You are on page 1of 105

ใบงานวิชาคณิตศาสตร์

ป.6 เทอม 1

ชื่อ- สกุล .......................................................ชื่อเล่น............


ชั้น................. เลขที่ ................
โรงเรียน..................................................................................
เพจ : ใบงานคณิต Math is Fun
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | ก

คำนำ

ใบงานวิชาคณิตศาสตร์ ป.6 เทอม 1 เล่มนี้ จัดทาขึ้นโดยมีเป้าหมายให้นักเรียนได้เข้าใจและเรียนรู้


วิธีคิดหาคาตอบของปัญหาทางคณิตศาสตร์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้นการฝึกคิดไปทีละขั้น เริ่มต้นโจทย์โดย
ใช้จานวน(ตัวเลข)ที่ง่ายต่อการคานวณเพื่อให้นักเรียนสนใจที่วิธีการหาคาตอบมากกว่าคาตอบเพียงอย่างเดียว
จากนั้นเมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการคิดแล้วจึงใช้โจทย์ที่คานวณได้ยากขึ้น
ด้วยเนื้อหาที่ครบถ้วนตามตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ใบงานเล่มนี้จึง เหมาะสาหรับคุณครู ในการนาไปใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนรู้
เหมาะสาหรับผู้ปกครองใช้สอนเสริมเด็กๆ ให้เข้าใจด้วยภาษาที่กระชับและเข้าใจง่าย และ เหมาะสาหรับ
นักเรียนใช้ในการฝึกทักษะเพิ่มเติม นอกจากนี้ในใบงานยังมีภาพประกอบที่สีสันสดใสเพื่อเร้าความสนใจ และ
ภาพโปร่งใสเพื่อให้เด็กวาดภาพระบายสีเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ได้อีกด้วย
ใบงำนคณิต Math is Fun
ห น้ า | ข วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

สำรบัญ
หน้ำ
คานา ................................................................................................................................... ก
สารบัญ ................................................................................................................................ ข
บทที่ 1 ห.ร.ม. และ ค.ร.น. .................................................................................................. 1
ใบงานที่ 1.1 การแยกตัวประกอบ ................................................................................ 8
ใบงานที่ 1.2 การหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวหารร่วม ...................................................... 9
ใบงานที่ 1.3 การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ ................................................... 10
ใบงานที่ 1.4 การหา ห.ร.ม. โดยการหาร ...................................................................... 11
ใบงานที่ 1.5 การหา ค.ร.น. โดยการหาตัวผลคูณร่วม................................................... 12
ใบงานที่ 1.6 การหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ ................................................... 13
ใบงานที่ 1.7 การหา ค.ร.น. โดยการหาร ...................................................................... 14
ใบงานที่ 1.8 ความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม กับ ค.ร.น. ของจานวนนับ 2 จานวน ........... 15
ใบงานที่ 1.9 โจทย์ปัญหา (1) ....................................................................................... 16
ใบงานที่ 1.10 โจทย์ปัญหา (2) ..................................................................................... 17
แบบทดสอบบทที่ 1...................................................................................................... 18
เฉลยบทที่ 1 ................................................................................................................. 19
บทที่ 2 เศษส่วน .................................................................................................................. 23
ใบงานที่ 2.1 การเปรียบเทียบเศษส่วนและจานวนคละ................................................ 34
ใบงานที่ 2.2 การเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละ .................................................. 35
ใบงานที่ 2.3 การบวกและการลบเศษส่วน ................................................................... 36
ใบงานที่ 2.4 การบวกและการลบจานวนคละ .............................................................. 37
ใบงานที่ 2.5 การบวก ลบ คูณ หารระคน ..................................................................... 38
ใบงานที่ 2.6 โจทย์ปัญหา (1) ....................................................................................... 39
ใบงานที่ 2.7 โจทย์ปัญหา (2) ....................................................................................... 40
แบบทดสอบบทที่ 2...................................................................................................... 41
เฉลยบทที่ 2 ................................................................................................................. 43
บทที่ 3 ทศนิยม ................................................................................................................... 49
ใบงานที่ 3.1 การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม ............................................................... 55
ใบงานที่ 3.2 การหารทศนิยม (1) ................................................................................. 56
ใบงานที่ 3.3 การหารทศนิยม (2) ................................................................................. 57
ใบงานที่ 3.4 การแลกเปลี่ยนเงินตรา............................................................................ 58
ใบงานที่ 3.5 โจทย์ปัญหา (1) ....................................................................................... 59
ใบงานที่ 3.6 โจทย์ปัญหา (2) ....................................................................................... 60
แบบทดสอบบทที่ 3...................................................................................................... 61
เฉลยบทที่ 3 ................................................................................................................. 62
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | ค

สำรบัญ (ต่อ)
หน้ำ
บทที่ 4 ร้อยละและอัตราส่วน ............................................................................................... 65
ใบงานที่ 4.1 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ (1) ............................................................... 71
ใบงานที่ 4.2 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ (2) ............................................................... 72
ใบงานที่ 4.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ (3) ............................................................... 73
ใบงานที่ 4.4 อัตราส่วน ................................................................................................ 74
ใบงานที่ 4.5 อัตราส่วนที่เท่ากัน ................................................................................... 75
ใบงานที่ 4.6 มาตราส่วน .............................................................................................. 76
ใบงานที่ 4.7 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน ................................................................ 77
ใบงานที่ 4.8 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับมาตราส่วน .............................................................. 78
แบบทดสอบบทที่ 4...................................................................................................... 79
เฉลยบทที่ 4 ................................................................................................................. 80
บทที่ 5 แบบรูป ................................................................................................................... 85
ใบงานที่ 5.1 แบบรูปและความสัมพันธ์ (1) .................................................................. 90
ใบงานที่ 5.2 แบบรูปและความสัมพันธ์ (2) .................................................................. 91
ใบงานที่ 5.3 แบบรูปและความสัมพันธ์ (3) .................................................................. 92
ใบงานที่ 5.4 การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป (1) ............................................................ 93
ใบงานที่ 5.5 การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป (2) ............................................................ 94
ใบงานที่ 5.6 การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป (3) ............................................................ 95
แบบทดสอบบทที่ 5...................................................................................................... 96
เฉลยบทที่ 5 ................................................................................................................. 97
ห น้ า | ง วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เพลง ห.ร.ม.
คาร้อง สมวงษ์ แปลงประสบโชค ทานอง เพลงสามสิบยังแจ๋ว
ถ้าจะหา ห.ร.ม. ต้องจาชื่อย่อ ว่า หารร่วมมาก หาได้ง่ายไม่ยาก
หารร่วมมากหาตัวหาร ต้องหารได้ทุกตัว รู้กันถ้วนทั่ว อาจจะแยกตัวประกอบ
เลือกตัวซ้าให้รอบคอบ ผลตอบนาตัวซ้ามาคูณ

เพลง ค.ร.น. (เพลงที่ 1)

คาร้อง สมวงษ์ แปลงประสบโชค ทานอง เพลงแม่สะเรียง

ท่องคูณสูตรแม่สอง ผลคูณต้องเรียกพหุคูณ
แม่สามยามเมื่อคูณ ผลเพิ่มพูนทีละ 3
ตัวคูณร่วมเรียกนาม ก็คือพหุคูณที่ซ้า
ขอบอกคนงาม พหุคูณที่ซ้าน้อยที่สุดเอย
พี่ขอเฉลยเลยว่า ค.ร.น.
ค.ร.น. นั้นคือชื่อย่อ ตัวคูณร่วมน้อยๆ

เพลง ค.ร.น. (เพลงที่ 2)


คาร้อง สมวงษ์ แปลงประสบโชค ทานอง เพลง John McDonald

ถ้าจะหา ค.ร.น. ก็ให้แยกตัวประกอบ แล้วหาตัวซ้ากัน


ตัวที่ซ้าหรือไม่ซ้าก็ให้นามาคูณกัน ผลนั้น ค.ร.น.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 1

บทที่ 1
ห.ร.ม และ ค.ร.น.
ตัวประกอบและการแยกตัวประกอบ
 ตัวประกอบของจานวนนับ
ตัวประกอบของจานวนนับใด หมายถึง จานวนนับที่หารจานวนนับนั้นได้ลงตัว
ตัวอย่าง หาตัวประกอบทั้งหมดของ 48
วิธีทา เนื่องจาก 48 ÷ 1 = 48
จานวนนับทุกจานวน จะมี 1 และ
48 ÷ 2 = 24
ตัวมันเอง เป็นตัวประกอบเสมอ
48 ÷ 3 = 16
48 ÷ 4 = 12
48 ÷ 6 = 8
48 ÷ 8 = 6
48 ÷ 12 = 4
48 ÷ 16 = 3
48 ÷ 24 = 2
48 ÷ 48 = 1
ดังนั้น ตัวประกอบทั้งหมดของ 48 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 16, 24 และ 48
ตอบ ๑, ๒, ๓, ๔, ๖, ๘, ๑๒, ๑๖, ๒๔ และ ๔๘
 จานวนเฉพาะ
จานวนเฉพาะ คือ จานวนนับที่
มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียง 2
จานวน คือ 1 กับ ตัวมันเอง

ในตารางช่องสีเขียวคือจานวนเฉพาะ
ทั้งหมด ที่อยู่ระหว่าง 1 ถึง 100 ซึ่งมี
25 จานวน หากเราจาได้จะช่วยให้
เราแยกตัวประกอบได้เร็วขึ้น
ห น้ า | 2 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

 ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบที่เป็นจานวนเฉพาะ


ตัวอย่างที่ 1 ตัวประกอบทั้งหมดของ 48 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 16, 24 และ 48
เนื่องจาก มี 2 และ 3 ที่เป็นจานวนเฉพาะ
ดังนั้น ตัวประกอบเฉพาะของ 48 จึงได้แก่ 2 และ 3
ตัวอย่างที่ 2 ตัวประกอบทั้งหมดของ 50 ได้แก่ 1, 2, 5, 25 และ 50
เนื่องจาก มี 5 ที่เป็นจานวนเฉพาะ
ดังนั้น ตัวประกอบเฉพาะของ 50 คือ 5

 การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบของจานวนนับใด หมายถึง การเขียนแสดงจานวนนับนัน้ ในรูป
การคูณของตัวประกอบเฉพาะ
ตัวอย่าง แยกตัวประกอบของ 48
วิธีทา เนื่องจาก ตัวประกอบทั้งหมดของ 48 ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 16, 24 และ 48
เราสามารถเขียน 48 ในรูปการคูณกันของตัวประกอบ เช่น
48 = 16 × 3
48 = 4 × 4 × 3
48 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3
จะเห็นว่า 48 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3 เป็นการเขียนในรูปการคูณกันของจานวนเฉพาะ
นั่นคือ 48 สามารถแยกตัวประกอบได้เป็น 48 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3
ตอบ 48 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3
การแยกตัวประกอบของจานวนนับ เช่น แยกตัวประกอบของ 125 อาจทาได้ดังนี้
วิธีที่ 1 โดยใช้การคูณ
125 = 5 × 25
=5×5×5
ดังนั้น 125 = 5 × 5 × 5
วิธีที่ 2 โดยใช้การหาร
โดยนาตัวประกอบเฉพาะมาหารจนได้ผลหารเป็นจานวนเฉพาะ แล้วเขียนจานวนนับนั้น
ในรูปการคูณของตัวหารทุกจานวนและผลหารสุดท้าย
5)125
5) 25 แยกตัวประกอบของ 48 ได้เป็น
5 2)48
ดังนั้น 125 = 5 × 5 × 5 2)24
2)12
2) 6
3
ดังนั้น 48 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 3

ตัวหารร่วมมากที่สุด (ห.ร.ม.)

จานวนนับที่หารจานวนนับตั้งแต่ 2 จานวนขึ้นไปได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบร่วม หรือ ตัวหารร่วม


ของจานวนนับเหล่านั้น
1 เป็นตัวประกอบร่วม หรือ ตัวหารร่วมของจานวนนับทุกจานวน
ตัวหารร่วมที่มากที่สุด ใช้อักษรย่อ ห.ร.ม.
ห.ร.ม. ของจานวนนับตั้งแต่ 2 จานวนขึ้นไป หมายถึง จานวนนับที่มากที่สุดที่หารจานวนนับเหล่านั้น
ได้ลงตัว
การหา ห.ร.ม. ทาได้ 3 วิธี
วิธีที่ 1 การหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวหารร่วม
ตัวอย่าง หา ห.ร.ม. ของ 12, 28 และ 32
วิธีทา จานวนนับที่หาร 12 ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 6, 12
จานวนนับที่หาร 28 ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 7, 14, 28
จานวนนับที่หาร 32 ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 8, 16, 32
ตัวหารร่วมของ 12, 28 และ 32 คือ 1, 2, และ 4
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 12, 28 และ 32 คือ 4
ตอบ ๔
วิธีที่ 2 การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่าง หา ห.ร.ม. ของ 12, 28 และ 32 ห.ร.ม. นามาคูณกัน
วิธีทา 12 = 2 × 2 × 3 เฉพาะตัวที่ซากั
้ นเท่านั้น
28 = 2 × 2 × 7
32 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2
พบว่า 2 × 2 เป็นตัวหารร่วมที่มากที่สุดของ 12, 28 และ 32
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 12, 28 และ 32 คือ 2 × 2 = 4
ตอบ ๔
วิธีที่ 3 การหา ห.ร.ม. โดยการหาร
ตัวอย่าง หา ห.ร.ม. ของ 12, 28 และ 32
วิธีทา หาตัวหารร่วมของทั้ง 3 จานวนมาหาร จนกว่าจะพบกว่าตัวหารร่วมเป็น 1 จึงสิ้นสุดการหาร
2)12 28 32
2) 6 14 16 จาก 3 วิธีด้วยโจทย์เดียวกัน
3 7 8 นักเรียนก็จะเห็นว่าวิธีใด
นาตัวหารร่วมทุกจานวนมาคูณกัน จะได้ 2 × 2 = 4 เป็นวิธีที่ง่ายสาหรับนักเรียน
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 12, 28 และ 32 คือ 4
ตอบ ๔
ห น้ า | 4 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่าง หา ห.ร.ม. ของ 25 และ 49


วิธีทา 25 = 5 × 5
49 = 7 × 7
จะเห็นกว่า 25 และ 49 ไม่มีตัวประกอบร่วม แต่ 1 เป็นตัวประกอบร่วมของ 25 และ 49
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 25 และ 49 คือ 1
ตอบ ๑
 ตัวอย่างโจทย์ที่มักพบบ่อยในเรื่อง ห.ร.ม.
ตัวอย่าง หาจานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 43 และ 56 แล้วเหลือเศษ 1 และ 2 ตามลาดับ
วิธีทา จานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 43 แล้วเหลือเศษ 1 และหาร 56 แล้วเหลือเศษ 2
แสดงว่าจานวนนับนั้นหาร 43 – 1 = 42, และ 56 – 2 = 54 ได้ลงตัว
นั่นคือ หา ห.ร.ม. ของ 42 และ 54
2)42 54
3)21 27
7 9
ห.ร.ม. ของ 42 และ 54 คือ 2 × 3 = 6
หาจานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 43 และ 55 แล้วเหลือเศษ 1 คือ 6
ตอบ ๖

ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด (ค.ร.น.)

พหุคูณของจานวนนับใด เป็นผลคูณของจานวนนับนั้น ซึ่งสามารถหารด้วยจานวนนับนั้นได้ลงตัว


เช่น พหุคูณของ 3 ได้แก่ 3, 9, 12, 15, 18, ...
แต่ในที่นี้เราจะใช้คาว่า จานวนนับที่เป็นผลคูณ แทนคาว่า พหุคูณ
ผลคูณร่วมของจานวนนับตั้งแต่ 2 จานวนขึ้นไป เป็นจานวนนับที่หารด้วยจานวนนับได้ลงตัว
ผลคูณร่วมที่น้อยที่สุด ใช้อักษรย่อ ค.ร.น.
ค.ร.น. ของจานวนนับตั้งแต่ 2 จานวนขึ้นไป หมายถึง จานวนนับที่น้อยที่สุดที่หารจานวนนับเหล่านั้น
ได้ลงตัว
การหา ห.ร.ม. ทาได้ 3 วิธี
วิธีที่ 1 การหา ค.ร.น. โดยการหาตัวผลคูณร่วม
ตัวอย่าง หา ห.ร.ม. ของ 4, 6 และ 8
วิธีทา จานวนนับที่เป็นผลคูณของ 4 ได้แก่ 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, 36, 40, 44, 48, ....
จานวนนับที่เป็นผลคูณของ 6 ได้แก่ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, ....
จานวนนับที่เป็นผลคูณของ 8 ได้แก่ 8, 16, 24, 32, 40, 48, 56, 64 ....
จานวนนับที่เป็นผลคูณร่วมของ 4, 6 และ 8 ได้แก่ 24, 48, ...
ซึ่งผลคูณร่วมที่น้อยที่สุดของ 4, 6 และ 8 คือ 24
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 4, 6 และ 8 คือ 24
ตอบ ๒๔
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 5

ดูทั้ง 3 จานวนก่อน มีเลขซ้า เอามาตัวเดียว


วิธีที่ 2 การหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ (ข้อนี้คือเลข 3) จากนั้นดู 2 จานวน มีเลข
ตัวอย่าง หา ค.ร.น. ของ 6, 12 และ 15 ซ้ากัน เอามาตัวเดียว (ข้อนี้คือเลข 2)
วิธีทา 6= 3 × 2 จากนั้นเอาตัวที่เหลือทั้งหมดมาคูณ
12 = 3 × 2 × 2
15 = 3 × 5
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6, 12 และ 15 คือ 3 × 2 × 2 × 5 = 60
ตอบ ๖๐
วิธีที่ 3 การหา ค.ร.น. โดยการหาร
ตัวอย่าง หา ค.ร.น. ของ 18, 28 และ 36
วิธีทา
2)18 28 36 หาจานวนนับที่หาร 18, 28 และ 36 ลงตัวแล้วนามาหารทั้งสามจานวน
9) 9 14 18 ห านวนได้แล้วให้หาจานวนนับที่หาร
2) 1 14 2 หากไม่มีจานวนนับใดที่หารทั้งสามจ
1 7 1 ได้สองจานวนมาหารต่อ ส่วนจานวนที่หารไม่ได้ให้คงเป็นเลขเดิมไว้

หากพบว่าไม่มีจานวนใดมาหารได้แล้วนอกจาก 1 จึงสิ้นสุดการหาร
ผลคูณร่วมน้อยที่สุดของ 18, 28 และ 36 หาได้โดย นาตัวหารและผลหารทุกจานวนมาคูณกัน
จะได้ 2 × 9 × 2 × 1 × 7 × 1 = 252
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 18, 28 และ 36 คือ 252
ตอบ ๔
 สังเกตถึงความแตกต่างของการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
นั่นคือ “หา ห.ร.ม. ตัวที่นามาหารต้องหารได้ทุกจานวน”
แต่ “หา ค.ร.น. ถ้ามีสามจานวน หารได้ 2 จานวนก็หารได้”
และ “ห.ร.ม. จะนาเฉพาะตัวหารมาคูณกัน”
แต่ “ค.ร.น. นาทั้งตัวหารและผลหารทุกจานวนมาคูณกัน”

พิจารณาการหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 4, 10, 12 โดยการหาร


2) 4 10 12
2) 2 5 6
1 5 3
จะเห็นว่าในขั้นแรกมี 2 เท่านั้นที่หาร 4, 10 และ 12 ได้ลงตัว
ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2
ในขั้นที่ 2 มี 2 หาร 2 และ 6 ได้แต่หาร 5 ไม่ได้ ถ้าหา ค.ร.น. คือนามา
หารต่อ และ 5 ที่หารไม่ได้ คงไว้
ดังนั้น ค.ร.น. คือ 2 × 2 × 1 × 5 × 3 = 60
ห น้ า | 6 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

