You are on page 1of 36

-1 -

10152 ไทยกับสั งคมโลก


หน่ วยที 1 สังคมโลก
1. สังคมโลก หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างกันของมนุษยืทีอยูใ่ นประเทศต่างๆ ในโลก เมือพิจารณาวิวฒั นาการของสังคมโลกพบว่า
มีการเปลียนแปลงทีสําคัญแบ่งเป็ น 3 ยุค คือ ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม และยุคสังคมเทคโนโลยี
2. สังคมโลกปัจจุบัน ให้ความสําคัญกับระบบการค้าเสรี สิ งแวดล้อม ระบอบประชาธิปไตย และสิ ทธิมนุษยชน เมือผนวกกับกระแส
โลกาภิวฒั น์ สภาพสังคมโลกในด้านเศรษฐกิจมีแนวโน้มขยายตัวขึน แต่ประเทศทีพัฒนาแล้วในการกีดกันทางการค้าด้วยมาตรการทีไม่ใช่
ภาษี สําหรับด้านการเมือง ระบบการเมืองโลกมีลกั ษณะขัวอํานาจเดียว ส่วนด้านสังคมและวัฒนธรรมเกิดการประสานเป็ นหนึงเดียว หรื อ
เกิดการปะทะกันทางวัฒนธรรม
3. แนวโน้ มการเปลียนแปลงของสังคมโลกในอนาคต จะเกิดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศทีรํารวยและประเทศทียากจนสูงขึน
การเมืองโลกจะเคลือนเข้าสู่ระบบหลายขัววอํานาจ สังคมและวัฒนธรรมโลกจะก้าวเข้าสู่สังคมแห่งปั ญญา

กิจกรรม 1.1.1 จงอธิบายความหมายของสังคมโลกและยกตัวอย่างประกอบ


* ความหมายของสังคมโลกในภาพรวม คือความสัมพันธ์ระหว่างกันของมนุษยทีอยูใ่ นประเทศต่างๆ ในโลก และความสัมพันธ์
ทีเกิดขึนระหว่างประเทศ นอกจากนี อาจให้ความหมายของสังคมโลกในแง่มิติดา้ นกายภาพ มิติดา้ นการรวมกลุ่มผลประโยชน์ระหว่างประเทศ
มิติดา้ นอุดมการณ์ทางการเมือง และมิติดา้ นลําดับการพัฒนาความเจริ ญ

** อัลวิน ทอฟฟเลอร์ นักวิชาการทีมีชือเสี ยงได้วิเคราะห์สถานการณ์ในอดีต ปั จจุบนั และอนาคต ในหนังสื อคลืนลูกทีสาม


โดยเปรี ยบเทียบการเปลียนแปลงของอารยธรรมโลกเหมือนคลืนสามลูกซึงซ้อนทับกัน ประกอบด้วย
คลืนลูกที 1 สังคมเกษตรกรรม ทําให้สงั คมโลกเกิดการเปลียนแปลงทังด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ดังนี
1. ผลทางเศรษฐกิจ ชุมชนแต่ละแห่งต่างทําการผลิตตามความจําเป็ นของชุมชนของตน เป็ นการผลิตเพือยังชีพ ในยุคนีเริ มรู ้จกั
พัฒนาเทคโนโลยีบางประเภทเพืออํานวยความสะดวกในการดํารงชีวิต
2. ผลทางสังคม วิถีชีวิตในยุคนีเริ มสร้างอารยธรรมอย่างเป็ นระบบมากขึน อาทิ การเกิดขึนของศาสนาและกลุ่มความเชือต่างๆ
3. ผลทางการเมือง ในยุคนีผูท้ ีถือครองทีดินถือว่าเป็ นผูม้ ีอาํ นาจทางการเมือง ไม่วา่ จะเป็ นเจ้านาย ขุนนาง กษัตริ ย ์ หรื อจักรพรรดิ
โดยทีประชาชนคือผูอ้ ยูใ่ ต้การปกครอง รู ปแบบการปกครองจะมีลกั ษณะอํานาจนิยมแบบเบ็ดเสร็ จ อํานาจทังหมดรวมศูนย์อยูท่ ีเจ้าผูป้ กครอง
คลืนลูกที 2 สังคมอุตสาหกรรม จุดเปลียนครังสําคัญในช่วงประมาณคริ สต์ศตวรรษที 15-16 เป็ นยุคแห่งการฟื นฟูศิลปวิทยาการ
ในยุคนีมีกลุ่มปั ญญาชนจํานวนหนึง เป็ นผูน้ าํ ในการปลดแอกทางความคิดเพือหลุดพ้นจากการครอบงําของวัฒนธรรมความคิดแบบดังเดิม
มีการนําความรู ้และศิลปะสมัยกรี กและโรมันกลับมาบูรณะอีกครังหนึง
- ลักษณะเด่นแห่งยุคของคลืนลูกทีสองทีสําคัญๆ ดังนี
1. การปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ ส่งผลให้สงั คมมนุษย์ใช้ทฤษฎีความรู ้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ผลจากการทดลอง นํามา
พัฒนาชีวิตความเป็ นอยูใ่ ห้ดีขึน
2. การปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ในยุคนี เครื องชีวดั ความยิงใหญ่และมังคังของประเทศ คือความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ
จํานวนแหล่งแร่ ธาตุวตั ถุดิบทีมีอยู่
- ผลกระทบจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ส่งผลกระทบต่อสังคมในด้านต่างๆ อาทิ
1. ผลทางเศรษฐกิจ เกิดระบบโรงงาน ระบบนายทุน การขยายตัวทางการค้าภายในประเทศและการค้าระหว่างประเทศ
การแข่งขันทางเศรษฐกิจ การแบ่งแยกประเทศทีพัฒนาแล้วและประเทศกําลังพัฒนา
2. ผลทางสังคม อาทิ
- ประชากรเพิมจํานวนขึนอย่างรวดเร็ วและรุ นแรง
- เกิดการขยายตัวของเมือง
- เกิดความเหลือมลําทางสังคม
-2 -

3. ผลทางการเมือง ชนชันกลางก้าวเข้ามามีอาํ นาจทางการเมืองแทนชนชันขุนนาง ซึ งเป็ นกลุ่มชนชันนําเก่าทีผูกขาด


อํานาจมายาวนาน ขณะเดียวกันกลุ่มชนชันล่าง อาทิ กรรมกร ชาวนา เริ มรวมกลุ่มกันเพือเพิมอํานาจการต่อรองกับชนชันนายทุนทําให้เกิด
ความขัดแย้งกันบ่อยครัง
คลืนลูกที 3 สั งคมแห่ งเทคโนโลยี ยุคนี เป็ นยุคทีความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีกา้ วหน้าอย่างมาก ทังการพัฒนาด้าน
คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ เครื อข่ายการสื อสารและการคมนาคมอุตสาหกรรมหลักยุคนี คือ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิ กส์กบั อุตสาหกรรม
คอมพิวเตอร์ ในยุคนีเครื องชีวัดความยิงใหญ่และมังคังของประเทศจะวัดจากความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของประเทศและอํานาจใน
การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลข่าวสารเป็ นสําคัญ
- ลักษณะทีสําคัญของคลืนลูกที 3 ได้แก่
1. ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีขนสู ั ง ความรวดเร็ วของการพัฒนาเทคโนโลยีทีเห็นได้ชดั เจน คือ การทีมนุษย์สามารถบินขึนสู่
อากาศได้เป็ นครังแรกในประวัติศาสตร์โลกด้วยเครื องบินของพีน้องตระกูลไรท์ ในปี ค.ศ. 1901
2. การแพร่ กระจายและเข้ าถึงข้ อมูลสารสนเทศ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีขนสู ั งและการแพร่ กระจายและเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ
ส่งผลต่อสภาพสังคมของประเทศต่างๆ โดยรวม อาทิ
1. ผลทางเศรษฐกิจ เกิดการปรับเปลียนโครงสร้างในภาคการผลิตของประเทศ โดยให้ความสําคัญกับการนําเทคโนโลยีขนั
สูงมาใช้ในกระบวนการผลิตมากขึน และโครงสร้างเศรษฐกิจเริ มปรับตัวไปสู่เศรษฐกิจบนรากฐานความรู ้
2. ผลทางสังคม ในยุคนีทีระบบเศรษฐกิจถูกขับเคลือนด้วยฐานความรู ้ จะส่งผลให้โครงสร้างความเหลือมลําทางสังคม
ปรับตัวก้าวเข้าสู่รูปแบบใหม่
3. ผลทางการเมือง เทคโนโลยีการสื อสารทีเชือมถึงกันผ่านระบบอินเตอร์เน็ต จะทําให้เกิดปรากฎการร์ใหม่ทางการเมือง

ตอนที 1.2 สภาพสังคมโลกปัจจุบัน


1. หลังสิ นสุดสงครามเย็น การจัดระเบียบโลกใหม่ให้ความสําคัญกับระบบการค้าเสรี สิ งแวดล้อม ระบบประชาธิปไตย และสิ ทธิ
มนุษยชน ผนวกกับกระแสโลการภิวฒั น์ ทําให้โลกเชือมโยงถึงกันเสมือน “หมู่บา้ นโลก” ส่งผลให้เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม
โลก เปลียนแปลงไปจากอดีตอย่างมาก
2. ภายใต้กระแสโลกาภิวฒั น์ สภาพเศรษฐกิจโลกขยายตัวขึน โดยเศรษฐกิจเอเชียมีอตั ราการขยายตัวสูงกว่าเศรษฐกิจโลก เกิดการ
รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคต่างๆ การเจรจาจัดตังเขตการค้าเสรี ทวิภาคีเพิมขึน แต่ประเทศพัฒนาแล้วส่วนใหญ่ใช้การกีด
กันทางการค้าด้วยมาตรการทีไม่ใช่ภาษี
3. หลังสิ นสุ ดสงครามเย็น ระบบการเมืองโลกมีลกั ษณะขัวอํานาจเดียว โดยมีสหรัฐอเมริ กาเป็ นอภิมหาอํานาจหนึงเดียว และ
ดําเนินนโยบายลักษณะเอกภาคี ตัวแสดงทีไม่ใช่รัฐ เช่น องค์การระหว่างประเทศ กลุ่มบรรษัทข้ามชาติ และปั จจเจกชน ก้าวขึนมามีบทบาทใน
เวทีการเมืองระหว่างประเทศ และหลังเหตุการณ์ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 โลกตกอยูภ่ ายใต้ความหวาดกลัวภัยคุกคามจากการก่อการร้าย
ระหว่างประเทศ
4. ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ สภาพสังคมและวัฒนธรรมโลกเกิดการผสมผสานเป็ นหนึงเดียวแพร่ กระจายไปยังส่วนต่างๆ ของโลก
ขณะเดียวกันบางกลุง่ ทีรู ้สึกว่า ตนเองตกเป็ นฝ่ ายทีเสี ยเปรี ยบ จึงเกิดการต่อต้านวัฒนธรรมอืนทีแพร่ เข้ามา จนเกิดเป็ นการปะทะกันทางอารยธรรม

กิจกรรม 1.2.1 จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบกับปั จจัยต่างๆ ทีมีผลต่อสภาพสังคมโลกในปัจจุบนั


* ปั จจัยทีมีผลต่อสภาพสังคมโลกในปัจจุบนั คือ
1. นโยบายการจัดระเบียบโลกใหม่ ในด้านค่านิยม ประชาธิปไตย สิ ทธิมนุษยชน ระบบการค้าเสรี และมาตรฐานด้านสิ งแวดล้อม
2. กระแสโลกาภิวตั น์ ทีก่อให้เกิดความเชือมโยงกันอย่างไร้พรมแดน ในด้านการพึงพิงอิงร่ วมกัน ความคล่องตัวในการเคลือนย้าย
ถ่ายโอน การเกิดขึนในขณะเดียวกัน และการมีมาตรฐานเดียวกันทังโลก
-3 -

กิจกรรม 1.2.3 จงเปรี ยบเทียบสภาพการเมืองของประเทศไทยกับสภาพการเมืองโลก


* สภาพการเมืองไทยได้รับอิทธิพลจากแนวคิดการจัดระเบียบโลกใหม่ กระแสโลกาภิวตั น์ การเปิ ดเสรี การค้า การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างแพร่ หลาย การขยายตัวของการค้าอิเล็กทรอนิกส์ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมบนฐานความรู ้ และการเคลือนย้าย
ของประชากรข้ามชาติ สภาพการเมืองไทยจึงมีแนวทางแบบเดียวกับสภาพการเมืองโลก เช่น การใช้นโยบายทางการเมืองนําหน้านโยบาย
ทางการทหาร เพือพิทกั ษ์ผลประโยชน์ของชาติ การขยายตัวของกระแสประชาธิปไตยและสิ ทธิมนุษยชน บทบาทขององค์การระหว่าง
ประเทศ การทีประเทศไทยมีบรรษัทข้ามชาติในประเทศอืน การต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศ

กิจกรรม 1.2.4 สภาพไร้พรมแดนและการเปิ ดกว้างในมิติทางข้อมูลข่าวสาร การค้าการลงทุน การคมนาคม และการสื อสารโทรคมนาคม


ส่งผลต่อวัฒนธรรมโลกอย่างไร
* การแพร่ การจายวัฒนธรรมข้ามพรมแดนทําให้เกิดกระบวนการเปลียนแปลงทางวัฒนธรรมใน 3 ลักษณะ คือ วัฒนธรรมแปรเปลียน
เป็ นเนือเดียว วัฒนธรรมขัวตรงข้าม และวัฒนธรรมลูกผสม

ตอนที 1.3 แนวโน้ มการเปลียนแปลงของสังคมโลกในอนาคต


1. แนวโน้มสภาพทางเศรษฐกิจโลกจะขยายเพิมขึน อันเป็ นผลมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และจํานวนประชากรทีเพิมขึน
ขณะเดียวกันช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศรํารวยและประเทศยากจนจะเพิมสูงขึนเนืองจากประเทศยากจนไม่สามารถปรับตัวและ
เข้าถึงโอกาศทางเศรษฐกิจ
2. แนวโน้มการเมืองโลกจะเคลือนเข้าสู่ระบบหลายขัวอํานาจ ประเทศมหาอํานาจอืนๆ เช่น สหภาพยุโรป จีน อินเดีย จะก้าวขึนมา
ท้าทายความเป็ นอภิมหาอํานาจหนึงเดียวของสหรัฐอเมริ กา แนวโน้มความขัดแย้งอันเป็ นผลมาจากความขัดแย้งทางประวัติศาสตร์จะรุ นแรงขึน
เป็ นผลมาจากการทีสหรัฐอเมริ การเข้าแทรกแซงปั ญหาต่างๆ ทําให้เกิดการยัวยุ ขณะทีสหประชาชาติยงั ไม่สามารถรักษาบทบาทในการรักษา
สันติภาพโลกได้อย่างแท้จริ ง
3. แนวโน้มโลกจะก้าวเข้าสู่ “สังคมแห่งปั ญญา” ประเทศต่างๆ จะมุ่งหน้าพัฒนาระบบคิดของคนในประเทศ กลุ่มผูส้ ูงอายุจะกลายเป็ น
กลุ่มทีมีบทบาทสําคัญในสังคมโลก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะมีอิทธิพลสําคัญต่อการเปลียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมโลกทัง
ทางบวกและทางลบ

กิจกรรม 1.3.1 แนวโน้มเศรษฐกิจโลกในช่วง พ.ศ. 2548-2551 ข้างหน้า น่าจะเป็ นอย่างไร และมีปัจจัยใดเป็ นสาเหตุ
* เศรษฐกิจโลกในช่วง 4 ปี ข้างหน้า มีอตั ราการขยายตัวของเศรษฐกิจเพิมขึน เนืองมาจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและ
จํานวนประชากรทีเพิมขึน ทําให้มีความต้องการสิ นค้าและการบริ การมากขึน ช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศรํารวยและประเทศ
ยากจนจะสูงขึนตามไปด้วย ประเทศทีพัฒนาแล้วยังคงใช้ความพยายามมาตรการกีดกันทางการค้าทีไม่ใช่ภาษีเพิมขึน

กิจกรรม 1.3.2 ปั จจัยใดทีส่งผลให้การก่อการร้ายระหว่างประเทศขยายตัวคุกคามไปทัวโลก


* ปั จจัยทีส่งผลให้การก่อการร้ายระหว่างประเทศขยายตัวลุกลามไปทัวโลก คือ การเข้าแทรกแซงความขัดแย้งระหว่างดินแดน
ต่างๆ ของชาติมหาอํานาจ และบทบาทของสหประชาชาติทีไม่สามารถขจัดปั ญหาได้

กิจกรรม 1.3.3 จงยกตัวอย่างความเสื อมโทรมทางศิลธรรมของสังคมไทยทีมาพร้อมกับเทคโนโลยีทีทันสมัย


* ความเสื อมโทรมทางศิลธรรมของสังคมไทยทีมาพร้อมกับเทคโนโลยีทีทันสมัย มีหลายประการ เช่น การเผยแพร่ ภาพลามก
ทางอินเตอร์เน็ต การขายบริ การทางเพศ การล่อลวงทางอินเตอร์เน็ต ค่านิยมบริ โภคนิยมของเด็กวัยรุ่ น

หน่ วยที 2 สังคมไทยในกระแสโลกาภิวัตน์


1. การเปลียนแปลงครังสําคัญทีเกิดขึนในแต่ละยุคของสังคมไทย ล้วนเกิดจากอิทธิพลภายนอกหรื อดินแดนห่างไกลทีมีความ
รุ่ งเรื องทางอารยธรรมในยุคนัน
2. โลกาภิวตั น์ส่งผลกระทบต่อทุกส่วนในสังคมไทยทังเศรษฐกิจ การเมือง ค่านิยม และขนบธรรมเนียมประเพณี
-4 -

3. กระแสโลกาภิวตั น์ส่งผลกระทบทังทางบวกและทางลบต่อสังคมไทย การปฏิรูประบบการคิดของคนไทยจะช่วยให้สังคมไทย


ดํารงอยูร่ อดได้

ตอนที 2.1 อิทธิพลภายนอกต่ อการเปลียนแปลงของสังคมไทย


1. สังคมไทยติดต่อสัมพันธ์กบั ดินแดงห่างไกลมาทุกยุคทุกสมัย และอิทธิพลจากดินแดนทีรุ่ งเรื องทางอารยธรรมในยุคนันได้นาํ
การเปลียนแปลงครังสําคัญมาสู่สงั คมไทยอย่างต่อเนือง ตังแต่การนับถือศาสนาพุทธ การปกครองในระบอบกษัตริ ย ์ จากประเทศอินเดีย
ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงการเปลียนรู ปแบบเศรษฐกิจจากพึงตนเองสู่ระบบทุนนิยม และการเปลียนแปลงการปกครองสู่ระบอบ
ประชาธิปไตย จากประเทศตะวันตกในสมัยรัตนโกสิ นทร์ แต่การเปลียนแปลงยังจัดว่าอยูใ่ นช่วงก่อนกระแสโลกาภิวตั น์
2. กระแสโลกาภิวตั น์ทีเกิดขึนในระดับโลก ส่งอิทธิพลต่อการเปลียนแปลงสังคมไทยด้านต่างๆ ในปัจจุบนั และคาดว่าจะรุ นแรง
ขึนในอนาคต กระแสโลกาภิวตั น์ทีสําคัญและมีผลต่อการเปลียนแปลงสังคมไทย ได้แก่ การเชือมโยงของเครื อข่ายสารสนเทศ อิทธิพลของ
องค์กรเหนือรัฐกระแสแนวคิดประชาธิปไตย การเปิ ดเสรี ทางการค้า เศรษฐกิจฐานความรู ้และเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางวิทยาศาตร์
และเทคโนโลยี กระแสวัฒนธรรมโลก และความตืนตัวในการอนุรักษ์สิงแวดล้อม

กิจกรรม 2.1.1 จงอธิบายอิทธิพลภายนอกทีมีต่อการเปลียนแปลงสังคมไทยในช่วงยุคก่อนกระแสโลกาภิวตั น์


* สังคมไทยตังแต่ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบนั ได้ติดต่อสัมพันธ์กบั ประเทศต่างๆ ตลอดมา ก่อให้เกิดการเปลียนแปลงที
สําคัญ คือ
1. การรับแนวคิดด้านศาสนา และการปกครองในระบอบกษัตริ ยจ์ ากอินเดีย
2. การเปลียนรู ปแบบเศรษฐกิจแบบพอยังชีพมาสู่ระบบทุนนิยมและการค้าเสรี ตลอดจนการเปลียนแปลงการปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิ ทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตย จากการเข้ามามีอิทธิพลของชาติตะวันตก

ตอนที 2.2 ลักษณะของสังคมไทยในกระแสโลกาภิวัตน์


1. โลกาภิวตั น์ส่งผลกระทบต่อทุกส่วนในสังคมไทยทังเศรษฐกิจ การเมือง ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี แต่อาจได้รับ
ผลกระทบจากโลกาภิวตั น์มาน้อยแตกต่างกัน
2. หากคนไทยสามารถวิเคราะห์และเข้าใจสภาพการเปลียนแปลงทางสังคม อันเป็ นผลจากโลกาภิวตั น์ ย่อมช่วยให้คนไทย
สามารถเตรี ยมพร้อมตนเองรับการเปลียนแปลง ในการฉกฉวยโอกาสหรื อป้ องกันปั ญหาทีอาจเกิดขึนได้ทนั ท่วงที และก่อให้เกิดการ
พัฒนาประเทศในภาพรวม

กิจกรรม 2.2.1 เศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวตั น์มีสภาพเป็ นอย่างไร จงอธิบาย


* โลกาภิวตั น์ส่งผลให้เศรษฐกิจโลกเป็ นไปตามแนวคิดแบบทุนนิยมทีใช้นโยบายการค้าเสรี เศรษฐกิจไทยถูกบีบบังคับให้
สอดคล้องกับนโยบายการค้าเสรี ดังนี
1. การค้าของไทยเคลือนเข้าสู่การค้าเสรี เต็มที แต่จะถูกชาติมหาอํานาจใช้มาตรการกีดกันทางการค้าทีไม่ใช่ภาษี ชาติมหาอํานาจ
มักกําหนดเงือนไขและมาตรฐานทางการค้าระหว่างประเทศ เพือให้ชาติตนได้ผลประโยชน์
2. โครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศไทยจะปรับตัวตามโครงสร้างเศรษฐกิจโลก เช่น การเน้นการผลิตสิ นค้าและบริ การที
สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้
3. ต่างชาติลงทุนเก็งกําไรระยะสันในตลาดหลักทรัพย์ของไทยได้ง่ายขึน รัฐจึงต้องวางมาตรฐานการเก็งกําไร
4. การนําเข้าแรงงานราคาถูกจากประเทศใกล้เคียง รัฐจึงต้องผ่อนปรนนโยบายเพือนําเข้าแรงงานราคาถูก
5. การเข้ามาลงทุนของบรรษัทข้ามชาติเพิมขึน ส่งผลให้มีการจ้างแรงงานมากขึน แต่เสี ยเปรี ยบในเรื องนวัตกรรมและความรู ้
ความชํานาญทางเทคโนโลยี
6. ปั จจัยภายนอกประเทศมีอิทธิพลเพิมขึนต่อการกําหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศ
-5 -

