถ้าพระภิกษุรูปนี้ไม่ได้...............ภัตตาหารเช้า อาจจะทาให้ท่าน...................หรือถึงแก่.....................ได้
9. บิดาของพระยสะ เป็น.................................................คนแรกที่ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิตที่
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
10. พุทธบริษัทควรที่จะศึกษา............................................คือระเบียบ แบบแผนการปฏิบัติในทางศาสนา
เพื่อที่จะปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
11. พระภิกษุสงฆ์ทรงศีล 227 ข้อ ส่วน........................................ถือศีล 10 อุบาสกและอุบาสิกา มีศีล 5
12. ผู้ที่ออกบวชเรียกว่าบรรพชิต ส่วนผู้ที่อยู่ครองเรือนเรียกว่า..................................................................
13. ................................................เป็นหนึ่งในปัจจัย 4 สิ่งจาเป็นสาหรับการดารงชีวิต
14. การบวชเป็นสามเณร เรียกว่า บรรพชา ส่วนการบวชพระเรียกว่า.......................................................
15. ...................................... คือลักษณะนามสาหรับพระภิกษุ
16. คาแทนตัวพระภิกษุ.........................................................ใช้กบั บุคคลธรรมดาในโอกาสที่ไม่เป็นทางการ
17. ในช่วงเวลาเข้าพรรษา พระภิกษุสงฆ์จะ...............................................อยู่ภายในวัดมิออกไปยังที่ใดเลย
18. พระสังฆราช.....................................แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา
19. โทษของพระสงฆ์ที่เกิดจากการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุ ใช้เรียกความผิดทางวินัยของ
พระภิกษุ เรียกว่า.............................................
20. ในทุกเช้าสิ่งที่พระสงฆ์จะต้องปฏิบัติทุกวันก็คือ…………………………………………………………………………….
หน่วย
กำรเรียนรู้ที่ ใบงำน 3.6 เรือ่ ง ศำสนพิธี

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านสถานการณ์แล้วตอบคาถามว่าเกี่ยวข้องกับศาสนพิธีใดในพระพุทธศาสนา

สถำนกำรณ์ ศำสนพิธี
1. อลิษา เทน้าหลั่งลงในภาชนะที่รองรับแล้วนาไปเทที่ใต้โคน
ต้นไม้ เมื่อทาบุญเสร็จ
2. สมใจเตรียมอาหารคาวหวาน เพื่อถวายพระภิกษุที่มา
บิณฑบาตตอนเช้า
3. น้าพิสมัย ถวายปัจจัย 4 ในการทาบุญวันเกิด
4. วิชาญ นิมนต์พระมาฉันอาหารที่บ้าน เมื่อท่านอนุโมทนาให้พร
เขาก็กรวดน้าและรับพร
5. พรทิพย์ ซื้อสิ่งของอุปโภค เพื่อถวายเป็นวัตถุโดยไม่เจาะจง
ถวายรูปใดรูปหนึ่ง
6. ก่อนตักบาตร สมพร จะอธิษฐานแล้วถวายอาหารด้วยความ
เคารพและไม่สวนรองเท้า
7. นัฐฐา ถวายผ้าวัสสิกสาฎกแด่พระภิกษุก่อนวันเข้าพรรษา 1
วัน
8. ชาวบ้านหนองไผ่ล้อมร่วมกันทาบุญถวายผ้ากฐิน แด่พระภิกษุ
ซึ่งจัดขึ้นปีละครั้งเท่านั้น
9. ปิ่นแก้ว ตั้งใจแผ่กุศลให้แก่ผู้ล่วงรับหลังทาบุญตักบาตรแล้ว
10. คุณตา ถวายปัจจัยไทยธรรมแก่พระภิกษุหลังจากพระภิกษุ
ชักผ้าบังสุกุลแล้ว
11. ส่วนใหญ่นิยมกระทากันก่อนวันเข้าพรรษา 1 วัน
12. สิ่งที่กระทากันหลังวันออกพรรษาเป็นการอุปถัมภ์พระสงฆ์
ให้มีสิ่งของเครื่องใช้สับเปลี่ยนจากของเดิมที่ใช่ตอนเข้าพรรษา
13. มีความเป็นมาและความหมายว่า “ผ้าที่ไม่มีเจ้าของ วางทิ้ง
ตามป่าหรือพาดอยู่ตามกิ่งไม้”
14. การนาอาหารคาวหวานมาถวายพระสงฆ์โดยใส่ลงในบาตร
15. ทานที่ถวายแด่พระสงฆ์โดยทั่วไปโดยมิได้เจาะจง
16. ชาวพุทธนิยมเรียกว่า “การทาบุญเลี้ยงพระ”
17. การอุทิศส่วนกุศลอันพึงเกิดจากการทาบุญให้แก่ผู้ล่วงลับ
18. การนาผ้าไปวางไว้ต่อหน้าพระสงฆ์อย่างน้อย 5 รูปโดยมิได้
ตั้งใจถวายแด่รูปใดรูปหนึ่ง
19. เป็นส่วนหนึ่งของการทาบุญ ซึ่งสามารถทาได้ในหลายโอกาส
เช่น วันคล้ายเกิด วันขึ้นปีใหม่
20. มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความตระหนี่ ความโลภ เห็นแก่ตัว
หน่วย
กำรเรียนรู้ที่ ใบงำน 3.7 เรือ่ ง ศำสนพิธี(ต่อ)