 ข้อที่โจทย์มักถามอีกรูปแบบหนึ่งคือเรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม กับ ค.ร.น. ของจานวนนับ 2 จานวน

** ผลคูณของ ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. จะเท่ากับผลคูณของ 2 จานวนนั้น**

พิจารณา หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 15 และ 18 โดยการแยกตัวประกอบ


15 = 3 × 5
18 = 2 × 3 × 3
ดังนั้น ห.ร.ม. เท่ากับ 3
และ ค.ร.น. เท่ากับ 3 × 2 × 3 × 5 = 90
จะเห็นว่า 3 × 90 = 270 และ 15 × 18 = 270
นั่นคือ 3 × 90 = 15 × 18
แสดงว่า ห.ร.ม. คูณกับ ค.ร.น. ของ 15 และ 18 เท่ากับ 15 × 18

ตัวอย่าง จานวนนับ 2 จานวน ถ้าจานวนหนึ่งเป็น 15 และผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 2


จานวนนี้เป็น 135 จานวนนับอีกจานวนคือจานวนใด
วิธีทา จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. กับ ค.ร.น. ของจานวนนับ 2 จานวน
จะได้ 15 ×  = 135
 = 135 ÷ 15
=9
ดังนั้น จานวนนับอีกจานวนหนึ่งคือ 9
ตอบ ๙

โจทย์ปัญหา
พิจารณาโจทย์ปัญหาต่อไปนี้
1) ส้มกองแรกมี 15 ผล ส้มกองที่สองมี 18 ผล และส้มกองที่สามมี 24 ผล ต้องการจัดใส่จาน จานละ
เท่า ๆ กัน จะได้มากที่สุดจานละกี่ผล และได้ทั้งหมดกี่จาน
2) ลูกสามคนมาเยี่ยมแม่พร้อมกันในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2563 หลังจากนั้นลูกคนแรกมาเยี่ยมแม่
ทุก 3 วัน ลูกคนที่สองทุก 4 วัน และลูกคนที่สามทุก 5 วัน ครั้งต่อไปที่ลูกทั้งสามคนจะมาเยี่ยมแม่พร้อมกันอีก
จะตรงกับวันที่ใด
 จากโจทย์การจะพิจารณาว่าจะใช้วิธีการใดในการหาคาตอบ ใช้ ห.ร.ม. หรือ ค.ร.น. อาจมี
หลักการสังเกตง่าย ๆ ดังนี้
ข้อที่ 1 เป็นการแบ่งอย่างละเท่า ๆ กัน และได้มากที่สุด เราอาจเทียบเคียงคาว่าแบ่งอย่างละ
เท่า ๆ กันกับการหาร ดังนั้นข้อที่ 1 จึงหา ห.ร.ม. นั่นหาคือตัวที่หารได้ทั้ง 3 จานวน และตัวหารนั้นต้อง
มากที่สดุ ด้วยเพราะมีคาว่ามากที่สุดจานละกี่ผล ส่วนคาถามว่าได้กี่จาน เราจะนาจานวนจานที่ส้มแต่ละกอง
จัดได้มารวมกัน
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 7

ข้อที่ 2 เป็นการนับวันมาพบแม่ครั้งต่อไปทีละเท่า ๆ กันของลูก ลูกคนแรกมาทุก 3 วัน ครั้ง


ถัดไปก็จะเป็นวันที่ 4, 7, 10, .... ลูกคนที่สองทุก 4 วัน ครั้งต่อไปก็จะเป็นวันที่ 5, 9, 13, 17,.... ลูกคนที่สาม
ทุก 5 วัน ครั้งต่อไปก็จะเป็นวันที่ 6, 11, 16, 21, ... ซึ่งจะต้องหาจนเจอว่าวันที่ตรงกันอีกครัง้ คือวันใด ดังนั้น
จากวิธีการคิดนั่นคือการหา ค.ร.น.ของ 3, 4 และ 5 จากนั้นเอามาบวกเพิ่มหรือนับต่อจากวันที่ 1 มิถุนายน
นั่นเอง

ตัวอย่างที่ 1 ส้มกองแรกมี 15 ผล ส้มกองที่สองมี 18 ผล และส้มกองที่สามมี 24 ผล ต้องการจัดใส่


จาน จานละเท่า ๆ กัน จะได้มากที่สุดจานละกี่ผล และได้ทั้งหมดกี่จาน
วิธีทา หาจานวนส้มที่มากที่สุดที่จัดอย่างละเท่า ๆ กันในแต่ละจานของส้มแต่ละกอง โดยการหา
ห.ร.ม. ของ 15, 18 และ 24
3)15 18 24 เราสามารถบอกได้ทันทีว่าจะจัดได้กองละกี่จาน
5 6 8 โดยดูจากการตั้งหารในขั้นการหา ห.ร.ม. นันคือ
จะได้ ห.ร.ม. ของ 15, 18 และ 24 เท่ากับ 3 5 + 6 + 8 = 19
แสดงว่าจัดส้มใส่จานได้มากที่สุดจานละ 3 ผล
โดย กองที่ 1 จัดได้ 15 ÷ 3 = 5 จาน
กองที่ 2 จัดได้ 18 ÷ 3 = 6 จาน
กองที่ 3 จัดได้ 24 ÷ 3 = 8 จาน
นั่นคือ จัดได้ทั้งหมด 5 + 6 + 8 = 19 จาน
ดังนั้น จัดส้มจานละเท่า ๆ กันได้มากที่สุดจานละ 3 ผล และจัดได้ 19 จาน
ตอบ จัดส้มจานละเท่า ๆ กันได้มากที่สุดจานละ ๓ ผล และจัดได้ ๑๙ จาน
ตัวอย่างที่ 2 ลูกสามคนมาเยี่ยมแม่พร้อมกันในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2563 หลังจากนั้นลูกคนแรกมา
เยี่ยมแม่ทุก 3 วัน ลูกคนที่สองทุก 4 วัน และลูกคนที่สามทุก 5 วัน ครั้งต่อไปที่ลูกทั้งสามคนจะมาเยี่ยมแม่
พร้อมกันอีกจะตรงกับวันที่ใด
วิธีทา หาจานวนวันที่ลูกทั้งสามคนจะมาเยี่ยมแม่พร้อมกันในครั้งถัดไป
โดยหา ค.ร.น. ของ 3, 4 และ 5
1)3 4 5
3 4 5
จะได้ ค.ร.น. ของ 3, 4 และ 5 คือ 3 × 4 × 5 = 60
ดังนั้นลูกทั้งสามจะมาเยี่ยมแม่พร้อมกันอีกใน 60 วันข้างหน้า นั่นคือตรงกับวันที่
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
ตอบ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
ห น้ า | 8 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง การแยกตัวประกอบ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่
จงแยกตัวประกอบของจานวนต่อไปนี้
1) 27 2) 56

3) 65 4) 87

5) 108 6) 169

7) 235 8) 720
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 9

ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การหา ห.ร.ม. โดยการหาตัวหารร่วม


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หา ห.ร.ม. โดยการหาตัวหารร่วม

1) 27, 84

2) 32, 56

3) 8, 16, 40

4) 15, 20, 30
ห น้ า | 10 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 1.3 เรื่อง การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ

1) 24, 54 2) 9, 12

3) 14, 35 4) 14, 28, 56

5) 42, 63, 105 6) 66, 78, 84


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 11

ใบงานที่ 1.4 เรื่อง การหา ห.ร.ม. โดยการหาร


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/4
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หา ห.ร.ม. โดยการหาร

1) 20, 36 2) 26, 65

3) 45, 99 4) 36, 84, 132

5) 45, 60, 90 6) 38, 76, 114


ห น้ า | 12 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 1.5 เรื่อง การหา ค.ร.น. โดยการหาตัวผลคูณร่วม


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หา ค.ร.น. โดยการหาตัวผลคูณร่วม

1) 3, 5

2) 7, 14

3) 5, 6, 7

4) 4, 40, 60
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 13

ใบงานที่ 1.6 เรื่อง การหา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หา ค.ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ

1) 6, 15 2) 9, 21

3) 36, 84 4) 7, 21, 35

5) 72, 126, 162 6) 64, 112, 128


ห น้ า | 14 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 1.7 เรื่อง การหา ค.ร.น. โดยการหาร


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/5
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

หา ค.ร.น. โดยการหาร

1) 24, 56 2) 44, 132

3) 14, 56 4) 96, 120, 136

5) 60, 100, 140 6) 75, 100, 150


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 15

ใบงานที่ 1.8 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม กับ ค.ร.น. ของจานวนนับ 2 จานวน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/6
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาและหาคาตอบ

1. ถ้า ค.ร.น. ของ 12 กับอีกจานวนหนึ่งเป็น 60 และ ห.ร.ม. ของ 2 จานวนนี้เป็น 4 จานวนนับอีกจานวนหนึง่


คือจานวนใด
วิธีทา

ตอบ
2. จานวนนับ 2 จานวน ถ้าจานวนหนึ่งเป็น 16 และผลคูณของ ห.ร.ม. กับ ค.ร.น.ของ 2 จานวนนี้เป็น 384
จานวนนับอีกจานวนหนึง่ คือจานวนใด
วิธีทา

ตอบ

3. ถ้า ห.ร.ม. ของจานวนนับ 2 จานวนเป็น 9 และผลคูณของ 2 จานวนนั้นเป็น 1,053 ค.ร.น. ของ 2 จานวนนี้
เป็นเท่าใด
วิธีทา

ตอบ
ห น้ า | 16 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 1.9 เรื่อง โจทย์ปัญหา (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/6
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาและหาคาตอบ
1. จงหาจานวนนับที่มากที่สุดซึ่งหาร 212 และ 388 แล้วเหลือเศษ 2 และ 3 ตามลาดับ
วิธีทา

ตอบ
2. จานวนนับที่น้อยที่สุดจานวนหนึ่งเมื่อหารด้วย 32 และ 80 แล้วจะเหลือเศษ 1 เท่ากัน ถ้าหารด้วย 3 จะ
เหลือเศษเท่าใด
วิธีทา

ตอบ
3. มีเชือกอยู่สามเส้น ยาวเส้นละ 48, 60 และ 108 เมตร ถ้าตัดแบ่งให้ยาวเส้นละเท่าๆ กันให้ยาวที่สุดเท่าที่จะยาวได้
จะได้เชือกยาวเส้นละกี่เมตร และได้เชือกทั้งหมดกี่เส้น
วิธีทา

ตอบ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 17

ใบงานที่ 1.10 เรื่อง โจทย์ปัญหา (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/6
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาและหาคาตอบ
1. นาฬิกาปลุก 3 เรือน แต่ละเรือนจะปลุกทุกๆ 2 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง ตามลาดับ ถ้านาฬิกาทั้งสามเรือน
ปลุกพร้อมกันครั้งแรกเมื่อเวลา 06.00 น. นาฬิกาทั้งสามเรือนจะปลุกพร้อมกันครั้งที่สองเมื่อเวลาใด
วิธีทา

ตอบ

2. พื้นห้องกว้าง 360 เซนติเมตร และยาว 420 เซนติเมตร ธิดาต้องการปูพื้นห้องด้วยกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส


และใช้กระเบื้องจานวนน้อยที่สุด ธิดาจะต้องใช้กระเบื้องกี่แผ่น และกระเบื้องแต่ละแผ่นมีขนาดเท่าใด
วิธีทา

ตอบ

ข้อ 2 หากใช้การวาดภาพประกอบ
จะช่วยให้เห็นภาพชัดเจนขึ้น
ห น้ า | 18 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

แบบทดสอบบทที่ 1 เรื่อง ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่
ทาเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดเป็นการแยกตัวประกอบของ 24 7. ถ้า ค.ร.น. ของ 21 กับอีกจานวนหนึ่งเป็น 168


ก. 24 = 4 × 6 ข. 24 = 3 × 8 และ ห.ร.ม. ของ 2 จานวนนี้เป็น 3 จานวนนับอีก
ค. 24 = 2 × 2 × 6 ง. 24 = 2 × 2 × 2 × 3 จานวนหนึ่งคือจานวนใด
ก. 22 ข. 24
2. ข้อใดเป็น ห.ร.ม. ของ 16, 30 ค. 35 ง. 36
ก. 2 ข. 4
ค. 8 ง. 15 8. ถ้าต้องการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6
คน หรือ 8 คน หรือ 10 คน จะต้องมีนักเรียน
3. ข้อใดเป็น ห.ร.ม. ของ 20, 36, 48 อย่างน้อยที่สุดกี่คน จึงจะแบ่งนักเรียนแต่ละกลุ่ม
ก. 2 ข. 4
ค. 5 ง. 6 ได้หมดพอดี
ก. 80 คน ข. 100 คน
4. ข้อใดเป็น ค.ร.น.ของ 12 และ 30 ค. 120 คน ง. 160 คน
ก. 20 ข. 48
ค. 60 ง. 72 9. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่ง มีความกว้าง 90
เซนติเมตร ความยาว 126 เซนติเมตร ต้องการแบ่ง
5. ข้อใดเป็น ค.ร.น.ของ 18, 36 และ 54 ออกเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซึ่งมีความยาวของด้าน
ก. 54 ข. 108 ยาวที่สุดเท่าที่จะสามารถแบ่งได้ จงหาว่ารูป
ค. 216 ง. 324
สี่เหลี่ยมจัตุรัสนั้นมีความยาวด้านเป็นเท่าใด
6. จานวนที่น้อยที่สุดที่ 14 และ 21 หารแล้วเหลือ ก. 15 เซนติเมตร ข. 16 เซนติเมตร
เศษ 2 เท่ากัน คือจานวนใด ค. 17 เซนติเมตร ง. 18 เซนติเมตร
ก. 44 ข. 63
ค. 98 ง. 100 10. จากโจทย์ข้อ 9 จะแบ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสได้
ทั้งหมดกี่รูป
ก. 5 รูป ข. 7 รูป
ค. 12 รูป ง. 35 รูป
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 19

เฉลยบทที่ 1
ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
เฉลยใบงานที่ 1.1
1) 27 = 3 × 3 × 3 2) 56 = 2 × 2 × 2 × 7
3) 65 = 5 × 13 4) 87 = 3 × 29
5) 108 = 2 × 2 × 3 ×3 ×3 6) 169 = 13 × 13
7) 235 = 5 × 47 8) 720 = 2 × 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 5
เฉลยใบงานที่ 1.2
1) 3 2) 8 3) 8
4) หา ห.ร.ม. ของ 15, 20 และ 30
วิธีทา จานวนนับที่หาร 15 ลงตัว ได้แก่ 1, 3, 5
จานวนนับที่หาร 20 ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 4, 5, 10, 20
จานวนนับที่หาร 30 ลงตัว ได้แก่ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15, 30
ตัวหารร่วมของ 15, 20 และ 30 คือ 1 และ 5
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 15, 20 และ 30 คือ 5
ตอบ ๕
เฉลยใบงานที่ 1.3
1) 6 2) 3 3) 7 4) 14 5) 21
6) หา ห.ร.ม. ของ 66, 78 และ 84
วิธีทา 66 = 2 × 3 × 11
78 = 2 × 3 × 13
84 = 2 × 2 × 3 × 7
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 66, 78 และ 84 คือ 2 × 3 = 6
ตอบ ๖
เฉลยใบงานที่ 1.4
1) 4 2) 13 3) 9 4) 12 5) 15
6) หา ห.ร.ม. ของ 38, 76 และ 114
วิธีทา 19)38 76 114
2) 2 4 6
1 2 3
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 38, 76 และ 114 คือ 19 × 2 = 38
ตอบ ๓๘

เฉลยใบงานที่ 1.5
1) 15 2) 14 3) 210 4) 120
ห น้ า | 20 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยใบงานที่ 1.6
1) 30 2) 63 3) 252 4) 105 5) 4,536
6) หา ค.ร.น. ของ 64, 112 และ 128
วิธีทา 64 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2
112 = 2 × 2 × 2 × 2 × 7
128 = 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 64, 112 และ 128 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 2 × 7 × 2 = 896
ตอบ ๘๙๖
เฉลยใบงานที่ 1.7
1) 168 2) 132 3) 56 4) 8,160 5) 2,100
6) หา ค.ร.น. ของ 75, 100 และ 150
วิธีทา 25)75 100 150
2) 3 4 6
3) 3 2 3
1 2 1
ดังนั้น ค.ร.น. ของ 64, 112 และ 128 คือ 25 × 2 × 3 × 2 = 300
ตอบ ๓๐๐
เฉลยใบงานที่ 1.8
1) วิธีทา จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม กับ ค.ร.น. ของจานวนนับ 2 จานวนที่ว่าผลคูณของ ห.ร.ม.
กับ ค.ร.น. จะเท่ากับผลคูณของ 2 จานวนนั้น
ให้  แทนจานวนอีกจานวนหนึ่ง
จะได้  × 12 = 4 × 60
 = 240 ÷ 12
 = 20
ดังนั้นอีกจานวนหนึ่งคือ 20
ตอบ ๒๐
2) วิธีทา จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม กับ ค.ร.น. ของจานวนนับ 2 จานวนที่ว่าผลคูณของ ห.ร.ม.
กับ ค.ร.น. จะเท่ากับผลคูณของ 2 จานวนนั้น
ให้  แทนจานวนอีกจานวนหนึ่ง
จะได้  × 16 = 384
 = 384 ÷ 16
 = 24
ดังนั้นอีกจานวนหนึ่งคือ 24
ตอบ ๒๔
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 21

3) วิธีทา จากความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม กับ ค.ร.น. ของจานวนนับ 2 จานวนที่ว่าผลคูณของ ห.ร.ม.