กิจกรรม 2.2.2 จงอธิบายสภาพการเมืองไทย ท่ามกลางกระแสโลกาภิวตั น์


* ท่ามกลางกระแสโลกาภิวตั น์ สภาพการเมืองไทยมีการเปลียนแปลงทีสําคัญคือ รัฐสูญเสี ยอํานาจอธิปไตยบางส่วนตามความตก
ลงระหว่างประเทศ การมีส่วนร่ วมทางการเมืองของประชาชนมากขึน ภาคประชาชนเข้มแข็งมากขึน และการปฏิรูประบบการเมืองและ
ระบบราชการ

กิจกรรม 2.2.3 สภาพของสังคมและวัฒนธรรมของไทยมีลกั ษณะเช่นไรภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์


* สภาพของสังคมและวัฒนธรรมไทยท่ามกลางกระแสโลกาภิวตั น์ มีการเปลียนแปลงทีชัดเจนหลายประการ คือ
1. การปะทะกันระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมตะวันตก สังคมไทยต้องปรับตัวเพือธํารงไว้ซึงวัฒนธรรมอันดีงานของชาติ
แต่ในขณะเดียวกันก็ผสานสู่ความเป็ นสากลได้
2. การพัฒนาคนในสังคมให้มีทกั ษะในการคิด เพือแยกแยะ ความจริ งแท้ กับ ความจริ งเทียม ของข้อมูลข่าวสาร
3. การเกิดความเหลือมลําทางการศึกษา ทังในแง่ปริ มาณและคุณภาพของการศึกษาในทุกระดับระหว่างคนจนกับคนรวย และยัง
รวมไปถึงความเหลือมลําทางด้านเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตและมาตรฐานการครองชีพ ตลอดจนโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยี
4. การเกิดช่องว่างระหว่างคนต่างรุ่ น
5. การเกิดวัฒนธรรมไซเบอร์ทีกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตเชือมถึงกันผ่านเครื อข่าย
6. สภาพแวดล้อมในสังคมเสื อมโทรมและเกิดปั ญหาเชิงจริ ยธรรมทีมากับเทคโนโลยีสมัยใหม่

ตอนที 2.3 วิเคราะห์ ผลกระทบของกระแสโลกาภิวตั น์ ต่อสังคมไทย


1. สังคมไทยเป็ นสังคมปิ ด กระแสของโลกาภิวตั น์จึงมีอิทธิพลต่อสังคมไทยในทุกด้าน อันก่อให้เกิดผลกระทบทังทางบวกและทางลบ
2. ในสภาพโลกไร้พรมแดน ส่ วนต่างๆ ในสังคมเชือมโยงกันอย่างสลับซับซ้อน ดังนัน การพัฒนาประเทศท่ามกลางกระแสโลกาภิ
วัตน์จึงจําเป็ นมองโครงสร้างทางสังคมทังระบบอย่างเป็ นองค์รวม เช่น การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ
จําเป็ นต้องพัฒนาระบบการศึกษา ค่านิยม วัฒนธรรมของคนในสังคม การปฏิรูประบบราชการ เป็ นต้น
3. สิ งทีสําคัญทีสุดทีจะช่วยให้สงั คมไทยดํารงอยูร่ อดได้ในกระแสโลกาภิวตั น์คือ การปฏิรูประบบคิดของคนไทย

กิจกรรม 2.3.1 กระแสโลกาภิวตั น์ก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมไทยอย่างไร


* กระแสโลกาภิวตั น์ก่อให้เกิดผลต่อสังคมไทยหลายประการ ทีสําคัญ ได้แก่ การพัฒนาระบบเศรษฐกิจปรับปรุ งโครงสร้างพืนฐาน
เพือเตรี ยมพร้อมให้สินค้าและบริ การของไทยมีความเป็ นเลิศในตลาดโลก ไทยเปิ ดรับการลงทุนจากต่างประเทศและขยายสัดส่วนการส่งออก
ไปยังตลาดใหม่ๆ มีการปฏิรูปการศึกษาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ เพือนําไปสู่สังคมแห่งปั ญญา และสร้างความร่ วมมือกับประเทศ
ต่างๆ ในภูมิภาค เพือลดช่องว่างระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพือนบ้าน

หน่ วยที 3 สังคมไทยในสังคมโลกก่ อน พ.ศ. 2475


1. อาณาบริ เวณทีเป็ นประเทศไทยปั จจุบนั มีผคู ้ นอาศัยมานับพันปี แล้ว แต่คนไทยส่วนใหญ่มกั คิดถึงจุดเริ มต้นทีอาณาจักรสุโขทัย
ซึงถือเป็ นอาณาจักรแรกทีปรากฏหลักฐานแน่นหนา สังคมไทยในระยะนันยังจํากัดแวดวงอยูเ่ ฉพาะชุมชนแว่นแคว้นใกล้ชิด เนืองจากการ
คมนาคมยังไม่สะดวก แต่อาณาจักรสุโขทัยก็มีการติดต่อใกล้ชิดทังในเชิงร่ วมมือและขัดแย้งกับอาณาจักรอืนๆ รวมทังมีการติดต่อค้าขายกับ
อาณาจักรทีอยูห่ ่างไกลด้วย การติดต่อนันทําให้เกิดการแลกเปลียนสิ นค้า รับวัฒนธรรมความคิด ความเชือจากสังคมทีมีโอกาสได้สัมพันธ์ดว้ ย
2. ในสมัยอยุธยาซึงเข้ามามีอาํ นาจแทนทีอาณาจักรสุโขทัย สังคมโลกของไทยขยายตัวขึนจากการคบค้ากับประเทศห่างไกล ส่วน
ประเทศทีอยูใ่ นภ◌ู มิภาคก็ยงั มีการติดต่อกันทังในลักษณะทีเป็ นมิตรและศัตรู โดยคู่สงครามทีขับเคียวกันมานานคือพม่า ขณะเดียวกันการ
ติดต่อกับต่างประเทศทีอยูห่ ่างไกลก็เพิมมากขึน ในช่วงนีมีชาติตะวันตกเข้ามาค้าขาย เผยแพร่ ศาสนาและวัฒนธรรมด้วย การค้ากับ
ต่างประเทศมีส่วนสําคัญในการยกส่งเสริ มฐานะทางเศรษฐกิจของไทย
3. ยุคกรุ งรัตนโกสิ นทร์เป็ นช่วงทีสังคมโลกส่งผลกระทบต่อไทยอย่างมาก ในช่วงต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์ พม่ากับเวียดนามเป็ น
อาณาจักรใหญ่ทีคุกคามและท้าทายไทยอย่างมาก แต่สุดท้ายทังสองอาณาจักรก็ตกเป็ นเมืองขึนของประเทศอังกฤษและฝรังเศส ส่วนไทย
-6 -

ได้รับแรงกดดันจากสองมหาอํานาจในขณะนันจนต้องเสี ยดินแดนและเขตอิทธิพลเดิมไปหลายแห่ง แต่กไ็ ม่สามารถรักษาเอกราชไว้ได้


ทังนีไทยตังแต่สมัยรัชกาลที 5 เป็ นต้นมาได้ปรับตัวตามแนวทางตะวันตกเพือเร่ งรัดพัฒนายกระดับของประเทศให้เป็ นสากล

ตอนที 3.1 ไทยกับสังคมโลกยุคเริมต้ นอาณาจักรไทย


1. คนไทยทีอาศัยในบริ เวณประเทศไทยปั จจุบนั ได้มีการติดต่อคบค้ากับคนในภูมิภาคโดยเฉพาะชุมชนใกล้ชิดมาเป็ นเวลาช้านาน
ได้มีการแลกเปลียนสิ นค้าและวัฒนธรรมระหว่างกัน จนเมือสังคมขยายตัวเป็ นชุมชนเมือง แว่นแคว้น และอาณาจักร ความสัมพันธ์จึงเกิด
ขันทังระดับอาณาจักรและระดับบุคคล
2. อาณาจักรสุโขทัยเป็ นแว่นแคว้นทีปรากฏหลักฐานหนักแน่น ซึงแสดงถึงการพัฒนาชุมชนให้กว้างขวางและมันคงกว่าเดิม
สังคมไทยสมัยสุโขทัยได้มีความสัมพันธ์กบั แว่นแคว้นต่างๆ ทีอยูร่ อบตัวทังในลักษณะความร่ วมมือและความขัดแย้ง มีการขยายขอบเขต
อิทธิพลออกไปอย่างกว้างขวางรวมทังได้มีการทําสัมพันธ์ไมตรี กบั อาณาจักรทีอยูห่ ่างไกล เช่น จีน ตลอดจนมีพอ่ ค้าจากต่างแดนนําสิ นค้า
มาค้าขายแลกเปลียน ทําให้คนไทยได้รับทราบความเป็ นไปของสังคมโลกทีห่างออกไป และรับอารยธรรมจากสังมคมต่างแดนด้วย

กิจกรรม 3.1.1 จงสรุ ปลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนไทยกับชุมชนอืนก่อนตังอาณาจักรสุโขทัยจนถึงสมัยอาณาจักรสุโขทัย


* ก่อนสมัยสุโขทัย ชุมชนคนไทยทีตังกลุ่มกระจัดกระจายอยูใ่ นบริ เวณประเทศไทย ได้มีการติดต่อสัมพันธ์กบั ชุมชนต่างๆ ทังที
อยูใ่ กล้และห่ างไกลออกไป ได้มีการแลกเปลียนวัฒนธรรมความเจริ ญและสิ นค้าระหว่างกัน เมือมีการตังชุมชนเมืองขึนก็ได้มีการสร้าง
ความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างชุมชนใกล้เคียง แต่ก็มีความขัดแย้งเกิดขึนเป็ นครังคราว โดยแว่นแคว้นหรื ออาณาจักรใหญ่ทีเข้มแข็งจะพยายาม
ขยายอิทธิพลออกไปรอบตัว และการทีอาณาจักรสุโขทัยก่อตัวขึนได้เป็ นปึ กแผ่น ก็เนืองจากความอ่อนแอของอาณาจักรเขมรประกอบกับ
การมีผนู ้ าํ และกองกําลังทีเข้มแข็งของฝ่ ายไทย

กิจกรรม 3.1.2 จงสรุ ปลักษณะสําคัญของการติดต่อระหว่างอาณาจักรสุโขทัยกับสังคมภายนอก


* อาณาจักรสุโขทัยมีความสัมพันธ์กบั สังคมภายนอกหลายลักษณะทีสําคัญได้แก่
1. การแผ่ขยายอํานาจ
2. การเจริ ญสัมพันธไมตรี
3. การแต่งตังคนไปปกครองเมืองหรื อชุมชนอืน
4. การส่งตัวแทนไปติดต่อค้าขาย หรื อแลกเปลียนกับสังคมอืน
5. การส่งเสิ รมการขาย

ตอนที 3.2 ไทยกับสังคมโลกสมัยกรุงศรีอยุธยา


1. อาณาจักรอยุธยาขึนมามีอาํ นาจแทนอาณาจักรสุโขทัย แต่ก็รับอารยธรรมและความเจริ ญของสุโขทัยมาได้อย่างต่อเนือง อาณาจักร
อยุธยาได้เปรี ยบกว่าสุ โขทัยตรงทีมีเส้นทางติดต่อกับแม่นาซึํ งเชือมไปถึงทะเล ทําให้สามารถขยายขอบเขตความสัมพันธ์กบั ประเทศหรื อ
แว่นเคว้นภายนอกได้สะดวกขึน
2. อาณาจักรอยุธยามีศตั รู คือพม่า ซึงได้มีการทําสงครามระหว่างกันหลายครัง เนืองจากพม่าเป็ นอาณาจักรทีเข้มแข็งในบริ เวณนี
นอกจากการทําสงคราม อาณาจักรอยุธยาได้เจริ ญสัมพันธ์ไมตรี กบั ประเทศต่างๆ และเปิ ดโอกาสให้มีการค้าขายอย่างกว้างขวาง โดยมีพอ่ ค้า
จากต่างประเทศนําสิ นค้ามาขายและรับสิ นค้าส่งออกไป โดยอยุธยาทําหน้าทีเป็ นตัวกลางส่งต่อสิ นค้าไปยังบริ เวณทางบกในดินแดนทีพ่อค้า
อยุธยาสามารถนําไปได้ ในช่วงอาณาจักรอยุธยานีได้มีพอ่ ค้าและทูตจากประเทศยุโรปเข้ามาติดต่ออยูห่ ลายกลุ่ม ทําให้ไทยได้รับสิ นค้าใหม่ ๆ
เช่น อาวุธ และรับทราบวิทยาการใหม่ ๆ จากผูม้ าเยือนเหล่านี

กิจกรรม 3.2.1 จงสรุ ปความเป็ นมาของอาณาจักรอยุธยาและปั จจัยทีส่งเสริ มให้เกิดอาณาจักรทีเข้มแข็งนีได้


* อาณาจักรอยุธยารับช่วงความเจริ ญมาจากละโว้ สุพรรณบุรี และสุโขทัย แต่ได้เปรี ยบทีทําเลทีตัง ซึงทําให้สามารถติดต่อ
ค้าขายและเดินทางได้สะดวก โดยปั จจัยสําคัญอืนทีส่ งเสิ รมอาณาจักรอยุธยาได้แก่ ความเหมาะสมในด้านการคมนาคม การสื บทอด
วัฒนธรรมจากสังคมทีเจริ ญแล้ว ความแข้มแข็งทางทหาร และการจัดรู ปแบบการปกครองทีดีในลักษณะการรวมศูนย์อาํ นาจ
-7 -

กิจกรรม 3.2.2 จงสรุ ปลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากับสังคมภายนอก


* อาณาจักรอยุธยาส่งเสริ มและขยายขอบเขตการค้ากับแว่นแคว้นภายนอกอย่างมาก จนทําให้เป็ นอาณาจักรทีมีความเจริ ญรุ่ งเรื อง
มาก อย่างไรก็ดีตลอดช่วงอาณาจักรสุโขทัยต้องทําสงครามกับอาณาจักรใหญ่ทีสําคัญคือ พม่าจนเสี ยกรุ ง ในช่วงเวลานีมีชาวยุโรปเข้ามา
ค้าขาย และมีกองกําลังร่ วมด้วย จึงมีบางครังทีเกิดความขัดแย้งกับตัวแทนของประเทศดังกล่าว อย่างไรก็ดี การได้มีประสบการณ์แลกเปลียน
กับประเทศทีเข้ามาค้าขายช่วยให้ไทยมีโอกาสรับวิทยาการ แนวคิด และวัฒนธรรมของสังคมอืนเข้ามาประยุกต์ในไทย ช่วยเป็ นฐานสําหรับ
การพัฒนาสู่ความเป้ นสากลในระยะต่อมา

ตอนที 3.3 ไทยกับสังคมโลกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์


1. ในสมัยกรุ งธนบุรีและต้นกรุ งรัตนโกสิ นทร์ แว่นแคว้นเพือนบ้านทีมีความแข้มแข็งและเป็ นศัตรู ของไทยคือพม่า ซึงก่อสงคราม
กับไทย แต่สุดท้ายต้องเสี ยเมืองแก่องั กฤษ ในช่วงเวลาเดียวกันเวียดนามก็เป็ นปั ญหากับไทยเช่นกัน เพราะต้องการผลประโยชน์จากเขมร
และระยะต่อมาก็ตอ้ งเป็ นอาณานิคมของฝรังเศส ในช่วงนี ประเทศตะวันตกเข้ามามีบทบาททังการค้าขาย การเผยแพร่ ศาสนา วัฒนธรรม
และการทหาร ทําให้ไทยต้องปรับตัวและรับแรงกดดันจากประเทศตะวันตกมากขึน
2. การคุกคามของประเทศยุโรปโดยเฉพาะอย่างยิงอังกฤษและฝรังเศสทวีความรุ นแรงขึน โดยเปลียนจากการเจรจาค้าขายมาเป็ น
การแสวงหาอาณานิคม ทังสองประเทศบีบคันจนไทยต้องเสี ยดินแดนทีเคยมีอิทธิพลทังในเขมร ลาว และมลายู และต้องปรับตัวโอนอ่อน
เพือรักษาเอกราชของไทย
3. เมือก้าวเข้าสู่ระบบรัฐชาติตามแบบตะวันตก ประเทศไทยต้องปรับเปลียนวิถีชีวิตทุกด้าน ทังในด้านการเมือง การปกครอง
เศรษฐกิจ สังคมและการรับวิทยาการของประเทศตะวันตกมาเผยแพร่ ในประเทศไทย จากการทีมีคนไทยไปศึกษาในต่างประเทศ ได้มีการ
รับแนวคิดแบบตะวันตกมาเผยแพร่ ในประเทศไทย จนสุดท้ายก็มีการเปลียนแปลงการเมืองการปกครองมาเป็ นระบอบประชาธิปไตย มีรัฐธรรมนูญ
ซึงเป็ นการเลิกระบบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ในรัชสมัยของสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัว
4. ก่อนการเปลียนแปลงการปกครองแผ่นดิน ไทยได้พฒั นาเข้าสู่ระบบสากลแทบทุกด้าน ทังในทางการเมือง การบริ หารราชการ
แผ่นดิน เศรษฐกิจ การศึกษา สังคม วัฒนธรรม การคมนาคม ความเป็ นอยู่ และศิลปวิทยาการต่างๆ โดยเลือกเส้นทางพัฒนาตามแนวตะวันตก
ซึงทําให้ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสากลและเป็ นทียอมรับของนานาประเทศในระยะเวลาต่อมา

กิจกรรม 3.3.1 จงสรุ ปลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศในสมัยกรุ งธนบุรีและตอนต้นรัตนโกสิ นทร์


* 1. การทําสงครามต่อเนืองกับพม่า
2. ความขัดแย้งและสงครามกับญวน
3. การติดต่อสัมพันธ์กบั ชาติตะวันตกและแรงกดดันทีเริ มต้นกับชาติตะวันตก
4. การติดต่อค้าขายกับนานาประเทศ

กิจกรรม 3.3.2 จงสรุ ปการกดดันทีไทยต้องเผชิญจากประเทศมหาอํานาจตะวันตก และการปรับตัวของไทยในสมัยรัชกาลที 4 และรัชกาลที 5


* มหาอํานาจตะวันตกได้เปลียนท่าทีในการดําเนินนโยบายในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์จากการค้าและเผยแพร่ ศาสนามาเป็ นการยึด
ครองอาณานิคม โดยจักรวรรดินิยมเหล่านีได้บีบคันเรี ยกร้องจากไทยเรื องต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นดินแดน การทําสนธิสัญญาทีไทยได้เสียเปรี ยบ
การมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซึงไทยก็ตอ้ งจํายอม ผูป้ กครองของไทยจึงพยายามเร่ งรัดจัดระบบการเมืองการปกครองให้เป็ นเอกภาพและ
เข้มแข็ง พัฒนาบ้านเมืองในลักษณะต่างๆ เพือให้เกิดความเจริ ญด้านการศึกษา การสาธารณสุข วิทยาการแผนใหม่ โดยอาศัยแนวทางแบบ
ตะวันตก

กิจกรรม 3.3.3 จงสรุ ปการปรับตัวของไทยด้านความคิดทางการเมืองให้รองรับการเปลียนแปลงในสังคมโลกในช่วงรัฐชาติพอสังเขป


* ในช่วงรัฐชาติไทยได้ปรับตัวทุกรู ปแบบให้เกิดความเจริ ญพัฒนาตามแนวทางตะวันตก พร้อมกันนันก็ได้เกิดกระแสความคิดที
เปลียนไปจากแนวคิดปกติสมัยสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์เดิมด้วย การเปลียนแปลงทีสําคัญได้แก่
1. การสร้างกระแสชาตินิยม ทําให้เกิดความผูกพันต่อแผ่นดินและความเป็ นไทย
2. การรับวิถีการดํารงชีวิต การทํางาน และธรรมเนียมปฏิบตั ิแบบตะวันตก
-8 -

3. การพัฒนาความคิดเรื องประชาธิปไตยและเสรี นิยม ซึงส่งผลต่อการเปลียนแปลงการปกครองแผ่นดินในสมัยรัชกาลที 7

กิจกรรม 3.3.4 โปรดสรุ ปผลกระทบของการเผชิญกับประเทศตะวันตกทีมีต่อสังคมไทยสมัยรัฐชาติ


* ผลกระทบสําคัญได้แก่
1. สังคมไทยได้ปรับตัวเข้าสู่วิถีชีวิตสังคมแบบตะวันตก
2. มีการศึกษาและการเรี ยนรู ้ตามแบบอย่างตะวันตก
3. มีการพัฒนาระบบการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การเงินการธนาคาร และแบบตะวันตก
4. มีการรับแนวคิดทางการเมืองแบบเสรี ประชาธิปไตยตะวันตก
-9 -

หน่ วยที 4 สังคมไทยในสังคมโลกหลัง พ.ศ. 2475


1. การกําหนดนโยบายต่างประเทศของไทยต้องคํานึงถึงผลประโยชน์ของชาติโดยมีองค์ประกอบทังภายในและภายนอกเป็ นตัวกําหนด
ความสัมพันธ์ ประเด็นเหล่านีส่งผลต่อการตัดสิ นใจเข้าร่ วมกับญีปุ่ นในสงครามโลกครังทีสอง
2. ในสมัยสงครามเย็น การทีโลกถูกแบ่งออกเป็ นสองขัวตามอุดมการณ์ทีมีมหาอํานาจเป็ นผูน้ าํ ทําให้ไทยซึงหวาดกลัวภัยคุกคาม
คอมิวนิสต์เข้าร่ วมกับกลุ่มค่ายเสรี ประชาธิปไตยและมีความสัมพันธ์ทีห่างเหิ นและขัดแย้งกับประเทศทีร่ วมกลุ่มคอมมิวนิสต์ โดยเฉพาะ
กลุ่มประเทศอินโดจีน
3. ในช่วงทีโลกได้ผอ่ นคลายความมตึงเครี ยดระหว่างมหาอํานาจนัน ไทยได้มีความสัมพันธ์กบั ประเทศทีเคยมีอุดมการณ์สังคมนิยม
เพิมขึน กระชับมิตรในภูมิภาคมากขึน และเปิ ดประตูสู่การแข่งขันทางเศรษฐกิจเสรี ในเวทีระหว่างประเทศ

