You are on page 1of 8

คำแนะนำการจัดทำ

ฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์
ของผลิตภัณฑ์สมุนไพร
- ขอให้ท่านศึกษาแสดงฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์และรายละเอียดต่างๆ ได้จากประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการแสดงชื่อของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในการขึ้นทะเบียนตำรับ แจ้งรายละเอียด หรือจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร และการแสดงฉลาก
และเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

- เป็นตัวอย่างการแสดงฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ ที่ผู้ยื่นคำขอจะต้องแสดงหัวข้อ หรือข้อความ ตามประกาศ ฯ กำหนด


โดยท่านสามารถแสดงรูปภาพ หรือปรับรูปแบบได้ตามความเหมาะสม เช่น การระบุผู้แทนจำหน่าย แต่ทั้งนี้ ในพื้นที่ฉลากและพื้นที่เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์
จะต้องมีข้อความ หรือหัวข้อครบถ้วนตามที่ประกาศกำหนด

- จากข้อความในประกาศ ข้อ ๑๒ “ ให้ฉลากและเอกสารกำกับยาแผนโบราณ ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ หรือตามพระราชบัญญัติ


ผลิตภัณฑ์สมุนไพร พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้คงใช้ได้ต่อไป ทั้งนี้ ไม่เกิน ๒ ปีนับแต่วนั ที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ” หมายความว่า
ทะเบียนยาแผนโบราณ และทะเบียนผลิตภัณฑ์สมุนไพร ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ ก่อนวันที่ 1 มิถุนายน ๒๕๖๔ นั้น
ผู้ประกอบการยังคงสามารถใช้ฉลากและเอกสารกำกับยาเดิม ได้จนถึง วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖
คำแนะนำและตัวอย่าง ที่ 1 : การแสดงฉลาก ของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ต้องมีหัวข้อตามทีก่ ฎหมายกำหนดไว้ดังนี้

ชื่อผลิตภัณฑ์
ชื่อและปริมาณของส่วนประกอบที่เป็นสารสำคัญ 4 คำเตือน 3 :

ระบุช่องทางการขาย 1

ประเภทผลิตภัณฑ์ 2 (ระบุคำตามประเภทผลิตภัณฑ์) สภาวะการเก็บรักษา (ถ้ามีให้ระบุ) :


สรรพคุณ5 :
เลขทะเบียนที่ ........................................
ขนาดและวิธกี ารใช้ : วันเดือนปีที่ผลิต .……....………
ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า.. (อาจระบุ ผลิตโดย...ชื่อผู้ผลิต.. หรือ นำเข้าโดย
ครั้งที่ผลิต .............................. ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า .... (ระบุชื่อผู้ผลิต/ผู้นำเข้า).....ระบุที่อยู่ของตั้ง
สิ้นอายุ3 …………...................…. ..ชื่อผู้นำเข้า และระบุที่อยู่ของตั้งสถานที่ผู้ผลิต/นำเข้าที่สอดคล้องตาม
สถานที่ผู้ผลิต/นำเข้าที่ สอดคล้องตามใบอนุญาต)....หรือ ระบุ
ขนาดบรรจุ ……...................… ใบอนุญาต หรือ ระบุ จังหวัด เบอร์โทรศัพท์ เป็นอย่างน้อย)
ผู้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียน… จังหวัด เบอร์โทรศัพท์ เป็นอย่างน้อย).....
ผู้ผลิตในต่างประเทศ ...(เฉพาะกรณีเป็นผลิตภัณฑ์นำเข้า โดยอาจ
.................................ระบุชื่อและที่อยู่............................... ห้ามรับประทาน 6 ผู้ผลิคตำว่
ระบุ ในต่ างประเทศ
า ผลิ ตโดย ...(ชื...(เฉพาะกรณี
่อสถานที่ผลิตเป็และ
นผลิชืต่อภัเมื
ณฑ์องนำเข้ า ให้ระบุ
ประเทศที ่ตั้งช) ื่อ
สถานที่ผลิต และระบุ ชื่อเมือง ประเทศที่ตั้ง)