กับ ค.ร.น. จะเท่ากับผลคูณของ 2 จานวนนั้น
ให้  แทน ค.ร.น.
จะได้  × 9 = 1,053
 = 1,053 ÷ 9
 = 117
ดังนั้น ค.ร.น. คือ 117
ตอบ ๑๑๗
เฉลยใบงานที่ 1.9
1. วิธีทา จานวนนับที่มากที่สุดซึ่งหาร 212 และ 388 แล้วเหลือเศษ 2 และ 3 ตามลาดับ
เป็นจานวนนับที่หาร 212 – 2 = 210 และ 388 – 3 = 385 ลงตัวนั่นเอง
หา ห.ร.ม. ของ 210 และ 385
7)210 385
5) 30 55
6 11
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 210 และ 385 คือ 7 × 5 = 35
นั่นคือ จานวนนับที่มากที่สุดซึ่งหาร 212 และ 388 แล้วเหลือเศษ 2 และ 3 ตามลาดับ คือ 35
ตอบ ๓๕
2. วิธีทา จานวนนับที่น้อยที่สุดจานวนหนึ่งเมือ่ หารด้วย 32 และ 80 แล้วจะเหลือเศษ 1 เท่ากัน
หาได้โดยหา ค.ร.น. ของ 32 และ 80 จากนั้นบวกด้วย 1
8)32 80
2) 4 10
2 5
ค.ร.น. ของ 32 และ 80 คือ 8 × 2 × 2 × 5 = 160
ดังนั้นจานวนนับที่น้อยที่สุดเมื่อหารด้วย 32 และ 80 แล้วเหลือเศษ 1 คือ 160 + 1 = 161
และ 161 ÷ 3 ได้ 53 เศษ 2
นั่นคือ จานวนนับที่น้อยที่สุดจานวนหนึ่งเมื่อหารด้วย 32 และ 80 แล้วจะเหลือเศษ 1 เท่ากัน ถ้า
หารด้วย 3 จะเหลือเศษ 2
ตอบ ๒
3. วิธีทา หา ห.ร.ม. ของ 48, 60 และ 108
2)48 60 108
2)24 30 54
3)12 15 27
4 5 9
ห น้ า | 22 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

นั่นคือ ห.ร.ม. คือ 2 × 2 × 3 = 12


ดังนั้น จะแบ่งเชือกได้ยาวที่สุดเส้นละ 12 เมตร
เชือกเส้นแรกแบ่งได้ 48 ÷ 12 = 4 เส้น
เชือกเส้นที่สองแบ่งได้ 60 ÷ 12 = 5 เส้น
เชือกเส้นที่สามแบ่งได้ 108 ÷ 12 = 9 เส้น
ดังนั้น จะได้เชือกทั้งหมด 4 + 5 + 9 = 18 เส้น
แสดงว่าจะแบ่งเชือกได้ยาวเส้นละ 12 เส้น และได้เชือกทั้งหมด 18 เส้น
ตอบ แบ่งเชือกได้ยาวเส้นละ ๑๒ เส้น และได้เชือกทั้งหมด ๑๘ เส้น
เฉลยใบงานที่ 1.10
1. วิธีทา นาฬิกาเรือนที่ 1 ปลุกทุกๆ 2 ชั่วโมง นาฬิกาเรือนที่ 2 ปลุกทุกๆ 3 ชั่วโมง นาฬิกาเรือนที่ 3 ปลุก
ทุกๆ 4 ชั่วโมง หาเวลาที่นาฬิกาจะปลุกพร้อมกันครั้งต่อไปโดยหา ค.ร.น. ของ 2, 3 และ 4
2) 2 3 4
1 3 2
นั่นคือ ค.ร.น. ของ 2, 3 และ 4 คือ 2 × 1 × 3 × 2 = 12
ดังนั้น นาฬิกาทั้งสามเรือนจะปลุกพร้อมกันครั้งที่สองเมื่อเวลาผ่านไป 12 ชั่วโมง
นาฬิกาทั้งสามเรือน ปลุกครั้งแรกเมื่อเวลา 06.00 น.
ดังนั้น จะปลุกพร้อมกันครั้งที่สอง เวลา 18.00 น.
ตอบ จะปลุกพร้อมกันครั้งที่สอง เวลา ๑๘.๐๐ น.
2. วิธีทา หาความยาวของด้านของกระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มากที่สุด โดยหา ห.ร.ม. ของ 360 และ 420
60)360 420
6 7
จะได้ ห.ร.ม. ของ 360 และ 420 คือ 60
แสดงว่า ต้องใช้กระเบื้องรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 60 เซนติเมตร
ต้องการปูพื้นห้องรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งกว้าง 360 เซนติเมตร ยาว 420 เซนติเมตร
แสดงว่า ปูกระเบื้องตามด้านกว้างได้ 360 ÷ 60 = 6 แถว
และปูกระเบื้องตามด้านยาวได้ 420 ÷ 60 = 7 แถว
ดังนั้นธิดาจะต้องใช้กระเบื60้อซม.ง 6 × 7 = 42 แผ่น และกระเบื้องแต่ละแผ่นมีความยาวด้านละ
60 เซนติเมตร ดังรูป 60 ซม.

360 ซม.

420 ซม.
ตอบ ใช้กระเบื้อง ๔๒ แผ่น และกระเบื้องแต่ละแผ่นมีความยาวด้านละ ๖๐ เซนติเมตร
เฉลยแบบทดสอบบทที่ 1
1. ง 2. ก 3. ข 4. ค 5. ข
6. ก 7. ข 8. ค 9. ง 10. ง
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 23

บทที่ 2
เศษส่วน
การเปรียบเทียบและเรียงลาดับ
 การเปรียบเทียบเศษส่วนและจานวนคละ
มีหลักการพิจารณา ดังนี้

1. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ให้พจิ ารณาตัวเศษ


3 6
เช่น เปรียบเทียบ 7 กับ 7 จะเห็นว่ามีตัวส่วนเดียวกันคือ 7
3 6
พิจารณาตัวเศษ 3 < 6 ดังนั้น <
7 7

2. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวเศษเท่ากัน และตัวส่วนไม่เท่ากัน
3 3
ถ้าตัวเศษเท่ากัน ตัวส่วนน้อยกว่าค่าของเศษส่วนนั้นจะมากกว่า เช่น >8
4

3 3
4 8

𝟏
3. การเปรียบเทียบเศษส่วนโดยใช้ 𝟐 เป็นเกณฑ์
1 2 1
พิจารณาเศษส่วนที่เท่ากับ 2 เช่น 4 เพราะครึ่งหนึ่งของ 4 เท่ากับ 2 ดังนั้น เศษส่วนที่เท่ากับ 2 ได้แก่
3 4 5 6
เป็นต้น
6 8 10 12
7 1
ตัวอย่างเช่น มากกว่า เพราะ ครึ่งหนึ่งของ 10 คือ 5 ซึ่ง 7 > 5
10 2
9 1
น้อยกว่า 2 เพราะ ครึ่งหนึ่งของ 20 คือ 10 ซึ่ง 9 < 10
20

7 9 7 9 7 1 9 1
พิจารณาการเปรียบเทียบ 10 กับ จึงได้ว่า > เพราะ 20 > และ 20 <
20 10 20 2 2
ห น้ า | 24 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

𝟏
4. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน กรณีพิจารณาโดยใช้ 𝟐 เป็นเกณฑ์ แล้ว
ไม่สามารถบอกได้ว่าจานวนใดมากกว่า
5 15
ตัวอย่าง เปรียบเทียบ 6
กับ 16
วิธีทา หา ค.ร.น. ของ 6 กับ 16 ได้ 48
5 5×8 40
= =
6 6×8 48
15 15×3 45
= =
16 16×3 48
40 45 5 15
ซึ่ง < ดังนั้น < 16
48 48 6
5 15
ตอบ < 16
6

5. การเปรียบเทียบจานวนคละ
การเปรียบเทียบจานวนคละ ให้เปรียบเทียบจานวนนับก่อน
ถ้าจานวนนับใดมากกว่า จานวนคละนั้นจะมากกว่า
ถ้าจานวนนับเท่ากันให้เปรียบเทียบเศษส่วน เศษส่วนใดมากกว่า จานวนคละนั้นจะมากกว่า
ตัวอย่าง เปรียบเทียบ 5 13
18
กับ 140
27
140 5
วิธีทา เนื่องจาก =5
27 27
13 5
จานวนนับ เท่ากับ 5 ทั้งสองจานวน จึงเปรียบเทียบ 18 กับ 27

ค.ร.น. ของ 18 และ 27 คือ 54 13 5 1


13 13×3 39
หรือเปรียบเทียบ กับ โดยใช้เกณฑ์
18 27 2
= =
18 18×3 54 13 1
ก็ได้เช่นเดียวกัน เนื่อง จาก 18 > 2 และ
5 5×2 10
= = 5 1 13 5
27 27×2 54 < 2 ดังนั้น 18 > 27
27
39 10 13 5
ซึ่ง > ดังนั้น 5 18 > 5 27
54 54
13
นั่นคือ 5 18 > 140
27
13
ตอบ 5 18 > 140
27
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 25

 การเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละ
การเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละ ใช้วิธีเปรียบเทียบจานวนทีละคู่ แล้วเรียงลาดับจากมากไป
หาน้อย หรือจากน้อยไปมาก
หรือการเรียงลาดับเศษส่วนให้พิจารณาจานวนที่แตกต่างจากพวก หรือจัดกลุ่มก่อน ได้แก่
1
น้อยกว่า 2
1
มากกว่า 2 แต่น้อยกว่า 1
มากกว่า 1 นั่นคือเป็นเศษเกินและจานวนคละ

การเรียงลาดับเศษเกินและจานวนคละ
เปลี่ยนเศษเกินให้เป็นจานวนคละ แล้วก็ดู
จานวนนับเพื่อเรียงลาดับ ถ้าจานวนนับ
ไม่เท่ากันดูจานวนนับแล้วจัดเรียงลาดับได้ทันที
แต่ถ้าเท่ากันให้เปรียบเทียบเศษส่วนแท้

3 1 18 19 38
ตัวอย่าง จงเรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปหาน้อย 4 5 , 5 3 , , ,
5 4 7
18 3 19 3 38 3
วิธีคิด ทาเศษเกินให้เป็นจานวนคละ = 35 , = 44 , = 57
5 4 7
3 1 3 3 3
นั่นคือ เปรียบเทียบ 4 5 , 5 3 , 3 5 , 4 4 , 5 7
3 18
พบว่า 3 5 น้อยที่สุด นั่นคือ น้อยที่สุด
5
1 3 1 3
เปรียบเทียบ 5 กับ 5 เพราะ 5 = 5 จึงเปรียบเทียบ กับ
3 7 3 7

ค.ร.น. ของ 3 และ 7 คือ 21


1 1×7 7
= = 21
3 3×7
3 3×3 9
= = 21
7 7×3
7 9 1 3 1 3
ซึ่ง < จะได้ < นั่นคือ 5 <5
21 21 3 7 3 7
1 38
ซึ่งก็คือ 5 3 < 7
ห น้ า | 26 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

3 3 3 3
เปรียบเทียบ 4 5 กับ 4 4 เพราะ 4=4 เปรียบเทียบ กับ
5 4

ค.ร.น. ของ 5 กับ 4 คือ 20


3 3×4 12
= =
5 5×4 20
3 3×5 15
= =
4 4×5 20
12 15 3 3 3 3
ซึ่ง < จะได้ < นั่นคือ 4 5 < 4 4
20 20 5 4
3 19
ซึ่งก็คือ 4 5 < 4
38 1 19 3 18
ดังนั้น เรียงลาดับเศษส่วนจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ 53 45
7 4 5
38 1 19 3 18
ตอบ 5 4
7 3 4 5 5

การบวก การลบ

 การบวก การลบเศษส่วน

การบวกและการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนไม่เท่ากัน ต้องทาตัวส่วนให้เท่ากัน โดยอาจทาให้เท่ากับ


ค.ร.น. ของตัวส่วน แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ
11 19
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวก 15 + 21

วิธีทา หา ค.ร.น. ของ 15 กับ 21 ได้ 105


11 19 11×7 19×5
+ = +
15 21 15×7 21×5
77 95
= 105 + 105
172
= 105
67
=1
105
67
ตอบ 1 105
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 27

9 1
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลบ 10 − 4

วิธีทา หา ค.ร.น. ของ 10 กับ 4 ได้ 20


9 1 9×2 1×5
− = −
10 4 10×2 4×5
18 5
= 20 − 20
13
= 20
13
ตอบ 20

การบวก การลบจานวนคละ

o การบวกจานวนคละ อาจทาได้โดย นาจานวนนับบวกกับจานวนนับ และ


เศษส่วนบวกกับเศษส่วน ถ้าผลบวกของเศษส่วนกับเศษส่วนอยูใ่ นรูป
เศษเกิน ให้ทาเป็นจานวนคละ แล้วนาจานวนนับของจานวนคละไปบวกกับ
ผลบวกของจานวนนับ

o การลบจานวนคละ อาจทาได้โดย นาจานวนนับลบกับจานวนนับ และ


เศษส่วนลบกับเศษส่วน ถ้าตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบ ให้กระจายผลลบของ
จานวนนับมา 1 แล้วนาไปบวกกับตัวตั้งจากนั้นจึงหาผลลบ

o การบวกและการลบจานวนคละ อาจเขียนจานวนคละในรูปเศษเกิน
แล้วจึงหาผลบวกหรือผลลบ

2 4
ตัวอย่างที่ 1 13 + 36
วิธีทา ค.ร.น. ของ 3 และ 6 คือ 6
2 4 2 4
1 3 + 3 6 = (1 + 3) + (3 + )
6
2 4
= (1+3 ) + ( 3 + )
6
ห น้ า | 28 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

2 4 2×2 4
1 +3 =4 + ( + )
3 6 3×2 6
4 4
= 4 + ( 6 + 6)
8
=4+ 6
4
=4 + 3
1
= 4 + (1 + 3)
1
= ( 4 + 1) +3
1
=5 +
3
1
= 53
1
ตอบ 5 3
4 5
ตัวอย่างที่ 2 69 − 26
วิธีท่ี 1 ค.ร.น. ของ 9 และ 6 คือ 18
4 5 4 5
6 −2 = (62) + ( − )
9 6 9 6
4×2 5×3
= 4 + ( 9×2 − )
6×3
8 15
=4 + ( − )
18 18
8 15
= 3 + ( 1 + 18 − )
18
18 8 15
= 3 + (18 + − )
18 18
26 15
= 3 + ( 18 − )
18
11
= 3 18
11
ตอบ 3 18
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 29

4 5 58 17
วิธีที่ 2 6 9 − 2 6 = 9
− 6
58×2 17×3
= 9×2
− 6×3
116 51
= −
18 18
65
= 18
11
= 3 18
11
ตอบ 3 18

การบวก ลบ คูณ หารระคน

ข้อตกลงเกี่ยวกับลาดับขั้นการคานวณที่มากกว่า 1 ขั้นตอน

ขั้นที่ 1 คานวณในวงเล็บ (ถ้ามี)


ขั้นที่ 2 คูณ หรือ หาร โดยคานวณจากซ้ายไปขวา
ขั้นที่ 3 บวก หรือ ลบ โดยคานวณจากซ้ายไปขวา

4 1 2 1
ตัวอย่างที่ 1 หาผลลัพธ์ของ ( 5 + 1 2 ) × ( 3 − )
6
4 1 2 1 4 3 2×2 1
วิธีทา (5 +12) × (3 − ) = (5 + ) × ( 3×2 − )
6 2 6
4×2 3×5 4 1
= ( 5×2 + ) ×(6 − )
2×5 6
8 15 3
= ( 10 + ) ×
10 6
23 1
= ×
10 2
23
= 20
3
= 1 20
3
ตอบ 1 20
ห น้ า | 30 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

4 1 2 1
ตัวอย่างที่ 2 5
+12 × 3
− 6
4 1 2 1 4 1 2 1
วิธีทา +12 × − = + ( 12 × ) −
5 3 6 5 3 6
4 3 2 1
= + (2 × ) −
5 3 6
4 1
= +1−6
5
9 1
= −
5 6
54−5
= 30
49
=
30
19
= 1 30
19
ตอบ 1 30 จะเห็นว่าเศษส่วนชุดเดียวกัน
มีวงเล็บและไม่มีวงเล็บ
จะได้คาตอบไม่เหมือนกัน

1 3 5 1 3 5 1 3 5 2 3 5
+ ÷ = +( ÷ ) ( + )÷ = ( + )÷
2 4 8 2 4 8 2 4 8 4 4 8
5 5
=
1 3
+ (4 × 5)
8 =4÷8
2
5 8
1
=2 +
6 =4×5
5
5 + 12 =2
= 10
17
= 10
7
= 1 10
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 31

โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคนเศษส่วน เมื่ออ่านโจทย์แล้วให้พิจารณาสิ่งที่
โจทย์ถาม และสิ่งที่โจทย์บอก นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาวิธีหาคาตอบโดยการบวก ลบ คูณ หรือหาร ทีละขั้น
ซึ่งในบางโจทย์ปัญหาอาจไม่ต้องเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์แต่ใช้การคานวณไปทีละขั้นตามข้อมูลที่โจทย์ให้
มาได้
7
ตัวอย่างที่ 1 พ่อมีเงินเดือน 42,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายในบ้าน 12 ของเงินเดือนทั้งหมด ผ่อนรถยนต์
2
ของค่าใช้จ่ายในบ้าน ส่วนที่เหลือเป็นค่าใช้จ่ายส่วนตัว พ่อมีค่าใช้จ่ายส่วนตัวเท่าใด
5

 จากสิ่งที่โจทย์ให้ต้องคิดไปทีละขั้นดังนี้
7
ขั้นที่ 1 หาค่าใช้จ่ายในบ้าน โดยนา 12 × 42,000
2
ขั้นที่ 2 หาค่าผ่อนรถยนต์ โดยนา 5 คูณค่าใช้จ่ายที่หาได้
ในขั้นที่ 1
ขั้นที่ 3 นาค่าใช้จ่ายในบ้านรวมกับค่าผ่อนรถยนต์
ขั้นที่ 4 หาค่าใช้จ่ายส่วนตัวโดยนาค่าใช้จ่ายในบ้านรวมกับ
ค่าผ่อนรถยนต์ลบออกจากเงินเดือนทั้งหมด

วิธีทา พ่อมีเงินเดือน 42,000 บาท


7
เป็นค่าใช้จ่ายในบ้าน ของเงินเดือนทั้งหมด
12
7
คิดเป็นค่าใช้จ่ายในบ้าน 12 × 42,000 = 24,500 บาท
2
ผ่อนรถยนต์ ของค่าใช้จ่ายในบ้าน
5
2
คิดเป็นค่าผ่อนรถยนต์ × 24,500 = 9,800 บาท
5
รวมค่าใช้จ่ายในบ้านและค่าผ่อนรถยนต์ 24,500 + 9,800 = 34,300 บาท
ส่วนที่เหลือเป็นค่าใช้จ่ายส่วนตัว พ่อมีค่าใช้จ่ายส่วนตัว 42,000 – 34,300 = 7,700 บาท
ตอบ ๗,๗๐๐ บาท
ห น้ า | 32 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

3 3
ตัวอย่างที่ 2 แม่ค้ามีมังคุด 150 กิโลกรัม วันแรกขายไป 5 ของมังคุดที่ซื้อมา วันที่สองขายไป 10
ของมังคุดที่ซื้อมา รวมสองวันแม่ค้าขายมังคุดได้กี่กิโลกรัม และเหลือเท่าใด

 จากสิ่งที่โจทย์ให้สามารถคิดได้ 2 วิธี ดังนี้


วิธีที่ 1 หาผลรวมของมังคุดที่ขายได้ในวันแรกและวันที่สอง
รวมกันโดยการบวกเป็นเศษส่วนก่อน แล้วจึงนาไป
คูณกับมังคุดทั้งหมด และหาที่เหลือโดยการลบ
3
วิธีที่ 2 หามังคุดที่ขายในวันแรกก่อนโดยนา 5 × 150
3
และหามังคุดที่ขายได้ในวันที่สองโดยนา 10 × 150
จากนั้นจึงนา 2 วันที่ขายได้มาบวกกันแล้วหาที่เหลือ
โดยการลบ

วิธีท่ี 1 แม่ค้ามีมังคุด 150 กิโลกรัม


3
วันแรกขายไป ของมังคุดที่ซื้อมา
5
3
วันที่สองขายไป ของมังคุดที่ซื้อมา
10
3 3 9
รวมสองวันแม่ค้าขายมังคุด 5  10 = 10 ของมังคุดที่ซื้อมา
9
รวมสองวันขายมังคุด × 150 = 135 กิโลกรัม
10
เหลือมังคุด 150 – 135 = 15 กิโลกรัม
ตอบ รวมสองวันขายมังคุดได้ ๑๓๕ กิโลกรัม เหลือ ๑๕ กิโลกรัม

วิธีท่ี 2 แม่ค้ามีมังคุด 150 กิโลกรัม


3
วันแรกขายไป ของมังคุดที่ซื้อมา
5
3
วันแรกขายไปคิดเป็น × 150 = 90 กิโลกรัม
5
3
วันที่สองขายไป ของมังคุดที่ซื้อมา
10
3
วันที่สองขายไปคิดเป็น × 150 = 45 กิโลกรัม
10
รวมสองวันแม่ค้าขายมังคุด 90 + 45 = 135 กิโลกรัม
เหลือมังคุด 150 – 135 = 15 กิโลกรัม
ตอบ รวมสองวันขายมังคุดได้ ๑๓๕ กิโลกรัม เหลือ ๑๕ กิโลกรัม
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 33

2
ตัวอย่างที่ 3 ฟาร์มเป็ดของชาญชัยมีเป็ดตัวผู้ ของเป็ดทั้งหมด ที่เหลือเป็นเป็ดตัวเมีย 243 ตัว
5
ชาญชัยเลี้ยงเป็ดทั้งหมดกี่ตัว