ตอนที 4.1 ความสัมพันธ์ ระหว่ างไทยกับต่ างประเทศตังแต่ พ.ศ. 2475


1. ในการกําหนดนโยบายระหว่างประเทศ รัฐต้องคํานึงถึงผลประโยชน์หลักของประเทศ ได้แก่ เอกราชและความอยูร่ อด ความ
ปลอดภัยและความสงบเรี ยบร้อยของประเทศ การกินดีอยูด่ ีของประชาชน โอกาสในการพัฒนา ตลอดจนศักดิศรี และเกียรติภูมิของชาติ
โดยมีองค์ประกอบทังภายในและภายนอกเป็ นสิ งทีต้องพิจารณาในการดําเนินความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศ
2. ในช่วงสงครามโลกครังทีสอง ประเทศไทยมีทางเลือกน้อยมากในการดําเนินความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศและจําต้องยอมร่ วมกับ
ฝ่ ายญีปุ่ นเพือปกป้ องประเทศจากความเสี ยหายให้มากทีสุด การดําเนินการเช่นนีทําให้ไทยต้องใช้ความพยายามทางการเมืองอย่างมากเพือให้
รอดพ้นจากการกดดันของฝ่ ายสัมพันธมิตรซึงเป็ นฝ่ ายชนะสงคราม

กิจกรรม 4.1.1 จงระบุผลประโยชน์หลักของประเทศและลักษณะพืนฐานในการดําเนินนโยบายต่างประเทศของไทย


* ผลประโยชน์หลักของประเทศอาจระบุได้ดงั นี
1. เอกราชและความอยูร่ อดของประเทศ
2. ความปลอดภัยและความสงบเรี ยบร้อยทังภายนอกและภายในประเทศ
3. ความกินดีอยูด่ ีของประชาชน
4. โอกาสการพัฒนา
5. ศักดิศรี และเกียรติภูมิของชาติ
ส่วนลักษณะพืนฐานในการดําเนินนโยบายต่างประเทศของไทยนันต้องคํานึงถึงองค์ประกอบภายใน เช่น ฐานอํานาจของรัฐ สมรรถนะ
ในการดํานเนินงานและการต่อต้านการสนับสนุนภายในประเทศและองค์ประกอบภายนอก เช่น ตัวแสดงหรื อผูม้ ีบทบาทดําเนินการระหว่าง
ประเทศอืน ได้แก่ รัฐ องค์การระหว่างประเทศ เป็ นต้น

กิจกรรม 4.1.2 ประเทศไทยดําเนินการอย่างไรในสงครามโลกครังทีสอง และสงครามโลกครังทีสองส่งผลอะไรต่อประเทศไทย


* หลักจากทีญีปุ่ นได้ยึดครองอินโดจีนแล้ว ญีปุ่ นได้เรี ยกร้องของตังฐานทัพในประเทศไทย แต่ไทยไม่ยินยอมโดยพยายามใช้
นโยบายโอนอ่อนผ่อนตามญีปุ่ น ดังนัน ในวันที 7 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ญีปุ่ น ได้สงการให้ ั ทหารยกพลเข้าประเทศไทย ทีสงขลา ปั ตตานี
ประจวบคีรีขนั ธ์ ชายฝังทะเลภาคใต้และอรัญประเทศ รัฐบาลไทยจึงต้องยินยอมให้ญีปุ่ นเดินทัพผ่านประเทศไทยไปยังพม่าและมลายูตามที
ญีปุ่ นเรี ยกร้อง
สงครามโลกครังทีสองส่งผลต่อประเทศไทยทังด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม เช่น การขาดแคลนเครื องอุปโภคบริ โภค และ
เกิดปั ญหาโจรผูร้ ้ายชุกชุม เป็ นต้น

ตอนที 4.2 ประเทศไทยในสมัยสงครามเย็น


1. สงครามเย็นทําให้ประเทศไทยกังวลต่อภัยคุกคามของคอมมิวนิสต์ซึงได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน และเวียดนาม จึงหันเข้าร่ วมมือกับสหรัฐอเมริ กา และมีนโยบายทีไม่เป็ นมิตรต่อกลุ่มประเทศสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ การดําเนินการ
เช่นนีส่งผลกระทบต่อประเทศไทยทังในด้านเศรษฐกิจ และสังคมเป็ นอย่างมาก
- 10 -

2. ในสมัยสงครามเย็น ประเทศไทยมีทางเลือกน้อยมาก ปั จจัยทีสําคัญในการดําเนินนโยบายต่างประเทศอยูท่ ีผูน้ าํ และระบบ


เศรษฐกิจกับความสัมพันธ์กบั ประเทศมหาอํานาจ
3. ในช่วงสงครามเย็นไทยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสหรัฐอเมริ กาและประเทศตะวันตกโดยมีความสัมพันธ์ห่างเหิ นกับประเทศสังคม
นิยมคอมมิวนิสต์และกระชับความสัมพันธ์ในภูมิภาค

กิจกรรม 4.2.1 จงระบุนโยบายและการดําเนินการด้านต่างประเทศของประเทศไทยในช่วงสงครามเย็น


* นโยบายของรัฐบาลไทยสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามได้ดาํ เนินนโยบายตามสหรัฐอเมริ การคือนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์
ไทยได้ประกาศรับรองรัฐบาลเบาได๋ ของเวียดนาม สังปิ ดสํานักงานของเวียดมินห์ในกรุ งเทพมหานคร สนับสนุนเกาหลีใต้และส่งทหารไป
ร่ วมรบในเกาหลี เป็ นต้น
การดําเนินนโยบายด้านต่างประเทศของประเทศไทยทําให้ได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริ กาเป็ นอย่างมาก ทังด้านการทหาร
และความมันคง แต่ผลทีตามมาคือผลเสี ยหายทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ เกิดความขัดแย้งระหว่างคนไทยด้วยกันและเป็ นการบ่อนทําลาย
โอกาสการพัฒนาประเทศไทย เป็ นต้น

กิจกรรม 4.2.2 อะไรคือปั จจัยทีสําคัญทีกําหนดทางเลือกของไทยในช่วงสงครามเย็น


* ปั จจัยสําคัญมี 3 ปัจจัย คือ
1. ปั จจัยด้านผูน้ าํ ของประเทศ
2. ปั จจัยภายในคือ ระบบเศรษฐกิจ
3. ปั จจัยภายนอก คือ ความสัมพันธ์กบั ประเทศมหาอํานาจ

กิจกรรม 4.2.3 จงระบุนโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงสงครามเย็น


* นโยบายต่างประเทศของไทยในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยมีนโยบายต่อต้านคอมมิวนิสต์และมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด
กับสหรัฐอเมริ กา แต่มีความขัดแย้งกับสหภาพโซเวียต กลุ่มอินโดจีนและสาธารณรัฐประชาชนจีน ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับ
ประเทศตะวันตกและญีปุ่ นเน้นทางการค้าและการร่ วมมือทางวิชาการเป็ นส่วนใหญ่

ตอนที 4.3 ประเทศไทยตังแต่ สมัยผ่อนคลายความตึงเครียด


1. ในช่วงทีโลกผ่อนคลายความตึงเครี ยด กระแสทีเกิดขึนเด่นชัดได้แก่ ประชาธิปไตย สิ ทธิมนุษยชน ความเสื อมของสัทธิชาตินิยม
พัฒนาการของวัฒนธรรมสากล การแทรกแซงจากต่างประเทศ และการใช้ความรุ นแรงโดยบุคคลและกลุ่มบุคคลระหว่างประเทศ
2. การกระทบกระทังระหว่างประเทศ ผูอ้ พยพ และการแทรกแซงทางการเมืองเป็ นปั ญหาสําคัญทีเกิดขึนในช่วงหลังสงครามเย็น
ทําให้ไทยต้องปรับนโยบายต่อประเทศกลุ่มอินโดจีน กลุ่มสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ และการวางตนไม่ฝักใฝ่ กับฝ่ ายใด
3. ในสมัยผ่อนคลายความตึงเครี ยดไทยได้กระชับความสัมพันธ์ในภูมิภาคโดยร่ วมมือใกล้ชิดกับองค์การอาเซียน กระชับมิตรทาง
เศรษฐกิจในภูมิภาค ตลอดจนฟื นฟูความสัมพันธ์กบั ประเทศอินโดจีนและพม่า
4. ยุทธวิธีทางเศรษฐกิจของไทยอาศัยพืนฐานจากระบบทุนนิยมและการค้าเสรี โดยเน้นการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและพาณิ ชยกรรม
เพือการแข่งขันกับต่างประเทศ

กิจกรรม 4.3.1 จงสรุ ปลักษณะสําคัญของพัฒนาการของสังคมนับแต่ทีโลกมีการผ่อนคลายความตึงเครี ยดระหว่างมหาอํานาจเป็ นต้นมา


* ลักษณะสําคัญของพัฒนาการของสังคมโลกนับแต่ทีโลกมีการผ่อนคลายความตึงเครี ยดระหว่างมหาอํานาจเป็ นต้นมา คือ
1. ประชาธิปไตย การมีส่วนร่ วมและการเรี ยกร้องสิ ทธิสือมวลชนได้กลายเป็ นธุรกิจสากลทีมีอิทธิ พลต่อการดําเนินการของประเทศต่างๆ
2. การเรี ยกร้องเพือคุม้ ครองและประกันสิ ทธิ มนุษยชน
3. ความเสื อมของลัทธิ ชาตินิยมกับการเกิดภาวะไร้พรมแดน
4. พัฒนาการของวัฒนธรรมสากล เช่น การพัฒนาวิธีการคิด การดําเนินการในการประกอบธุรกิจ การเมือง การบริ หารและวิถีการ
ดํารงชีวิตรู ปแบบใหม่ เป็ นต้น
- 11 -

5. การแทรกแซงกิจการภายในของแต่ละประเทศ
6. การใช้ความรุ นแรง โดยบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลระดับระหว่างประเทศ

กิจกรรม 4.3.2 จงสรุ ปการปรับนโยบายของไทยตังแต่สมัยผ่อนคลายความตึงเครี ยด


* ประเทศไทยได้ปรับนโยบายต่างประเทศทีสําคัญ 3 ประการคือ
1. ไทยได้หันไปหานโยบายหลายทิศทางทีประสานร่ วมกัน
2. ไทยได้ตระหนักว่าการสร้างพันธมิตรในภูมิภาคเป็ นทางเลือกทีเหมาะสมมากกว่าจะยึดติดกับนโยบายพึงพามหาอํานาจ
3. ไทยได้เน้นนโยบายต่างประเทศในลักษณะไม่ฝักฝ่ ายกับฝ่ ายใด

หน่ วยที 5 สถานะของไทยในสังคมโลก


1. ปัจจุบนั องค์การวิชาการและวิชาชีพสนใจศึกษาและจัดลําดับของประเทศในประเด็นต่างๆ ทังทางเศรษฐกิจการเมือง และความสามารถ
ในการแข่งขันระหว่างประเทศด้านต่างๆ การจัดลําดับดังกล่าวช่วยให้คนไทยได้รับรู ้รับทราบสถานะของประเทศไทยในสังคมโลก ซึงช่วยให้คน
ไทยได้รับทราบและเข้าใจตัวเองในแง่มุมต่างๆ อันจะเป็ นประโยชน์สําหรับการเร่ งรัดแก้ไขปั ญหาและพัฒนาประเทศ
2. โดยทัวไปสถานะทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของไทยถือว่าอยูใ่ นระดับเหนือเกณฑ์เฉลีย ทังนีส่วนหนึงอาจเกิดจากประเทศอืนๆ
ทีได้รับการเปรี ยบเทียบร่ วมด้วยนันมีจาํ นวนมากเป็ นประเทศกําลังพัฒนาหรื อด้อยพัฒนา เช่น ประเทศในภูมิภาคแอฟริ กา ละตินอเมริ กา และ
เอเซี ย แต่เมือเปรี ยบเทียบกับประเทศทีเจริ ญแล้ว ไทยยังมีสถานะด้อยกว่า
3. สถานะอืนๆ ของไทยในด้านสุขภาพอนามัย อุบตั ิเหตุ หรื อประเด็นอืนมีลกั ษณะคล้ายกับสถานะทางเศรษฐกิจและสอดคล้องกับระดับ
การพัฒนาประเทศ ซึงแสดงว่ายิงประเทศมีความเจริ ญทางเศรษฐกิจมากขึน การพัฒนาด้านสิ งอํานวยประโยชน์ก็สูงตามขึนไปด้วย ทังนีคนไทย
ควรทําความเข้าใจสถานะด้านต่างๆ ของประเทศเพือช่วยกันปรับปรุ งยกระดับให้สูงขึนหรื อรักษาระดับมิให้ตกตําไปกว่าทีเป็ นอยู่

ตอนที 5.1 สถานะโดยทัวไปของประเทศไทย


1. สถานะ หมายถึง สภาพทีเป็ นอยูใ่ นแต่ละด้านของสังคม เมือกล่าวถึงสถานะของประเทศ เรามักพิจารณาในแง่เปรี ยบเทียบกับสถานะ
ของประเทศอืน ซึงในปัจจุบนั มีการศึกษาและจัดอันดับอยูห่ ลากหลาย การทีเราเข้าใจสถานะของประเทศย่อมมีส่วนช่วยให้ตระหนักถึงจุดอ่อนจุดแข็ง
ของประเทศ เห็นทิศทางการแก้ไขปั ญหา ป้ องกันปัญหา หรื อเร่ งรัดพัฒนาประเทศ และดําเนินการปรับปรุ งแก้ไขประเด็นเฉพาะด้านต่างๆ ทีจําเป็ น
2. ประเทศไทยเป็ นประเทศมีมีประวัติศาสตร์และการพัฒนาต่อเนือง มีทาํ เลทีตังเหมาะสมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีประชากร
ระดับปานกลางค่อนข้างมากเมีอเทียบกับประเทศอืนทัวโลก มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทีเปิ ดให้มีการแข่งขันโดยเสรี
3. ในเชิงเปรี บบเทียบ ประเทศไทยอยูใ่ นสถานะของประเทศทีกําลังพัฒนาและก้าวเข้าสู่ระดับประเทศพัฒนา ทังนีประเทศไทยเป็ นที
ยอมรับทัวไปในบรรดาอารยประเทศทังหลาย และถือเป็ นประเทศทีมีระดับการพัฒนาสูงเมือเทียบกับประเทศอืนๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้

กิจกรรม 5.1.2 จงสรุ ปลักษณะโดยทัวไปของประเทศไทย พอสังเขป


* โดยสรุ ปแล้ว ประเทศไทยตังอยูใ่ นบริ เวณทีอุดมสมบูรณ์ มีขนาดพืนทีและประชากรจํานวนเหมาะสม มีทรัพยากรธรรมชาติ ซึงล้วน
เอือให้ไทยมีสถานะได้เปรี ยบกว่าหลายประเทศในภูมิภาคเอเชีย แอฟริ การ และละตินอเมริ การ

กิจกรรม 5.1.3 จงสรุ ปสถานะของไทยในยุคก่อนโลกาภิวตั น์และในยุคโลกาภิวตั น์ พอสังเขป


* ก่อนกระแสโลกาภิวตั น์ สังคมไทยได้พฒั นาขึนมาจนเป็ นแว่นแค้วนและอาณาจักรทีเข้มแข็งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มา
เป็ นเวลาหลายร้อยปี แล้ว โดยมีการแข่งขันและร่ วมมือกับแว่นแค้วนอาณาจักรสถานะของไทยเป็ นทียอมรับในภูมิภาคอย่างต่อเนือง จนถูกท้า
ทายโดยชาติตะวันตก ซึงทําให้ไทยต้องเร่ งรัดปรับตัวตามแนวตะวันตก จนปั จจุบนั ก็เป็ นทียอมรับโดยทัวไปในสังคมโลกว่าเป็ นประเทศทีมี
ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ ว
- 12 -

ตอนที 5.2 สถานะทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของไทยในสังคมโลก


1. เป็ นทียอมรับว่าไทยเป็ นประเทศประชาธิปไตยทีมีระบบเศรษฐกิจแบบเสรี ประเด็นทางการเมืองทีมีตวั อย่างการจัดลําดับทีสําคัญ
คือ ภาพลักษณ์ดา้ นคอรัปชัน ซึงไทยมีสถานะไม่น่าพอใจกับการใช้จ่ายงบประมาณทางทหาร ซึ งไทยมีสัดส่วนการจัดสรรไม่สูงนัก
2. เศรษฐกิจของไทยอยูใ่ นระดับดีปานกลางและกําลังเติบโตได้อย่างต่อเนือง ผลของการพัฒนาทําให้ประเทศไทยมีสถานะเป็ นประเทศ
กําลังพัฒนาและเริ มเป็ นประเทศพัฒนา ซึงเป็ นทียอมรับในสังคมโลกและสถานะสูงกว่าประเทศในภูมิภาคเดียวกันอีกหลายประเทศ
3. สถานะทางสังคมของประเทศไทยมีส่วนสัมพันธ์กบั สถานะทางเศรษฐกิจ ยังมีคนจนอยูจ่ าํ นวนหนึงแต่เริ มลดลงตามลําดับ ประชากร
ไทยเริ มมีผสู ้ ูงอายุมากขึน ยังประสบปั ญหาการติดเชือเอชไอวี และปั ญหาอุบตั ิเหตุ

กิจกรรม 5.2.1 จงสรุ ปสถานะด้านภาพลักษณ์ความโปร่ งใสของประเทศ


* ประเทศไทยยังมีภาพลักษณ์ทีไม่น่านิยมเกียวกับความโปร่ งใสและภาวะคอรัปชัน สถานะนียังไม่ดีขึน แต่มีลกั ษณะทรงตัว

กิจกรรม 5.2.2 ประเด็นสําคัญทีกําหนดความน่าเชือถือทางเศรษฐกิจทีสําคัญได้แก่


* - ความเสี ยงทางการเมือง ( ความเต็มใจในการชําระหนี )
- ความเสี ยงทางเศรษฐกิจ ( ความสามารถในการชําระหนี )

ตอนที 5.3 สถานะอืนๆ ของไทยในสังคมโลก


1. สถานะด้านความเป็ นอยูแ่ ละสุขภาพอนามัยพิจารณาได้จากฐานะความยากจนของคนในประเทศ การเจ็บไข้ได้ป่วย อายุขยั สภาวะ
การมีงานทํา คุณภาพชีวิต สุขภาพอนามัย เป็ นต้น ซึงมีการจัดอันดับไว้พอสมควร
2. ในแง่การท่องเทียวและการอํานวยความสะดวก ไทยจัดเป็ นประเทศทีมีความพร้อมสูง มีผนู ้ ิยมท่องเทียวและพํานักอาศัยในประเทศมาก

กิจกรรม 5.2.3 ในภาพรวม จงสรุ ปว่าประเทศไทยมีสถานะอย่างไรในสังคมโลก


* ประเทศไทยมีสถานะระดับปานกลางค่อนข้างสูงในสังคมโลก ทังนีส่วนหนึงเป็ นเพราะในโลกยังมีประเทศทียากจน และด้อยพัฒนา
จํานวนมาก เนืองจากไม่มีโครงสร้างพืนฐานเพียงพอสําหรับการพัฒนา

หน่ วยที 6 สังคมและวัฒนธรรมไทยในสังคมโลก


1. สังคมไทยเป็ นสังคมทีมีวฒั นธรรมเก่าแก่มาตังแต่สมัยโบราณ แต่ได้วฒั นธรรมด้านต่างๆ บางอย่างจากวัฒนธรรมจีน อินเดีย และ
ตะวันตก เข้ามาผสมผสานอย่างต่อเนืองจนถึงปั จจุบนั
2. การพัฒนาของสังคมและวัฒนธรรมไทยมีอย่างต่อเนืองในทุกๆ ด้านจนถึงปั จจุบนั ซึงส่ งผลให้สังคมไทยเปลียนแปลงเข้าสู่ สังคม
สมัยใหม่ตามกระแสวัฒนธรรมโลกมากขึน
3. สังคมและวัฒนธรรมไทยในปั จจุบนั แม้จะมีการซึมซับ ลอกเลียนและรับวัฒนธรรมสากลอย่างมากมายในแทบทุกด้าน แต่อีกด้าน
หนึง สังคมและวัฒนธรรมไทยบางประการสามารถดํารงเอกลักษณ์และอัตลักษณ์จนเป็ นทียอมรับในสังคมโลกได้

ตอนที 6.1 สังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยโบราณ


1. สังคมไทยเป็ นสังคมทีมีความเจริ ญทางวัฒนธรรมมาตังแต่สมัยโบราณ ทังด้านชีวิตความเป็ นอยู่ การเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ
มาก่อนทีจะได้รับอิทธิ พลจากวัฒนธรรมจีนและอินเดีย
2. คนไทยสมัยโบราณมีแบบแผนในการดําเนินชีวิตภายใต้โลกทัศน์ตามแนวคิดของพระพุทธศาสนาและพฤติกรรมของมนุษย์ถูกกําหนด
ขึนตามความเชือเรื อง บุญ-กรรม ความเชือดังกล่าวเป็ นตัวกําหนดสภาพของบุคคลให้มีวิถีการดําเนินชีวิตทีแตกต่างกัน
3. สังคมไทยเป็ นสังคมเปิ ดกว้างในการรับวัฒนธรรมจากต่างชาติอยูต่ ลอดเวลา ซึ งจะเป็ นการรับวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพนั ธุ์อืนๆ เข้า
มาผสมผสานกับวัฒนธรรมดังเดิมของตน และนํามาปรับเปลียนหรื อประยุกต์เพือให้เหมาะสมกับสภาวะและประโยชน์สูงสุดแก่สังคมไทย
- 13 -

กิจกรรม 6.1.1 สังคมไทยก่อนและหลังรับอิทธิพลจากอินเดียและจีนมีลกั ษณะอย่างไร


* ดินแดนประเทศไทยก่อนรับอิทธิพลจากอินเดียและจีนนัน มีความเจริ ญเป็ นของตนเองก่อนในทุกๆ ด้าน ตังแต่สมัยหิ นเก่าเรื อยมา
จนถึงสมัยโลหะ โดยดูได้จากเครื องมือเครื องใช้ทีค้นพบในแต่ละยุคแต่ละสมัยได้บ่งบอกให้เห็นถึงความเจริ ญทางวัฒนธรรมของคนในสังคม
และความเจริ ญนีเมือได้รับอิทธิพลจากอินเดีย และจีนก็ยีงทําให้มีความเจริ ญเพิมมากขึน

กิจกรรม 6.1.2 ยกตัวอย่างวัฒนธรรมไทยทีได้รับถ่ายทอดมาจากอินเดียทีปรากฏให้เห็นในปั จจุบนั 1 ตัวอย่าง


* การแสดงโขนซึงนับว่าเป็ นนาฏกรรมของไทย เป็ นสิ งทีบ่งบอกถึงอิทธิพลทีไทยได้รับมาจากอินเดียได้อย่างชัดเจนสิ งหนึง เพราะ
โขนจะนิยมเล่นเรื องรามเกียรติ ซึ งเป็ นวรรณกรรมทีไทยได้รับมาจากอินเดีย