4. ชื่อและปริมาณของส่วนประกอบที่เป็นสารสำคัญของผลิตภัณฑ์ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือปริมาณต่อหน่วยเป็นระบบ


คำแนะนำ เมตริก ซึ่งต้องตรงตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับ โดยให้ระบุชอื่ ตัวยาสมุนไพรที่เป็นสารสำคัญและปริมาณให้ตรงกับสูตร และหากมี
1 ช่องทางการขาย เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ได้แก่ ตัวยา(สารสำคัญ)จำนวนมาก ให้แสดงเฉพาะตัวยาที่สำคัญ จำนวนหนึ่ง แล้วระบุคำว่า และตัวยาอื่นๆ ปิดท้ายไว้
- กรณีน้ำหนัก/ปริมาตรรวม เริ่มต้นผลิต เท่ากับ น้ำหนัก/ปริมาตรผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ให้ระบุ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรขายทั่วไป (ข้อความอยูใ่ นกรอบสีเขียว)
ขนาดตัวอักษรสูง “ มีส่วนประกอบสำคัญ” ตัวอย่าง : ใน...120 กรัม..... มีส่วนประกอบสำคัญ (แล้วแจ้งชื่อตัวยาและปริมาณ)
ขายเฉพาะส านที่มีใบอนุญาต (ข้อความอยูใ่ นกรอบสีแดง) อย่างน้อย 2 มม. - กรณีน้ำหนัก/ปริมาตรรวม เริ่มต้นผลิต ไม่เท่ากับ น้ำหนัก/ปริมาตรผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ให้ระบุ “ เตรียมจากส่วนประกอบ
อ่านได้ชัดเจน สำคัญ” ตัวอย่าง : ใน...120 กรัม.... เตรียมจากส่วนประกอบสำคัญ (แล้วแจ้งชือ่ ตัวยาและปริมาณ)
ใช้เฉพาะในส านพยาบาล (ข้อความอยูใ่ นกรอบสีแดง) - กรณีที่ ตัวยา(สารสำคัญ) เป็นสมุนไพรต่างประเทศ เช่น สมุนไพรจีน ให้แจ้งชื่อวิทยาศาสตร์ด้วย
2 ประเภทผลิตภัณฑ์ ระบุตรงตามประเภทที่ขออนุญาต ได้แก่ ยาพัฒนาจากสมุนไพร ยาแผนไทย 5. สรรพคุณ หรือ ความมุ่งหมายในการใช้
ยาตามองค์ความรู้การแพทย์ทางเลือก(ยาแผนจีน) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เวชสำอางสมุนไพร (ก) ในกรณีที่เป็นยาจากสมุนไพรให้ระบุว่า “สรรพคุณ” หรือ “ข้อบ่งใช้”
3. คำเตือน กรณีที่ ไม่มี คำเตือน ไม่ต้องแสดงหัวข้อนี้ แต่ถ้ามีให้ระบุหัวข้อและรายละเอียด (ข) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพให้ระบุว่า “ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ”
6. ห้ามรับประทาน กรณีเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ใช่รูปแบบรับประทานให้ระบุคำว่า ห้ามรับประทาน ด้วยอักษรสีแดง
ตัวอย่าง 1