 จากสิ่งที่โจทย์ให้ต้องคิดไปทีละขั้นดังนี้
2
ขั้นที่ 1 เนื่องจากเป็ดตัวผูม้ ี (มี 2 ส่วนจาก 5 ส่วน)
5
5
นั่นคือมีเป็ดทั้งหมดมี 5 หาเป็ดตัวเมีย
โดยการลบเป็ดทั้งหมดด้วยเป็ดตัวผู้
3
จะได้เป็ดตัวเมีย (มี 3 ส่วนจาก 5 ส่วน)
5
ขั้นที่ 2 เทียบบัญญัติไตรยางศ์จากเป็ดตัวเมีย 3 ใน 5 ส่วน
คิดเป็น 243 ตัว หา 5 ส่วนที่เป็นเป็ดทั้งหมด

5 2
วิธีทา มีเป็ดทั้งหมด 5 เป็นเป็ดตัวผู้ ของเป็ดทั้งหมด
5
5 2 3
ดังนั้น มีเป็ดตัวเมีย 5 − 5 = 5 ของเป็ดทั้งหมด
แสดงว่า เป็ด 3 ส่วน คิดเป็น 243 ตัว
243
เป็ด 1 ส่วน คิดเป็น ตัว
3
243
เป็ด 5 ส่วน คิดเป็น 5×
3
= 405 ตัว
ดังนั้น ชาญชัยเลี้ยงเป็ดทั้งหมด 405 ตัว
ตอบ ๔๐๕ ตัว
ห น้ า | 34 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การเปรียบเทียบเศษส่วนและจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีเปรียบเทียบเศษส่วน
4 6 7 9
1. 5 กับ 2. 12 กับ
7 15

3 4 27 13
3. 3 4 กับ 3 7 4. กับ
5 2

11 31 23 33
5. กับ 6. 12 กับ
8 24 18
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 35

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การเรียงลาดับเศษส่วนและจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพี ใบงานที
ชคณิต่ 2.2ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

7 23 14 5 27
1. แสดงวิธีเรียงลา ดับจากมากไปน้อย 3 9 , , , 48 ,
7 3 5

18 3 35 9 17
2. แสดงวิธีเรียงลาดับจากน้อยไปมาก ,1 , ,2 ,
7 7 6 11 3
ห น้ า | 36 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 2.3 เรื่อง การบวกและการลบเศษส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/7
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
11 7 7 1
1) 12 + 2) 9 +
18 6

13 9 4 3
3) 15 + 4) 5 −
20 7

7 7 13 17
5) 8 − 6) 18 −
12 27
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 37

ใบงานที่ 2.4 เรื่อง การบวกและการลบจานวนคละ


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/7
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
1 2 4 7
1) 3 2 + 4 3 2) 1 8 + 3 12

5 3 1 2
3) 4 10 − 2 15 4) 6 6 − 5 5
ห น้ า | 38 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 2.5 เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารระคน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/7
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
4 1 2 4 13 2 6 8
1) ( 2 7 + 3 ) × ÷9 2) − ÷ + 4 15
5 18 7 21

7 16 6 12 9 1 2 25
3) 3 × − ÷ 4) 2 −1 +3 ×
8 5 11 33 11 2 5 34
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 39

ใบงานที่ 2.6 เรื่อง โจทย์ปัญหา (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/8
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
3 2 1
1. พ่อค้ามีสายยางรดน้ายาว 48 5 เมตร วันแรกขายไป 3 ของความยาวสายยางที่มีอยู่ วันที่สองขายได้ 3
ของความยาวสายยางที่เหลืออยู่ วันที่สองพ่อค้าขายสายยางรดน้าได้กี่เมตร

4
2. วิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเต็ม 80 คะแนน นาวีสอบได้ ของคะแนนเต็ม และวีณาสอบได้น้อยกว่านาวี 7
5
คะแนน วีณาสอบได้กี่คะแนน
ห น้ า | 40 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 2.7 เรื่อง โจทย์ปัญหา (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/8
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาคาตอบ
1 3
1. ไม้ท่อนหนึ่งยาว 250 เซนติเมตร ปักอยู่ในดิน 5 ของความยาวของไม้ทั้งท่อน ไม้จมอยู่น้าอีก 10 ของ
ความยาวของไม้ทั้งท่อน ส่วนที่โผล่พ้นน้ายาวเท่าไร

3 1
2. แม่ใช้เงินซื้อชุดนักเรียน ของเงินที่มีอยู่ และซื้อชุดลูกเสือ ของเงินที่มีอยู่ แม่เหลือเงิน 225 บาท
5 4
เดิมแม่มีเงินกี่บาท
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 41

แบบทดสอบบทที่ 2 เรื่อง เศษส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/1, ป.6/7, ป.6/8
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

ทาเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ข้อใดถูกต้อง 2 1 8 3
6. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ 3 1 4 × 15 + 4
4 5
ก. 5 > 6 ข. 2 14 > 95 3 3
ก. 14 ข. 4
5 2 2 2 3
ค. 7 < 3 ง. 7 > 6 ค. 1 14 ง. 1 34

2. ข้อใดเรียงลาดับจากมากไปน้อยได้ถูกต้อง 7. ถังน้ามันมีความจุ 40 ลิตร ในถังมีน้ามัน


7 3
12 14 3 1 เชื้อเพลิง ถัง รั่วไป ถัง จะเหลือน้ามัน
ก. 2 8 5
5 3 7 6 เชื้อเพลิงอยู่ในถังกี่ลิตร
ข. 2 16 12 14
5 3
3
7 ก. 9 ลิตร ข. 10 ลิตร
12 1 14 3 ค. 11 ลิตร ง. 12 ลิตร
ค. 2
5 6 3 7
2
14 12 1 3 8. ลุงมีที่ดิน 24 ไร่ แบ่งขายแปลงละ 5 ไร่ ขาย
ง. 2
3 5 6 7 ราคาแปลงละ 15,000 บาท ขายได้เงินเท่าไร
13 15 ก. 600,000 บาท ข. 700,000 บาท
3. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ +
ค. 800,000 บาท ง. 900,000 บาท
4 6
69 3
ก. 24 ข. 5 24 1
23 9. แม่มีเงิน 8,000 บาท ซื้อชุดนักเรียน ของเงิน
ค. 5 34 ง. 24 1
5
ที่มีอยู่ แล้วซื้อรองเท้าและถุงเท้าอีก 10 ของเงิน
13 13
4. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ 15  18 ที่เหลือ แม่เหลือเงินอีกกี่บาท
13 13 ก. 5,760 บาท ข. 6,760 บาท
ก. 90 ข. 45
ค. 7,560 บาท ง. 7,650 บาท
13 13
ค. 18 ง. 15
10. แม่ค้าซื้อทุเรียนมา 21 25 กิโลกรัม ราคา
5. ข้อใดเป็นผลลัพธ์ของ 4 57  14
3
× 21 กิโลกรัมละ 25 บาท นาไปขายกิโลกรัมละ 35 บาท
3 3 อยากทราบว่าขายทุเรียนได้กาไรกี่บาท
ก. 1 14 ข. 14
13
ก. 214 บาท ข. 535 บาท
ค. 1 13
14
ง. 14 ค. 749 บาท ง. 794 บาท
ห น้ า | 42 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยบทที่ 2
เศษส่วน

เฉลยใบงานที่ 2.1
4 6 7 9 3 4
1. 5 < 2. 12 < 3. 3 4 > 3 7
7 15
27 13 11 31
4. < 5. >
5 2 8 24
23 11 33 15
6. วิธีทา = 1 12 และ = 1 18
12 18
11 15
เนื่องจากจานวนนับเท่ากัน เปรียบเทียบ 12 กับ 18

หา ค.ร.น. ของ 12 กับ 18 ได้ 36


11 11×3 33
= =
12 12×3 36
15 15×2 30
= =
18 18×2 36
33 30 11 15
ซึ่ง > จะได้ >
36 36 12 18
23 33
ดังนั้น >
12 18
23 33
ตอบ >
12 18

เฉลยใบงานที่ 2.2
27 14 5 7 23
1) เรียงจากมากไปน้อย 5 , 3 , 4 8 , 3 9 , 7
18 3 35 9 17
2) วิธีทา ให้เรียงลาดับจากน้อยไปมาก ,1 , ,2 ,
7 7 6 11 3
18 4 35 5 17 2
ทาเศษเกินให้เป็นจานวนคละ = 27 , = 56 , =53
7 6 3
3
 พิจารณาที่จานวนนับ พบว่า 1 7 น้อยที่สุด
4 9 4 9
 เปรียบเทียบ 2 7 กับ 2 11 เพราะ 2 = 2 เปรียบเทียบ กับ
7 11
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 43

ค.ร.น. ของ 7 กับ 11 คือ 77


4 4×11 44
= =
7 7×11 77
9 9×7 63
= =
11 11×7 77
44 63 4 9
ซึ่ง < จะได้ <
77 77 7 11
18 9
นั่นคือ < 2 11
7
5 2 5 2
 เปรียบเทียบ 5 6 กับ 5 3 เพราะ 5=5 เปรียบเทียบ กับ
6 3

ค.ร.น. ของ 6 กับ 3 คือ 6


2 2×2 4
= =
3 3×2 6
5 4 5 2
ซึ่ง 6 > จะได้ 5 6 > 5 3
6
35 17
นั่นคือ >
6 3
3 18 9 17 35
ดังนั้น เรียงลาดับจากน้อยไปมาก ได้ดังนี้ 1 7 2 11
7 3 6
3 18 9 17 35
ตอบ 1 7 2 11
7 3 6

เฉลยใบงานที่ 2.3
11 17
1) 1 36 2) 3) 1 19
60
18
13 7
4) 5)
35 24

6) วิธีทา ค.ร.น. ของ 18 กับ 27 คือ 54


13 17 13×3 17×2
− = −
18 27 18×3 27×2
39 34
= 54 − 54
5
= 54
5
ตอบ
54
ห น้ า | 44 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยใบงานที่ 2.4
1 1 3
1) 8 6 2) 5 12 3) 2 10

4) วิธีทา ค.ร.น. ของ 6 กับ 5 คือ 30


1 2 37 27
66 − 55 = −
6 5
37×5 27×6
= −
6×5 5×6
185 162
= −
30 30
23
= 30
23
ตอบ 30

เฉลยใบงานที่ 2.5
4 1 2 4 18 1 2 9
1) วิธีทา ( 27 + ) × ÷ = ( + ) × ×4
3 5 9 7 3 5
54+7 9
= ( ) ×
21 10
61 9
= ×
21 10
183
= 70
43
= 2 70
43
ตอบ 2 70

13 2 6 8 13 2 6 8
2) วิธีทา − ÷ +4 = − ( ÷ ) +4
18 7 21 15 18 7 21 15
13 2 21 68
= − (7 × ) +
8 6 15
13 68
= − 1 +
8 15
13 8 68
= − +
8 8 15
5 68
= +
8 15
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 45

5×15 68×8
= +
8×15 15×8
75 544
= +
120 120
619
=
120
19
= 5 120
19
ตอบ 5 120
7 16 6 12 7 16 6 12
3) วิธีทา 3 × − ÷ = (3 × ) − ( ÷ )
8 5 11 33 8 5 11 33
31 16 6 33
= ( × )− ( × )
8 5 11 12
62 3
= −
5 2
124−15
=
10
109
= 10
9
= 10 10
9
ตอบ 10
10
9 1 2 25 31 3 17 25
4) วิธีทา 2 11 − 1 2 + 3 5 × = − + ( × )
34 11 2 5 34
31 3 5
= − +
11 2 2
62 33 55
= − +
22 22 22
84
= 22
42
= 11
9
= 3 11
9
ตอบ 3 11
ห น้ า | 46 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยใบงานที่ 2.6
3
1. วิธีทา พ่อค้ามีสายยางรดน้ายาว 48 5 เมตร
2
วันแรกขายไป ของความยาวสายยางที่มีอยู่
3
2 3 2 243
วันแรกขายไป ×48 = × เมตร
3 5 3 5
162
= 5 เมตร
3 162 243 162
เหลือสายยาง 48 5 − 5 = 5 − 5 เมตร
81
= 5 เมตร
1
วันที่สองขายได้ ของความยาวสายยางที่เหลืออยู่
3
1 81 27
วันที่สองพ่อค้าขายสายยางรดน้าได้ 3 × = เมตร
5 5
2
= 5
5
เมตร
2
ตอบ 5
5
เมตร
2. วิธีทา วิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเต็ม 80 คะแนน
4
นาวีสอบได้ ของคะแนนเต็ม
5
4
นาวีสอบได้ ×80 = 64 คะแนน
5
วีณาสอบได้น้อยกว่านาวี 7 คะแนน
วีณาสอบได้ 64 – 7 = 57 คะแนน
ตอบ ๕๗ คะแนน
เฉลยใบงานที่ 2.7
1. วิธีทา ไม้ท่อนหนึ่งยาว 250 เซนติเมตร
1
ปักอยู่ในดิน 5
ของความยาวของไม้ทั้งท่อน
1
ไม้ปักอยู่ในดิน × 250 = 50 เซนติเมตร
5
3
ไม้จมอยู่น้าอีก ของความยาวของไม้ทั้งท่อน
10
3
ไม้จมน้า × 250 = 75 เซนติเมตร
10
จะได้ส่วนที่ปักอยู่ในดินกับจมอยู่ในน้า 50 + 75 = 125 เซนติเมตร
ส่วนที่โผล่พ้นน้ายาว 250 – 125 = 125 เซนติเมตร
ตอบ ๑๒๕ เซนติเมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 47

3
2. วิธีทา แม่ใช้เงินซื้อชุดนักเรียน ของเงินที่มีอยู่
5
1
ซื้อชุดลูกเสือ 4
ของเงินที่มีอยู่
3 1 17
รวมแม่ใช้เงินซื้อชุดนักเรียนและชุดลูกเสือ + = ของเงินที่มีอยู่
4 5 20
20 17 3
แสดงว่าแม่เหลือเงินคิดเป็นเศษส่วน − 20 = 20 ของเงินที่มีอยู่
20
เนื่องจากแม่เหลือเงิน 225 บาท
เงิน 3 ส่วน คิดเป็น 225 บาท
225
เงิน 1 ส่วน คิดเป็น 3 บาท
เงิน 20 ส่วน คิดเป็น 20× 225
3
= 1,500 บาท
แสดงว่า เดิมแม่มีเงิน 1,500 บาท
ตอบ ๑,๕๐๐ บาท
เฉลยแบบทดสอบบทที่ 2
1. ข 2. ง 3. ค 4. ก 5. ข
6. ข 7. ค 8. ง 9. ก 10. ก
เฉลยละเอียด
7. วิธีทา ถังน้ามันมีความจุ 40 ลิตร
7
มีน้ามันเชื้อเพลิง × 40 = 35 ลิตร
8
3
รั่วไป × 40 = 24 ลิตร
5

เหลือน้ามัน 35 – 24 = 11 ลิตร
ดังนั้น เหลือน้ามัน 11 ลิตร
ตอบ ๑๑ ลิตร
8. วิธีทา ลุงมีที่ดิน 24 ไร่
2
แบ่งขายแปลงละ ไร่
5
2
จะได้ทั้งหมด 24 ÷ 5 = 24 × 52 แปลง
= 60 แปลง
ขายราคาแปลงละ 15,000 บาท
จะขายได้เงิน 60  15,000  900,000 บาท
ตอบ ๙๐๐,๐๐๐ บาท
ห น้ า | 48 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

9. วิธีทา แม่มีเงิน 8,000 บาท


1
ซื้อชุดนักเรียน ของเงินที่มีอยู่
5
1
ซื้อชุดนักเรียนเป็นเงิน × 8,000 = 1,600 บาท
5
เหลือเงิน 8,000 – 1,600 = 6,400 บาท
1
แล้วซื้อรองเท้าและถุงเท้าอีก 10 ของเงินที่เหลือ
1
ซื้อรองเท้าและถุงเท้าเป็นเงิน 10 × 6,400 = 640 บาท
แม่เหลือเงินอีก 8,000 – (1,600 + 640) = 8,000 – 2,240 บาท
= 5,760 บาท
ตอบ ๕,๗๖๐ บาท
2
10. วิธีทา แม่ค้าซื้อทุเรียนมา 21 5 กิโลกรัม

ราคากิโลกรัมละ 25 บาท

นาไปขายกิโลกรัมละ 35 บาท

ได้กาไรกิโลกรัมละ 35 – 25 = 10 บาท
107
ขายทุเรียนได้กาไร 10 × 21 25 = 10 × บาท
5

= 214 บาท

ตอบ ๒๑๔ บาท


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 49

บทที่ 3
ทศนิยม
การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม
การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม หากเราทาเศษส่วนให้ตัวส่วนเป็น 10 100 หรือ 1,000 เรา
จะสามารถบอกได้ทันทีว่าเขียนในรูปทศนิยมได้อย่างไร
4 17 357
เช่น 10 =0.4 =0.17 =0.357
100 1000
235 1 5412
=23.5 =0.01 =5.412
10 100 1000
 ดังนั้นหากเราจาตัวประกอบของ 10 100 และ 1,000 ได้ เราจะเปลี่ยนเศษส่วนให้มีส่วนที่
สามารถเปลี่ยนเป็นทศนิยมได้เร็วขึ้น
ตัวประกอบของ 10 ได้แก่ 1 2 5 และ 10
ตัวประกอบของ 100 ได้แก่ 1 2 4 5 10 20 25 50 และ 100
ตัวประกอบของ 1,000 ได้แก่ 1 2 4 5 8 10 20 25 40 50 125 200 250
500 และ 1,000
 แต่หากเศษส่วนที่ให้มา ตัวส่วนไม่ใช่ตัวประกอบของ 10 100 และ 1,000 ให้พิจารณาว่าสามารถ
ทาให้เป็นเศษส่วนอย่างต่า แล้วตัวส่วนเป็นตัวประกอบของ 10 100 และ 1,000 หรือไม่

ตัวอย่าง จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ในรูปทศนิยม
19
1) 40 จะเห็นว่า 40 เป็นตัวประกอบของ 1,000 นั่นคือ 40 × 25 = 1,000
19 19×25 475
จะได้ = = =0.475
40 40×25 1000
27
2) จะเห็นว่า 45 ไม่เป็นตัวประกอบของ 10 100 หรือ 1,000 แต่เมื่อเราพิจารณาจะ
45
27
เห็นว่า สามารถทาให้เป็นเศษส่วนอย่างต่าได้ นั่นคือ
45
27 27÷9
จะได้ =
45 45÷9
3
=5
3×2
= 5×2
6
= 10
= 0.6
ห น้ า | 50 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

54
3) 150
54 54÷6
วิธีทา =
150 150÷6
9
= 25
9×4
= 25×4
36
= 100

= 0.36

ตอบ ๐.๓๖

การหารทศนิยม

 การหารทศนิยมโดยการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน

การหารทศนิยมโดยการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน แล้วหาผลหาร จากนั้นเขียน


ผลหารในรูปทศนิยม

ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลหารของ 5.8 ÷ 0.2


58 2
วิธีทา 5.8 ÷ 0.2 = 10 ÷ 10
58 10
= ×
10 2
= 26
ตอบ ๒๖

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลหารของ 4.725 ÷ 1.5


4725 15
วิธีทา 4.725 ÷ 1.5 = 1000 ÷ 10
4725 10
= ×
1000 15
315
= 100
= 3.15
ตอบ ๓.๑๕
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 51

ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลหารของ 1.368 ÷ 0.09


1368 9
วิธีทา 1.368 ÷ 0.09 = 1000 ÷ 100
1368 100
= ×
1000 9
152
= 10
= 15.2
ตอบ ๑๕.๒
ตัวอย่างที่ 4 จงหาผลหารของ 0.672 ÷ 0.112
672 112
วิธีทา 0.672 ÷ 0.112 = ÷
1000 1000
672 1000
= ×
1000 112
= 6
ตอบ ๖

 การหารทศนิยม โดยการตั้งหาร

การหารทศนิยมด้วยทศนิยม หรือการหารจานวนนับด้วยทศนิยม อาจทาตัวหาร


เป็นจานวนนับ โดยนา 10 100 หรือ 1,000 มาคูณทั้งตัวตั้งและตัวหาร แล้วจึงหาผลหาร

ดูที่ตัวหารเป็นหลัก ถ้าตัวหารเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง คูณด้วย 10 ทั้งตัวตั้งและตัวหาร