ตอนที 6.2 การพัฒนาของสังคมและวัฒนธรรมไทยเข้ าสู่ สมัยใหม่


1. การเปลียนแปลงสู่ สังคมสมัยใหม่ มีสามเหตุทีสําคัญมาจากการทีชาติตะวันตกได้ดาํ เนินนโยบายล่าอาณานิคม และได้นาํ วิทยาการ
สมัยใหม่เข้ามาเผยแพร่ ทําให้ไทยต้องพัฒนาประเทศให้ทนั สมัยตามแบบตะวันตก
2. การรับวัฒนธรรมของตะวันตกด้านวิทยาการและเทคโนโลยี ก่อให้เกิดการเปลียนแปลงทางความคิดในหมู่คนไทย ซึงนําไปสู่ การ
เกิดคนกลุ่มใหม่ขึนในสังคมไทย คือ กลุ่มปั ญญาชน
3. การยอมรับอารยธรรมตะวันตกมีผลทําให้เกิดการเปลียนแปลงสังคมไทยด้านประเพณี วัฒนธรรม และการดําเนินวิถีชีวิตตังแต่
ระดับชนชันนําจนกระทังถึงชนชันล่าง

กิจกรรม 6.2.1 สาเหตุสาํ คัญทีทําให้เกิดการเปลียนแปลงจากสังคมจารี ตเข้าสู่สังคมสมัยใหม่ของไทยคืออะไร


* สาเหตุสาํ คัญทีทําให้เกิดการเปลียนแปลงจากสังคมจารี ตเข้าสู่สังคมสมัยใหม่ของไทยเกิดจากการทีไทยเริ มมองเห็นภัยจากการคุกคาม
ของตะวันตกทีกําลังดําเนินนโยบายล่าอาณานิคม ทําให้ไทยต้องยอมรับวัฒนธรรมจากตะวันตก เพือปรับปรุ งประเทศให้เจริ ญก้าวหน้า ซึ งเป็ น
เหตุให้เกิดการเปลียนแปลงภายในสังคมตามมา

กิจกรรม 6.2.2 กลุ่มปั ญญาชนในสังคมไทยเกิดขึนได้อย่างไร


* เกิดจากการรับวัฒนธรรมของตะวันตกโดยเฉพาะด้านวิทยาการและเทคโนโลยี ก่อให้เกิดการเปลียนแปลงทางความคิดในหมู่คนไทย
ซึงวิธีคิดแบบใหม่นีก่อให้เกิดการพัฒนาด้านภูมิปัญญาขึนในหมู่คนไทย ตังแต่กลุ่มชนชันนําจนกระทังสามัญชน

กิจกรรม 6.2.3 การทีสังคมไทยติดต่อกับสังคมภายนอกส่งผลต่อประเพณี และวัฒนธรรมในสังคมไทยอย่างไร


* การทีสังคมไทยติดต่อกับสังคมภายนอกส่งผลดีต่อประเพณี และวัฒนธรรมในสังคมไทย โดยทําให้การดําเนินชีวิตของคนไทยเปลียนไป
อย่างมาก ทังด้านประเพณี และวัฒนธรรมทีเคยปฏิบตั ิมาในอดีตก็มีการเปลียนแปลงไป และยังส่งผลให้คนไทยจะมีชีวิตความเป็ นอยูท่ ีสะดวกสบาย
ขึนในหลายๆ ด้าน

ตอนที 6.3 สังคมและวัฒนธรรมไทยสมัยปัจจุบัน


1. ปัจจุบนั สังคมและวัฒนธรรมโลกได้ไหลบ่าเข้าสู่สังคมไทยเพิมมากขึนเรื อย ๆ ทําให้สงั คมและวัฒนธรรมไทยตกอยูใ่ นสภาวะทีถูก
วัฒนธรรมโลกเข้าครอบงําจนสูญเสี ยเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยไปในทีสุด
2. สังคมและวัฒนธรรมไทยแม้ในบางครังถูกมองว่าได้สูญเสี ยเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมไป แต่ในความเป็ นจริ งวัฒนธรรมไทยได้ปรับเปลียน
ให้เหมาะสมและดํารงอยูไ่ ด้จนกลายเป็ นทียอมรับและแพร่ หลายอยูใ่ นสังคมโลกปั จจุบนั

กิจกรรม 6.3.1 วิกฤติการณ์ทีสี ตามแนวความคิดของนายแพทย์ประเวส วะสี หมายถึงอะไร


* วิกฤติการณ์ทีสี หมายถึง วิกฤติการณ์ทางสังคมทีรวมวิกฤติทางเศรษฐกิจ ช่องว่างระหว่างคนจน คนรวย ความแตกสลายทาง
สังคม วิกฤติสิงแวดล้อม วิกฤติทางวัฒนธรรม ท่ามกลางกระแสโลกาภิวตั น์ เป็ นวิกฤติการณ์ทีนําประเทศไทยไปสู่วิกฤติการณ์ทีคนไทย
กําลังทําลายตนเอง ทําลายทรัพยากรธรรมชาติ และทําลายอารยธรรมไทยไปในทีสุด
- 14 -

กิจกรรม 6.3.2 ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ ได้ปาฐกถาพิเศษเรื อง ความเป็ นคนไทยด้วยจิตวิญญาณ
โดยกล่าวถึงสิ งดีงามต่างๆ ของชาติบา้ นเมืองของเราทีเราพึงอนุรักษ์ มีอะไรบ้าง
* 1. การแต่งกาย
2. บุคลิกภาพและกิริยามารยาท
3. อาหารไทย
4. ภาษาไทย

หน่ วยที 7 เศรษฐกิจไทยในสังคมโลก


1. บทบาทของเศรษฐกิจไทยในสังคมโลกมีอยูห่ ลายด้าน ไม่วา่ ทางด้านการผลิต การบริ โภค การค้า การลงทุน และทางด้านการ
บริ การ ในขณะเดียวกัน เศรษฐกิจโลกก็มีบทบาทต่อเศรษฐกิจไทย ไม่วา่ ทางด้านอุปสงค์หรื อทางด้านอุปทาน
2. การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจไทย ไม่วา่ ทางด้านการผลิต การบริ โภค การค้า การเงิน การลงทุน และการจ้างงาน มีผลกระทบ
ต่อเศรษฐกิจโลกบ้างโดยเฉพาะในส่วนทีไทยมีบทบาทค่อนข้างมากในเวทีเศรษฐกิจโลก ซึงแนวโน้มเศรษฐกิจไทยต้องมีการปรับตัวใน
ด้านต่างๆ เพือให้ทนั กับการเปลียนแปลงของเศรษฐกิจโลก
3. การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจโลก ไม่วา่ ทางด้านการปรับตัวของราคานํามัน การเปลียนแปลงของราคาหุ ้นและการปรับค่าเงิน
ดอลลาร์สหรัฐ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ซึงแนวโน้มการเปลียนแปลงในเศรษฐกิจโลกไม่วา่ ทางด้านการเปลียนแปลงขัวอํานาจทาง
เศรษฐกิจ การนําพลังงานทดแทนมาใช้แทนนํามัน และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย

ตอนที 7.1 แนวคิดเกียวกับเศรษฐกิจไทยในสังคมโลก


1. บทบาทของเศรษฐกิจไทยในสังคมโลกอาจจําแนกออกเป็ นบทบาทในด้านการผลิต ทางด้านการบริ โภค ทางด้านการค้า ทางด้าน
การลงทุน และทางด้านการบริ การ
2. บทบาทของเศรษฐกิจโลกทีมีตอ่ เศรษฐกิจไทยสามารถพิจารณาได้ทงทางด้
ั านอุปสงค์และทางด้านอุปทาน
3. เศรษฐกิจไทยมีความสัมพันธ์กบั เศรษฐกิจโลกทังในด้านของการพึงพาและการเป็ นทีพึงของกันและกัน

กิจกรรม 7.1.1 ประเทศไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจในสังคมโลกทางด้านใดบ้าง จงอธิบายมาพอเข้าใจ


* ประเทศไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจในสังคมโลกด้านต่างๆ ดังนี
1. ด้านการผลิตโดยเป็ นผูผ้ ลิตสิ นค้าเกษตรทีสําคัญๆ หลายชนิต เช่น ข้าว ยางพารา นําตาล เป็ นต้น
2. ด้านการบริ โภค เป็ นผูน้ าํ เข้านํามัน เครื องจักรกลและยานพาหนะ ตลอดจนสิ นค้าแฟชันต่างๆ
3. ด้านการค้า สัดส่วนการค้าในผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพิมมากขึนแสดงว่ามีการพึงพาภาคต่างประเทศมากขึน
4. ด้านการลงทุน มีการไปลงทุนในต่างประเทศ และต่างประเทศเข้ามาลงทุนในประเทศมากขึน
5. ด้านบริ การ ไปทํางานในต่างประเทศมาช้านานแล้ว และคนงานไทยเป็ นทีต้องการของนายจ้างในต่างประเทศค่อนข้างมาก

กิจกรรม 7.1.2 บาทบาททางเศรษฐกิจโลกทีมีตอ่ เศรษฐกิจไทยมีทางด้านใดบ้าง


* บาทบาททางเศรษฐกิจโลกทีมีต่อเศรษฐกิจไทยอาจจําแนกออกเป็ นทางด้านอุปสงค์หรื อความต้องการสิ นค้าและบริ การจากประเทศ
ไทย ซึงส่วนใหญ่จะเป็ นผลิตผลทางด้านการเกษตร และทางด้านอุปทานคือ การเป็ นผูจ้ ดั หาสิ นค้าบางอย่างแก่เศรษฐกิจไทย เช่น ทางด้าน
พลังงานและสิ นค้าอุปโภคบริ โภคบางชนิด เป็ นต้น

ตอนที 7.2 ผลกระทบของการเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจไทยทีมีตอ่ สังคมโลก


1. การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของไทยอาจจําแนกออกเป็ นด้านใหญ่ ๆ ได้แก่ ด้านการผลิต ด้านการบริ โภค ด้านการค้า ด้านการเงิน
ด้านการลงทุน และด้านการจ้างงาน โดยเกิดจากสาเหตุต่างๆ กัน
2. การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของไทยอาจกล่าวได้วา่ มีผลไม่มากต่อเศรษฐกิจโลก เนืองจากไทยเป็ นประเทศขนาดเล็ก แต่ก็มี
ผลในบางด้านโดยเฉพาะการเป็ นผูส้ ่งออกสิ นค้าเกษตรทีสําคัญหลายชนิด
- 15 -

3. แนวโน้มของเศรษฐกิจไทยอาจมีการเปลียนแปลงในโครงสร้างเศรษฐกิจ ทางด้านการค้า การลงทุนทางด้านการผลิต และ


ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในอนาคตตามกระแสการเปลียนแปลงของเศรษฐกิจโลก

กิจกรรม 7.2.1 จงกล่าวถึงรู ปแบบและสาเหตุของการเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย


* รู ปแบบและสาเหตุของการเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย ดังนี
1. การเปลียนแปลงทางด้านการผลิต เปลียนจากผลิตเพือเลียงตนเองมาเป็ นผลิตเพือการค้า เปลียนจากการส่งออกสิ นค้าขันปฐม
มาเป็ นการแปรรู ปผิตผลการเกษตร เปลียนจากการนําเข้าสิ นค้าฟุ่ มเฟื อยมาเป็ นสิ นค้าทุนและนํามัน และเปลียนจากความคิดทีจะเป็ นประเทศ
อุตสาหกรรมใหม่เป็ นประเทศเกษตรอุตสาหกรรมใหม่
2. การเปลียนแปลงทางด้านการบริ โภค มีความนิยมสิ นค้าจากต่างประเทศมากขึน โดยเฉพาะสิ นค้าอุปโภคบริ โภคทีประหยัดเวลาใน
การปรุ่ ง เช่น อาหารจานด่วน อาหารกึงสําเร็ จรู ป และอาหารพร้อมรับประทาน ตลอดจนอาหารทีเน้นการดูแลสุขภาพมากขึน
3. การเปลียนแปลงทางด้านการค้า เปลียนจากแบบปิ ดทีค้าขายเฉพาะภายในประเทศทีเป็ นแบบเปิ ดทีค้าขายกับนานาประเทศ
เปลียนจากการค้าขายกับประเทศเพือนบ้านเป็ นประเทศทีอยูห่ ่างไกลออกไปเปลียนจากการค้าขายสิ นค้าเกษตรเป็ นการแปรรู ปผลิตผล
การเกษตร และการเปิ ดกว้างให้ธุรกิจจากต่างประเทศเข้ามาดําเนินการในประเทศมากขึน
4. การเปลียนแปลงทางด้านการเงิน มีความนิยมในการนําสิ งทีคล้ายเงินมาใช้ในธุรกิจมากขึน เช่น บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม และ
ตราสารทางการเงินอืนๆ
5. การเปลียนแปลงด้านการลงทุน คนไทยหันมานิยมการลงทุนมากขึน และมีการขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ ตลอดจนการ
ให้สิทธิพิเศษแก่นกั ลงทุนจากต่างประเทศ
6. การเปลียนแปลงทางด้านการจ้างงาน แรงงานจากภาคการเกษตรหันมาทํางานในภาคอุตสาหกรรม และบริ การมากขึน และแรงงาน
ไทยส่วนหนึงได้ไปทํางานในต่างประเทศ

กิจกรรม 7.2.2 การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของไทยมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยหรื อไม่และอย่างไร


* การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจของไทยมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกบ้าง เนืองจากว่าเศรษฐกิจของไทยมีขนาดไม่ใหญ่นัก แต่ไทยก็
เป็ นผูผ้ ลิตและส่งออกสิ นค้าเกษตรสําคัญบางชนิด เช่น ข้าง ยางพารา นําตาล ซึงการเปลียนแปลงในปริ มาณการผลิตของสิ นค้าดังกล่าว อาจ
ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลกได้

กิจกรรม 7.2.3 แนวโน้มของเศรษฐกิจไทยในสังคมโลกมีลกั ษณะเช่นใด


* เศรษฐกิจไทยในอนาคตอาจมีการเปลียนแปลงในโครงสร้างเศรษฐกิจ โดยประชาชนมีรายได้มากขึน มีการเปลียนแปลง
ทางด้านการค้าและการลงทุน มีการเปลียนแปลงทางด้านการผลิต และมีการกําหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้ขนได้
ั เปรี ยบ
ของไทยและจุดเด่นทางภูมิศาสตร์ เพือให้เศรษฐกิจไทยมีความเจริ ญก้าวหน้าและเป็ นศูนย์กลางของภูมิภาคต่อไป

ตอนที 7.3 ผลกระทบของการเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจโลกทีมีต่อเศรษฐกิจไทย


1. การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจทัวโลก ได้แก่ การเปลียนแปลงทางด้านราคานํามันทีเกิดจากสาเหตุทางการเมืองและความ
ต้องการทีเพิมขึน ทางด้านราคาหุ ้นทีเกิดจากการเก็งกําไร และทางด้านค่าเงินดอลลาร์ ทีเกิดจากทังปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
2. การเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจทัวโลกมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยค่อนข้างมาก โดยเฉพาะราคานํามันซึงมีส่วนต่อเศรษฐกิจ
ไทยและค่าเงินดอลลาร์สหรัฐทีเป็ นเงินสกุลสากล
3. แนวโน้มของเศรษฐกิจโลก ได้แก่ การเปลียนขัวอํานาจทางเศรษฐกิจ การเปลียนแปลงทางด้านพลังงาน และการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกิจ ซึงมีผลต่อเศรษฐกิจไทยในอนาคตค่อนข้างมาก

กิจกรรม 7.3.1 จงกล่าวถึงรู ปแบบและสาเหตุของการเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจทัวโลก


* รู ปแบบและสาเหตุของการเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจทัวโลก ได้แก่
- 16 -

1. การเปลียนแปลงทางด้านราคานํามัน เกิดจากสาเหตุทางด้านการเมืองและความต้องการใช้ทีเพิมมากขึนโดยเฉพาะประเทศ
ขนาดใหญ่ เช่น สหรัฐอเมริ กาและสาธารณรัฐประชาชนจีน
2. การเปลียนแปลงด้านราคาหุ ้น เกิดจากความนิยมในการลงทุนทางด้านตราสารทางการเงินและการเก็งกําไร
3. การเปลียนแปลงด้านค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ เกิดจากปัจจัยภายในทีเกียวข้องทางด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และปั จจัยภายนอก
ทีเป็ นเงินตราสกุลสากลและยอมรับกันทัวโลก

กิจกรรม 7.3.2 การทีเศรษฐกิจทัวโลกมีการเปลียนแปลงไป ท่านคิดว่ามีผลกระทบต่อเศรษฐกิจโทยหรื อไม่ และอย่างไร


* น่าจะมีค่อนข้างมากโดยเฉพาะการปรับขึนของราคานํามันอย่างมากมายและหลายๆ ครังย่อมทําให้เศรษฐกิจของไทยชะลอตัว
ทําให้ค่าครองชีพของประชาชนสูงขึน เพราะนํามันเป็ นปัจจัยทีสําคัญต่อการผลิต การบริ โภคและอืนๆ ส่วนการเปลียนแปลงของราคาหุ ้นก็
อาจมีผลกระทบเนืองจากราคาหุน้ ในประเทศมีแนวโน้มเปลียนแปลงไปตามราคาหุ ้นใหญ่ๆ ทัวโลก และการเปลียนแปลงในค่าเงินดอลลาร์
สหรัฐอเมริ กาก็มีผลต่อการส่งออกการนําเข้า การลงทุน และหนีสิ นของประเทศไทย

กิจกรรม 7.3.3 ท่านคิดว่าแนวโน้มของเศรษฐกิจโลกจะเป็ นอย่างไรและมีผลต่อเศรษฐกิจไทยหรื อไม่


* แนวโน้มของเศรษฐกิจโลกอาจ ได้แก่ การเปลียนแปลงขัวอํานาจทางเศรษฐกิจ โดยทีเศรษฐกิจของประเทศสาธารณรัฐ
ประชาชนจีนจะมีความสําคัญมากขึน ซึงจะเป็ นประโยชน์ต่อเศรษฐกิจไทยเนืองจากอยูใ่ กล้กนั และมีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจค่อนข้างดี
การเปลียนแปลงทางด้านพลังงาน โดยมีการนําพลังงานทดแทน เช่น ชีวภาพ ซึงไทยสามารถผลิตผลผลิตการเกษตรทีจํานํามาใช้ได้มาก
และการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเพือเพิมอํานาจการต่อรองในเวทีเศรษฐกิจโลก ซึงไทยก็ได้เข้าเป็ นสมาชิกของหลายกลุ่มและช่วยให้ไทยมี
โอกาสค้าขายกับประเทศต่างๆ มากขึน

หน่ วยที 8 ไทยกับองค์ การระหว่างประเทศ


1. องค์การระหว่างประเทศเกิดขึนโดยกฏหมายระหว่างประเทศ ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ องค์การระหว่างประเทศมีบทบาท
ช่วยให้เกิดความร่ วมมือระหว่างรัฐ และส่งเสริ มผลประโยชน์ร่วมกัน
2. องค์การสหประชาชาติเกิดขึนหลังสงครามโลกครังที 2 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือการธํารงรักษาสันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศ
ประเทศไทยในฐานะสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ยึดมันในอุดมการณ์และหลักการของสหประชาชาติในการธํารงไว้ซึงสันติภาพและความมันคง
ระหว่างประเทศ
3. ประเทศไทยเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกขององค์การอาหารและเกษตรกร องค์การค้าโลก องค์การทรัพย์สินทางปั ญญาแห่งโลก องค์การ
ทุนเพือเด็กแห่งสหประชาชาติ องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การ
บินพลเรื อนระหว่างประเทศ สหภาพสากลไปรษณี ย ์ และสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ โดยประเทศไทยให้ความร่ วมมือกับ
องค์การระหว่างประเทศดังกล่าวอย่างดี

ตอนที 8.1 องค์ การระหว่ างประเทศในฐานะส่ วนหนึงของระบบระหว่ างประเทศ


1. องค์การระหว่างประเทศ ถูกมองด้านหนึงว่าเป็ นสิ งทีจะนําไปสู่การเกิดขึนของรัฐบาลโลก และอีกด้านหนึงเป็ นศูนย์รวมความ
ร่ วมมือทีไม่มีประสิ ทธิภาพระหว่างรัฐอธิปไตยทังหลาย
2. องค์การระหว่างประเทศจะเกิดขึนได้โดยกฎหมายระหว่างประเทศ และมีหลักการว่าสมาชิกขององค์การระหว่างประเทศได้แก่
รัฐทังหลาย แต่ความเป็ นจริ งแล้วบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศแบบอืนก็อาจเข้าเป็ นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศได้
3. องค์การระหว่างประเทศมีสถานะเป็ นบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ และมีอาํ นาจตามทีระบุไว้ในสนธิ สัญญาก่อตังองค์การ
เพือทีจะสมารถปฏิบตั ิภารกิจไปสู่จุดมุ่งหมายทีกําหนด
4. องค์การระหว่างประเทศจําเป็ นต้องมีโครงสร้างขององค์การ และการเงินและงบประมาณ เพือประโยชน์ในการปฏิบตั ิภารกิจ
5. องค์การระหว่างประเทศนอกจากจะเป็ นทีรับคําร้องทุกข์จากประเทศทีเกิดความขัดแย้งแล้ว ยังเป็ นทีทีใช้อิทธิพลร่ วมกับ
นานาชาติป้องกันไม่ให้มีการกระทําทีคุกคามต่อผลประโยชน์ของรัฐ
- 17 -

กิจกรรม 8.1.1 องค์การระหว่างประเทศมีจุดกําเนิดจากสิ งใด


* องค์การระหว่างประเทศมีจุดกําเนิดจากสนธิสัญญาระหว่างรัฐ องค์การระหว่างประเทศจึงแตกต่างจากองค์การทีเกิดจากการ
รวมตัวกันของเอกชนหรื อนิติบุคคลตามกฎหมายเพ่ง

** สนธิสัญญาพหุภาคีเหล่านีบางทีก็มีการเรี ยกชือเฉพาะ เช่น กติกาสันติบาตชาติ กฎบัตรสหประชาชาติ ธรรมนูญคณะมนตรี


ยุโรป เหล่านีความจริ งคือความตกลงก่อตังองค์การระหว่างประเทศ สนธิสัญญาก่อตังองค์การระหว่างประเทศมีลกั ษณะเป็ นธรรมนูญ ซึงมี
ผลบังคับต่อรัฐ

กิจกรรม 8.1.2 การเข้าเป็ นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศ จะเปิ ดโอกาสให้รัฐต่างๆ สมัครเข้าเป็ นสมาชิกในลักษณะใด


* การเข้าเป็ นสมาชิกองค์การระหว่างประเทศ จะเปิ ดโอกาสให้รัฐต่างๆ สมัครเข้าเป็ นสมาชิกโดยถ้าเป็ นองค์การระดับโลกจะเปิ ด
โอกาสแก่ประเทศต่างๆ ทัวทุกภูมิภาคเข้าไปเป็ นสมาชิก ส่วนองค์การระดับภูมิภาคหรื ออนุภูมิภาคส่วนใหญ่จะเป็ นองค์การปิ ดคือ จะจํากัด
สมาชิกเฉพาะทีเป็ นรัฐในภูมิภาคหรื อนุภูมิภาคนันๆ

กิจกรรม 8.1.3 ลักษณะและขอบเขตของอํานาจทีองค์การระหว่างประเทศมีอยูใ่ นลักษณะใด


* ลักษณะและขอบเขตของอํานาจทีองค์การระหว่างประเทศมีอยูจ่ ะถูกจํากัดตามจุดมุ่งหมายและหน้าทีทีสนธิสัญญาในช่วงของ
ก่อตังองค์การระบุเอาไว้