ชื่อผลิตภัณฑ์
ใน oxox กรั
ชื่อและปริ ม มีส่วนประกอบสารสำคั
มาณของส่ วนประกอบที่เป็นญ
สารสำคัญ คำเตือน :
khkhk 10 กรัม ababa 5 กรัม ..................................
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรขายทั่วไป
asasaax 5 กรัม nmnm 5 กรัม
และอื
สรรพคุ่นณ
ๆ5 : สภาวะการเก็บรักษา :.................................
ยาแผนไทย
ขนาดและวิธกี ารใช้ : เลขทะเบียนที่ ................................
สรรพคุณ : ............................
วันเดือนปีที่ผลิต .…………… ผลิตโดย บริษัท เอยีซีดีสมุนไพร จำกัด
ขนาดและวิธกี ารใช้ : ครั้งที่ผลิต ...................... เลขที่ 512 ต. Oxoxox อ.เมือง จ. ราชบุรี
ผู...........................................................................
้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียน. สิ้นอายุ3 ………….............….
7:
บริคำเตื
ษัท ผูอ้ในด จำกั ด ขนาดบรรจุ ……..............…
จัดจำหน่ายโดย ( ้ามี)
9999 ซอยเกษมสันต์ ปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.oxoxoxo ห้ามรับประทาน ...........................ระบุ .....................................
สภาวะการเก็บรักษา ( ้ามี) :

ตัวอักษร สี............................................................................................................ พื้นสี ......................................................................................................


ขอรับรองว่าข้อความและรูปบนฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกีย่ วกับการแสดงชื่อของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในการขึ้นทะเบียนตำรับ
แจ้งรายละเอียด หรือจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร และการแสดงฉลาก และเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๔
คำแนะนำและตัวอย่างที่ 2 : การแสดงเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ : ต้องมีหัวข้อตามที่กฎหมายกำหนดไว้ดังนี้

เอกสารกากับผลิตภัณฑ์
ชื่อผลิตภัณฑ์
ชื่อและปริมาณของส่วนประกอบที่เป็นสารสำคัญ 1

สรรพคุณ 2 :
ขนาดและวิธกี ารใช้ :
คำเตือน 3:
ข้อห้ามใช้ 3 :
ข้อควรระวัง3 :
อาการไม่พึงประสงค์ 3 :
สภาวะการเก็บรักษา3 :
ตัวอักษร สี.......................................................................... พื้นสี .......................................................................................

ขอรับรองว่าข้อความและรูปบนฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับ


การแสดงชื่อของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในการขึ้นทะเบียนตำรับ แจ้งรายละเอียด หรือจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร และการแสดงฉลาก และเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๔
คำแนะนำ
1. ชื่อและปริมาณของส่วนประกอบทีเ่ ป็นสมุนไพร/สารสำคัญของผลิตภัณฑ์ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือปริมาณต่อหน่วยเป็นระบบเมตริก ซึ่งต้องสอดคล้องตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับ โดยระบุชื่อสมุนไพร/สารสำคัญและปริมาณ และหากมี
สมุนไพร/สารสำคัญ จำนวนมาก ให้แสดงเฉพาะตัวยาที่สำคัญ จำนวนหนึ่ง แล้วระบุคำว่า“และตัวยาอื่นๆ” หรือ “และอื่นๆ” ปิดท้าย
- กรณีน้ำหนัก/ปริมาตรรวม เริ่มต้นผลิต เท่ากับ น้ำหนัก/ปริมาตรผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ให้ระบุ “ มีสว่ นประกอบสำคัญ” ตัวอย่าง : ใน...120 กรัม..... มีส่วนประกอบสำคัญ (แล้วแจ้งชื่อสมุนไพร/สารสำคัญและปริมาณ)
- กรณีน้ำหนัก/ปริมาตรรวม เริ่มต้นผลิต ไม่เท่ากับ น้ำหนัก/ปริมาตรผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ให้ระบุ “ เตรียมจาก ส่วนประกอบสำคัญ” ตัวอย่าง : ใน...120 กรัม.... เตรียมจากส่วนประกอบสำคัญ (แล้วแจ้งชื่อสมุนไพร/สารสำคัญและปริมาณ)
- กรณีที่ สมุนไพร/สารสำคัญ เป็นสมุนไพรต่างประเทศ เช่น ตัวยาสมุนไพรจีน ให้แจ้งชื่อวิทยาศาสตร์ด้วย
2. สรรพคุณ หรือ ความมุ่งหมายในการใช้
(ก) ในกรณีที่เป็นยาจากสมุนไพรให้ระบุว่า “สรรพคุณ” หรือ “ข้อบ่งใช้” (ข) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพให้ระบุว่า “ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ” 3. กรณีที่ ไม่มี คำเตือน / ข้อห้ามใช้ / ข้อควรระวัง / อาการไม่พึง
ประสงค์ / สภาวะการเก็บรักษา ไม่ตอ้ งแสดงหัวข้อที่ไม่มีนั้น แต่ถ้ามีให้ระบุหัวข้อและรายละเอียด
คำแนะนำและตัวอย่าง ที่ 3 : การแสดงฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ (กรณีใช้พื้นที่ฉลากร่วมกับเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์)
ต้องมีการจัดแบ่งพื้นที่ฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ออกจากกันชัดเจน และมีหัวข้อตามที่กฎหมายกำหนด ดังนี้
ชื่อและปริมาณของส่วนประกอบที่เป็นสารสำคัญ 4 เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์
สรรพคุณ 5 :
ชื่อผลิตภัณฑ์ ขนาดและวิธกี ารใช้ :
ช่องทางการขาย1
ขนาดและวิธกี ารใช้ :
ข้อห้ามใช้ 3:
คำเตือน7 : 2
ประเภทผลิตภัณฑ์ (ระบุคำตามประเภทผลิตภัณฑ์)
เลขทะเบียนที่ ................................
สภาวะการเก็บรักษา ( ้ามี) : วันเดือนปีทผี่ ลิต .…………… ข้อควรระวัง 3 :
ครั้งที่ผลิต ......................
สิ้นอายุ ………….............….
ผู้ผลิต/ผู้นำเข้า.. (อาจระบุ ผลิตโดย...ชื่อผู้ผลิต.. หรือ นำเข้าโดย ขนาดบรรจุ ……..............… ห้ามรับประทาน 6
..ชื่อผู้นำเข้า และระบุที่อยู่ของตั้งสถานที่ผู้ผลิต/นำเข้าที่สอดคล้อง อาการไม่พึงประสงค์ 3 :
ตามใบอนุญาต หรือ ระบุ จังหวัด เบอร์โทรศัพท์ เป็นอย่างน้อย) ผู้รับใบ…..(ระบุประเภทใบอนุญาตผลิตภัณฑ์+ชื่อผู้รับใบฯและที่อยู่)..
(ประเภทใบอนุญาตผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับ ใบรับแจ้ง
ผู้ผลิตในต่างประเทศ ...(เฉพาะกรณีเป็นผลิตภัณฑ์นำเข้า โดยอาจ สภาวะการเก็บรักษา 3 :
รายละเอียด ใบรับจดแจ้ง โดยหัวข้อนี้ระบุเฉพาะกรณีผู้รับใบฯ ไม่ใช่ผู้รับอนุญาตผลิต/
ระบุคำว่า ผลิตโดย ...(ชื่อสถานที่ผลิต และ ชื่อเมือง ประเทศที่ตั้ง) นำเข้าของผลิตภัณฑ์นี้)

คำแนะนำ ในกรณีที่มีการใช้พื้นที่ร่วมกันระหว่างฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ ต้องมีการแบ่งพื้นที่ให้ชัดเจน โดย 4. ชื่อและปริมาณของส่วนประกอบที่เป็นสมุนไพร/สารสำคัญของผลิตภัณฑ์ โดยแสดงเป็นร้อยละ หรือปริมาณต่อหน่วย