(คูณด้วย 10 คือเลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวา 1 ตาแหน่ง) เช่น 1.255 ÷ 0.5 = 12.55 ÷ 5

ถ้าตัวหารเป็นทศนิยม 2 ตาแหน่งคูณด้วย 100 ทั้งตัวตั้งและตัวหาร


(คูณด้วย 100 คือเลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวา 2 ตาแหน่ง) เช่น 1.344 ÷ 0.12 = 134.4 ÷ 12

ถ้าตัวหารเป็นทศนิยม 3 ตาแหน่งคูณด้วย 1,000 ทั้งตัวตั้งและตัวหาร


(คูณด้วย 1,000 คือเลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวา 3 ตาแหน่ง) เช่น 0.384 ÷ 0.032 = 384 ÷ 32
ห น้ า | 52 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างที่ 1 หาผลลัพธ์ของ 11.25 ÷ 0.9


วิธีทา 11.25 ÷ 0.9 = 112.5 ÷ 9
12.5
9 112.5
9
22
18
45 หารไปเจอจุดในตัวตั้ง
45 ให้ใส่จุดในผลหารที่ตรงกัน
0
ดังนั้น 11.25 ÷ 0.9 = 12.5
ตอบ ๑๒.๕

ตัวอย่างที่ 2 หาผลหารของ 30.705 ÷ 0.23


วิธีทา 30.705 ÷ 0.23 = 3070.5 ÷ 23
133.5
23 3070.5
23
77
69
80
69
115
115
0
ดังนั้น 30.705 ÷ 0.23 = 133.5
ตอบ ๑๓๓.๕

ตัวอย่างที่ 3 หาผลหารของ 46.25 ÷ 0.125


วิธีทา 46.250 ÷ 0.125 = 46,250 ÷ 125
370
125 46250 ถ้าตัวตั้งเป็นทศนิยมตาแหน่ง
375 ไม่เท่าตัวหาร  ให้เติมเลข 0
875
875 ในข้อนี้ตัวหาร 3 ตาแหน่ง ตัวตั้ง 2 ตาแหน่ง
00 เติมตัวตั้งด้วยเลข 0 ให้เป็น 3 ตาแหน่ง
ดังนั้น 46.25 ÷ 0.125 = 370 เหมือนกัน แล้วจึงใช้วิธีการเลื่อนจุด
ตอบ ๓๗๐
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 53

การแลกเปลี่ยนเงินตรา

 เปลีย่ นจากใหญ่เป็นเล็กกว่า ใช้วิธีการคูณ


 เปลีย่ นจากเล็กเป็นใหญ่กว่า ใช้วิธีการหาร
ตัวอย่างที่ 1 ถ้าเงิน 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ แลกเงินไทยได้ 22.35 บาท เคนนาเงินหนึ่งร้อยดอลลาร์สิงคโปร์
2 ฉบับ ไปแลกเงินไทยได้กี่บาท
วิธีคิด เนื่องจาก 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ แลกเงินไทยได้ 22.35 บาท
ธนบัตรหนึ่งร้อยดอลลาร์สิงคโปร์ 2 ฉบับ แลกเงินไทยได้ 200 × 22.35 = 4,470 บาท
ดังนั้น เคนนาเงินหนึง่ ร้อยดอลลาร์สิงคโปร์ 2 ฉบับ ไปแลกเงินไทยได้ 4,470 บาท
ตอบ ๔,๔๗๐ บาท
ตัวอย่างที่ 2 ถ้าเงินญี่ปุ่น 100 เยน แลกเงินไทยได้ 28.97 บาท พิชัยนาเงินญี่ปุ่น 50,000 เยน ไป
แลกเงินไทยได้กี่บาท
วิธีคิด เนื่องจากเงินญี่ปุ่น 100 เยน แลกเงินไทยได้ 28.97 บาท
เงินญี่ปุ่น 50,000 เยน แลกเงินไทยได้ (50,000 ÷ 100) × 28.97 = 14,485 บาท
พิชัยนาเงินญี่ปุ่น 50,000 เยน ไปแลกเงินไทยได้ 14,485 บาท
ตอบ ๑๔,๔๘๕ บาท

อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจะมีการเปลี่ยนแปลงทุกวัน
ขึ้นอยู่กับการประกาศของธนาคารในวันนั้น
ตัวอย่างอัตราการแลกเงินตราต่างประเทศในวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2563
1 ดอลลาร์สหรัฐ แลกเงินไทยได้ 31.15 บาท
1 ดอลลาร์สิงคโปร์ แลกเงินไทยได้ 22.35 บาท
1 ริงกิตมาเลเซีย แลกเงินไทยได้ 7.28 บาท
1,000 วอนเกาหลีใต้ แลกเงินไทยได้ 25.64 บาท
100 เยนญี่ปุ่น แลกเงินไทยได้ 28.97 บาท
ห น้ า | 54 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

โจทย์ปัญหา
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา เมื่ออ่านโจทย์แล้วให้พิจารณาสิ่งที่โจทย์ถาม และสิ่งที่โจทย์บอก นาข้อมูลที่
ได้มาวิเคราะห์หาวิธีหาคาตอบโดยการคูณหรือหาร
ตัวอย่างที่ 1 เนื้อหมูราคากิโลกรัมละ 72.50 บาท ถ้าแม่ซื้อเนื้อหมู 1 กิโลกรัม 3 ขีด แม่จะต้อง
จ่ายเงินเท่าใด
วิธีคิด จากสิ่งที่โจทย์ให้มา จะต้องเปลี่ยนหน่วย 1 กิโลกรัม 3 ขีดให้เป็นทศนิยมก่อน แล้วจึงนาไป
คูณกับราคาเนื้อหมู
วิธีทา เนื้อหมูราคากิโลกรัมละ 72.50 บาท
ถ้าแม่ซื้อเนื้อหมู 1 กิโลกรัม 3 ขีด เท่ากับ 1.3 กิโลกรัม
แม่จะต้องจ่ายเงิน 1.3 × 72.50 = 94.25 บาท
ตอบ ๙๔.๒๕ บาท

ตัวอย่างที่ 2 รถยนต์คันหนึ่งแล่นได้เป็นระยะทาง 15 กิโลเมตร ใช้น้ามัน 1.25 ลิตร ถ้ารถยนต์คัน


นี้ใช้น้ามันไป 4.5 ลิตร จะแล่นได้เป็นระยะทางเท่าใด
วิธีคิด จากสิ่งที่โจทย์ให้จะเห็นว่า สามารถใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ในการหาคาตอบได้
วิธีทา น้ามัน 1.25 ลิตร รถยนต์แล่นได้เป็นระยะทาง 15 กิโลเมตร
น้ามัน 1 ลิตร รถยนต์แล่นได้เป็นระยะทาง 15 ÷ 1.25 กิโลเมตร
น้ามัน 4.5 ลิตร รถยนต์แล่นได้เป็นระยะทาง (15 ÷ 1.25) × 4.5 = 54 กิโลเมตร
ตอบ ๕๔ กิโลเมตร

ตัวอย่างที่ 3 วิสาหกิจชุมชนแห่งหนึ่งผลิตน้าองุ่นได้ 515.85 ลิตร ซึ่งน้อยกว่าน้าฝรั่งอยู่


85.65 ลิตร ถ้านาน้าผลไม้มาบรรจุขวด ขวดละ 0.75 ลิตร และขายไปขวดละ 8.50 บาท วิสาหกิจชุมชน แห่งนี้
จะขายน้าฝรั่งได้กี่บาท
วิธีคิด จากโจทย์ จะหาว่าน้าฝรั่งขายได้กี่บาท ต้องคิดตามขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 หาน้าฝรั่งโดยการบวกน้าองุ่นกับปริมาณที่น้าองุ่นผลิตได้น้อยกว่าน้าฝรั่ง
ขั้นที่ 2 หาว่าจะบรรจุน้าฝรั่งได้กี่ขวดโดยการหารปริมาณที่หาได้ในขั้นที่ 1 ด้วยความจุของ
น้าผลไม้ 1 ขวด
ขั้นที่ 3 หาว่าขายได้กี่บาท โดยการคูณจานวนขวดที่หาได้กับราคาต่อขวด
วิธีทา วิสาหกิจชุมชนแห่งหนึ่งผลิตน้าองุ่นได้ 515.85 ลิตร
ซึ่งน้อยกว่าน้าฝรั่งอยู่ 85.65 ลิตร
ผลิตน้าฝรั่งได้ 515.85 + 85.65 = 601.50 ลิตร
ถ้านาน้าผลไม้มาบรรจุขวด ขวดละ 0.75 ลิตร
จะได้น้าฝรั่ง 601.50 ÷ 0.75 = 802 ขวด
ขายไปขวดละ 8.50 บาท
วิสาหกิจชุมชนแห่งนี้จะขายน้าฝรั่งได้ 802 × 8.50 = 6,817 บาท
ตอบ ๖,๘๑๗ บาท
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 55

ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การเขียนเศษส่วนในรูปทศนิยม


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/9
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่
แสดงวิธีเขียนในรูปทศนิยม
7 12
1) 2)
4 15

147 27
3) 4)
20 25

204 36
5) 6)
48 90

24 990
7) 8)
32 750
ห น้ า | 56 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 3.2 เรื่อง การหารทศนิยม (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/9
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาผลหารโดยการเขียนทศนิยมในรูปเศษส่วน

1) 65.05 ÷ 0.5 2) 0.558 ÷ 0.31

3) 18.624 ÷ 0.06 4) 1.938 ÷ 0.57

5) 0.492 ÷ 0.082 6) 7.945 ÷ 3.5


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 57

ใบงานที่ 3.3 เรื่อง การหารทศนิยม (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/9
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีหาผลหารโดยการตั้งหาร

1) 4.7 ÷ 0.5 2) 1.152 ÷ 0.64

3) 2.576 ÷ 0.322 4) 1.107 ÷ 1.23

5) 2.997 ÷ 0.111 6) 6.15 ÷ 0.75


ห น้ า | 58 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 3.4 เรื่อง การแลกเปลี่ยนเงินตรา


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/10
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีคิดหาคาตอบ
1) ถ้า 1 ริงกิตมาเลเซีย แลกเงินไทยได้ 7.28 บาท มานะมีเงิน 50 ริงกิต แลกเงินไทยได้กี่บาท

2) ถ้าเงินญี่ปุ่น 100 เยน แลกเงินไทยได้ 28.97 บาท อาพลมีเงินญี่ปุ่น 38,400 เยน แลกเงินไทยได้กี่บาท

3) ถ้าเงิน 25.64 บาท แลกเงินเกาหลีใต้ได้ 1,000 วอน ธิดารัตน์มี 85,000 วอน แลกเงินไทยได้กี่บาท

4) ถ้า 1 ดอลลาร์สหรัฐ แลกเงินไทยได้ 31.15 บาท ถ้าสมศรีมีเงิน 9,345 บาท แลกได้กี่ดอลลาร์สหรัฐ

5) ถ้า 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ แลกเงินไทยได้ 22.35 บาท วิชัยมีเงิน 6,705 บาท แลกได้กี่ดอลลาร์สิงคโปร์


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 59

ใบงานที่ 3.5 เรื่อง โจทย์ปัญหา (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/10
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

เขียนวิธีคิดและหาคาตอบ
1. ปู่มีที่ดิน 40.8 ไร่ ขายไป 16.5 ไร่ ที่เหลือแบ่งให้ลูก 3 คน คนละเท่า ๆ กัน จะได้คนละกี่ไร่
วิธีคิด

ตอบ
2. ถังน้าใบหนึ่งมีความจุ 0.768 ลูกบาศก์เมตร ก้นถังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 0.8 เมตร ถังใบนี้มี
ความสูงเท่าใด
วิธีคิด

ตอบ
3. พ่อต้องการทารั้วรอบบ้านยาว 15 เมตร โดยฝังเสาต้นแรกที่มุมรั้วด้านหนึ่ง และให้มีระยะห่างของเสา
แต่ละต้น 0.6 เมตร พ่อจะใช้เสาทั้งหมดกี่ต้น
วิธีคิด

ตอบ
4. แม่ค้าขายไก่ทอดมีน้ามันพืช 5.5 ลิตร แบ่งทอดครั้งละ 0.4 ลิตร จานวน 12 ครั้ง แม่ค้าเหลือน้ามันพืช
กี่ลิตร
วิธีคิด

ตอบ
5. แม่ทาคุกกี้ 6 กิโลกรัม แบ่งใส่ถุง ถุงละ 0.4 กิโลกรัม แล้วขายราคาถุงละ 35 บาท แม่ได้เงินกี่บาท
วิธีคิด

ตอบ
ห น้ า | 60 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 3.6 เรื่อง โจทย์ปัญหา (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/10
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่
แสดงวิธีทาและหาคาตอบ
1. นิดซื้อเงาะ 2.8 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 25 บาท ซื้อมังคุด 1.6 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 35 บาท นิด
จ่ายเงินเป็นธนบัตรฉบับละ 500 บาท 1 ฉบับ นิดจะได้รับเงินทอนเท่าใด
วิธีทา

ตอบ

2. เชือกเส้นหนึ่งยาว 17.25 เมตร นามาตัดให้ยาวเท่า ๆ กัน เส้นละ 0.5 เมตร จานวน 15 เส้น เชือกที่เหลือ
ตัดยาวเส้นละ 0.75 เมตรได้กี่เส้น
วิธีทา

ตอบ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 61

แบบทดสอบบทที่ 3 เรื่อง ทศนิยม


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/9, ป.6/10
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

ทาเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

5
1. 8 เขียนในรูปทศนิยมได้ตรงกับข้อใด 7. ถ้า 1 ริงกิตมาเลเซีย แลกเงินไทยได้ 7.28 บาท
มานะมีเงิน 3,276 บาท จะแลกเงินมาเลเซีย
ก. 0.665 ข. 0.655
ได้กี่ริงกิต
ค. 0.652 ง. 0.625
ก. 350 บาท ข. 400 บาท
2. ข้อใดเป็นผลหารของ 0.582 ÷ 0.3 ค. 450 บาท ง. 500 บาท
ก. 19.4 ข. 1.94
ค. 1.904 ง. 0.194 8. รถยนต์คันหนึ่งแล่นได้เป็นระยะทาง 15.6
กิโลเมตร ใช้น้ามัน 1.2 ลิตร ถ้าขับรถเป็นระยะทาง
3. ข้อใดเป็นผลหารของ 0.782 ÷ 0.46 54.6 กิโลเมตร จะใช้น้ามันกี่ลิตร
ก. 1.7 ข. 0.17 ก. 13 ลิตร ข. 4.2 ลิตร
ค. 1.6 ง. 0.16 ค. 4 ลิตร ง. 2.4 ลิตร

4. ข้อใดเป็นผลหารของ 2.266 ÷ 0.206 9. พิมพรทาน้าส้มคั้น 7.8 ลิตร แบ่งใส่ขวด


ก. 9 ข. 10 ขวดละ 0.3 ลิตร แล้วขายขวดละ 45 บาท พิมพร
ค. 11 ง. 12 ได้เงินกี่บาท
5. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. 1,470 บาท ข. 1,370 บาท
ก. 0.55 ÷ 0.5 = 0.11 ค. 1,270 บาท ง. 1,170 บาท
ข. 2.84 ÷ 0.02 = 142
ค. 0.852 ÷ 1.2 = 0.71 10. ถังใบหนึ่งก้นถังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาว
ง. 1.32 ÷ 0.11 = 12 ด้านละ 1.2 เมตร มีความสูง 1 เมตร ถ้าใส่น้า
0.4 ของถัง น้าจะมีปริมาตรเท่าใด
6. ผลหารในข้อใดมากที่สุด ก. 576 ลูกบาศก์เมตร
ก. 4.8 ÷ 0.3 ข. 57.6 ลูกบาศก์เมตร
ข. 1.15 ÷ 0.05 ค. 5.76 ลูกบาศก์เมตร
ค. 0.432 ÷ 0.6 ง. 0.576 ลูกบาศก์เมตร
ง. 1.69 ÷ 0.013
ห น้ า | 62 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยบทที่ 3
ทศนิยม
เฉลยใบงานที่ 3.1
1) 1.75 2) 0.8 3) 7.35 4) 1.08
5) 4.25 6) 0.4 7) 0.75
990 990÷30
8) วิธีทา = 750÷30
750
33
= 25
33×4
= 25×4
132
= 100
= 1.32
ตอบ ๑.๓๒

เฉลยใบงานที่ 3.2
1) 130.1 2) 1.8 3) 310.4 4) 3.4
5) 6
7,945 35
6) วิธีทา 7.945 ÷ 3.5 = ÷ 10
1000
7,945 10
= × 35
1000
227
=
100
= 2.27
ตอบ ๒.๒๗

เฉลยใบงานที่ 3.3
1) 9.4 2) 1.8 3) 8 4) 0.9
5) 27
6) วิธีทา 6.15 ÷ 0.75 = 615 ÷ 75
8.2
75 615
600
150
150
0
ดังนั้น 6.15 ÷ 0.75 = 8.2
ตอบ ๘.๒
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 63

เฉลยใบงานที่ 3.4
1) 364 บาท
2) 11,124.48 บาท
3) 2,179.40 บาท
4) 300 ดอลลาร์สหรัฐ
5) 300 ดอลลาร์สิงคโปร์

เฉลยใบงานที่ 3.5
1. วิธีคิด นาที่ดินที่ขายไปลบจากที่ดินทั้งหมดของปู่ แล้วหารด้วย 3
ตอบ คนละ 8.1 ไร่
2. วิธีคิด หาพื้นที่ก้นถังจากสูตรพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน × ด้าน จากนั้นไปหารความจุของถัง
ตอบ 1.2 เมตร
3. วิธีคิด นาความยาวรอบรั้วทั้งหมดหารด้วยระยะห่างของเสา แล้วบวกด้วย 1 ซึ่งเป็นเสาต้นแรกที่
มุมรั้ว
ตอบ 26 ต้น
4. วิธีคิด นาจานวนครั้งของการทอดคูณกับปริมาตรที่ทอดในแต่ละครั้ง แล้วไปลบออกจากน้ามันพืช
ทั้งหมด
ตอบ 0.7 ลิตร
5. วิธีคิด นาน้าหนักของคุกกี้หารด้วยความจุแต่ละถุง แล้วไปคูณราคาขาย
ตอบ 525 บาท

เฉลยใบงานที่ 3.6
1. วิธีทา นิดซื้อเงาะ 2.8 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 25 บาท
ซื้อเงาะคิดเป็นเงิน 2.8 × 25 = 70 บาท
ซื้อมังคุด 1.6 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 35 บาท
ซื้อมังคุดคิดเป็นเงิน 1.6 × 35 = 56 บาท
รวมนิดจ่ายเงินค่าผลไม้ 70 + 56 = 126 บาท
นิดจ่ายเงินเป็นธนบัตรฉบับละ 500 บาท 1 ฉบับ
นิดจะได้รับเงินทอน 500 – 126 = 374 บาท
ตอบ ๓๗๔ บาท

สังเกต  ถ้าเงาะราคากิโลกรัมละ 25 บาท ซื้อ 2 กิโลกรัม จะเท่ากับ 25 + 25 = 2 × 25


ดังนั้น ถึงแม้ 2.8 × 25 และ 25 × 2.8 ผลที่ได้จะเท่ากัน แต่ความหมายต่างกัน
นิดซื้อเงาะ 2.8 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 25 บาท ต้องเขียน 2.8 × 25 จึงจะถูกต้องตามความหมาย
ห น้ า | 64 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

2. วิธีทา เชือกเส้นหนึ่งยาว 17.25 เมตร


นามาตัดให้ยาวเท่า ๆ กัน เส้นละ 0.5 เมตร
จานวน 15 เส้น
ตัดเชือกไปแล้ว 15 × 0.5 = 7.5 เมตร
เหลือเชือกยาว 17.25 – 7.5 = 9.75 เมตร
เชือกที่เหลือตัดยาวเส้นละ 0.75 เมตร
ตัดได้ 9.75 ÷ 0.75 = 13 เส้น
ตอบ ๑๓ เส้น