กิจกรรม 8.1.4 โดยทัวไปองค์การระหว่างประเทศจะประกอบไปด้วยอะไร


* องค์การระหว่างประเทศจะประกอบไปด้วย องค์กรปรึ กษาหารื อ องค์กรบริ หาร และองค์กรทางกฎหมาย

กิจกรรม 8.1.5 พืนฐานสําคัญของความขัดแย้งคืออะไร


* พืนฐานแห่งความขัดแย้งทีสําคัญทีสุด ได้แก่ การยืนยันในหลักการอํานาจอธิปไตยของรัฐหรื ออํานาจสูงสุดของรัฐ และการ
ยืนยันในความเป็ นเอกราชของรัฐในโลกทีหดตัวเล็กลง และมีการพึงพาอาศัยกันและกัน

ตอนที 8.2 ประเทศไทยกับสหประชาชาติ


1. องค์การสหประชาชาติเกิดขึนหลังสงครามโลกครังทีสอง โดยชาติมหาอํานาจ 5 ชาติ ได้แก่ สหรัฐอเมริ การ อังกฤษ ฝรังเศส
รัสเซีย และจีน ได้ร่วมกันก่อตังโดยมีวตั ถุประสงค์เพือการธํารงรักษาสันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศ
2. สหประชาชาติประกอบด้วยสมาชิก 2 ประเภท คือ สมาชิกดังเดิม ได้แก่ รัฐทีได้ลงนามและให้สัตยาบันกฎบัตร และสมาชิกที
ได้รับการยอมรับในภายหลัง ได้แก่ รัฐทีรับสันติทีแสดงเจตจํานงยอมรับข้อผูกพันของกฎบัตรสหประชาชาติ
3. สหประชาชาติ ประกอบด้วย องค์กรหลักซึงมีโครงสร้างดังทีระบุไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติและองค์การรองซึงได้รับการ
ก่อตังตามความจําเป็ นโดยอํานาจของสหประชาชาติ
4. ประเทศไทยในฐานะสมาชิกองค์การสหประชาชาติ ยึดมันในอุดมการณ์และหลักการของสหประชาชาติในการธํารงไว้ซึง
สันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศ

กิจกรรม 8.2.1 จงอธิบายการก่อกําเนิดและวัตถุประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ


* หลังสงครามโลกครังที 2 ชาติมหาอํานาจ 5 ชาติ ได้แก่ สหรัฐอเมริ การ อังกฤษ ฝรังเศส รัสเซีย และจีนได้ร่วมกันก่อตังองค์การ
สหประชาชาติ โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพือธํารงไว้ซึงสันติภาพของโลก โดยยึดหลักการความเสมอภาคทองอธิปไตยของรัฐทีรักสันติทุกรัฐ
และเปิ ดรับสมาชิกจากรัฐทีรักสันติทุกรัฐ ไม่วา่ เล็กหรื อใหญ่ เพือการธํารงรักษาสันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศ

กิจกรรม 8.2.2 จงอธิบายเหตุผลทีประเทศไทยต้องการเข้าเป็ นสมาชิกสหประชาชาติ


* เหตุผลทีไทยต้องการเข้าเป็ นสมาชิกสหประชาชาติ เพือ
1. ความมันคงของไทยจากการถูกคุกคามจากบางประเทศทีนิยมจักรวรรดินิยมและประเทศทีนิยมคอมมิวนิสต์
- 18 -

2. การประกาศให้โลกรู ้วา่ โดยเป็ นรัฐเอกราชทีเก่าแก่ชาติหนึง


3. การได้รับความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
4. การประกาศเจตจํานงในการรักษาสันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศ

กิจกรรม 8.2.3 องค์กรหลังของสหประชาชาติประกอบด้วยอะไรบ้าง แต่ละองค์กรมีหน้าทีอย่างไร


* องค์กรหลักของสประชาชาติ ประกอบด้วยองค์กรต่อไปนี สมัชชา คณะมนตรี ความมันคง คณะมนตรี เศรษฐกิจและสังคม
คณะมนตรี ภาวะทรัสตรี ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ และสํานักงานเลขาธิการ

กิจกรรม 8.2.4 จงยกตัวอย่างบทบาทของประเทศไทยในภารกิจเกียวกับสันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศทีประเทศมีส่วนร่ วมตาม


มติขององค์การสหประชาชาติ
* บทบาทของประเทศในภารกิจเกียวกับสันติภาพและความมันคงระหว่างประเทศ เช่น การส่งกําลังทหารเข้าร่ วมรบในคาบสมุทร
เกาหลี การปฏิบตั ิภารกิจด้านกูก้ บั ระเบิด การซ่อมบํารุ ง การเลือกตัง และสิ ทธิมนุษยชน ในหน่วยปกครองชัวคราวของสหประชาชาติใน
กัมพูชา (UNTAC)

ตอนที 8.3 ประเทศไทยกับองค์ การระหว่ างประเทศอืนๆ


1. ประเทศไทยเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกขององค์การอาหารและเกษตร ทําให้ได้รับความช่วยเหลือด้านนโยบายเกียวกับการผลิตด้าน
การเกษตร ซึงมีประโยชน์ต่อประเทศไทยอย่างยิง เนืองจากไทยเป็ นประเทศสําคัญในฐานะผูผ้ ลิตอาหารของโลก
2. องค์การการค้าโลกมีบทบาทส่งเสริ มระบบการค้าเสรี ภายใต้กฎหมายทีชัดเจนและยุติธรรม และช่วยแก้ปัญหาหรื อข้อพิพาท
ทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิก ประเทศไทยเข้าเป็ นสมาชิกขององค์การการค้าโลก ทําให้ไทยไม่ถูกเอาเปรี ยบจากการกีดกันทางการค้า
และทําให้การส่งออกสิ นค้าของไทยขยายตัวขึน
3. องค์การทรัพย์สินทางปัญญาแห่งโลก มีวตั ถุประสงค์เพือส่งเสริ มให้มีการคุม้ ครอง และนํามาใช้ให้เกิดประโยชน์ของ
ทรัพย์สินทางปัญยาทีเกิดขึนทัวโลก การทีประเทศไทยเข้าเป็ นสมาชิกขององค์การนี ทําให้เประเทศไทยต้องมีมาตรการทีเข้มงวดต่อการ
ล่วงมะเมิดทรัพย์สินทางปั ญญา และปกป้ องทรัพย์สินทางปั ญญาทีเป็ นของไทย
4. องค์การกองทุนเพือเด็กแห่งสหประชาชาติ มีจุดมุ่งหมายสําคัญให้เด็กทุกคนได้รับประโยชน์ในสิ ทธิขนพื
ั นฐาน บทบาทของ
องค์การนีในประเทศไทยจะประสานงานกับหน่วยงานของรัฐในด้านสาธารณสุขมูลฐานและการศึกษา
5. ความร่ วมมือระหว่างประเทศไทยกับองค์การสหประชาชาติดา้ นสิ งแวดล้อมอยูภ่ ายใต้ความรับผิดชอบของกระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและสิ งแวดล้อม โดยร่ วมมือกับหน่วยงานต่างๆ เพือดําเนินโครงการต่างๆ ภายใต้นโยบายการพัฒนาทียังยืนด้านเศรษฐกิจ
สังคมและสิ งแวดล้อม โดยได้รับการช่วยเหลือจากองค์การสหประชาชาติในรู ปของการให้การสนับสนุนด้านการเงิน การให้คาํ ปรึ กษา
และการฝึ กอบรม
6. ประเทศไทยได้สมัครเป็ นสมาชิกองค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ และได้รับการช่วยเหลือจากสหประชาชาติใน
เรื อง การเพิมพูนทักษะด้านเทคโนโลยี และการจัดการเพือปรับปรุ งคุณภาพการผลิตทางอุตสาหกรรม
7. องค์กรการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ มีจุดมุ่งหมายเพือเสริ มสร้างสันติภาพโดยส่งเสริ มความ
ร่ วมมือกันของนานาชาติ ทางการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม
8. ประเทศไทยมีความร่ วมมือกับองค์การระหว่างประเทศอืน คือ องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การบินพลเรื อนระหว่าง
ประเทศสหภาพสากลไปรษณี ย ์ และสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ โดยประเทศไทยให้ความร่ วมมือกับองค์การดังกล่าวด้วยดี

กิจกรรม 8.3.1 จงกล่าวถึงประโยชน์ในการทีไทยเข้าเป็ นสมาชิกขององค์การอาหารและเกษตร (FAO)


* ประเทศไทยเข้าเป็ นสมาชิกลําดับที 45 ของ FAO ทําให้ได้รับความช่วยเหลือในเรื องการส่งเสริ มการผลิตและเทคโนโลยีการ
ผลิต ตลอดจนวิทยาการความรู ้ต่างๆ ด้านอาหารและเกษตร
- 19 -

กิจกรรม 8.3.2 จงอธิบายหลักการขององค์การการค้าโลก และผลประโยชน์ทีประเทศไทยได้รับจากการเข้าเป็ นสมาชิกขององค์การค้าโลก


* องค์การค้าโลกก่อกําเนิดมาจาก GATT (ข้อตกลงทัวไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า) มีวตั ถุประสงค์เพือส่งเสิ รมระบบ
การค้าเสรี ภายใต้กฎหมายทีชัดเจนและยุติธรรม
หลักการขององค์การค้าโลก ยึกหลักปฏิบตั ิต่อประเทศสมาชิกโดยเท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบตั ิ ประเทศสมาชิกต้องปฏิบตั ิต่อ
สิ นค้านําเข้าเช่นเดียวกับสิ นค้าทีผลิตในประเทศ และส่งเสริ มการลดอุปสรรคทางการค้า
ประโยชน์ทีประเทศไทยได้รับจากการเป็ นสมาชิกองค์การค้าโลก คือ ช่วยสร้างเสริ มอํานาจในการเจรจาและต่อรองมิให้ถูกเอารัด
เอาเปรี ยบทางการค้า และช่วยให้การส่งออกสิ นค้าของไทยขยายตัวมากขึน

กิจกรรม 8.3.4 จงอธิบายบทบาทขององค์การ UNICEF ในประเทศไทย


* องค์การ UNICEF มีจุดมุ่งหมายสําคัญต้องการให้เด็กทุกคนได้รับสิ ทธิขนพื
ั นฐาน บทบาทขององค์การนีมักเกียวข้องกับการ
พัฒนาชุมชน สาธารณสุขมูลฐาน โภชนาการ สุขศึกษา จึกปฏิบตั ิงานร่ วมกับหน่วยงานของรัฐหลายหน่วย

กิจกรรม 8.3.5 จงยกตัวอย่างความร่ วมมือระหว่างประเทศไทยกับองค์การสหประชาชาติดา้ นสิ งแวดล้อม


* ประเทศไทยมีความมุ่งมันทีจะพิทกั ษ์สิงแวดล้อมโลก บทบาทของประเทศไทยในด้านสิ งแวดล้อมทีสําคัญ คือ การปรับปรุ ง
พระราชบัญญัติเกียวกับสิ งแวดล้อม การกําหนดนโยบายการพัฒนาแบบยังยืนในด้านสังคม เศรษฐกิจและสิ งแวดล้อม

กิจกรรม 8.3.6 วัตถุประสงค์ขององค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติคืออะไร และประเทศไทยได้รับประโยชน์อย่างไรในการ


เข้าเป็ นสมาชิกขององค์การนี
* องค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งประชาชาติมีวตั ถุประสงค์เพือส่งเสริ มและเร่ งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยกําลัง
พัฒนา เพือให้มีส่วนแบ่งการผลิตทางอุตสาหกรรมของโลกได้ร้อยละ 25 ในปี ค.ศ. 2000 ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากการเป็ นสมาชิก
ขององค์การนีในรู ปการทุนฝึ กอบรมดูงาน การส่งผูท้ ีเชียวชาญให้คาํ ปรึ กษาแนะนํา และการให้เครื องจักรเครื องมือ

กิจกรรม 8.3.7 หน่วยงานเพือประสานงานระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การยูเนสโกคืออะไร มีหน้าทีอย่างไร


* สํานักงานเลาธิการคณะกรรมการแห่งชาติวา่ ด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
เป็ นหน่วยงานประสานงานเพือการร่ วมมือระหว่างรัฐบาลไทยกับ UNESCO

กิจกรรม 8.3.8 ประเทศไทยได้รับประโยชน์อย่างไรในการเข้าเป็ นสมาชิก 1. องค์การทางทะเลรหว่างประเทศ 2. องค์การการบินพลเรื อน


ระหว่างประเทศ 3. สหภาพสากลไปรษณี ย ์ 4. สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ
* 1. ประโยชน์ทีประเทศไทยได้รับคือการพัฒนาระบบขนส่งทางทะเล การปรับปรุ งท่าเรื อ และการป้ องกันมลภาวะทางทะเล
โดยยึดมาตรฐานของ IMO
2. ยกระดับศูนย์ฝึกการบินพลเรื อนของประเทศไทยให้มีคุณภาพและเป็ นไปตามมาตรฐานที ICAO กําหนด ยกระดับการให้บริ การ
เดินอากาศ การควบคุม การจราจรทางอากาศ และการปฏิบตั ิงานทีท่าอากาศยานจนได้ระดับมาตรฐาน
3. ทําให้ประเทศไทยมีบทบาทในการพัฒนากิจการไปรษณี ยร์ ะหว่างประเทศ
4. มีบทบาทในการดําเนินงานพัฒนากิจการโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ได้รับความช่วยเหลือทางวิชาการ ทางเทคโนโลยี ทํา
ให้เกิดการพัฒนากิจการโทรคมนาคมของไทย และปรับปรุ งกฎหมายด้านสื อสารโทรคมนาคมของไทย

หน่ วยที 9 การเมืองไทยกับสังคมโลก


1. การเปลียนแปลงการปกครองเมือวันที 24 มิถุนายน 2475 ทําให้มีการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญขึนมาเป็ นผลสําเร็ จในสังคม
การเมืองไทย ในขณะเดียวกันก็เป็ นการเปิ ดโฉมหน้าใหม่ของการเมืองไทยทีแตกต่างไปจากเดิมทีเคยเป้ นมาอย่างสิ นเชิง ไม่วา่ จะเป็ นแนวคิหรื อ
รู ปแบบทางการเมืองการปกครองโดยเฉพาะอย่างยิงในเรื องของความสัมพันธ์ทางอํานาจระหว่างผูป้ กครองกับผูใ้ ต้ปกครอง
- 20 -

2. การเมืองไทยตังแต่ปี พ.ศ. 2490-2516 เป็ นการเมืองทีอยูภ่ ายใต้อิทธิพลของทหารมาตลอดนับเป็ นระยะเวลาถึง 26 ปี เต็ม


ภายใต้การสื อบทอดอํานาจของสามจอมพลอันส่งผลให้กระบวนการในการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยต้องหยุดชะงักลง ในขณะเดียวกัน
อิทธิพลของชาติ (ค่ายตะวันตก) ก็ได้ทวีขึนเรื อยๆ
3. การเปลียนแปลงของสถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศทังในระดับภูมิภาคและระดับโลก ได้ส่งผลโดยตรงต่อการเปลียนแปลง
ในการเมืองไทย ไม่วจ่ ะเป็ นเรื องของการเรี ยกร้องประชาธิปไตย การยุติการสู ้รบกับฝ่ ายคอมมิวนิสต์อย่างเด็ดขาด ตลอดจนการปฏิรูป
การเมืองในทีสุด

ตอนที 9.1 การเมืองไทยในระบอบรัฐธรรมนูญ


1. การประกาศใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชัวคราว พ.ศ. 2475 เมือวันที 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นัน
ได้กลายเป็ นจุเริ มต้นของการสถาปนาระบบรัฐสภาขึนในประเทศไทยเป็ นครังแรก แต่การเมืองไทยก็ใช่วา่ จะเรี ยบร้อยทีเดียวนัก นันก็คือ มี
ทังการรัฐประหาร การกบฎ และท้ายทีสุดก็คือ การประกาศสละราชสมบัติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัว
2. การขึนสู่อาํ นาจของหลวงพิบูลสงครามได้สร้างปรากฎการณ์ต่างๆ ขึนในการเมืองไทยอย่างน่าทึงทีคืนจากฝรังเศสทีไทยเสี ยไป
ตังแต่สมัยรัชกาลที 5 ตลอดจนการนําพาประเทศไทยเข้าสู่สงครามมหาเอเชียบูรพา
3. ภายหลังสงครามโลกครังทีสองสิ นสุดลง โลกได้ถูกแบ่งออกเป็ นสองขัวอํานาจทีตรงข้ามกัน เป็ นปฏิปักษ์ต่อกัน ทังนีเป็ นผล
มาจากการมีอุดมการณื ทางการเมืองทีแตกต่างกัน โดยขัวหนึงมีสหรัฐอเมริ การเป็ นแกนนํายึดถือระบบทุนนิยมเสรี (ประชาธิปไตย) ส่วน
อีกขัวหนึงมีสหภาพโซเวียตเป็ นแกนนํายึดถือระบบสังคมคอมมิวนิสต์ ส่วนฝ่ ายไทยนันได้เข้าร่ วมขัวกับสหรัฐอเมริ การด้วยกับเหตุผลและ
ข้อเท็จจริ งหลายๆ อย่าง

กิจกรรม 9.1.1 ช่วงแรกทีมีการสถาปนาระบบรัฐสภาขึนในประเทศไทยนัน ได้เกิดความผันผวนทางการเมืองขึนอย่างไรบ้าง


* เกิดความขัดแย้งทางการเมืองเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะแนวความคิดใหม่กบั แนวความคิดเก่า อันนําไปสู่เหตุการณ์ต่างๆ เช่น
การรัฐประหาร พ.ศ.2476 การกบฎของพระองค์เจ้าบวรเดช ตลอดจนการสละราชสมบัติของในหลวงรัชกาลที 7

กิจกรรม 9.1.2 แนวคิดในการสร้างชาติภายใต้ลทั ธิชาตินิยมของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้แสดงออกในเรื องใดบ้าง


* การแสดงออกตามแนวคิดชาตินิยม ได้แก่ การกําหนดให้วนั ที 24 มิถุนายน เป็ นวันชาติ การเปลียนแปลงชือของประเทศจากสยาม
เป็ นไทย การเรี ยกร้องดินแดนคืนจากประเทศฝรังเศส ซึงไทยได้สูญเสี ยไปตังแต่สมัยรัชกาลที 5 และท้านทีสุดได้แก่ การนําพาประเทศไทยเข้า
สู่สังคมโลกครังทีสอง (สงครามมหาเอเชียบูรพา)

กิจกรรม 9.1.3 ระบบขัวอํานาจในการเมืองโลกเกิดขึนเมือไรและอย่างไร


* ภายหลังสงครามโลกครังทีสองสิ นสุดลง โลกได้ถูกแบ่งออกเป็ น 2 ขัวอํานาจ คือ ขัวทีมีสหรัฐอเมริ กาเป็ นแกนนํา กับขัวทีมี
สหภาพโซเวียตเป็ นแกนนํา โดยขัวทังสองนีมีความแตกต่างกันอย่างสิ นเชิง โดยเฉพาะอย่างยิงเรื องของอุดมการณ์ทางการเมือง นันก็คือ
ขัวสหรัฐอเมริ กามีอุดมการณ์แบบทุนนิยมเสรี ประชาธิปไตย ส่วนสหภาพโซเวียตมีอุดมการณ์แบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ กรณี ดงั กล่าวทํา
ให้ประเทศต่างๆ ต้องเลือกว่าจะเข้าร่ วมขัว (ค่าย) ทุนนิยมเสรี หรื อ ขัว (ค่าย) คอมมิวนิสต์ เพือรับความช่วยเหลือต่างๆ หลังสงครามนันเอง

ตอนที 9.2 การเมืองไทยยุคสามจอมพลสืบทอดอํานาจกับอิทธิพลของต่ างชาติ


1. การรัฐประหาร พ.ศ.2490 ได้ทาํ ลายบรรยากาศประชาธิปไตยทีเกิดขึนภายใต้รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2489 อันถือกันว่าเป็ น
รัฐธรรมนูญประชาธิปไตยฉบับแรกของไทย และทีสําคัญการรัฐประหารครังนี ก็คือการปูทางให้จอมพล ป. พิบูลสงครามกลับเข้ามาสู่
อํานาจรัฐอีกครังหนึงในเวลาต่อมา และเป็ นจุดเริ มต้นของการปกครองโดยทหารสื บทอดกันมาเป็ นเวลานานทีเดียว
2. การขึนสู่อาํ นาจจอมพลสฤษดิ ธนะรัชต์ได้สร้างปรากฎการณ์แห่งการใช้อาํ นาจเด็ดขาดอย่างแท้จริ ง ทังนีโดยมีมาตรา 17 ของ
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ.2502 เป็ นเครื องมือในการปกครอง และทีสําคัญจอมพลสฤษดิต้องการสร้างประชาธิปไตยแบบ
ไทย โดยมีจอมพลสฤษดิเป็ นพ่อขุนทีคอยอุปถัมภ์คนไทย
- 21 -

3. การสื บทอดอํานาจของจอมพลถนอม กิตติขจร ต่อจากจอมพลสกฤษดินัน ไม่ได้ทาํ ให้รัฐบาลจอมพลถนอมมีความมุ่งมันคง


เท่าใดนัก ทังนีเนืองจากอํานาจอิทธิพลและบารมีของจอมพลถนอมห่างจากจอมพลสกฤษดิมาก ในทีสุดจอมพลถนอมจึงต้องปฏิวตั ิตวั เอง
เพือจัดตังรัฐบาลทีมีความมันคงขึนมา แต่แล้วก็ตอ้ งมาเผชิญกับขบวนการนักศึกษาและประชาชนในการเรี ยกร้องรัฐธรรมนูญจนนําไปสู่
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516

กิจกรรม 9.2.1 กรณี ใดทีแสดงให้เห็นว่าไทยได้เข้าร่ วมค่ายเดียวกับสหรัฐอเมริ กา


* กรณี ดงั กล่าวแสดงให้เห็นได้จากการทีรัฐบาลไทยประกาศรับรองรัฐบาลเบาได๋ ของเวียดนาม ต่อมารัฐบาลไทยก็ได้ส่งทหารไป
ร่ วมรบในสงครามเกาหลี และทีสําคัญก็คือไทยได้เข้าร่ วมจัดตังองค์การสนธิ สัญญาป้ องกันร่ วมกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้หรื อองค์การ
ส.ป.อ. (SEATO)

กิจกรรม 9.2.2 แนวคิดประชาธิปไตยของจอมพลสฤษดิ ธนะรัตน์ มีลกั ษณะอย่างไร


* ต้องการสร้างประชาธิปไตยแบบไทยทีมีพนฐานอยู
ื บ่ นประวัติศาสตร์ จารี ดประเพณี และวัฒนธรรมของไทย โดยเฉพาะอย่างยิง
ในเรื องของความเป็ น “พ่อ” ของคนไทยทุกคนทีปกครองครอบครัวทีใหญ่ทีสุด คือ ชาติ นันก็คือความเป็ น “พ่อขุน” ทีปกครองด้วยความ
เป็ นธรรม เมตตา และใช้อาํ นาจเด็ดขาดต่อผูใ้ ต้ปกครองนันเอง