พื้นที่ ที่เป็นเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ ต้องมีคำกำกับว่า “เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์” ที่ด้านบนของพื้นที่เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ เป็นระบบเมตริก ซึ่งต้องสอดคล้องตามที่ขึ้นทะเบียนตำรับ โดยระบุชื่อสมุนไพร/สารสำคัญและปริมาณ และหากมีสมุนไพร/
1 สารสำคัญ จำนวนมาก ให้แสดงเฉพาะตัวยาที่สำคัญ จำนวนหนึ่ง แล้วระบุคำว่า“และตัวยาอื่นๆ” หรือ “และอื่นๆ” ปิดท้าย
ช่องทางการขาย เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ได้แก่
- กรณีน้ำหนัก/ปริมาตรรวม เริ่มต้นผลิต เท่ากับ น้ำหนัก/ปริมาตรผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ให้ระบุ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรขายทั่วไป (ข้อความอยูใ่ นกรอบสีเขียว) “ มีส่วนประกอบสำคัญ” ตัวอย่าง : ใน...120 กรัม..... มีส่วนประกอบสำคัญ (แล้วแจ้งชื่อสมุนไพร/สารสำคัญและปริมาณ)
ขนาดตัวอักษรสูง
ขายเฉพาะส านที่มีใบอนุญาต
- กรณีน้ำหนัก/ปริมาตรรวม เริ่มต้นผลิต ไม่เท่ากับ น้ำหนัก/ปริมาตรผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป ให้ระบุ “ เตรียมจาก ส่วนประกอบ
(ข้อความอยูใ่ นกรอบสีแดง) อย่างน้อย 2 มม.
สำคัญ” ตัวอย่าง : ใน...120 กรัม.... เตรียมจากส่วนประกอบสำคัญ (แล้วแจ้งชื่อสมุนไพร/สารสำคัญและปริมาณ)
อ่านได้ชัดเจน
ใช้เฉพาะในส านพยาบาล (ข้อความอยูใ่ นกรอบสีแดง) - กรณีที่ สมุนไพร/สารสำคัญ เป็นสมุนไพรต่างประเทศ เช่น ตัวยาสมุนไพรจีน ให้แจ้งชื่อวิทยาศาสตร์ด้วย
5. สรรพคุณ หรือ ความมุ่งหมายในการใช้
2 ประเภทผลิตภัณฑ์ ระบุตรงตามประเภทที่ขออนุญาต ได้แก่ ยาพัฒนาจากสมุนไพร ยาแผนไทย (ก) ในกรณีที่เป็นยาจากสมุนไพรให้ระบุว่า “สรรพคุณ” หรือ “ข้อบ่งใช้”
ยาตามองค์ความรู้การแพทย์ทางเลือก(ยาแผนจีน) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพ เวชสำอางสมุนไพร (ข) ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพให้ระบุว่า “ข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพ”
3. กรณีที่ ไม่มี คำเตือน / ข้อห้ามใช้ / ข้อควรระวัง / อาการไม่พึงประสงค์ / สภาวะการเก็บรักษา 6. ห้ามรับประทาน กรณีเป็นผลิตภัณฑ์ ที่ไม่ใช่รูปแบบรับประทานให้ระบุคำว่า ห้ามรับประทาน ด้วยอักษรสีแดง
ไม่ต้องแสดงหัวข้อที่ไม่มี แต่ถ้ามีให้ระบุหัวข้อและรายละเอียด
ตัวอย่าง 3

ใน oxox กรัม มีส่วนประกอบสารสำคัญ เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์


khkhkh 10 กรัม ababa 5 กรัม ชื่อผลิตภัณฑ์
asasaax 5 กรัม nmnm 5 กรัม
ขนาดและวิธกี ารใช้ :
และอื่นๆ ขายเฉพาะส านที่มีใบอนุญาต
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรขายทั่วไป
สรรพคุณ : ............................ ยาตามองค์ความรู้การแพทย์ทางเลือก (ยาแผนจีน) ข้อห้ามใช้ :
ขนาดและวิธกี ารใช้ :
...........................................................................
เลขทะเบียนที่ .......................... ข้อควรระวัง :
คำเตือน7 :
นำเข้า บริษัท ดิมโมไชน่า จำกัด วันเดือนปีทผี่ ลิต .…………… อาการไม่พึงประสงค์ :
เลขที ่ 512 ต. Oxoxox
สภาวะการเก็ บรักษา ( ป้้ามีอ)มปราบ
: กรุงเทพฯ ครั้งที่ผลิต ......................
ผลิตโดย Binnanning Co. Ltd สิ้นอายุ ………….............…. สภาวะการเก็บรักษา :
Nanning, P.R.. China ขนาดบรรจุ ……................…
จัดจำหน่ายโดย (ถ้ามี) ห้ามรับประทาน
...........................ระบุชื่อและที่อยู่ (ถ้าต้องการระบุ)
.....................................