เฉลยแบบทดสอบบทที่ 3
1. ง 2. ข 3. ก 4. ค 5. ก
6. ง 7. ค 8. ข 9. ง 10. ง

วิธีคิดข้อ 10
ถังใบหนึ่งก้นถังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 1.2 เมตร
เนื่องจาก พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เท่ากับ ด้าน × ด้าน
ดังนั้น ก้นถึงมีพื้นที่ 1.2 × 1.2 = 1.44 ตารางเมตร
ถังมีความสูง 1 เมตร
จาก ปริมาตรของถังเท่ากับ พื้นที่ฐาน × สูง
ดังนั้นถังมีความจุ 1.44 × 1 = 1.44 ลูกบาศก์เมตร
ถ้าใส่น้า 0.4 ของถัง
น้าจะมีปริมาตร 0.4 × 1.44 = 0.576 ลูกบาศก์เมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 65

บทที่ 4
ร้อยละและอัตราส่วน
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ

 การหาร้อยละหรือเปอร์เซ็นต์

เศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100 สามารถเขียนในรูปร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์


28
คือ ร้อยละ 28 หรือ 28 เปอร์เซ็นต์ หรือ 28%
100

ร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ สามารถเขียนในรูปเศษส่วนที่มีตัวส่วนเป็น 100


35
ร้อยละ 35 เท่ากับ
100
9
9% หรือ 9 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ
100

ถ้าต้องการรู้จานวนที่สนใจว่าเป็นร้อยละเท่าใดของสิ่งใด
ก็ให้เทียบสิ่งนั้นให้เป็นส่วน 100 โดยใช้ความรู้เรื่องบัญญัติไตรยางศ์

ตัวอย่างที่ 1 ในการสอบครั้งหนึ่งมีนักเรียนเข้าสอบ 360 คน มีนักเรียนสอบผ่าน 270 คน นักเรียน


สอบผ่านคิดเป็นร้อยละเท่าใดของนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมด
วิธีทา นักเรียนเข้าสอบ 360 คน มีนักเรียนสอบผ่าน 270 คน
270
นักเรียนเข้าสอบ 1 คน มีนักเรียนสอบผ่าน คน
360
270
นักเรียนเข้าสอบ 100 คน มีนักเรียนสอบผ่าน 100  = 75 คน
360
ดังนั้น นักเรียนสอบผ่านคิดเป็นร้อยละ 75 ของนักเรียนที่เข้าสอบทั้งหมด
ตอบ ร้อยละ ๗๕
ห น้ า | 66 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างที่ 2 ฟาร์มไก่แห่งหนึ่งเลี้ยงไก่ 1,200 ตัว เป็นไก่ตัวเมีย 900 ตัว เป็นไก่ตัวผู้คิดเป็น


กี่เปอร์เซ็นต์ของไก่ทั้งหมด
วิธีทา ฟาร์มไก่แห่งหนึง่ เลี้ยงไก่ 1,200 ตัว เป็นไก่ตัวเมีย 900 ตัว
ดังนั้น ฟาร์มแห่งนี้เลี้ยงไก่ตัวผู้ 1,200 – 900 = 300 ตัว
ฟาร์มไก่แห่งนี้เลี้ยงไก่ 1,200 ตัว เป็นไก่ตัวผู้ 300 ตัว
300
ฟาร์มไก่แห่งนี้เลี้ยงไก่ 1 ตัว เป็นไก่ตัวผู้ ตัว
1200
300
ฟาร์มไก่แห่งนี้เลี้ยงไก่ 100 ตัว เป็นไก่ตัวผู้ 100  = 25 ตัว
1200
ดังนั้น ฟาร์มไก่เลี้ยงไก่ตัวผู้คิดเป็น 25 เปอร์เซ็นต์ของไก่ทั้งหมด
ตอบ ๒๕ เปอร์เซ็นต์

ในข้อนี้จะหาเปอร์เซ็นต์ของไก่ตัวเมียแล้วนาไปลบออกจาก 100 ก็ได้เช่นเดียวกัน


ฟาร์มไก่แห่งนี้เลี้ยงไก่ 1,200 ตัว เป็นไก่ตัวเมีย 900 ตัว
900
ฟาร์มไก่แห่งนี้เลี้ยงไก่ 1 ตัว เป็นไก่ตัวเมีย ตัว
1200
900
ฟาร์มไก่แห่งนี้เลี้ยงไก่ 100 ตัว เป็นไก่ตัวเมีย 100  = 75 ตัว
1200
จะได้ว่า ฟาร์มไก่เลี้ยงไก่ 100 ตัว เป็นไก่ตัวเมีย 75 ตัว
ดังนั้น เป็นไก่ตัวผู้ 100 – 75 = 25 ตัว
ดังนั้น ฟาร์มไก่เลี้ยงไก่ตัวผู้คิดเป็น 25 เปอร์เซ็นต์ของไก่ทั้งหมด

 ร้อยละเกี่ยวกับการซื้อขาย

การหากาไรเป็นเปอร์เซ็นต์เป็นการหากาไรเมื่อเทียบกับทุน 100 บาท


ทุน 100 บาท ขายได้ 120 บาท ได้กาไร 120 – 100 = 20 บาท นั่นคือได้กาไร 20 เปอร์เซ็นต์
การหาขาดทุนเป็นร้อยละเป็นการหาการขาดทุนเมื่อเทียบกับทุน 100 บาท
ทุน 100 บาท ขาย 75 บาท ขาดทุน 100 – 75 = 25 บาท นั่นคือขาดทุน ร้อยละ 25
การหาลดราคาเป็นร้อยละเป็นการหาการลดราคาเมื่อเทียบกับราคาที่ตั้งไว้ 100 บาท
ติดราคาขาย 100 บาท ขายไป 60 บาท ลดราคา 100 – 60 = 40 บาท นั่นคือลดราคา ร้อยละ 40
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 67

ตัวอย่างที่ 1 ร้านค้าลงทุนซื้อเสื้อกันหนาวตัวหนึ่งราคา 800 บาท ขายไป 1,040 บาท ร้านค้าได้กาไร


กี่เปอร์เซ็นต์
วิธีทา ร้านค้าขายเสื้อได้กาไร 1,040 – 800 = 240 บาท
ทุน 800 บาท ขายได้กาไร 240 บาท
240
ถ้าทุน 1 บาท ขายได้กาไร บาท
800 กาไร
240
ถ้าทุน 100 บาท ขายได้กาไร 100  = 30 บาท
800
ดังนั้น ร้านค้าขายเสื้อกันหนาวได้กาไร 30 เปอร์เซ็นต์
ตอบ ๓๐ เปอร์เซ็นต์

ตัวอย่างที่ 2 นิตยาซื้อกระเป๋ามาราคา 780 บาท ขายไป 546 บาท นิตยาขายกระเป๋าขาดทุนร้อยละ


เท่าใด
วิธีทา นิตยาขายกระเป๋าขาดทุน 780 – 546 = 234 บาท
ทุน 780 บาท ขายขาดทุน 234 บาท
234
ถ้าทุน 1 บาท ขายขาดทุน บาท
780 ขาดทุน
234
ถ้าทุน 100 บาท ขายขาดทุน 100  = 30 บาท
780
ดังนั้น นิตยาขายกระเป๋าขาดทุนร้อยละ 30
ตอบ ร้อยละ ๓๐

ตัวอย่างที่ 3 พ่อค้าติดราคาพัดลมไว้ 650 บาท ขายไปในราคา 507 บาท พ่อค้าลดราคาพัดลม


กี่เปอร์เซ็นต์
วิธีทา พ่อค้าลดราคาพัดลม 650 – 507 = 143 บาท
ติดราคาขาย 650 บาท ลดราคา 143 บาท
143
ถ้าติดราคาขาย 1 บาท ลดราคา บาท
650 ลดราคา
143
ถ้าติดราคาขาย 100 บาท ลดราคา 100  = 22 บาท
650
ดังนั้น พ่อค้าลดราคาพัดลม 22 เปอร์เซ็นต์
ตอบ ๒๒ เปอร์เซ็นต์
ห น้ า | 68 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

การหาทุนหรือราคาซื้อ เมื่อกาหนดกาไรหรือขาดทุนเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์


ได้กาไร 20% หมายถึงขาย 100 + 20 = 120 บาท จากทุน 100 บาท
ขาดทุน 15% หมายถึงขาย 100 – 15 = 85 บาท จากทุน 100 บาท
ลดราคา 10% หมายถึงขาย 100 – 10 = 90 บาท จากราคาที่ติดไว้ 100 บาท

ตัวอย่างที่ 4 ร้านค้าขายโต๊ะตัวหนึ่งราคา 1,035 บาท ได้กาไร 15% ร้านค้าซื้อโต๊ะตัวนี้มาราคาเท่าใด


วิธีทา ทุนของโต๊ะ 100 บาท ขายได้กาไร 15 บาท นั่นคือขายไป 100 + 15 = 115 บาท
ถ้าขายโต๊ะ 115 บาท จากทุน 100 บาท
100 หาทุน
ถ้าขายโต๊ะ 1 บาท จากทุน บาท
115
100
ถ้าขายโต๊ะ 1,035 บาท จากทุน 1,035  = 900 บาท
115
ดังนั้น ร้านค้าซื้อโต๊ะตัวนี้มาราคา 900 บาท
ตอบ ๙๐๐ บาท

อัตราส่วนและมาตราส่วน

 อัตราส่วน

ความสัมพันธ์ที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้นไป ซึ่งอาจมีหน่วยเดียวกัน


หรือหน่วยต่างกันก็ได้ เรียกว่า “อัตราส่วน”
o การเปรียบเทียบปริมาณที่แสดงในรูปอัตราส่วน ถ้ามีหน่วยเดียวกัน จะไม่นิยมเขียนหน่วยกากับไว้
เช่น ครู 1 คน ดูแลนักเรียน 25 คน
 อัตราส่วนของจานวนครู ต่อ จานวนนักเรียน เป็น 1 : 25
หรือ อัตราส่วนของจานวนนักเรียน ต่อ จานวนครู เป็น 25 : 1
o การเปรียบเทียบปริมาณที่แสดงในรูปอัตราส่วน ถ้ามีหน่วยต่างกัน จะเขียนหน่วยกากับไว้
เช่น ซื้อผัก 3 กา ราคา 10 บาท
 อัตราส่วนของผักเป็นกา ต่อ ราคาขายเป็นบาท เป็น 1 : 10
หรือ อัตราส่วนของผัก ต่อ ราคาขาย เป็น 1 กา : 10 บาท
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 69

 อัตราส่วนที่เท่ากัน

การหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้ ทาได้โดย
o คูณแต่ละจานวนในอัตราส่วน ด้วยจานวนนับจานวนเดียวกันที่มากกว่า
เช่น หาอัตราส่วนที่เท่ากับ 2 : 5
2 : 5 = (2 × 2) : (5 × 2)
= 4:5
2 : 5 = (2 × 15) : (5 × 15)
= 30 : 75
o หารแต่ละจานวนในอัตราส่วน ด้วยจานวนนับจานวนเดียวกันที่มากกว่า 1 ได้ลงตัว
เช่น หาอัตราส่วนที่เท่ากับ 48 : 72
48 : 72 = (48 ÷ 2) : (72 ÷ 2)
= 24 : 36
48 : 72 = (48 ÷ 24) : (72 ÷ 24)
= 2:3

 มาตราส่วน

อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบระหว่างความยาวในภาพหรือแผนที่ กับความยาวจริง
เรียกว่า “มาตราส่วน” โดยความยาวนี้อาจมี หน่วยเดียวกัน หรือ หน่วยต่างกัน ก็ได้

ตัวอย่าง
2.5 ซม.

2 ซม.

มาตราส่วน 1 : 150
ความยาวในแผนผัง ต่อ ความยาวจริง เป็น 1 : 150
เนื่องจาก ในแผนผัง ห้องนอน 2 มีความกว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 2.5 เซนติเมตร
จะได้ 1 : 150 = 2 × 1 : 2 × 150
= 2 : 300
และ 1 : 150 = 2.5 × 1 : 2.5 × 150
= 2.5 : 375
ห น้ า | 70 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ดังนั้น ห้องนอน 2 มีความกว้างจริง 300 เซนติเมตร หรือ 3 เมตร


และ มีความยาวจริง 375 เซนติเมตร หรือ 3.75 เมตร

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนและมาตราส่วน

 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน

ตัวอย่าง ชาวไร่ใส่ปุ๋ยคอกในแปลงปลูกข้าวโพด 50 กิโลกรัม ต่อ 3 ไร่ ถ้ามีแปลงข้าวโพด 18 ไร่


จะต้องใช้ปุ๋ยคอกกี่กิโลกรัม และถ้าปุ๋ยคอกกิโลกรัม 3 บาท ชาวไร่ต้องจ่ายเงินค่าปุ๋ยคอกเท่าใด
วิธีทา จากอัตราส่วนของแปลงข้าวโพด ต่อ ปุ๋ยคอก = 3 ไร่ : 50 กิโลกรัม
เนื่องจาก 18 ÷ 3 = 6
จะได้ 3 ไร่ : 50 กิโลกรัม = 3 × 6 ไร่ : 50 × 6 กิโลกรัม
= 18 ไร่ : 300 กิโลกรัม
นั่นคือ ถ้ามีแปลงข้าวโพด 18 ไร่ ต้องใช้ปุ๋ยคอก 300 กิโลกรัม
และปุ๋ยคอกกิโลกรัมละ 3 บาท
ดังนั้น ชาวไร่จ่ายค่าปุ๋ยคอกเป็นเงิน 300 × 3 = 900 บาท
ตอบ ๙๐๐ บาท

 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับมาตราส่วน

ตัวอย่าง รูปสนามหญ้าหน้าบ้านวัดส่วนกว้างที่สุดได้ 6 เซนติเมตร ถ้ารูปนี้ใช้มาตราส่วน


1 เซนติเมตร : 2 วา ส่วนกว้างที่สุดของสนามหญ้านี้ยาวกี่เมตร
วิธีทา จากรูปสนามหญ้าใช้มาตราส่วน 1 เซนติเมตร : 2 วา
วัดส่วนกว้างที่สุดในรูปได้ 6 เซนติเมตร
จะได้ 1 เซนติเมตร : 2 วา = 1 × 6 เซนติเมตร : 2 × 6 วา
= 6 เซนติเมตร : 12 วา
เนื่องจาก 1 วา เท่ากับ 2 เมตร
ดังนั้นส่วนที่กว้างที่สุดของสนามหญ้านี้ยาว 12 × 2 = 24 เมตร
ตอบ ๒๔ เมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 71

ใบงานที่ 4.1 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/12
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

เติมคาตอบในช่องว่าง
1. แม่ซื้อข้าวสารมา 40 กิโลกรัม เป็นข้าวหอมมะลิ 4 กิโลกรัม แม่ซื้อข้าวหอมมะลิ เปอร์เซ็นต์
ของข้าวสารทั้งหมด

2. พ่อเลี้ยงเป็ดไว้ 52 ตัว เป็นเป็ดตัวเมีย 39 ตัว พ่อเลี้ยงเป็ดตัวผู้คิดเป็นร้อยละ ของเป็ดทั้งหมด

3. อารยาซื้อกระเป๋ามาราคา 500 บาท ขายราคา 600 บาท อารยาขายกระเป๋าได้กาไร เปอร์เซ็นต์

4. ลุงบุญปลูกต้นไม้ 250 ต้น ปลูกต้นยางนา 100 ต้น ลุงบุญปลูกต้นยางนาคิดเป็นร้อยละ ของ


ต้นไม้ทั้งหมด

5. แม่ค้ามีข้าวสารอยู่ 80 กิโลกรัม ขายไป 56 กิโลกรัม แม่ค้าเหลือข้าวสารคิดเป็นร้อยละ ของ


ที่อยู่เดิม

6. นักเรียนชั้น ป.5 โรงเรียนแห่งหนึ่งมี 96 คน เป็นนักเรียนชาย 48 คิด มีนักเรียนหญิงคิดเป็น


เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทั้งหมด

7. โทรศัพท์ราคา 4,990 บาท ต่อมาลดราคาเหลือ 4,491 บาท ลดราคา เปอร์เซ็นต์ของราคา


เดิม

8. หน่อยซื้อเครื่องเล่นซีดีมาราคา 900 บาท ใช้ไประยะหนึ่งแล้วขายต่อในราคา 630 บาท หน่อยขายขาดทุน


เปอร์เซ็นต์

9. เดือนพฤษภาคมร้านค้าขายชุดนักเรียนได้ 400 ชุด เดือนมิถุนายนขายได้ 668 ชุด ร้านค้าขายชุดนักเรียนได้


เพิ่มขึ้นจากเดือนพฤษภาคมร้อยละ

10. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์มีคะแนนเต็ม 160 คะแนน สมฤดีสอบได้ 136 คะแนน สมฤดีสอบได้ร้อยละ


ของคะแนนเต็ม
ห น้ า | 72 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 4.2 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/12
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาหาคาตอบ
1. เรณูมีที่ดิน 120 ไร่ ใช้สาหรับปลูกข้าวโพด 84 ไร่ เนื้อที่ปลูกข้าวโพดคิดเป็นร้อยละเท่าใดของที่ดินทั้งหมด

2. ถนนสายหนึ่งยาว 240 กิโลเมตร ราดยางไปแล้ว 180 กิโลเมตร ถนนที่ยังไม่ได้ราดยางกี่เปอร์เซ็นต์

3. พ่อค้ามีทุเรียน 7,760 กิโลกรัม ส่งออกไปยังประเทศจีนแล้ว 6,208 กิโลกรัม ยังเหลือทุเรียนคิดเป็นร้อยละ


เท่าใดของทุเรียนทั้งหมด
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 73

ใบงานที่ 4.3 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับร้อยละ (3)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/12
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาหาคาตอบ
1. นิตยาซื้อกระเป๋ามาราคา 300 บาท ขายไป 345 บาท นิตยาขายกระเป๋าได้กาไรกี่เปอร์เซ็นต์

2. ร้านค้าขายโทรทัศน์เครื่องหนึ่งราคา 4,800 บาท ได้กาไร 20% ร้านค้าซื้อโทรทัศน์เครื่องนี้มาราคาเท่าใด

3. แม่ค้าขายเสื้อตัวหนึ่ง 285 บาท ขาดทุน 5% แม่ค้าซื้อเสื้อตัวนี้มาราคาเท่าใด


ห น้ า | 74 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 4.4 เรื่อง อัตราส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/11
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

เขียนอัตราส่วนแทนข้อความในแต่ละข้อต่อไปนี้

1. นักเรียน 2 คน ดื่มน้า 7 ขวด


ตอบ
2. พวงกุญแจ 3 อัน ราคา 100 บาท
ตอบ
3. กินขนม 5 ชิ้น ใช้เวลา 9 นาที
ตอบ
4. จานวนต้นลาไย 8 ต้น ต่อจานวนต้นลิ้นจี่ 5 ต้น
ตอบ
5. จานวนรถบัส 12 คัน ต่อจานวนคน 600 คน
ตอบ
6. ที่ดิน 1 ไร่ ราคา 150,000 บาท
ตอบ
7. แม่ไก่ 30 ตัว ออกไข่ 150 ฟอง
ตอบ
8. นักเรียน 2 คน ต่อคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง
ตอบ
9. รายงาน 30 หน้า ใช้เวลาทา 6 ชั่วโมง
ตอบ
10. ราคาส้มตาครกละ 40 บาท
ตอบ
11. นั่งรถสองแถว 10 กิโลเมตร ใช้เวลา 30 นาที
ตอบ
12. อ่านการ์ตูน 1 เรื่อง ใช้เวลา 45 นาที
ตอบ
13. ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน ใช้ได้นาน 10 ชั่วโมง
ตอบ
14. สมรักษ์ใช้เงิน 7,800 บาท ต่อ 30 วัน
ตอบ
15. ไข่ไก่ 12 ฟอง ให้พลังงาน 840 กิโลแคลอรี
ตอบ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 75