กิจกรรม 9.2.3 ขบวนการนักศึกษาได้ดาํ เนินการสร้างแนวร่ วมจากประชาชนอย่างไรก่อนทีจะนําไปสู่เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516


* การดําเนินงานของขบวนการนักศึกษาได้เริ มต้นจากการประทวงการขึนค่าโดยสารรถเมล์ประจําทางหลังจากนันก็ทาํ การรณรงค์
ต่อต้านสิ นค้าญีปุ่ น ตลอดจนการประท้วงประกาศของคณะปฎิวตั ิฉบับที 299 ซึ งเป็ นเรื องทีเกียวข้องกับการแทรกแซงอํานาจของศาล นอกจากนีก็
ยังประท้วงความไม่เป็ นธรรมและความไม่ชอบมาพากลทังหลาย จนในทีสุดได้ทาํ การเรี ยกร้องรัฐธรรมนูญอันนําไปสู่เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.
2516

ตอนที 9.3 การเปลียนแปลงทางการเมืองไทยอันเป็ นผลจากการเปลียนแปลงทางการเมืองในภูมิภาคและในสังคมโลก


1. ชัยชนะของพวกคอมมิวนิสต์ในอินโดจีน ตลอดจนการเมืองสามเส้าในการเมืองโลกนันได้ส่งผลให้ไทยต้องปรับเปลียนนโยบาย
โดยหันไปผ่อนคลายความตึงเครี ยดกับฝ่ ายคอมมิวนิสต์ จนในทีสุดรัฐบาลไทยสามารถเอาชนะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พ.ค.ท.) ได้
อย่างเบ็ดเสร็ จเด็ดขาด
2. การรัฐประหาร พ.ศ.2534 ส่ งผลให้การเมืองไทยถอยหลังไปหลายก้าว และทีสําคัญก็คือ เป็ นการแสดงให้เห็นว่าการประนีประนอม
ระหว่างพลังทางการเมืองได้ยตุ ิลงไปแล้ว และนอกจากนีก็คือเหมือนกับเป็ นการบอกว่าการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยทีผ่านๆ มานัน
ล้มเหลวโดยสิ นเชิง
3. การประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 คือจุดเริ มต้นของกระบวนการปฏิรูปการเมืองไทยอย่างแท้จริ ง
เป็ นการปฏิรูปภายใต้แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม ซึงจุดมุง่ หมายสุดท้ายก็คือการมีประชาธิปไตยทีแข็งแกร่ งมันคงและมีประสิทธิภาพ
4. แนวโน้มของการเมืองไทยจะเน้นความเป็ นประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่ วม การให้ความสําคัญในเรื องของสิ ทธิมนุษยชน ตลอดจน
การสนับสนุนให้เกิดธรรมาภิบาลในการบริ หารปกครองประเทศอีกด้วย

กิจกรรม 9.3.1 นโยบายการเมืองนําการหหารในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ มีแนวทางอย่างไร


* เป็ นนโยบายทีเกิดขึนในช่วงจังหวะหัวเลียวหัวต่อทังของการเมืองภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ โดยคําสังของ
สํานักนายกรัฐมนตรี เลขที 66/2523 และ 65/2525 โดยมีนโยบายพืนฐานคือรณรงค์เพือดึงให้พวกคอมมิวนิสต์และพวกทีสนับสนุนซึงมีไม่
น้อย เป็ นนักศึกษาทีหนีเข้าป่ าภายหลังการรัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 ให้เข้ามอบตัว นับว่าได้ผลเป็ นอย่างมาก โดยพวกคอมมิวนิสต์
เองก็วางอาวุธและกลับใจหันมาเป็ นผูร้ ่ วมพัฒนาชาติไทยในทีสุด
- 22 -

กิจกรรม 9.3.2 อะไรคือสาเหตุทีนําไปสู่เหตุการณ์จลาจลเมือวันที 17-20 พฤษภาคม พ.ศ.2535


* เหตุการณ์จลาจล 17-20 พฤษภาคม พ.ศ.2535 หรื อทีรู ้จกั กันโดยทัวไปว่าเหตุการณ์พฤษภาทมิฬนันมีสาเหตุมาจากความต้องการ
ในการสื บทอดอํานาจของคณะ รสช. ทีได้ส่งพลเอกสุจินดา คราประยูร ขึนเป็ นนายกรัฐมนตรี ถึงแม้วา่ จะเป็ นไปตามแนวทางของ
รัฐธรรมนูญ แต่กลุ่มพลังประชาธิปไตยทังหลายเห็นว่ากรณี ดงั กล่าวนีขาดความชอบธรรมทางการเมืองเป็ นอย่างมาก

กิจกรรม 9.3.3 การจัดทํารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 หรื อรัฐธรรมนูญฉบับปฎิรูปการเมืองนัน มีกรอบในการจัดทําอะไร


* กรอบในการจัดทํารัฐธรรมนูญดังกล่าวประกอบด้วย
1. เรื องของสิ ทธิหน้าทีและการมีส่วนร่ วมของพลเมือง
2. เรื องการตรวจสอบการใช้อาํ นาจรัฐ
3. เรื องสถาบันการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการเมือง

กิจกรรม 9.3.4 การบริ หารจัดการทีดีหรื อธรรมาภิบาลมีองค์ประกอบอะไรบ้าง


* องค์ประกอบดังกล่าว ได้แก่
1. การมีส่วนร่ วมของประชาชน
2. การมีความสุจริ ตและโปร่ งใส
3. การมีพนั ธะรับผิดชอบต่อสังคม
4. การมีกลไกการเมืองทีชอบธรรม
5. การมีกฎเกณฑ์ทียุติธรรมและชัดเจน
6. การมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล

หน่ วยที 10 ไทยกับผลกระทบจากเทคโนโลยี การสือสาร และโทรคมนาคมในสังคมโลก


1. การสื อสารและโทรคมนาคมของมนุษย์มีพฒั นาการทีต่อเนืองมายาวนาน โดยมีกระบวนการโลกาภิวตั น์เป็ นปัจจัยสําคัญทีทํา
ให้เกิดเทคโนโลยีการสื อสารสมัยใหม่ เช่น อินเตอร์เน็ต จนกระทังในโลกปัจจุบนั มีการใช้เทคโนโลยี การสื อสาร และโทรคมนาคมอย่าง
แพร่ หลาย
2. เทคโนโลยี การสื อสาร และโทรคมนาคมส่งผลกระทบต่อสังคมไทยทังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
3. ปั ญหาทีเกิดจากเทคโนโลยี การสื อสาร และโทรคมนาคาทีเกิดขึนมีหลายประการ เช่น ปั ญหาความเหลือมลําในการเข้าถึง
เทคโนโลยีสารสนเทศ ปั ญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ปั ญหาการพาณิ ชย์ทีขัดต่อกฏหมายและศิลธรรม ปั ญหาการแพร่ กระจายของข้อมูล
ข่าวสารส่วนบุคคล ปั ญหาพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตของเยาวชน ปั ญหาบุคลากรสาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นต้น
4. สังคมไทยควรมีการปรับตัวให้รับกับการเปลียนแปลง โดยการพัฒนาโครงสร้างพืนฐานทีเกียวข้องกับเทคโนโลยี การสื อสาร
และโทรคมนาคม การพัฒนาสายวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ การปรับตัวเมือเข้าสู่ตลาดแข่งขันเสรี ทางธุรกิจโทรคมนาคม รวมไปถึง
การป้ องกันและเยียวยาปั ญหาจริ ยธรรม และปั ญหาสังคมทีเกียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตอนที 10.1 แนวคิดเกียวกับเทคโนโลยี การสือสาร และโทรคมนาคม


1. การสื อสารของมนุษยชาติมีการเปลียนแปลงทีสําคัญอันอาจเรี ยกได้วา่ เป็ นการปฏิวตั ิทางด้านการสื อสารเกิดขึนทังหมด 4 ครัง
ด้วยกัน กล่าวคือ ครังที 1 เมือมนุษย์เริ มมีภาษาพูดและมีวฒั นธรรมโดยการเล่าสื บต่อกันมา ครังที 2 เมือมนุษย์มีภาษาเขียนและถ่ายทอด
วัฒนธรรมโดยการเขียน ครังที 3 เมือมีเทคโนโลยีทางการพิมพ์เกิดขึนทําให้สามารถเผยแพร่ ความรู ้ต่างๆ ออกไปสู่มวลชนได้เป็ นจํานวนมาก
และครังที4 คือในยุคปัจจุบนั ทีมีการเกิดขึนของระบบอิเล็กทรอนิกส์ดิจิตลั
2. การเกิดขึนของกระแสโลกาภิวตั น์ได้สร้างให้เกิดนวัตกรรมใหม่ คือ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ งหมายถึง ความรู ้ในผลิตภัณฑ์
หรื อกระบวนการใดๆ ทีอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื อสาร และโทรคมนาคมในการจัดทําระบบสารสนเทศไว้ใช้
งาน
- 23 -

3. เครื อข่ายอินเตอร์เน็ตมีภูมิหลังทีมาจากเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีก่อตังขึน เพือประโยชน์ทางด้านการทหารและความมันคงของ


ประเทศสหรัฐอเมริ กาในช่วงยุคสงครามเย็น ซึ งมีวตั ถุประสงค์ให้เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ทีไม่สามารถถูกทําลายลงได้ เพราะไม่มีคอมพิวเตอร์
แม่ข่ายเครื องใดเป็ นศูนย์กลางนันเอง ต่อมาเมือสิ นสุดยุคสงครามเย็น อินเตอร์เน็ตได้ถกู พัฒนาปรับเปลียนมาใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์
มากยิงขึน
4. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในทิศทางทีทําให้เกิดเครื อข่ายสื อสารโทรคมนาคมทีแพร่ กระจาย มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที
ใช้งานง่ายและสะดวก เนืองจากเป็ นอุปกรณ์ทีติดต่อสื อสารด้วยระบบไร้สายและพกพาได้ อีกทังมีราคาทีลดลงถึงระดับซึงคนส่วนใหญ่หา
ซือใช้ได้โดยไม่เป็ นภาระมากเกินควร สภาพการณ์ดงั กล่าวก่อให้เกิดความนิยมใช้เทคโนโลยี การสื อสารและโทรคมนาคมอย่างกว้างขวาง

กิจกรรม 10.1.1 จงอธิบายการปฏิวตั ิทางด้านการสื อสารของมนุษย์ มาพอสังเขป


* ประวัติศาสตร์การสื อสารของมนุษยชาติมีการเปลียนแปลงทีสําคัญอันอาจเรี ยกได้วา่ เป็ นการปฏิวตั ิทางด้านการสื อสารเกิดขึน
ทังหมด 4 ครังด้วยกัน กล่าวคือ ครังที 1 เมือมนุษย์เริ มมีภาษาพูดและมีวฒั นธรรมโดยการเล่าสื บต่อกันมา ครังที 2 เมือมนุษย์มีภาษาเขียน
และถ่ายทอดวัฒนธรรมโดยการเขียน ครังที 3 เมือมีเทคโนโลยีทางการพิมพ์เกิดขึนทําให้สามารถเผยแพร่ ความรู ้ต่างๆ ออกไปสู่มวลชนได้
เป็ นจํานวนมาก และครังที 4 คือในยุคปั จจุบนั ทีมีการเกิดขึนของระบบอิเล็กทรอนิกส์ติจิตลั

กิจกรรม 10.1.2 โลกาภิวตั น์ในความหมายของซูซาน สเตรนก์ (Susan Strange) เป็ นอย่างไร


* ซูซาน สเตรนก์ให้คาํ อธิบายไว้วา่ โลกาภิวตั น์หมายถึง
1. การมีสินค้าในตลาดโลก ซึงร่ วมกันผลิตโดยบุคคลจากหลายประเทศ
2. การเปลียนโครงสร้างทางการเงินระหว่างประเทศ ซึงเกิดจากการผลิตและการค้าสิ นค้าและบริ การในระดับข้ามชาติในอัตราที
ขยายตัวกว่าเดิมมาก เพราะมีหลายชาติเข้ามาเกียวข้องซึงเป็ นผลให้เกิดทังกําไรและขาดทุนในวงเงินทีสูงมาก
3. การปรับเปลียนความแตกต่างทางความคิด ความเชือ ทัศนคติ รสนิยมให้เข้ามาเป็ นแบบเดียวกันในระดับโลก

กิจกรรม 10.1.3 จงอธิบายรู ปแบบการบริ การของเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต มาพอสังเขป


* เครื อข่ายอินเตอร์เน็ตประกอบไปด้วยบริ การต่างๆ เหล่านี
1. ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail : E-Mail)
2. USENET เป็ นวิธีการแพร่ ข่าวสารไปทัวทังเครื อข่ายอีกวิธีหนึง
3. FILE TRANSFER ผูใ้ ช้สามารถโอนแฟ้ มข้อมูลระหว่างเครื องคอมพิวเตอร์ของตนเองกับเครื องคอมพิวเตอร์ของคนอืนที
อยูใ่ นเครื อข่ายอินเตอร์เน็ตได้
4. TELNET เป็ นการต่อเชือมเครื องคอมพิวเตอร์ของเรากับคอมพิวเตอร์เครื องอืนทีอยูห่ ่างไกล
5. HYTELNET มาจากคําว่า HYPER TELNET แต่พฒั นาให้ใช้ง่ายขึนและมีความสะดวกสบายขึน และใช้งานง่ายโดย
เลือนลูกศรไปยังตําแหน่งเมนูทีต้องการ
6. GOPHER เป็ นโปรแกรมประยุกต์สาํ หรับใช้เปิ ดค้นหาข้อมูลและเข้าใช้บริ การด้วยระบบเมนูทีมีให้เลือกค้นไปทีละหัวข้อ
ทําหน้าทีเหมือนบรรณารักษ์ในห้องสมุด คอยจัดทําบัตรรายการ ช่วยให้ผใู ้ ช้หาหนังสื อทีต้องการได้เร็ วขึน
7. WORLD WIDE WEB หรื อ WWW เป็ นการให้บริ การข่าวสารข้อมูลแนวใหม่ในระบบอินเตอร์เน็ตทีได้รับความนิยม
มาก เนืองจากใช้งานง่าย คอยบริ การข้อมูลทังทีเป็ นข้อความเสี ยง ภาพนิง และภาพเคลือนไหว นอกจากนีได้รวมบริ การข้อมูลลักษณะอืน
ไว้ในตัวอีก เช่น การโอนถ่ายแฟ้ มข้อมูล เป็ นต้น

กิจกรรม 10.1.4 ในปั จจุบนั นอกจากเราจะติดต่อสื อสารด้วยเสี ยงพูดผ่านโทรศัพท์แล้ว ยังสามารถติดต่อสื อสารด้วยวิธีใดบ้าง


* การติดต่าสื อสารระหว่างคนในชุมชนแต่เดิมทําได้ดว้ ยเสี ยงพูดผ่านเครื องโทรศัพท์ เทคโนโลยีทีก้าวหน้าในวันนีทําให้สามารถ
ติดต่อสื อสารกันได้หลายวิธี เช่น การสื อสารด้วยเสี ยงพูดผ่านอินเตอร์เน็ต การสื อสารด้วยข้อความสัน (Short Message System :
SMS) การสื อสารด้วยอีเมล์ การสื อสารด้วยข้อความแบบโต้ตอบ (Instant messange) เป็ นต้น
- 24 -

ตอนที 10.2 ผลกระทบของเทคโนโลยี การสือสาร และโทรคมนาคมต่ อสังคมไทย


1. การสื อสารและโทรคมนาคมนัน ส่งผลต่อระบบสังคมการเมืองในแง่ของการเพิมช่องทางเลือกในการรับรู ้ข่าวสารของ
ประชาชนให้มากขึน ส่วนในระดับปั จเจกบุคคลนันพัฒนาการของเทคโนโลยี การสื อสารทําให้เกิดการเรี ยนรู ้ เกิดทัศนคติ ตลอดจน
จิตสํานึกทางการเมืองในเรื องใดเรื องหนึงร่ วมกันโดยไม่มีขอ้ จํากัดในเรื องพรมแดน รัฐบาลและอํานาจอธิปไตยอีกต่อไป
2. การขยายตัวของการสื อสารและโทรคมนาคมได้มีอิทธิพลทีสร้างผลต่อสังคมไทยทังในทางตรงและทางอ้อม อันเนืองมาจาก
การหลังไหลของ “ทุนนิยมสมัยใหม่” ทีเกิดขึนทัวโลกส่งผลให้ทุนนิยมโลก การค้าระหว่างประเทศ หรื อธุรกิจข้ามชาติเข้ามามีบทบาทต่อ
การเมืองไทย เกิด “การหลังไหลของทุนและข้อมูลข่าวสาร” เข้าสู่ทุกส่วนของประเทศไทย
3. การสื อสารโทรคมนาคมมีความสะดวกติดต่อกันง่านขึนจึงส่งผลให้การรับรู ้ข่าวสารมีความรวดเร็ ว และมีลกั ษณะคล้ายคลึงกันทัว
โลก หรื อเกิดเป็ นลักษณะ “หมู่บา้ นโลก” (global village) และ “วัฒนธรรมโลก” (global culture) ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งทาง
วัฒนธรรม อันเนืองมาจากสื อสารทีรวดเร็ วเสมือนอยูใ่ นชุมหรื อประเทศเดียวกัน ทําให้เกิดการส่งผ่านวัฒนธรรมผ่านสื อทันสมัยในยุคโลกาภิ
วัตน์ จากประเทศตะวันตกทีมีพนฐานทางวั
ื ฒนธรรมแตกต่างกับสังคมไทย ทัศนคติและค่านิยมสมัยใหม่แบบตะวันตกจะหลังไหลเข้าสู่
สังคมไทยทียังคงมีทศั นคติ ค่านิยมและวัฒนธรรมแบบดังเดิมอยู่ จึงเกิดความขัดแย้งทางวัฒนธรรมนํามาซึงปั ญหาสังคมต่างๆ มากมาย

กิจกรรม 10.2.1 จงอธิบายผลกระทบของเทคโนโลยีการสื อสารทีมีต่อระบบการเมือง


* สําหรับผลกระทบของเทคโนโลยีการสื อสารทีมีต่อระบบการเมืองทีเห็นได้อย่างชัดเจนประการหนึงคือ เทคโนโลยีการสื อสาร
เช่น โทรทัศน์และเทปวีดิทศั น์มีส่วนยับยังอํานาจของผูป้ กครองทีเป็ นเผด็จการไว้ได้ ในปัจจุบนั นีเป็ นเรื องยากมากทีกลุ่มทหารไม่วา่ จะเป็ น
ทีไหนในโลกก็ตามทีจะทําการปฏิวตั ิ ในยุทคทีข้อมูลข่าวสารสามารถแพร่ กระจายไปได้ทวทุ ั กมุมโลกในเวลาอันรวดเร็ ว ในยุคก่อนการ
ปฏิวตั ิในประเทศใดก็เป็ นเรื องส่วนตัวของประเทศนัน แต่ในยุคปัจจุบนั มีระบบการสื อสารเชือมโยงโลกทังโลกเข้าไว้ดว้ ยกัน การปฏิวตั ิใน
ประเทศหนึงอาจส่งผลต่อการถูกต่อต้านจากประเทศอืนด้วย ในปั จจุบนั และอนาคตจะมีผปู ้ กครองทีเป็ นเผด็จการน้อยลง รวมทังพวกเขา
จะไม่สามารถควบคุมการไหลของข่าวสารได้อีกต่อไป ระบบเทคโนโลยีการสื อสารแบบกระจายอํานาจ เช่น โทรศัพท์เคลือนที โทรสาร
และอินเตอร์เน็ตนัน จะทําให้ปัจเจกชนมีอาํ นาจมากขึน และทําให้พวกเขาสามารถทีจะติดตามเรื องราวของรัฐบาล ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
มากกว่าทีรัฐบาลจะติดตามเรื องราวชองประชาชนเสี ยอีก

กิจกรรม 10.2.2 จงอธิบายผลกระทบของเทคโนโลยีการสื อสารทีมีต่อเศรษฐกิจ


* สําหรับผลกระทบของเทคโนโลยีการสื อสารทีมีต่อระบบเศรษฐกิจทีชัดเจนคือ การหลังไหลของ “ทุนนิยมสมัยใหม่” (modern
capitalism) ทีเกิดขึนทัวโลกทําให้ทุนนิยมโลก การค้าระหว่างประเทศ หรื อธุรกิจข้ามชาติ (Multi-National Corperations: MNCs)
เข้ามามีบทบาทต่อสังคมไทย ส่งผลให้เกิดการหลังไหลของทุน และข้อมูลข่าวสารเข้าสู่ทุกส่วนของประเทศไทย สื ออินเตอร์เน็ตก็จะแทรกซึม
เข้าสู่ทุกตําบลทุกท้องถิน เช่น การพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์ แต่ในขณะเดียวกันก็ส่งผลเสี ยด้วยหากมีการใช้การพาณิ ชย์ทีผิดกฎหมายและศิล
ธรรม

กิจกรรม 10.2.3 จงอธิบายผลกระทบของเทคโนโลยีการสื อสารทีมีต่อสังคมและวัฒนธรรม


* การสื อสารโทรคมนาคมมีความสะดวกติดต่อกันง่ายขึนจึงส่งผลให้การรับรู ้ข่าวสารมีความรวดเร็ ว และมีลกั ษณะคล้ายคลึงกันทัวโลก
หรื อเกิดเป็ นลักษณะ “หมู่บา้ น” และ “วัฒนธรรม” ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งทางวัฒนธรรม (conflict of culture) อันเนืองมาจากการสื อสาร
ทีรวดเร็ วเสมือนอยูใ่ นชุมชนหรื อประเทศเดียวกัน ทําให้เกิดการส่งผ่านวัฒนธรรมผ่านสื อทันสมัย จากประเทศตะวันตกทีมีพนฐานทางวั
ื ฒนธรรม
แตกต่างกับสังคมไทย ทัศนคติ ค่านิยมสมัยใหม่แบบตะวันตกจะหลังไหลเข้าสู่สังคมไทยทียังคงมีทศั นติ ค่านิยมและวัฒนธรรมแบบดังเดิมอยู่

ตอนที 10.3 ปัญหาทีเกิดจากเทคโนโลยี การสือสาร และโทรคมนาคมต่ อสังคมไทย


1. จากการจัดอันดับความสามารถของประเทศในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารประจําปี ค.ศ.2002 ของสหภาพ
โทรคมนาคม พบว่า ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที 68 จาก 178 ประเทศทัวโลก และอยูใ่ นระดับกลาง หากเปรี ยบเทียบเฉพาะในภูมิภาค
อาเชียน ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที 4 รองจากสิ งคโปร์ มาเลเซีย และบรู ไน
- 25 -