ตัวอักษร สี............................................................................................................ พื้นสี ......................................................................................................

ขอรับรองว่าข้อความและรูปบนฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการแสดงชื่อของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในการขึ้นทะเบียนตำรับ แจ้ง
รายละเอียด หรือจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร และการแสดงฉลาก และเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๔
คำแนะนำและตัวอย่าง ที่ 4 การแสดงฉลากกรณี ฉลากที่มีพื้นที่น้อยกว่า 3 ตารางนิ้ว และ ฉลากแผง

ชื่อผลิตภัณฑ์

เลขทะเบียนที่ ...............
ครั้งที่ผลิต ……..........….
สิ้นอายุ ……….......…….

ตัวอักษร สี.................................................................... พื้นสี ........................................................................

ขอรับรองว่าข้อความและรูปบนฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการแสดงชื่อของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในการขึ้นทะเบียนตำรับ แจ้ง
รายละเอียด หรือจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร และการแสดงฉลาก และเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

คำแนะนำ
1.ขนาดบรรจุเล็กที่มีฉลากพื้นที่น้อยกว่า 3 ตารางนิ้ว และฉลากแผง จะต้อง
- มีเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ ของแต่ละขนาดบรรจุเล็กนั้นๆ หรือแต่ละแผง ที่มีข้อความครบถ้วนตามประกาศกำหนด (ตัวอย่างที่ 2 เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์)
- มีขนาดบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่ เพื่อบรรจุขนาดบรรจุเล็กเหล่านี้ โดยมีฉลาก และหรือฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ของขนาดบรรจุใหญ่นี้ ที่มีข้อความครบถ้วน
ตามที่กฎหมายกำหนด (ตัวอย่างที่ 1 ฉลาก หรือ 3 ฉลากและเอกสารกำกับผลิคำแนะนำเพิ
ตภัณฑ์ที่อยู่บนแผ่่ม
นเดีเติยวกั
ม น แล้วแต่กรณี)
ที่ท้ายของเอกสารหน้าที่เป็น ฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์

1. ระบุสีพื้นและสีอักษร
2. ระบุข้อความคำรับรอง ดังต่อไปนี้
ขอรับรองว่าข้อความและรูปบนฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการผลิตภัณฑ์สมุนไพร
เรื่อง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการแสดงชื่อของผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในการขึ้นทะเบียนตำรับ
แจ้งรายละเอียด หรือจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร และการแสดงฉลาก และเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๔

3. การแสดง ข้อความ รูป รูปภาพ รอยประดิษฐ์ เครื่องหมาย ตรา หรือเครื่องหมายการค้า สามาร ระบุได้บนฉลากและเอกสารกำกับผลิตภัณฑ์
แต่จะต้อง
- ไม่เป็นเท็จหรือหลอกลวงให้เกิดความหลงเชื่อ หรือไม่ทำให้เข้าใจผิดในสารสำคัญ
- ไม่ทำให้เข้าใจว่ามีวัต ุใดเป็นส่วนประกอบซึ่งความจริงไม่มีวัต ุหรือส่วนประกอบนั้นในผลิตภัณฑ์สมุนไพร
- ไม่ขัดกับวัฒนธรรมและศีลธรรมอันดีงาม
4. กรณีเครื่องหมายการค้า ส่งหนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า

You might also like