คำชี้แจง ให้นักเรียนลาดับวิธีปฏิบัติศาสนพิธี พร้อมทั้งบอกว่าเป็นศาสนพิธีใด

…………….. เจ้าภาพจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย กล่าวอาราธนาศีลและรับศีล


…………….. ประเคนผ้ากฐินให้พระภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ถวายเครื่องบริวาร
พระสงฆ์สวดอนุโมทนา กรวดน้า
…………….. วางผ้าไตรบนแขนทั้งสอง 2 ข้าง กล่าวคาบูชาพระรัตนตรัยและคาถวายผ้ากฐิน
…………….. เตรียมเครื่องกฐินให้พร้อม นาไปไว้ที่พระอุโบสถหรือศาลาการเปรียญที่ใช้ประกอบพิธี
ศำสนพิธี........................................................

…………….. แจ้งเจ้าอาวาสหรือพระภิกษุสงฆ์ผู้มีหน้าที่นิมนต์พระในวัด พร้อมแจ้งจานวนพระสงฆ์ที่ตน


ต้องการ บอกวัน เวลา และสถานที่
…………….. กรวดน้า อุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว
…………….. เมื่อพระสงฆ์มาพร้อมแล้ว ทายก ทายิกา จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
กราบพระสงฆ์ แล้วอาราธนาศีลและรับศีล กล่าวคาถวายสังฆทาน
…………….. ประเคนของ เสร็จแล้วพระจะอนุโมทนาด้วยบทยถาและสัพพี
ศำสนพิธี........................................................

…………….. พระสงฆ์สวดอนุโมทนา เริ่มต้นด้วยคาว่า “ยถา วริวหา” หลั่งน้าโดยน้าที่ริน


ต้องให้ต่อเนื่องเป็นสาย
…………….. เตรียมน้าใส่ภาชนะที่มีขนาดเล็ก
…………….. นาน้าไปเทลงพื้นดินที่สะอาดหรือในที่ที่เหมาะสม เช่น โคนต้นไม้
กระถางต้นไม้ เป็นต้น
…………….. รินน้าให้หมดเมื่อพระสงฆ์เริ่มสวด “สัพพีติโย”
ศำสนพิธี........................................................
หน่วย
กำรเรียนรูท้ ี่ ใบงำน 3.8 เรือ่ ง วันสำคัญทำงศำสนำ

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างหน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย  ลงใน


ช่องว่างหน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง

................. 1. หลั กอริ ย สั จ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ มี 4 ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโ รธ มรรค เป็น
หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับวันวิสาขบูชา
................. 2. หลักธรรมที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์จาตุรงคสันนิบาต คือ อริยสัจ 4
................. 3. พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฎิโมกข์แก่พระอรหันตสาวก จานวน 1,250 รูป ที่มาเข้าประชุม
พร้อมกัน ณ เวฬุวันมหาวิหาร กรุงราชคฤห์
................. 4. โอวาทปาฏิ โมกข์ มีใจความสาคัญ คือ การไม่ทาความชั่วทั้งปวง การทาความดี การจิตใจให้
สะอาดบริสุทธิ์
................. 5. หลั ก ธรรมที่ ว่ า ด้ ว ย “อั ป ปมาทะ” (ความไม่ ป ระมาท) เป็ น หลั ก ธรรมที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ วั น
อาสาฬหบูชา
................. 6. เทศนาวิธี หรือพุทธลีลาในการสอน เป็นการสอนของพระพุทธเจ้าในแต่ละครั้ง ประกอบด้วย
4 ลักษณะ คือ สันทัสสนา สมาทปนา สมุตเตชนา และสัมปหังสนา
................. 7. ในวันอาสาฬหบูชาควรสวดมนต์และสดับรับฟังพระธรรมเทศนา เรื่องโอวาทปาฏิโมกข์
................. 8. พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม (ปฐมเทศนา) ชื่อ “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” แก่ปัญจวัคคีย์ ใน
วันวิสาขบูชา
................. 9. ปัจฉิมพุทธโอวาทที่ว่า “เธอทั้งหลายพึงยังประโยชน์ตนและประโยชน์ท่านให้ถึงพร้อม ด้วยความ
ไม่ประมาทเถิด” เป็นพุทธโอวาทในวันอัฏฐมีบูชา
................ 10. อุคฆฏิตัญญู คือ บุคคลที่โง่เขลา เบาปัญญา แม้ได้ฟังธรรมก็ไม่อาจบรรลุได้เหมือนดอกบัวที่อยู่
ใต้เปือกตม ไม่อาจโผล่พ้นน้าเบ่งบานได้เลย
หน่วย
กำรเรียนรูท้ ี่ ใบงำน 3.9 เรือ่ ง บทสวดมนต์