2. เมือเทคโนโลยีสารสนเทศเริ มเข้ามามีบทบาทต่อการอยูร่ ่ วมกันในสังคม ปั ญหาอาชญากรรมชนิดใหม่ทีเกียวข้องกับเทคโนโลยี


สารสนเทศเริ มจะสร้างปั ญหาให้แก่สังคมโดยรวม จนรัฐบาลของประชาชนทีเกิดจากอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
3. ธุรกิจทีทําภายใต้เทคโนโลยีสารสนเทศและอาศัยเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตทีขัดต่อศิลธรรมและจริ ยธรรมมีมากมาย ทังทีผิดศิล
ธรรมชัดเจน และทีอยูใ่ นข่ายหลอกลวงให้ผอู ้ ืนได้รับความเสี ยหาย ธุรกิจเหล่านีมาในรู ปแบบหนึงของพาณิ ชย์อิเล็กทรอนิกส์
4. ปั จจุบนั การจัดเก็บข้อมูลในระบบออนไลน์ช่วยให้การดําเนินการดังกล่าวเป็ นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ ว การเก็บรวบรวม
ข้อมูลส่วนบุคคลมักจัดทําเพือประโยชน์ในกิจกรรมของนิติบุคคล หรื อการให้บริ การของหน่วยต่างๆ ซึงผูใ้ ช้บริ การมักเข้าใจว่าข้อมูลส่วน
บุคคลทีให้ไว้นนจะไม่
ั ถูกนําไปเผยแพร่ หรื อนําไปใช้เพือวัตถุประสงค์อืนๆ แต่ในความเป็ นจริ งข้อมูลเหล่านีอาจถูกละเมิดได้ โดยทีเจ้าของ
ข้อมูลอาจรู ้เลยก็ได้
5. อินเทอร์เน็ตนันมิได้มีแต่ประโยชน์เพียงด้านเดียว เป็ นทียอมรับกันว่าความไร้ขอบเขตของการออนไลน์ทาํ ให้เกิดผลในทางลบ
หลายๆ ประการ ทีเห็นได้ชดั คือปั ญหาสื อลามกอนาจาร การล่อลวง เกมออนไลน์ เป็ นต้น ผูท้ ีได้รับผลกระทบจากภัยเหล่านีมักเป็ นกลุ่ม
เด็กและวัยรุ่ น ซึงขาดความรู ้ ความเข้าใจ และความระมัดระวังตัวในการออนไลน์หรื อการใช้เทคโนโลยีดงั กล่าว
6. ประเด็นปั ญหาทีเกียวกับการใช้บุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมจําแนกเป็ นหัวข้อหลักๆ ได้ 3 ข้อคือ ความก้าวหน้าใน
สายอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนือง และระบบผลตอบแทน

กิจกรรม 10.3.1 ดัชนีชีวัดการเข้าถึงสารสนเทศและความรู ้ (Digital Access Index : DAI) คืออะไร และเมือวัดด้วยดัชนีนีสถานะ


ของประเทศไทยเป็ นอย่างไร
* DAI เป็ นดัชนีทีใช้วดั ความสามารถในการเข้าถึงสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศและความรู ้โดยการประเมินปัจจัยพืนฐานทีมี
ผลกระทบต่อความสามารถของประเทศในการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ 5 ด้าน ได้แก่ โครงสร้างพืนฐาน (Infrastructure)
ความสามารถทีจะซือได้ (Affordability) ความรู ้ (Knowledge) คุณภาพ (Quality) และการใช้งาน (Usage) โดยมีตวั ชีวัด 8 ตัว
เป็ นองค์ประกอบในการคํานวณค่าดัชนี ผลทีได้ทาํ ให้สามารถจําแนกประเทศออกเป็ น 4 กลุ่มตามความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยี
สารสนเทศ ได้แก่ ประเทศทีมีการเข้าถึงระดับสูง ระดับค่อนข้างสูง ระดับกลาง และระดับตํา ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที 68 จากทังหมด
178 ประเทศทัวโลก และอยูใ่ นกลุ่มประเทศทีมีการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับกลาง หากเปรี ยบเทียบเฉพาะในภูมิภาคอาเซียน
ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที 4 รองจากสิ งคโปร์ มาเลเซีย และบรู ไน

** ตัวอย่ างรูปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ มีดงั นี


1. ดาต้าดิดดลิง (data diddling) เป็ นการเปลียนแปลงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาตก่อนหรื อระหว่างบันทึกข้อมูลลงในระบบ
คอมพิวเตอร์
2. ม้าโทรจัน (Trojan horse) เป็ นการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทีแฝงไว้ในโปรแกรมอืน เมือถึงเวลาโปรแกรมดังกล่าวจะ
ปรากฎตัวขึนเพือปฏิบตั ิการทําลายข้อมูล วิธีการนีมักใช้ในการฉ้อโกงทางคอมพิวเตอร์เพือการทําลายข้อมูลหรื อระบบคอมพิวเตอร์
3. ซาลามีเทคนิค (salami technique) เป็ นวิธีการปั ดเศษจํานวนเงิน เช่น ทศนิยมตัวทีสาม หรื อปั ดเศษทิงให้เหลือแต่จาํ นวน
เงินทีสามารถจ่ายได้ และนําเศษทศนิยมหรื อเศษทีปัดทิงมาใส่ในบัญชีของตนเองหรื อของผูอ้ ืน นอกจากนีวิธีการดังกล่างยังอาจใช้กบั ระบบ
ตรวจนับสิ งของในคลังสิ นค้าด้วย
4. ซูเปอร์แซปปิ ง (superzapping) เป็ นโปรแกรมอรรถประโยชน์ประเภทหนึงทีใช้ในศูนย์คอมพิวเตอร์ เพือเป็ นเครื องมือของ
ระบบ (system tool) ในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ในกรณี ฉุกเฉิ น เสมือนกุญแจผี ทีนํามาใช้เมือกุญแจดอกอืนหายหรื อมีปัญหา
โปรแกรมอรรถประโยชน์ประเภทนีมีความเสี ยงมากหากตกไปอยูใ่ นมือของผูท้ ีไม่หวังดี
5. แทรปดอร์ (trap door) เป็ นการเขียนโปรแกรมด้วยการเลียนแบบหน้าจอปกติของระบบคอมพิวเตอร์ เพือลวงผูใ้ ช้คอมพิวเตอร์
โดยมีวตั ถุประสงค์ทีจะทราบรหัสผูใ้ ช้และรหัสผ่านของผูอ้ ืน
6. ลอจิกบอมบ์ (logic bomb) เป็ นการเขียนโปรแกรมคําสังโดยกําหนดเงือนไขไว้โปรแกรมดังกล่าวเริ มทํางานต่อเมือมีสภาวะ
หรื อสภาพการณ์ตามเงือนไขทีกําหนด เพือใช้ติดตามความเคลือนไหวของระบบบัญชีและระบบเงินเดือน และทําการเปลียนแปลงตัวเลขได้
7. ดาตาลีกเกจ (data leakage) เป็ นการทําให้ขอ้ มูลรัวไหลออกไปโดยเจตนาหรื อไม่ก็ตาม
- 26 -

8. ไวร์แทปปิ ง (wire tapping) เป็ นการลักลอบดังฟังสัญญาณสื อสารโดยเจตนา


9. ซิมูเลชันแอนด์โมเดลลิง (simulation and modeling) ในปั จจุบนั คอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็ นเครื องมือในกระบวนการ
วางแผน ควบคุม และติดตามการประกอบอาชญากรรม ในขณะเดียวกันอาชญากรอาจใช้กระบวนการดังกล่าวเพือสร้างแบบจําลองในการ
วางแผนเพือประกอบอาชญากรรมก็ได้

กิจกรรม 10.3.2 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์มีลกั ษณะเฉพาะตัวทีแตกต่างจากอาชญากรรมแบบดังเดิมในด้านใดบ้าง


* อาชญากรรมคอมพิวเตอร์มีลกั ษณะเฉพาะตัวทีแตกต่างจากอาชญากรรมแบบดังเดิม ในด้านสภาพความเป็ นทรัพย์ ด้านเขต
อํานาจการดําเนินการตามกฎหมาย และด้านกลุ่มผูก้ ระทําความผิด

กิจกรรม 10.3.3 จงยกตัวอย่างการพาณิ ชย์ทีขัดต่อกฏหมายและศิลธรรมทีอาจพบได้บนเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต


* การพาณิ ชย์ทีขัดต่อกฎหมายและศิลธรรม เช่น การทําธุรกิจแบบเอารัดเอาเปรี ยบ ธุรกิจบริ การเรื องทางเพศ ธุรกิจจัดจําหน่ายผลิ
ภัณฑ์ลามกทางเพศ ธุรกิจการพนันบนอินเตอร์เน็ต การละเมิดทรัพย์สินทางปั ญญา เป็ นต้น

กิจกรรม 10.3.4 สิ ทธิขอ้ มูลส่วนบุคคลได้รับการรับรองโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอย่างไร


* รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 34 ได้บญั ญัติไว้เกียวกับการคุม้ ครองสิ ทธิของบุคคลไว้อย่างชัดเจน ดังนี
“สิ ทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชือเสี ยง หรื อความเป็ นอยูส่ ่ วนตัว ย่อมได้รับความคุม้ ครอง การกล่าวหรื อไขข่าว
แพร่ หลายซึงข้อความหรื อภาพไม่วา่ ด้วยวิธีใดไปยังสาธารณชน อันเป็ นการละเมิดหรื อกระทบถึงสิ ทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ
ชือเสี ยง หรื อความเป็ นส่วนตัว จะกระทํามิได้ เว้นแต่กรณี ทีเป็ นประโยชน์ต่อสาธารณชน”

กิจกรรม 10.3.5 ผลกระทบทีเกิดจากการเล่นเกมออนไลน์ของเยาวชนอย่างกว้างๆ มีอะไรบ้าง


* ผลกระทบด้านลบทีเกิดขึนจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างไม่เหมาะสมอย่างเกมออนไลน์นนั สามารถแบ่งออกเป็ น
ประเด็นใหญ่ๆ ได้ 3 ประเด็น ได้แก่ ผลจากเกมทีมีเนือหาทีรุ นแรง ผลจากการใช้เวลาว่างอย่างไม่เหมาะสม และผลจากการเสี ยค่าใช้จ่ายใน
การเล่นเกม

กิจกรรม 10.3.6 ปั ญหาทางด้านบุคคลากรสายวิชาชีพสารสนเทศ อาจจําแนกประเด็นหลักๆ ได้อย่างไรบ้าง


* ประเด็นปั ญหาทีเกียวกับการใช้บุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมจําแนกเป็ นหัวข้อหลักๆ ได้ 3 ข้อคือ ความก้าวหน้าใน
สายอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื องการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนือง และระบบผลตอบแทน

ตอนที 10.4 แนวทางการปรับตัวของสังคมไทยในสังคมดิจิตัล


1. การทีจะพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารของประเทศไทยให้กา้ วไปสู่ประเทศระดับแนวหน้าได้นนั ภาครัฐจะต้อง
ผลักดันและเร่ งดําเนินการในเรื องการพัฒนาเทคโนโลยี การสื อสาร และโทรคมนาคมให้เทียบเคียงและลําหน้าประเทศอืนในแถบภูมิภาค
เดียวกัน การพัฒนาระบบโครงสร้างพืนฐานด้านสารสนเทศ การลงทุนของประเทศทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การสร้างโอกาสในการ
เข้าถึงดิจิตลั ภาคประชาชน การสนับสนุนอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย และการพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบทีเกียวข้อง
2. การจะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารของไทยในปัจจุบนั มีอุปสรรคสําคัญทีกําลังเผชิญอยู่
คือ ความสามารถในการผลิตคุณภาพของระบบการศึกษาในปั จจุบนั ยังไม่เพียงพอ สถาบันและหลักสูตรการฝึ กอบรมบุคลากรมีขอ้ จํากัด
ระบบการตรจคนเข้าเมืองมีขอ้ จํากัดทีก่อให้เกิดความไม่สะดวกในการนําเข้าบุคลากรทีมีความเชียวชาญระดับสูงและสาขาพัฒนาด้าน
เทคโนโลยีสมัยใหม่จากต่างประเทศ จํานวนบุคลากรทีมีความเชียวชาญด้านมัลติมีเดียจํากัด
3. รัฐควรมีการกําหนดหลักเกณฑ์การให้บริ การโทรคมนาคมพีนฐานโดยทัวถึง เนืองจากหากประชาชนสามารถได้รับบริ การ
อย่างทัวถึงและเท่าเทียมกัน ก็จะสามารถลดช่องว่างทางเทคโนโลยีของประชาชนได้
4. ปั ญหาจริ ยธรรมและปั ญหาสังคมเป็ นสิ งทีเกิดขึนพร้อมๆ กับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื อสารและโทรคมนาคมเสมอ
ในการป้ องกันและเยียวยาแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงมีความจําเป็ นอย่างยิงทีจะต้องดําเนินการทังในระดับมหาภาคคือระดับประเทศ และระดับ
จุลภาคคือระดับองค์การและปัจเจกบุคคล
- 27 -

กิจกรรม 10.4.1 การทีจะพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารของประเทศไทยให้กา้ วไปสู่ประเทศระดับแนวหน้าได้นนจะมี



แนวทางอย่างไร
* ภาครัฐจะต้องผลักดันและเร่ งดําเนินการในเรื อง ดังต่อไปนี
1. การพัฒนาเทคโนโลยี การสื อสาร และโทรคมนาคมให้เทียบเคียงและลําหน้าประเทศอืนในแถบภูมิภาคเดียวกัน
2. การพัฒนาระบบโครงสร้างพืนฐานด้านสารสนเทศ
3. การลงทุนของประเทศทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. การสร้างโอกาสในการเข้าถึงดิจิตลั ภาคประชาชน
5. การสนับสนุนอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย
6. การพัฒนากฎหมาย กฎระเบียบทีเกียวข้อง

กิจกรรม 10.4.2 อุปสรรคสําคัญทีกําลังเผชิญอยูใ่ นการจะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารของไทยในปั จจุบนั


ประกอบด้วยอะไร
* การจะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารของไทยในปั จจุบนั มีอุปสรรคสําคัญทีกําลังเผชิญอยู่ ดังนี
1. ความสามารถในการผลิตคุณภาพของระบบการศึกษาในปัจจุบนั ยังไม่เพียงพอ
2. สถาบันและหลักสูตรการฝึ กอบรมบุคลากรมีขอ้ จํากัด
3. ระบบการตรวจคนเข้าเมืองมีขอ้ จํากัดทีก่อให้เกิดความไม่สะดวกในการนําเข้าบุคลากรทีมีความเชียวชาญระดับสูงและสาขาพัฒนา
ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่จากต่างประเทศ
4. จํานวนบุคลากรทีมีความเชียวชาญด้านมัลติมีเดียมีจาํ กัด แม้วา่ บุคลากรของไทยนับว่ามีความสามารถในเชิงความคิดสร้างสรรค์และ
เป็ นทียอมรับในระหว่างประเทศ

กิจกรรม 10.4.3 ประเทศไทยควรมีแนวทางในการปรับตัวเมือเข้าสู่ตลาดแข่งขันเสรี ทางธุรกิจโทรคมนาคมอย่างไร


* รัฐควรมีการกําหนดหลักเกณฑ์การให้บริ การโทรคมนาคมพืนฐานโดยทัวถึง (Universal Service Obligation-USO)
ดังนัน การประสานงานกับรัฐบาลในเรื องนีจึงเป็ นสิ งจําเป็ น เนืองจากหากประชาชนสามารถได้รับบริ การโทรคมนาคมและเทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างทัวถึงและเท่าเทียมกัน หมายถึงรัฐสามารถลดช่องว่างทางเทคโนโลยีของประชาชนได้ เมือรัฐและผูก้ าํ กับดูแลสามารถ
ส่งเสริ มภาคธุรกิจโทรคมนาคม ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพแล้ว ประเทศไทยจะหันจากการฝังตัวอยุก่ บั กิจการโทรคมนาคมอย่างเดียวมาสู่ภาค
ธุรกิจการสื อสารและโทรคมนาคมเต็มรู ปแบบเมือใดทีรัฐมีความเพียบพร้อมและสร้างภาคธุรกิจนีให้มีการแข่งขันเสรี เมือนันกลุ่มผูล้ งทุน
จะเข้ามายังประโยชน์ให้ภาคเอกชนและผูบ้ ริ โภคและท้ายทีสุดให้ประโยชน์โดยรวมกับรัฐบาลเอง

กิจกรรม 10.4.4 การป้ องกันและเยียวยาปั ญหาจริ ยธรรมและปัญหาสังคมทีเกียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ควรมีแนวทางอย่างไร


* การป้ องกันและเยียวยาปั ญหาจริ ยธรรมและปั ญหาสังคมทีเกียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ควรมีแนวทางทังในระดับมหาภาค คือ
มาตรการระดับประเทศ และจุลภาคคือ มาตรการระดับองค์การและระดับปั จเจกบุคคล กล่าวคือ
1. มาตรการระดับประเทศ
- มาตรการด้านความมันคง
- มาตรการด้านทรัพย์สินทางปั ญญา
- มาตรการด้านความคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล
2. มาตรการระดับองค์การ
- การกําหนดแนวทางปฏิบตั ิเกียวกับระบบสารสนเทศทีชัดเจน
- การส่งเสริ มจริ ยธรรม
3. มาตรการระดับปัจเจกบุคคล
- แนวทางในการป้ องกันปั ญหาการเผยแพร่ เนือหาทีไม่เหมาะสม
- การคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล – การกลันกรองข้อมูลทีไม่พึงประสงค์โดยผูใ้ ช้ – การเข้ารหัสลับข้อมูล
- 28 -

หน่ วยที 11 ไทยกับระเบียบโลก


1. ระเบียบโลกคือ สภาพของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทีมีสมาชิกของสังคมโลกระดับต่างๆ เป็ นตัวแสดง และบรรยากาศ
ของความสัมพันธ์นนถู ั กกําหนดโดยโครงสร้างอํานาจของรัฐและสภาพแวดล้อมต่างๆ ในสังคมระหว่างประเทศ
2. โลกาภิวตั น์คือ สภาพการณ์ทีสังคมโลกทังโลกเป็ นอันหนึงอันเดียวกันทังทางการเมือง เศรษฐกิจ และกระทบไปยังทีอืนๆ ของ
โลก การติดต่อและแลกเปลียนทางเศรษฐกิจและการค้าข้ามพรมแดนรัฐอย่างเสรี มีการหลังไหลของคน วัฒนธรรม ข้อมูลข่าวสาร และ
เทคโนโลยีจากสังคมหนึงไปยังสังคมอืนๆ อย่างมากมาย อัตลักษณ์ของแต่ละสังคมลดน้อยลง และมีความเป็ นสากลมากขึน
3. ไทยเป็ นรัฐสมาชิกหนึงของสังคมโลก ย่อมได้รับอิทธิพลความเปลียนแปลงของสังคมโลกทีเกิดขึนอย่างหลีกเลียงไม่ได้ ไทย
จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาวะโลกาภิวตั น์ซึงเป็ นสภาพความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยุคใหม่ โดยการเปิ ดประเทศรับวัฒนธรรมทางเมือง
ระบบเศรษฐกิจ และวิถีชีวิตทางสังคมแบบสากลเข้ามามากขึน

ตอนที 11.1 ระเบียบโลก


1. ระเบียบโลก คือ สภาพความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของตัวแสดงต่างๆ ได้แก่ รัฐ องค์การระหว่างประเทศ องค์การเอกชน
กลุ่มผลประโยชน์ ชุมชน องค์กรท้องถิน และบุคคลในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยความสัมพันธ์นนถู ั กกําหนดโดยโครงสร้าง
อํานาจของรัฐระเบียบกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศ อุดมการณ์ ผลประโยชน์ และลักษณะการดําเนินนโยบาย
2. ระเบียบโลกใหม่มีวิวฒั นาการมาตังแต่สมัยโบราณเมือเริ มมีการรวมตัวเป็ นชุมชนการเมือง นครรัฐ อาณาจักรโบราณ ยุคกลาง
ของยุโรป จนถึงยุคสมัยใหม่ ซึงแต่ละยุคมีสภาพความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมทีแตกต่างกันออกไป
3. ระเบียบโลกยุคใหม่มีระบบการเมืองแบบขัวเด่นขัวเดียว ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทีมหาอํานาจทุนนิยมผูกขาด และสภาพ
สังคมทีวัฒนธรรมตะวันตกครอบงํา

กิจกรรม 11.1.2 วิวฒั นาการของระเบียบโลกทีสําคัญๆ ตังแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั มีอะไรบ้าง


* ระเบียบโลกสมัยนครัฐ สมัยจักรวรรดิโบราณ ยุคกลางของยุโรป ต้นยุคสมัยใหม่ และต้นศริ สต์ศตวรรษที 20

ตอนที 11.2 โลกาภิวัตน์


1. โลกาภิวตั น์ หมายถึง สภาวะความเป็ นอันหนึงอันเดียวกันของสังคมโลก เหตุการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไม่วา่ จะ
เกิดขึน ณ จุดใดของโลก ย่อมมีผลกระทบต่อส่วนอืนๆ ของโลกด้วย กิจกรรมของท้องถินหรื อของรัฐใดรัฐหนึงกลายเป็ นกิจกรรมของโลก
มีการแพร่ กระจายของแนวคิด อุดมการณ์ ความเชือ วิถีชีวิต แนวประพฤติปฏิบตั ิ วัฒนธรรม และข้อมูลข่าวสารจากสังคมหนึงไปยังสังคม
ต่างๆ เกิดการผสมกลมกลืนกัน อัตลักษณ์ของแต่ละสังคมค่อยๆ ลดลง กลายเป็ นลักษณะสากลมากขึน สภาพการณ์เช่นนีค่อยๆ เกิดขึนมา
นานแล้วแต่เพิงจะรวดเร็ วและเด่นชัดในคริ สต์ศตวรรษที 20 นีเอง
2. ระเบียบโลกยุคโลกาภิวตั น์ทีสําคัญคือ การส่งเสริ มการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยการสนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบ
ทุนนิยมเสรี การส่งเสริ มสิ ทธิมนุษยชน และการอนุรักษ์สิงแวดล้อมธรรมชาติ
3. ปรากฎการณ์ยคุ โลกาภิวตั น์ทีสําคัญคือ การลดอํานาจและบทบาทของรัฐ สมาชิกหรื อตัวแสดงอืนๆ ของสังคมโลกมีบทบาท
เพิมขึนในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ไม่วา่ จะเป็ นองค์การระหว่างประเทศ องค์การเอกชน กลุ่มผลประโยชน์ องค์การท้องถินภายใน
รัฐหรื อแม้แต่ปัจเจกชน มหาอํานาจบางประเทศครอบงําสังคมโลกทังทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ความเจริ ญก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีการสื อสารโทรคมนาคมและคอมพิวเตอร์ทาํ ให้บุคคลไม่วา่ จะอยูส่ ่วนใดของโลกสามารถติดต่อข้ามพรมแดนกันได้อย่างเสรี
โดยทีรัฐเข้าไปควบคุมหรื อแทรกแซงได้ยาก ขอบเขตและอํานาจอธิปไตยของรัฐจึงได้รับผลกระทบ