ใบงานที่ 4.5 เรื่อง อัตราส่วนที่เท่ากัน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/11
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

1. หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้อีก 2 อัตราส่วน โดยใช้วิธีคูณ


1) 2 : 3
………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) 5 : 9
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) 7 : 8
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้อีก 2 อัตราส่วน โดยวิธีหาร
1) 100 : 150
………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) 90 : 60
………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) 120 : 180
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. เติม  หน้าข้อที่อัตราส่วนที่เท่ากัน หรือ X หน้าข้อที่อัตราส่วนที่ไม่เท่ากัน
……………….. 1) 3 : 2 และ 6 : 4
……………….. 2) 4 : 5 และ 12 : 15
……………….. 3) 9 : 5 และ 36 : 25
……………….. 4) 15 : 3 และ 5 : 1
……………….. 5) 30 : 90 และ 3 : 9
……………….. 6) 80 : 4 และ 40 : 2
……………….. 7) 1.5 : 4 และ 3 : 12
……………….. 8) 6 : 9.6 และ 30 : 48
……………….. 9) 77 : 11 และ 7 : 1
……………….. 10) 5.4 : 6 และ 1.8 : 2
ห น้ า | 76 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 4.6 เรื่อง มาตราส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/11
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาหาคาตอบ
1. มาตราส่วน 1 : 200

จากภาพ บ้านหลังนี้กว้างเท่าใด

2. รูปตึกหลังหนึ่งวัดความสูงจากพื้นถึงหลังคาได้ 12 เซนติเมตร ถ้ารูปนี้ ใช้มาตราส่วน 1 เซนติเมตร : 1.5 เมตร


ตึกหลังนี้สูงกี่เมตร

3. แผนผังแสดงตาแหน่งของชุมชนแห่งหนึ่งใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 3 กม. ถ้าในแผนผังบ้านของสุดาอยู่ห่างจาก


วัด 2.8 เซนติเมตร บ้านของสุดาอยู่ห่างจากวัดกี่กิโลเมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 77

ใบงานที่ 4.7 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/11
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาหาคาตอบ
1. กระดาษแผ่นหนึ่งมีอัตราส่วนของด้านกว้าง ต่อ ด้านยาว เป็น 2 : 5 ถ้ากระดาษแผ่นนี้มีด้านกว้างยาว
26 เซนติเมตร กระดาษแผ่นนี้มีด้านยาวยาวเท่าใด

2. ช่างตัดเสื้อสาเร็จรูป มีอัตราส่วนของผ้าที่ใช้ ต่อ จานวนเสื้อที่ตัดได้ เป็น 5 เมตร : 2 ตัว ถ้าช่างตัดเสื้อใช้ผ้า


35 เมตร และขายเสื้อได้ตัวละ 250 บาท ช่างตัดเสื้อจะได้เงินกี่บาท

3. อัตราส่วนของจานวนนก ต่อ จานวนไก่ เป็น 11 : 9 ถ้าจานวนไก่น้อยกว่าจานวนนก 10 ตัว นกมีกี่ตัว


ห น้ า | 78 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 4.8 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับมาตราส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/11
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีทาหาคาตอบ
1. แผนผังของหมู่บ้านแห่งหนึ่งใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 250 ม. ถ้าพ่อวิ่งกาลังกายจากบ้านไปที่วัด จากนั้นวิ่งไป
ที่ตลาด แล้ววิ่งกลับตามเส้นทางเดิม พ่อจะวิ่งได้ระยะทางกี่กิโลเมตร

บ้าน
วัด

ตลาด

2. สวนธารณะแห่งหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าวัดความกว้างและความยาวในแผนผังได้ 25 เซนติเมตร และ


32 เซนติเมตร ตามลาดับ ถ้ารูปนี้ใช้มาตรส่วน 1 : 1,500 สวนสาธารณะแห่งนี้มีพื้นที่กี่ตารางเมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 79

แบบทดสอบบทที่ 4 เรื่อง ร้อยละและอัตราส่วน


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.6/11, ป.6/12
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

ทาเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. นักเรียนห้อง ป.6/1 มี 40 คน เป็นนักเรียนชาย 6. เหน่งขายโซฟาชุดหนึ่ง 4,200 บาท ได้กาไร


22 คน นักเรียนชายคิดเป็นร้อยละเท่าใดของ 20% เหน่งซื้อโซฟามากี่บาท
นักเรียนทั้งหมด ก. 3,250 บาท ข. 3,500 บาท
ก. ร้อยละ 55 ข. ร้อยละ 50 ค. 3,750 บาท ง. 4,000 บาท
ค. ร้อยละ 45 ง. ร้อยละ 40
7. ในชั้นเรียนมีนักเรียน 24 คน อัตราส่วนของ
2. มัณฑนาเก็บมังคุดได้ 560 กิโลกรัม ขายไป 364 นักเรียนชายต่อนักเรียนหญิงเป็น 3 : 5
กิโลกรัม มัณฑนายังเหลือมังคุดร้อยละเท่าใด ในชั้นเรียนนี้มีนักเรียนหญิงกี่คน
ก. ร้อยละ 70 ข. ร้อยละ 65 ก. 15 คน ข. 12 คน
ค. ร้อยละ 40 ง. ร้อยละ 35 ค. 9 คน ง. 6 คน

3. ปีที่แล้วชาวนาเก็บผลผลิตข้าวได้ 3200 กิโลกรัม ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 8 – 10


ปีนี้ได้ 3,584 กิโลกรัม ปีนี้เก็บเกี่ยวได้เพิ่มจากปีที่ “รูปสนามแห่งหนึ่งวัดความกว้างและความยาวได้
แล้วกี่เปอร์เซ็นต์ 8 เซนติเมตร และ 12 เซนติเมตร ตามลาดับ ถ้ารูป
ก. 10 เปอร์เซ็นต์ ข. 11 เปอร์เซ็นต์ นี้ใช้มาตราส่วน 1 : 1,000”
ค. 12 เปอร์เซ็นต์ ง. 13 เปอร์เซ็นต์
8. สนามเด็กเล่นแห่งนี้มีความกว้างและความยาว
กี่เมตร
4. กัลยาซื้อรองเท้ามาคู่ละ 320 บาท ขายไป 400
ก. กว้าง 0.8 เมตร ยาว 1.2 เมตร
บาท กัลยาขายได้กาไรกี่เปอร์เซ็นต์
ข. กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร
ก. 80 เปอร์เซ็นต์ ข. 75 เปอร์เซ็นต์
ค. กว้าง 80 เมตร ยาว 120 เมตร
ค. 30 เปอร์เซ็นต์ ง. 25 เปอร์เซ็นต์
ง. กว้าง 800 เมตร ยาว 1,200 เมตร
5. พ่อค้าติดราคาขายโทรทัศน์ 9,900 บาท ขายไป
9. สนามมีพื้นที่เท่าใด
9,108 บาท พ่อค้าลดราคาโทรทัศน์กี่เปอร์เซ็นต์
ก. 8 เปอร์เซ็นต์ ข. 9 เปอร์เซ็นต์ ก. 0.96 ตารางเมตร ข. 96 ตารางเมตร
ค. 10 เปอร์เซ็นต์ ง. 11 เปอร์เซ็นต์ ค. 9,600 ตารางเมตร ง. 0.96 ตารางกิโลเมตร
10. ถ้าพีชญาวิ่งรอบสนามนี้ 2 รอบ พีชญาวิ่งได้
เป็นระยะทางเท่าใด
ก. 400 เมตร ข. 800 เมตร
ค. 1,200 เมตร ง. 1,600 เมตร
ห น้ า | 80 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยบทที่ 4
ร้อยละและอัตราส่วน
เฉลยใบงานที่ 4.1
1) 10 เปอร์เซ็นต์ 2) ร้อยละ 25
3) 20 เปอร์เซ็นต์ 4) ร้อยละ 40
5) ร้อยละ 30 6) 50 เปอร์เซ็นต์
7) 10 เปอร์เซ็นต์ 8) 30 เปอร์เซ็นต์
9) ร้อยละ 67 10) ร้อยละ 85

เฉลยใบงานที่ 4.2
1. วิธีทา เรณูมีที่ดิน 120 ไร่ ใช้สาหรับปลูกข้าวโพด 84 ไร่
84
ถ้าที่ดิน 1 ไร่ ใช้สาหรับปลูกข้าวโพด ไร่
120
84
ถ้าที่ดิน 100 ไร่ ใช้สาหรับปลูกข้าวโพด 100  = 70 ไร่
120
ดังนั้นเนื้อที่ปลูกข้าวโพดคิดเป็นร้อยละ 70 ของที่ดินทั้งหมด
ตอบ ๗๐ ไร่
2. วิธีทา ถนนสายหนึ่งยาว 240 กิโลเมตร ราดยางไปแล้ว 180 กิโลเมตร
เป็นถนนที่ยังไม่ได้ราดยาง 240 – 180 = 60 กิโลเมตร
ถนนสายหนึ่งยาว 240 กิโลเมตร ยังไม่ได้ราดยาง 60 กิโลเมตร
60
ถ้าถนน 1 กิโลเมตร ยังไม่ได้ราดยาง กิโลเมตร
240
60
ถ้าถนน 100 กิโลเมตร ยังไม่ได้ราดยาง 100  = 25 กิโลเมตร
240
ดังนั้นยังมีถนนที่ไม่ได้ราดยาง 25 เปอร์เซ็นต์
ตอบ ๒๕ เปอร์เซ็นต์
3. วิธีทา พ่อค้ามีทุเรียน 7,760 กิโลกรัม ส่งออกไปยังประเทศจีนแล้ว 6,208 กิโลกรัม
ยังเหลือทุเรียน 7,760 – 6,208 = 1,552 กิโลกรัม
ทุเรียน 7,760 กิโลกรัม ยังเหลือ 1,552 กิโลกรัม
1,552
ทุเรียน 1 กิโลกรัม ยังเหลือ กิโลกรัม
7,760
1,552
ทุเรียน 100 กิโลกรัม ยังเหลือ 100  = 20 กิโลกรัม
7,760
ดังนั้น ยังเหลือทุเรียนคิดเป็นร้อยละ 20 ของทุเรียนทั้งหมด
ตอบ ร้อยละ ๒๐
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 81

เฉลยใบงานที่ 4.3
1. วิธีทา นิตยาขายกระเป๋าได้กาไร 345 – 300 = 45 บาท
ทุน 300 บาท ขายได้กาไร 45 บาท
45
ทุน 1 บาท ขายได้กาไร บาท
300
45
ทุน 100 บาท ขายได้กาไร 100  = 15 บาท
300
ดังนั้น นิตยาขายกระเป๋าได้กาไร 15 เปอร์เซ็นต์
ตอบ ๑๕ เปอร์เซ็นต์
2. วิธีทา ทุนของโทรทัศน์ 100 บาท ขายได้กาไร 20 บาท นั่นคือขายไป 100 + 20 = 120 บาท
ถ้าขายโทรทัศน์ 120 บาท จากทุน 100 บาท
100
ขายโทรทัศน์ 1 บาท จากทุน บาท
120
100
ขายโทรทัศน์ 4,800 บาท จากทุน 4,800  = 4,000 บาท
120
ดังนั้น ร้านค้าซื้อโทรทัศน์เครื่องนี้มาราคา 4,000 บาท
ตอบ ๔,๐๐๐ บาท
3. วิธีทา ทุนของเสื้อ 100 บาท ขายขาดทุน 5 บาท นั่นคือขายไป 100 – 5 = 95 บาท
ถ้าขายเสื้อ 95 บาท จากทุน 100 บาท
100
ขายเสื้อ 1 บาท จากทุน บาท
95
100
ขายเสื้อ 285 บาท จากทุน 285  = 300 บาท
95
ดังนั้น แม่ค้าซื้อเสื้อตัวนี้มาราคา 300 บาท
ตอบ ๓๐๐ บาท

เฉลยใบงานที่ 4.4
1. 2 คน : 7 ขวด
2. 3 อัน : 100 บาท
3. 5 ชิ้น : 9 นาที
4. 8 : 5
5. 12 คัน : 600 คน
6. 1 ไร่ : 150,000 บาท
7. 30 ตัว : 150 ฟอง
8. 2 คน : 1 เครื่อง
ห น้ า | 82 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

9. 30 หน้า : 6 ชั่วโมง
10. 1 ครก : 40 บาท
11. 10 กิโลเมตร : 30 นาที
12. 1 เรื่อง : 45 นาที
13. 4 ก้อน : 10 ชั่วโมง
14. 7,800 บาท : 30 วัน
15. 12 ฟอง : 840 กิโลแคลอรี

เฉลยใบงานที่ 4.5
1. 1) เช่น 4 : 6 6:9
2) เช่น 10 : 18 15 : 27
3) เช่น 14 : 16 21 : 24
2. 1) เช่น 50 : 75 20 : 30
2) เช่น 30 : 20 9:6
3) เช่น 12 : 18 2:3
3. 1)  2)  3)  4)  5) 
6)  7)  8)  9)  10) 

เฉลยใบงานที่ 4.6
1. วิธีทา จากมาตราส่วน 1 : 200
วัดจากรูปได้ 4 เซนติเมตร
ดังนั้น จะได้บ้านหลังนี้กว้าง 4 × 200 = 800 เซนติเมตร หรือ 8 เมตร
ตอบ ๘ เมตร

2. วิธีทา จากมาตรส่วน 1 เซนติเมตร : 1.5 เมตร


วัดรูปตึกได้สูง 12 เซนติเมตร ดังนั้นตึกสูง 12 × 1.5 = 18 เมตร
ตอบ ๑๘ เมตร

3. วิธีทา จากมาตราส่วน 1 ซม. : 3 กม.


ในแผนผังบ้านของสุดาอยู่ห่างจากวัด 2.8 เซนติเมตร
ดังนั้น บ้านของสุดาอยู่ห่างจากวัด 2.8 × 3 = 8.4 กิโลเมตร
ตอบ ๘.๔ กิโลเมตร
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 83

เฉลยใบงานที่ 4.7
1. วิธีทา กระดาษแผ่นหนึ่งมีอัตราส่วนของด้านกว้าง ต่อ ด้านยาว เป็น 2 : 5
และเนื่องจาก 26 ÷ 2 = 13
จะได้ 2 : 5 = 2 × 13 : 5 × 13
= 26 : 65
ดังนั้น ถ้ากระดาษแผ่นนี้มีด้านกว้างยาว 26 เซนติเมตร กระดาษแผ่นนี้มีด้านยาว
ยาว 65 เซนติเมตร
ตอบ ๖๕ เซนติเมตร

2. วิธีทา ช่างตัดเสื้อสาเร็จรูป มีอัตราส่วนของผ้าที่ใช้ ต่อ จานวนเสื้อที่ตัดได้ เป็น 5 เมตร : 2 ตัว


และเนื่องจาก 35 ÷ 5 = 7
จะได้ 5:2= 5×7:2×7
= 35 : 14
ดังนั้น ช่างตัดเสื้อใช้ผ้า 35 เมตร ตัดเสื้อได้ 14 ตัว
และขายเสื้อได้ตัวละ 250 บาท ช่างตัดเสื้อจะได้เงิน 14 × 250 = 3,500 บาท
ตอบ ๓,๕๐๐ บาท

3. วิธีทา อัตราส่วนของจานวนนก ต่อ จานวนไก่ เป็น 11 : 9


จากอัตราส่วนจานวนนกมากว่าไก่ 11 – 9 = 2 ส่วน
เนื่องจาก จานวนไก่น้อยกว่าจานวนนก 10 ตัว และ 10 ÷ 2 = 5
จะได้ จานวนนก 11 × 5 = 55 ตัว
ตอบ ๕๕ ตัว
เฉลยใบงานที่ 4.8
1. วิธีทา แผนผังของหมู่บ้านแห่งหนึ่งใช้มาตราส่วน 1 ซม. : 250 ม.
พ่อวิ่งกาลังกายจากบ้านไปที่วัด จากนั้นวิ่งไปที่ตลาด
เป็นระยะทางในแผนผัง 5.5 + 2.8 = 8.3 เซนติเมตร
วิ่งไปและกลับเส้นทางเดิมจะได้ 2 × 8.3 = 16.6 เซนติเมตร
ดังนั้น พ่อวิง่ ได้ระยะทาง 16.6 × 250 = 4,150 เมตร หรือเท่ากับ 4.15 กิโลเมตร
ตอบ ๔.๑๕ กิโลเมตร
2. วิธีทา จากมาตรส่วน 1 : 1,500
สวนธารณะมีความกว้าง 25 × 1,500 = 37,500 เซนติเมตร
ซึ่งเท่ากับ 375 เมตร
และมีความยาว 32 × 1,500 = 48,000 เซนติเมตร
ซึ่งเท่ากับ 480 เมตร
ห น้ า | 84 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

จากพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ความกว้าง × ความยาว


= 375 × 480
= 180,000 ตารางเมตร
ดังนั้น สวนสาธารณะแห่งนี้มีพื้นที่ 180,000 ตารางเมตร
ตอบ ๑๘๐,๐๐๐ ตารางเมตร

เฉลยแบบทดสอบบทที่ 4
1. ก 2. ง 3. ค 4. ง 5. ก
6. ข 7. ก 8. ค 9. ค 10. ข

วิธีคิดข้อ 6 เหน่งขายโซฟาชุดหนึ่ง 4,200 บาท ได้กาไร 20%


ขายไป 120 บาท จากทุน 100 บาท
100
ขายไป 1 บาท จากทุน บาท
120
100
ขายไป 4,200 บาท จากทุน 4,200  = 3,500 บาท
120
ดังนั้น เหน่งซือ้ โซฟามา 3,5000 บาท  ตอบ ข้อ ข
วิธีคิดข้อ 7 ในชั้นเรียนมีนักเรียน 24 คน
อัตราส่วนของนักเรียนชายต่อนักเรียนหญิงเป็น 3 : 5
ดังนั้น นักเรียนชายและหญิงรวมกันเป็น 3 + 5 = 8 ส่วน
เนื่องจาก 24 ÷ 8 = 3
ดังนั้น ในชั้นเรียนนี้มีนักเรียนหญิง 5 × 3 = 15 คน  ตอบ ข้อ ก
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 85

บทที่ 5
แบบรูป
แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปเป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะที่แสดงลักษณะสาคัญร่วมกันของชุดของจานวน
รูปเรขาคณิต หรืออื่นๆ
ตัวอย่างที่ 1 พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
5 7 10 14 19 ...
จะเห็นว่าเป็นแบบรูป แบบเพิ่มขึ้น
5 7 10 14 19 25
+2 +3 +4 +5 +6

ดังนั้น จานวนที่อยู่ถัดจาก 19 เป็น 25 เพราะ 19 + 6 = 25

ตัวอย่างที่ 2 พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
98 87 76 65 54 ...
จะเห็นว่าเป็นแบบรูป แบบลดลง
98 87 76 65 54 43
11 11 11 11 11

ดังนั้น จานวนที่อยู่ถัดจาก 54 เป็น 43 เพราะ 54 – 11 = 43

ตัวอย่างที่ 3 พิจารณาแบบรูปต่อไปนี้
4 8 16 32 64 ...
จะเห็นว่าเป็นแบบรูป แบบเพิ่มขึ้น
4 8 16 32 64 128
×2 ×2 ×2 ×2 ×2

ดังนั้น จานวนที่อยู่ถัดจาก 64 เป็น 128 เพราะ 64 × 2 = 128


ห น้ า | 86 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาการเรียง ต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