คำชี้แจง ให้นักเรียนนาคาหรือข้อความในกรอบด้านล่างเติมลงในช่องว่าง คาเริ่มต้นบทสวดมนต์ดังต่อไปนี้

คำอธิษฐำนเข้ำพรรษำ บทสรรเสริญพระพุทธคุณ คำกล่ำวถวำยผ้ำป่ำ


คำกล่ำววันมหำปวำรนำออกพรรษำ คำกล่ำวถวำยภัตรำหำร คำถวำยข้ำวพระพุทธ
คำกล่ำวถวำยผ้ำวัสสิกสำฏก คำลำข้ำวพระพุทธ คำกล่ำวในกำรกรวดน้ำ คำกล่ำวถวำยผ้ำกฐิน

...................................................................1. อิมัสมิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ

...................................................................2. สังฆัมภันเต ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา...

...................................................................3. อิมัง สูปะพะยัญชะนะสัมปันนัง สาลีนงั ...

...................................................................4. เสสัง มังคะลัง ยาจามิ

...................................................................5. อิมานิ มะยัง ภันเต ปังสุกูละจีวะรานิ...

...................................................................6. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ...

...................................................................7. อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ

...................................................................8. อิมานิ มะยัง ภันเต วัสสิกะสาฎิกานิ ภิกขุสงั ฆัสสะ

...................................................................9. อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย

...............................................................10. อิมัง สะปะริวารัง กะฐินะจีวะระทุสสัง สังฆัสสะ โอโณชะยามะ


หน่วย
กำรเรียนรูท้ ี่ ใบงำน 3.10 เรือ่ ง กำรบริหำรจิตและเจริญปัญญำ

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างหน้าข้อความที่ถูกต้อง และเครื่องหมาย  ลงใน


ช่องว่างหน้าข้อความที่ไม่ถูกต้อง

................. 1. การบริหารจิตและการเจริญปัญญาช่วยทาให้ฐานะทางการเงินดีขึ้น
................. 2. การบริหารจิต หมายถึง การฝึกจิตใจให้ดีงาม นุ่มนวลและมีความหนักแน่น
................. 3. การบริหารจิตและเจริญปัญญา ช่วยให้เราทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
................. 4. ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการบริหารจิต คือ หลังจากรับประทานอาหารอิ่มใหม่ ๆ
................. 5. สถานที่ที่เหมาะสมต่อการทาสมาธิจะต้องเงียบสงบและมีอากาศถ่ายเทได้ดี
................. 6. การฝึกสมาธิโดยการกาหนดลมหายใจ คือ การบริหารจิตตามหลักอานาปานสติ
................. 7. การฝึกสมาธิโดยวิธีอานาปานสติจะต้องใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เข้ามาช่วยในการฝึก
................. 8. ท่านั่งในการฝึกสมาธิมี 2 ลักษณะ คือ นั่งขัดบัลลังก์ และนั่งขัดสมาธิเพชร
................. 9. ในการทาสมาธิ ขณะที่หายใจเข้าออกควรภาวนาในใจว่า พุท-โธ
................ 10. การบริหารจิตตามหลักอานาปานสติ ช่วยให้ร่างกายพักผ่อนได้ดี
................ 11. การบริหารจิตและเจริญปัญญาควรใช้หลักอานาปานสติเท่านั้น
................ 12. ในขณะที่บริหารจิตและเจริญปัญญา เราควรตัดความกังวลต่าง ๆ ให้หมด
................ 13. ลมหายใจเข้าออกจาเป็นที่ต้องสัมพันธ์กันกับการบริหารจิตและเจริญปัญญา
................ 14. การบริหารจิตตามหลักอานาปานสติมีความยุ่งยาก ซับซ้อน เข้าใจได้ยาก
................ 15. แนวทางในการบริหารจิตและเจริญปัญญาเหมาะสาหรับผู้ที่เป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
................ 16. การเจริญปัญญาเป็นการส่งเสริมพัฒนาปัญญาให้เกิดขึ้นด้วยการฝึกอบรม (ภาวนา)
................ 17. การเดินจงกรมเป็นการบริหารจิตที่ใช้ควบคุมจิตให้สงบนิ่ง
................ 18. หลักการสาคัญที่สุดของการฝึกสมาธิ คือ การฝึกให้สติอยู่กับตัวเราทุกขณะ
................ 19. การนั่งขัดสมาธิราบ คือ การเอาขาขวาทับขาวซ้าย มือซ้ายทับมือขวา
................ 20. การบริหารจิตทาให้สามารถกาหนดให้หลับ ให้ตื่น ตามเวลาที่ต้องการได้

You might also like