 รูปที่ 5 และ รูปที่ 10 มี กี่รูป


จากการสังเกต
รูปที่ 1 มี 2 รูป หรือ 1 × 2 รูป
รูปที่ 2 มี 4 รูป หรือ 2 × 2 รูป
รูปที่ 3 มี 6 รูป หรือ 3 × 2 รูป
รูปที่ 4 มี 8 รูป หรือ 4 × 2 รูป
ดังนั้น รูปที่ 5 มี 5 × 2 = 10 รูป
และ รูปที่ 10 มี 10 × 2 = 20 รูป

ตอบ รูปที่ 5 มี 10 รูป และรูปที่ 10 มี 20 รูป

จากข้อนี้ถ้าเขียนเป็นแบบรูปของจานวนก็จะได้เป็น 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 ... นั่นเอง

ตัวอย่างที่ 5 พิจารณาการเรียง ต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

 รูปที่ 5 และ รูปที่ 10 มี กี่รูป


จากการสังเกต
รูปที่ 1 มี 5 รูป หรือ (1 × 3) + 2 รูป
รูปที่ 2 มี 8 รูป หรือ (2 × 3) + 2 รูป
รูปที่ 3 มี 11 รูป หรือ (3 × 3) + 2 รูป
รูปที่ 4 มี 14 รูป หรือ (4 × 3) + 2 รูป
ดังนั้น รูปที่ 5 มี (5 × 3) + 2 = 17 รูป
และ รูปที่ 10 มี (10 × 3) + 2 = 32 รูป
ตอบ รูปที่ 5 มี 17 รูป และรูปที่ 10 มี 32 รูป
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 87

การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป
ตัวอย่างที่ 6 พิจารณาการจัดวางกระเบื้องรูปหกเหลี่ยมเพื่อปูทางเดินของศิริลักษณ์ดังนี้

แนวขอบทางเดิน

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3

ถ้าศิริลักษณ์ต้องการปูกระเบื้องในแนวนอนโดยใช้ขอบทางเดินด้านหนึ่งเป็นกระเบื้องสีฟ้าจานวน 40
แผ่น ศิริลักษณ์จะต้องใช้กระเบื้องสีฟ้าและสีชมพูอย่างละกี่แผ่น

วิธีคิด เนื่องจากรูปที่ 1 มีกระเบื้องสีฟ้าที่อยู่ชิดขอบทางเดิน 2 แผ่น ดังนั้นศิริลักษณ์ต้องการจานวน


40 แผ่น จึงเป็นรูปที่ 20 นั่นเอง
รูปที่ กระเบื้องสีฟ้า กระเบื้องสีชมพู
1 4 หรือ 5 – 1 1
หรือ (1 × 5) – 1
2 9 หรือ 10 – 1 2
หรือ (2 × 5) – 1
3 14 หรือ 15 – 1 3
หรือ (3 × 5) – 1
4 19 หรือ 20 – 1 4
หรือ (4 × 5) – 1
ดังนั้นรูปที่ 20 (20 × 5) – 1 = 100 – 1 20
= 99
ตอบ ศิริลักษณ์ต้องใช้กระเบื้องสีฟ้า ๙๙ แผ่น สีชมพู ๒๐ แผ่น

จัดวางแบบนี้ก็สวยดีเหมือนกัน
นะครับ เพื่อน ๆ ลองออกแบบ
การปูกระเบื้องแบบที่ชอบดูครับ
ห น้ า | 88 วิชาคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6

จากการสังเกตตัวอย่างที่ 5 ถ้าจัดให้อยู่ในแบบรูปของตัวเลขจะได้เป็น
5 8 11 14 17 ... เป็นการเพิ่มขึ้นทีละ 3 และเริ่มต้นที่ 5 ซึ่ง 5 = 3 + 2
+3 +3 +3 +3 และจากรูปที่ 5 ได้ (5 × 3) + 2 รูปที่ 10 ได้ (10 × 3) + 2
ดังนั้น เราสามารถหารูปที่ n ได้เป็น (n × 3) + 2

จากการสังเกตตัวอย่างที่ 6 การจัดเรียงกระเบื้องสีฟ้าถ้าจัดให้อยู่ในแบบรูปของตัวเลขจะได้เป็น
4 9 14 19 24 ... เป็นการเพิ่มขึ้นทีละ 5 และเริ่มต้นที่ 4 ซึง่ 4 = 5 – 1
+5 +5 +5 +5 และจากรูปที่ 4 ได้ (4 × 5) – 1 รูปที่ 20 ได้ (20 × 5) – 1
ดังนั้น เราสามารถหารูปที่ n ได้เป็น (n × 5) – 1

จาแบบง่าย ๆ ก็ได้นะคะ บวกเพิ่มทีละเท่าไหร่ก็เอา รูปที่ คูณด้วย จำนวนนั้น


จะบวกหรือลบเท่าไหร่ก็สังเกตที่จานวนแรก

เช่น 2 6 10 14 18 …
เพิ่มทีละ 4 จานวนแรกคือ 2 ดังนั้นจะได้เป็น (n × 4) – 2
รูปที่ 5 จะได้เป็น (5 × 4) – 2 = 18
รูปที่ 10 จะได้เป็น (10 × 4) – 2 = 38

 ระดับชั้น ป.6 ไม่ได้ให้นักเรียนทาให้อยู่ในรูปทั่วไป (n)


แต่เพื่อน ๆ ก็สามารถจาเพื่อนาไปใช้ได้นะคะ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 89

ตัวอย่างที่ 7 แผ่นกระเบื้องรูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าที่ยาวด้านละ 1 หน่วย กิตติชัยนามาเรียงต่อกัน


ดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

ถ้ากิตติชัยวางแผ่นกระเบื้องต่อกันลักษณะเช่นนี้ 15 แผ่น จะมีความยาวรอบรูปกี่หน่วย


วิธีคิด
จากการสังเกต
รูปที่ 1 มีความยาวรอบรูป 6 หรือ 5 + 1 หรือ (1 × 5) + 1 หน่วย
รูปที่ 2 มีความยาวรอบรูป 11 หรือ 10 + 1 หรือ (2 × 5) + 1 หน่วย
รูปที่ 3 มีความยาวรอบรูป 16 หรือ 15 + 1 หรือ (3 × 5) + 1 หน่วย
รูปที่ 4 มีความยาวรอบรูป 21 หรือ 20 + 1 หรือ (4 × 5) + 1 หน่วย
ดังนั้น รูปที่ 15 จะมีความยาวรอบรูป (15 × 5) + 1 = 75 + 1 หน่วย
= 76 หน่วย
นั่นคือ ถ้ากิตติชัยวางแผ่นกระเบื้องต่อกันลักษณะเช่นนี้ 15 แผ่น จะมีความยาวรอบรูป 76 หน่วย
ตอบ ๗๖ หน่วย

ตัวอย่างที่ 8 เมื่อสิ้นเดือนมกราคมสุดาฝากเงินที่ธนาคารแห่งหนึ่ง 500 บาท เดือนถัดไปฝากเพิ่มจาก


เดือนก่อนหน้าหน้า 100 บาท ทุก ๆ เดือน อยากทราบว่าในเดือนธันวาคมสุดาจะฝากเงินเท่าใด
วิธีคิด สุดาฝากเงินเดือนแรก เดือนมกราคม 500 บาท เดือนถัดไปฝากเพิ่ม 100 บาท ทุก ๆ เดือน
จะได้ว่า เดือนที่ 2 500 + 100 = 600 บาท
เดือนที่ 3 600 + 100 = 700 บาท
เดือนที่ 4 700 + 100 = 800 บาท
เขียนเป็นแบบรูปของจานวนได้เป็น
500 600 700 800 ...
เดือนที่ 1 ฝาก 500 บาท หรือ (0 × 100) + 500 บาท
เดือนที่ 2 ฝาก 600 บาท หรือ (1 × 100) + 500 บาท
เดือนที่ 3 ฝาก 700 บาท หรือ (2 × 100) + 500 บาท
เดือนที่ 4 ฝาก 800 บาท หรือ (3 × 100) + 500 บาท
ดังนั้น เดือนที่ 12 ฝาก (11 × 100) + 500 = 1,600 บาท
นั่นคือ เดือนธันวาคม สุดาฝากเงิน 1,600 บาท
ตอบ ๑,๖๐๐ บาท
ห น้ า | 90 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 5.1 เรื่อง แบบรูปและความสัมพันธ์ (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.2 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

เติมจานวนที่อยู่ใน

1) 3 4 7 12 39

2) 3 9 12 15 18

3) 1 4 13 19 34

4) 15 23 31 35 39

5) 2 8 60 90 126

6) 412 415 430 442 475

7) 1 2 48 384 46,080

8) 100 98 94 80 58

9) 5 15 75 4,725 675,675

10) 11,520 5,760 240 3


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 91

ใบงานที่ 5.2 เรื่อง แบบรูปและความสัมพันธ์ (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.2 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีคิดหาคาตอบ
พิจารณาการเรียง ต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

จงหาจานวนรูป ในรูปที่ 5 และ รูปที่ 6


ห น้ า | 92 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 5.3 เรื่อง แบบรูปและความสัมพันธ์ (3)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.2 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

แสดงวิธีคิดหาคาตอบ
พิจารณาการเรียงรูปสี่เหลี่ยมสีม่วง และสีชมพู ต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

จงหาจานวนรูปสี่เหลี่ยมสีม่วง และสีชมพู ในรูปที่ 5 และรูปที่ 10


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 93

ใบงานที่ 5.4 เรื่อง การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป (1)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.2 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

พิจารณาจากรูป แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 1 หน่วย จิราพรนามาเรียงต่อกัน ดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

ถ้าจิราพรวางแผ่นกระดาษต่อกันลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ รูปที่ 8 จะมีความยาวรอบรูปกี่หน่วย


ห น้ า | 94 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

ใบงานที่ 5.5 เรื่อง การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป (2)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.2 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

พิจารณาจากรูป แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 2 หน่วย ศุภชัยนามาเรียงต่อกัน ดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

ถ้าจิราพรวางแผ่นกระดาษต่อกันลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ รูปที่ 10 จะมีพื้นที่กตี่ ารางหน่วย


วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 95

ใบงานที่ 5.6 เรื่อง การแก้ปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป (3)


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.2 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

พิจารณาจากรูป การวางเหรียญ โดย 5 แทนเหรียญ 5 บาท และ 1


แทนเหรียญ 1 บาท

1 1 1 1 1 1
1 1 1

5 5 5 5 5 5
1 1 1 1 1 1
1 1 1

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3

จานวนเหรียญในรูปที่ 5 คิดเป็นจานวนเงินเท่าใด
ห น้ า | 96 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

แบบทดสอบบทที่ 5 เรื่อง แบบรูป


สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต ตัวชี้วัด ค 1.2 ป.6/1
ชื่อ – สกุล ชั้น เลขที่

ทาเครื่องหมาย X ทับข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. แบบรูปในข้อใดต่างจากพวก 7. 4 12 28 124 จานวนที่หายไป


ก. 2 4 6 8 ข. 25 23 21 19 คือข้อใด
ค. 18 20 22 24 ง. 7 9 11 13 15 ก. 54 ข. 56
ค. 58 ง. 60
2. 40 44 48 56 จานวนที่
หายไปคือข้อใด 8. การจัดเก้าอี้ในห้องประชุมแห่งหนึ่ง แถวที่ 1 มี
ก. 52 60 ข. 50 60 3 ตัว แถวที่ 2 มี 6 ตัว แถวที่ 3 มี 12 ตัว แถวที่ 4
ค. 54 62 ง. 54 64 มี 24 ตัว ถ้าจัดเก้าอี้ในลักษณะนี้แถวที่ 5 มีกี่ตัว
ก. 44 ตัว ข. 46 ตัว
3. 65 53 47 41 จานวนที่หายไป ค. 48 ตัว ง. 50 ตัว
คือข้อใด
ก. 73 61 ข. 72 60 9. จากข้อ 8 ถ้าจัดเก้าอี้ลักษณะนี้ถึงแถว 6 ใน
ค. 71 59 ง. 70 58
หอประชุมแห่งนี้จะมีเก้าอี้ทั้งหมดกี่ตัว
4. 1 4 16 32 จานวนที่หายไป ก. 189 ตัว ข. 96 ตัว
คือข้อใด ค. 84 ตัว ง. 64 ตัว
ก. 5 11 ข. 4 10
ค. 3 9 ง. 2 8 10. ถ้าพ่อฝากเงินธนาคารปีแรก 5,000 บาท
ปีถัดไปฝากเพิ่มจากปีก่อนหน้า 1,000 บาท เมื่อ
5. 1 3 5 7 9 ... จานวนที่ 10 คือจานวนใด ครบ 5 ปี พ่อจะมีเงินฝากเท่าใด
ก. 17 ข. 19 ก. 9,000 บาท
ค. 21 ง. 23 ข. 10,000 บาท
ค. 35,000 บาท
6. 1 4 9 16 49 จานวนที่หายไป ง. 50,000 บาท
คือข้อใด
ก. 25 36 ข. 20 30
ค. 18 28 ง. 16 26
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 97

เฉลยบทที่ 5
แบบรูป
เฉลยใบงานที่ 5.1
1) 3 4 7 12 19 28 39
+1 +3 +5 +7 +9 +11
2) 3 6 9 12 15 18 21
+3 +3 +3 +3 +3 +3

3) 1 4 8 13 19 26 34
+3 +4 +5 +6 +7 +8
4) 15 19 23 27 31 35 39
+4 +4 +4 +4 +4 +4
5) 2 8 20 38 62 92 128
+6 +12 +18 +24 +30 +36
6) 412 415 421 430 442 457 475
+3 +6 +9 +12 +15 +18
7) 1 2 8 48 384 3,840 46,080
×2 ×4 ×6 ×8 ×10 ×12
8) 100 98 94 88 80 70 58
2 4 6 8 10 12
9) 5 15 75 525 4,725 51,975 675,675
×3 ×5 ×7 ×9 ×11 ×13
10) 11,520 5,760 1,440 240 8 3
÷2 ÷4 ÷6 ÷8 ÷10
ห น้ า | 98 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยใบงานที่ 5.2
วิธีคิด

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4


มีรูป จานวน 1 3 6 10
จะเห็นว่าหากเขียนให้อยู่แบบรูปของจานวนจะเป็นแบบรูปเพิ่มขึ้นที่มีความสัมพันธ์ดังนี้
1 3 6 10 15 21

+2 +3 +4 +5 +6
ดังนั้น รูปที่ 5 มี 15 รูป รูปที่ 6 มี 21 รูป
ตอบ รูปที่ ๕ มี ๑๕ รูป และรูปที่ ๖ มี ๒๑ รูป

เฉลยใบงานที่ 5.3
พิจารณาการเรียงรูปสี่เหลี่ยมสีม่วง และสีชมพู ต่อไปนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

หาจานวนรูปสี่เหลี่ยมสีม่วง และสีชมพู ในรูปที่ 5 และรูปที่ 10


รูปที่ รูปสี่เหลี่ยมสีม่วง รูปสี่เหลี่ยมสีชมพู
1 8 หรือ 4 × 2 1=1×1
หรือ 4 × (1 + 1)
2 12 หรือ 4 × 3 4=2×2
หรือ 4 × (2 + 1)
3 16 หรือ 4 × 4 9=3×3
หรือ 4 × (3 + 1)
4 20 หรือ 4 × 5 16 = 4 × 4
หรือ 4 × (4 + 1)
ดังนั้น รูปที่ 5 4 × (5 + 1) = 4 × 6 = 24 5 × 5 = 25
ดังนั้น รูปที่ 10 4 × (10 + 1) = 4 × 11 = 44 10 × 10 = 100
ตอบ รูปสี่เหลี่ยมสีม่วง รูปที่ ๕ มี ๒๔ รูป และรูปที่ ๑๐ มี ๔๔ รูป
รูปสี่เหลี่ยมสีชมพู รูปที่ ๕ มี ๒๕ รูป และรูปที่ ๑๐ มี ๑๐๐ รูป
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห น้ า | 99

เฉลยใบงานที่ 5.4
พิจารณาจากรูป แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 1 หน่วย จิราพรนามาเรียงต่อกัน ดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4

ถ้าจิราพรวางแผ่นกระดาษต่อกันลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ
จากรูป พบว่า
รูปที่ 1 มีความยาวรอบรูป 4 หน่วย หรือ (1 × 3) + 1 หน่วย
รูปที่ 2 มีความยาวรอบรูป 7 หน่วย หรือ (2 × 3) + 1 หน่วย
รูปที่ 3 มีความยาวรอบรูป 10 หน่วย หรือ (3 × 3) + 1 หน่วย
รูปที่ 4 มีความยาวรอบรูป 13 หน่วย หรือ (4 × 3) + 1 หน่วย
ดังนั้น รูปที่ 8 มีความยาวรอบรูป (8 × 3) + 1 = 25 หน่วย
ตอบ รูปที่ ๘ มีความยาวรอบรูป ๒๕ หน่วย

เฉลยใบงานที่ 5.5
พิจารณาจากรูป แผ่นกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 2 หน่วย ศุภชัยนามาเรียงต่อกัน และวาง
แผ่นกระดาษต่อกันลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ ดังรูป

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 รูปที่ 4


จากการสังเกต
รูปที่ 1 มี 5 รูป หรือ (1 × 3) + 2 รูป
รูปที่ 2 มี 8 รูป หรือ (2 × 3) + 2 รูป
รูปที่ 3 มี 11 รูป หรือ (3 × 3) + 2 รูป
รูปที่ 4 มี 14 รูป หรือ (4 × 3) + 2 รูป
จะได้ รูปที่ 10 มี (10 × 3) + 2 = 32 รูป
เนื่องจาก 1 รูป มีพื้นที่ = 2 × 2 = 4 ตารางหน่วย
ดังนั้น รูปที่ 10 มีพื้นที่ 32 × 4 = 128 ตารางหน่วย
ตอบ มีพื้นที่ ๑๒๘ ตารางหน่วย
ห น้ า | 100 วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

เฉลยใบงานที่ 5.6

พิจารณาจากรูป การวางเหรียญ โดย 5 แทนเหรียญ 5 บาท และ 1


แทนเหรียญ 1 บาท

1 1 1 1 1 1
1 1 1

5 5 5 5 5 5
1 1 1 1 1 1 1
1 1

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3

รูปที่ จานวนเหรียญ 5 บาท (เหรียญ) จานวนเหรียญ 1 บาท (เหรียญ)


1 1 4 = (1 × 2) + 2
2 2 6 = (2 × 2) + 2
3 3 8 = (3 × 2) + 2
ดังนั้น รูปที่ 5 5 (5 × 2) + 2= 12
นั่นคือ รูปที่ 5 มีเหรียญ 5 บาท 5 เหรียญ คิดเป็นเงิน 5 × 5 = 25 บาท
มีเหรียญ 1 บาท 12 เหรียญ คิดเป็นเงิน 12 × 1 = 12 บาท
รวมรูปที่ 5 คิดเป็นเงิน 25 + 12 = 27 บาท
ตอบ ๒๗ บาท

เฉลยแบบทดสอบบทที่ 5
1. ข 2. ก 3. ค 4. ง 5. ข
6. ก 7. ง 8. ค 9. ก 10. ค

วิธีคิดข้อ 8 - 9
การจัดเก้าอี้ในห้องประชุมแห่งหนึ่ง แถวที่ 1 มี 3 ตัว แถวที่ 2 มี 6 ตัว แถวที่ 3 มี 12 ตัว แถวที่ 4
มี 24 ตัว สามารถเขียนให้อยู่ในแบบรูปของจานวนได้เป็นแบบรูปเพิ่มขึ้นที่มีความสัมพันธ์ ดังนี้
แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวที่ 3 แถวที่ 4 แถวที่ 5 แถวที่ 6
3 6 12 24 48 96
+3 +6 +12 +24 +48

ดังนั้น แถวที่ 5 จัดเก้าอี้ได้ 48 ตัว ข้อ 8 ตอบ ข้อ ค


แถวที่ 1 ถึง 6 มีเก้าอี้ทั้งหมด 3 + 6 + 12 + 24 + 48 + 96 = 189 ตัว ข้อ 9 ตอบ ข้อ ก

You might also like