กิจกรรม 11.2.1 โลกาภิวตั น์เกิดขึนเมือใด


* มี 3 แนวคิดเกียวกับการเกิดของโลกาภิวตั น์ คือ
1. เกิดขึนตังแต่เริ มประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
2. เกิดขึนเมือเริ มมีระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี
3. เกิดขึนภายหลังการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมของโลก
- 29 -

ตอนที 11.3 ไทยในระเบียบโลก


1. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยในสมัยโบราณจํากัดอยูแ่ ต่เฉพาะในภูมิภาคเอเชียโดยมีจีนเป็ นมหาอํานาจทีมีอิทธิพล
ครอบงําสังคมระหว่างประเทศ ต่อมาภายหลังการทําสนธิสัญญาเบาว์ริง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยจึงได้ขยายกว้างออกไปใน
ระดับโลก ซึงมีผลต่อการเปลียนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมภายในของประเทศอย่างมาก
2. ความสัมพันธ์รหว่างประเทศของไทยช่วงหลังสงครามโลกครังทีสอง มีลกั ษณะทีไม่เป็ นอิสระ แต่ขึนอยูก่ บั มาหอํานาจทุน
นิยมเสรี โดยเฉพาะสหรัฐอเมริ กา ต่อมาภายหลังเมือเกิดขัวอํานาจขึนหลายขัวในสังคมโลก ไทยจึงดําเนินนโยบายทีเป็ นอิสระ และให้
ความสําคัญแก่องค์การระหว่างประเทศระดับภูมิภาคมากขึน
3. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทยในยุคโลกาภิวตั น์มีลกั ษณะทีไม่เป็ นอิสระ ในด้านการเมืองและความมันคง ต้องขึนอยู่
กับการกํานโยบายของสหรัฐอเมริ การ ซึงเป็ นอภิมหาอํานาจหนึงเดียวทีครอบงําโลกในด้านเศรษฐกิจ ต้องพึงพิงบรรษัทข้ามชาติในการพัฒนา
ประเทศให้เจริ ญก้าวหน้า ในด้านสังคมต้องอยูภ่ ายใต้กระแสวัฒนธรรมตะวันตก ทําให้ไทยมีสภาพเป็ นอาณานิคมยุคใหม่โดยสมบูรณ์

กิจกรรม 11.3.1 ระเบียบโลกในภูมิภาคเอเชียในสมัยโบราณเป็ นอย่างไร และมีผลต่อการดําเนินนโยบายของไทยอย่างไร


* จีนเป็ นจักรวรรดิทียิงใหญ่ทีสุดนับพันปี อาณาจักรข้างเคียงต้องยอมสวามิภกั ดิต่อจีนและอยูภ่ ายใต้ระบบความสัมพันธ์ของราช
สํานักจีน ไทยก็ตอ้ งดําเนินนโยบายคล้อยตามจีนไปด้วย

กิจกรรม 11.3.2 บทบาทของไทยในระเบียบโลกยุคหลังสงครามโลกครังทีสอง เป็ นอย่างไร


* ในช่วงแรกทีมีการแบ่งโลกเป็ น 2 ค่าย ไทยดําเนินนโยบายแบบฝักใฝ่ ข้างมหาอํานาจทุนนิยมเสรี แต่เมือสังคมโลกมีหลายขัว
อํานาจ ไทยจึงให้ความสําคัญแก่องค์การระหว่างประเทศมากขึน

กิจกรรม 11.3.3 การเมืองและเศรษฐกิจของไทยในยุคโลกาภิวตั น์เป็ นอย่างไร


* มีการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยและสิ ทธิมนุษยชน พร้อมกับปรับเปลียนระบบการปกครองและระบบราชการให้กระจาย
อํานาจสู่ภาคเอกชนและประชาชน ส่วนระบบเศรษฐกิจนัน มหาอํานาจทุนนิยม บรรษัทข้ามชาติ และองค์การระหว่างประเทศด้าน
เศรษฐกิจได้เข้ามามีอิทธิพลในประเทศไทยอย่างมาก ธุรกิจท้องถินถูกทําลายและเกิดความเหลือมลําในการกระจายรายได้อย่างมาก

หน่ วยที 12 การศึกษาของไทยในสังคมโลก


1. การศึกษาไทยในอดีตเป็ นการเรี ยนรู ้ในบ้าน วัด วัง อิทธิพลของการศึกษาแบบตะวันตกเริ มเข้ามาในประเทศไทยในสมัยรัชกาล
ที 3 ต่อมารัชกาลที 5 ทรงจัดการศึกษาให้เป็ นระบบแบบแผนอย่างตะวันตก เพือทําให้ประเทศทันสมัยโดยเร็ วให้รอดพ้นจากการถูกคุกคาม
ของจักรวรรดินิยม ในสมัยรัชกาลที 6 ได้ออกกฎหมายเพือบังคับเด็กเข้าเรี ยน โดยเหตุผลทีจะพัฒนาคนทังชาติให้สูงขึนพร้อมกัน เพราะ
เป็ นกําลังสําคัญของชาติ
2. ภายหลังสงครามโลกครังที 2 ไทยได้รับแนวความคิดของการจัดทําแผนพัฒนาการเศรษฐกิจเพือพัฒนาประเทศจากต่างประเทศ
โดยเฉพาะจากสหรัฐอเมริ กา การพัฒนาเศรษฐกิจไทยเป็ นไปเพือเร่ งรัดการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ และมุ่งอุตสาหกรรมส่งออกแทนการ
ผลิตเพือใช้ในประเทศ การจัดการศึกษาจึงเป็ นไปเพือตอบสนองแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเร่ งรัดการผลิตกําลังคนระดับกลางและ
สูง จึงมีการจัดตังวิทยาลัยอาชีวศึกษาและมหาวิทยาลัยจํานวนมาก อีกทังให้เอกชนจัดการอุดมศึกษาได้
3. ในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ไทยถูกจัดให้มีความสามารถในการแข่งขันอันดับที 29 จาก 60 ประเทศ ส่วนขีด
ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษา ไทยถูกจัดให้มีอนั ดับที 48 ซึงแพ้สิงคโปร์ มาเลเซีย ญีปุ่ น และเกาหลี เกณฑ์ชีวัดทีสําคัญ เช่น
การลงทุนทางการศึกษา การเข้าเรี ยนในระดับมัธยมศึกษา การประเมินผลสัมฤทธิทางการศึกษาผูส้ าํ เร็ จระดับอุดมศึกษา
4. การขยายตัวในเชิงประมาณของไทยประสบผลดี ปั ญหาทีสําคัญในการจัดการศึกษาไทย คือ เรื องความไม่เท่าเทียมในโอกาส
การเข้าศึกา เรื องคุณภาพการศึกษา ผลผลิตของผูส้ าํ เร็จการศึกษา และเรื องประสิ ทธิภาพของการลงทุนทางการศึกษายังไม่เป็ นทีน่าพึง
พอใจ โดยเฉพาะเมือเทียบกับหลายประเทศในเอเชีย
5. ความรุ ดหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร และสภาวะการแข่งขันทางเศรษฐกิจรหว่างประเทศที
รุ นแรง ทําให้หลายประเทศต่างเร่ งปฏิรูปการศึกษาเพือสนองความต้องการทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ประเทศไทย
- 30 -

เร่ งปฎิรูปการศึกษา เพือเตรี ยมติดอาวุธทางปั ญญาให้แก่คนไทยให้สามารถยืนหยัดได้ในสังคมโลก การปฏิรูปการศึกษาไทยมีจุดมุง่ หมายที


จะยกระดับการศึกษาคนไทยให้สูงขึนและอย่างมีคุณภาพ โดยมีสาระการปฏิรูปในด้านการเรี ยนรู ้และการประกันคุณภาพ ครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการศึกษา ระบบบริ หารและการจัดการ และระบบทรัพยากรและการลงทุนทางการศึกษา
6. ความรู ้เป็ นฐานสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื อสาร การเรี ยนรู ้ตลอดชีวิตของประชากรทังทีอยูใ่ นระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาเป็ นสิ งจําเป็ นยิง สถานศึกษาในระบบ
ต้องปรับมุมมองและวิธีการจัดการเรี ยนการสอนใหม่ ในขณะทีต้องส่งเสริ ม และเปิ ดโอกาศการเรี ยนรู ้การเพิมทักษะต่างๆ ให้แก่ผอู ้ ยูน่ อก
ระบบการศึกษา
7. มหาวิทยาลัยซึงเป็ นสถาบันการศึกษาขันสูงถูกสังคมคาดหวังว่า ควรเป็ นสถาบันทีผลิตกําลังคนระดับสูงทีมีคุณภาพและ
ศักยภาพในการพัฒนาประเทศ เป็ นแหล่งทีสะสมความรู ้ สร้างสรรค์ความรู ้ใหม่ๆ จากงานวิจยั เพือนําผลผลิตมาใช้ประโยชน์ในพัฒนา
เศรษฐกิจภาคต่างๆ ได้ ตลอดทังการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ งแวดล้อม จึงจําเป็ นต้องปรับบทบาทหน้าทีและเพิมศักยภาพในภารกิจต่างๆ

กิจกรรม 12.1.1 จงอธิบายการเปลียนแปลงด้านการจัดการศึกษาของประเทศไทยในสมัยสุโขทัย อยุธยา จนถึงรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น


* ในสมัยสุโขทัยและอยุธยา ระบอบการปกครองของไทยเป็ นแบบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ การศึกษาจึงมีบทบาทสนองระบอบ
การปกครองดังกล่าว เพศชายมีโอกาสได้รับการศึกษามากกว่าเพศหญิง โดยมุ่งศึกษาด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี ด้านการทหารเพือเข้า
รับราชการ
ในสมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น แม้วา่ ระบอบการปกครองของไทยยังเป็ นแบบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์แต่อิทธิพลของการติดต่อค้าขาย
กับชาติตะวันตก ส่งผลให้ประเทศไทยเริ มรับรู ปแบบการศึกษาแบบตะวันตุกเริ มมีการจัดตังโรงเรี ยน และเปิ ดโอกาสให้ราษฎรทัวไปได้ศึกษา
เล่าเรี ยนในโรงเรี ยน

กิจกรรม 12.1.2 จงระบุปัจจัยสําคัญทีทําให้ประเทศไทยปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที 5


* ปั จจัยทีสําคัญทีทําให้ประเทศไทยปฏิรูปการศึกษาแบบตะวันตกในสมัยรัชกาลที 5 คือ
1. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัวพระราชดําริ ให้ปรับปรุ งการศึกษาให้ทนั สมัยแบบตะวันตก เพราะพระองค์เชือว่า
การศึกษาเป็ นตัวจักรสําคัญทําให้ชาติเจริ ญและปลอดภัยจากการคุกคามของจักรวรรดินิยม
2. การคุกคามของจักรวรรดินิยม
3. การติดต่อค้าขาย เจริ ญสัมพันธไมตรี กบั ชาติต่างๆ กระตุน้ ให้เกิดการรับวิทยาการสมัยใหม่

กิจกรรม 12.1.3 นโยบายการศึกษาของประเทศไทยตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทีผ่านมา (ฉบับที 1 ถึง 7)


* การจัดการศึกษาโดยเน้นนโยบายสนองแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นหลัก โดยทีการเปลียนแปลงทางเศรษฐกิจปรับเปลียน
อย่างรวดเร็ วกว่าระบบการศึกษา ทําให้เกิดปั ญหาผูส้ าํ เร็ จการศึกษามีความสามารถไม่ตรงกับตลาดแรงงาน เกิดภาวะว่างงาน และทําให้
มุ่งเน้นพัฒนาคนในแง่ผตู ้ าม เลียนแบบ จดจํา มากกว่าจะวิเคราะห์และแก้ปัญหา เป็ นการศึกษาแปลกแยกจากสังคมและสิ งแวดล้อมเน้น
ด้านปริ มาณมากกว่าคุณภาพ

ตอนที 12.2 การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์


1. ในกระแสโลกาภิวตั น์ ประเทศทีเป็ นผูน้ าํ ในเวทีโลกต่างเห็นความสําคัญของการศึกษา โดยเห็นว่าเป็ นปัจจัยหลักทีพัฒนาคน
ในชาติให้มีคุณภาพมากทีสุด เพราะหวังพึงสติปัญญา ความรู ้ ความสามารถ และพลังสร้างสรรค์ ประเทศต่างๆ จึงพยายามปรับปรุ งระบบ
การศึกษาใหม่
2. สหรัฐอเมริ กาปฏิรูปการศึกษา เพราะไม่พอใจผลผลิตทางการศึกษาด้วยเกรงว่าจะถูกไล่ทนั จากประเทศอืน ประเทศอีกหลาย
ประเทศในเอเชีย เช่น ญีปุ่ น เกาหลีใต้ สิ งคโปร์ มาเลเซีย และเวียดนาม ต่างปฏิรูปการศึกษาเพือต้องการให้การศึกษาเป็ นเครื องมือสําคัญใน
การพัฒนาประเทศ
3. ในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ไทยถูกจัดให้มีความสามารถในการแข่งขันอันดับที 29 จาก 60 ประเทศ ส่วนขีด
ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษา ไทยถูกจัดให้มีอนั ดับที 48 ซึงแพ้สิงค์โปร์ มาเลเชีย ญีปุ่ น และเกาหลีใต้
- 31 -

4. ในระบบการศึกษาไทย มีประชากรวันเรี ยนอยูใ่ นการศึกษาขันพืนฐานร้อยละ 88 ของกลุ่มอายุ อัตราการเข้าเรี ยนของไทยใน


ระดับมัธยมศึกษาตํากว่าประเทศต่างๆ ถึง 56 ประเทศ และอยูใ่ นระดับอุดมศึกษาร้อยละ 29
5. การขยายตัวทางการศึกษาในเชิงปริ มาณของไทยประสบผลดี ปั ญหาทีสําคัญในการจัดการศึกษาไทยคือ เรื องความไม่เท่าเทียม
ในโอกาสการเข้าศึกษา เรื องคุณภาพการศึกษา ผลผลิตของผูส้ าํ เร็ จการศึกษายังไม่เป็ นทีน่าพึงพอใจ โดยเฉพาะเมือเทียบกับต่างประเทศ
และเรื องประสิ ทธิภาพของการลงทุนการศึกษา

กิจกรรม 12.2.1 แนวโน้มการศึกษาในสังคมโลกเป็ นอย่างไร


* ความเจริ ญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสือสารและโทรคมนาคม ทําให้ประเทศไทยเกิดการแลกเปลียนแนวคิดและพัฒนาตลอดจน
การแข่งขันด้านเศรษฐกิจอย่างรุ นแรงประเทศทีได้เปรี ยบคือประเทศทีมีทุนทางความรู ้การศึกษาจึงเป็ นปัจจัยสําคัญในการสร้างศักยภาพของ
ประเทศ

ตอนที 12.3 การเปลียนแปลงการศึกษาไทยในสังคมโลก


1. ในขณะทีมีความรุ ดหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื อสาร แต่ระบบการศึกษาไทยอ่อนแอ ประกอบกับ
การเผชิญกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ อีกทังสภาวะการแข่งขันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศทีรุ นแรง จึงทําให้ไทยต้องเร่ งปฏิรูปการศึกษา
เพือเตรี ยมติดอาวุธทางปั ญญาให้แก่คนไทยให้สามารถยืนหยัดได้ในสังคมโลก
2. สาระการปฏิรูปการศึกษาของแต่ละประเทศแตกต่างกันไปตามจุดเน้นและความต้องการในการพัฒนาประเทศ การปฏิรูป
การศึกษาไทยมีจุดมุ่งหมายทีจะยกระดับการศึกษาคนไทยให้สูงขึนและอย่างมีคุณภาพ โดยมีสาระการปฏิรูปการศึกษาในด้านการเรี ยนรู ้และการ
ประกันคุณภาพ การปฏิรูปครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา การปฏิรูประบบบริ หารและการจัดการ การปฏิรูประบบทรัพยากรและการ
ลงทุนทางการศึกษา
3. การมุ่งใช้ความรู ้เป็ นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทยเช่นต่างประเทศ การเรี ยนรู ้ตลอดชีวิตของประชากรทุกคน
ทังทีอยูใ่ นระบบการศึกษาและนอกระบบการศึกษาเป็ นสิ งจําเป็ นยิงอันเนืองจากความรู ้และเทคโนโลยีเปลียนแปลงอยูต่ ลอดเวลา และด้วย
ความก้าวหน้าชองเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสาร สถานศึกษาในระบบต้องปรับมุมมองและวิธีการจัดการเรี ยนการสอนใหม่ รวมทัง
ต้องจัดโอกาสการเรี ยนรู ้และการเพิมทักษะให้แก่ผอู ้ ยูน่ อกระบบการศึกษา
4. มหาวิทยาลัยซึงเป็ นสถาบันการศึกษาขันสูงถูกสังคมคาดหวังว่าควรเป็ นสถาบันทีผลิตกําลังคนทีมีงานวิจยั เพือให้ผลผลิตมาใช้
ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจภาคต่างๆ ได้ ตลอดทังการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ งแวดล้อม จําเป็ นต้องปรับบทบาทหน้าทีและเพิม
ศักยภาพในดําเนินภารกิจต่างๆ อย่างมีประสิ ทธิภาพ

กิจกรรม 12.3.1 จงอธิบายถึงปั จจัยทีทําให้ประเทศไทยต้องปฏิรูปการศึกษา และมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542


* ปั จจัยภายนอกคือ กระแสโลกาภิวตั น์ ส่ วนปั จจัยภายในคือ ระบบการศึกษาไทย มีปัญหาวิกฤติทงในด้ ั านบุคลากรและครู
กระบวนการเรี ยนรู ้ และการบริ หารจัดการ

หน่ วยที 13 กระแสโลกาภิวตั น์ กบั สภาพปัญหาในสังคมไทย


1. สังคมไทยเปลียนแปลงไปตามสภาวะการเปลียนแปลงของกระแสสังคมโลก ซึงพัฒนาจากสังคมเกษตรกรรม สู่สังคม
อุตสาหกรรม และท้ายสุดสู่สังคมโทรคมนาคมข่าวสาร สังคมแต่ละประเภทนันมีปัญหาต่างๆ กัน ซึงประเทศไทยก็ได้รับสภาพปั ญหาใน
ลักษณะคล้ายคลึงกัน
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้วิเคราะห์และนําเสนอประเด็นปั ญหาทีสังคมไทยต้องประสบโดยให้ความสนใจ
ปั ญหาเร่ งด่วนของประเทศไนด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึงปั ญหาส่วนใหญ่ได้แก่ความขาดแคลนและไม่พร้อมในด้านโครงสร้างพืนฐาน
ฐานะเศรษฐกิจและแหล่งรายได้ของประเทศ การกระจายความเจริ ญไปยังส่วนต่างๆ ของประเทศ การจัดบริ การสังคมแก่ประชาชน ความ
เสื อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม เป็ นต้น
- 32 -

3. ปั ญหาอืนๆ ทีประเทศไทยต้องเผชิญนอกเหนือจากทีระบุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้แก่ ปั ญหาความมันคง


ทังจากการคุกคามภายในและภายนอกประเทศ ปั ญหาทางจิตใจและอารมณ์ของเยาวชน ปั ญหาการจัดการศึกษาให้ประเทศไทยสามารถ
พัฒนาเป็ นสังคมฐานความรู ้ รวมทังปั ญหาผลกระทบจากเหตุการณ์นอกประเทศทีอยูเ่ หนือความควบคุมของประเทศ

ตอนที 13.1 สังคมไทย การเปลียนแปลง และสภาพปัญหา


1. สังคมไทยเปลียนแปลงไปตามกระแสการเปลียนแปลงของสังคมโลก ทีเคลือนจากสังคมเกษตรกรรมไปเป็ นสังคมอุตสาหกรรมและ
เข้าสู่สังคมข่าวสาร แต่ละสังคมมีสภาพปั ญหาแตกต่างกันไป โดยสภาพปั ญหาอาจเกิดจากสังคมและคนไทยเอง อาจเกิดจากสภาพแวดล้อมและ
แรงกดดันจากภายนอก หรื ออาจเกิดจากกระบวนการแก้ไขปั ญหาก็ได้
2. การเปลียนแปลงในสังคมไทยเกิดขึนเพราะมีสภาพความเป็ นอยูท่ ีไม่น่าพอใจ เกิดขึนเพือแก้ไขคลีคลายปั ญหาหรื อเตรี ยมป้ องกัน
ปั ญหา เกิดขึนเพราะเห็นตัวอย่างทีดีกว่าหรื อทีชอบมากกว่าในสังคมโลก หรื อเกิดเพราะแรงกดดันหรื อผลกระทบจากภายนอก การ
เปลียนแปลงเหล่านีนํามาซึงปั ญหาต่างๆ ได้แก่ ปั ญหาการต่อต้านการเปลียนแปลง ค่าใช้จ่ายหรื อการสูญเสี ยทีเกิดจากการเปลียนแปลง
ปั ญหาต่อเนืองอันเกิดจากการเปลียนแปลง และปั ญหาจากความไม่สมดุลของการเปลียนแปลง

ตอนที 13.2 สภาพปัญหาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย


1. ปั ญหาทีสังคมไทยต้องเผชิญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที 1-3 เป็ นปั ญหาพืนฐานทัวไปของประเทศกําลังพัฒนาซึงยังเน้นการ
ผลิตภาคการเกษตรเป็ นสําคัญ ปั ญหาทีมีการระบุในแผนพัฒนาฯ ได้แก่ ปั ญหาเกษตรกรรมและปั ญหาในชนบท ปั ญหาประชากรซึงขยายตัว
และขาดการพัฒนา ปั ญหาสาธารณสุข ปั ญหาด้านการศึกษาทังในเชิงคุณภาพและปริ มาณ ปั ญหาการคมนาคมขนส่ง ปั ญหาเศรษฐกิจ ปั ญหา
การเมืองและความมันคง ปั ญหาการจัดบริ การสังคมทีไม่พอเพียงและไม่ทวถึ ั ง
2. การพัฒนาของประเทศไทยดําเนินไปด้วยดีโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจ แต่ก็ยงั มีปัญหาทีต้องแก็ไขอีกหลายด้านในช่วงแผนพัฒนาฯ
ฉบับที 4-6 ทีสําคัญได้แก่ ปั ญหาเศรษฐกิจในแง่การผลิตทังด้านการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ปั ญหาทางสังคมจากการขาดแคลนบริ การ
สังคมทีพอเพียงและได้มาตรฐาน ปั ญหาประชากร การทํางาน และการศึกษา ปั ญหาการก่อการร้าย และปั ญหาการบริ หารจัดการ
3. ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที 7-9 ความยากจนในสังคมไทยลดลง มีการขยายตัวด้านการบริ การสังคม แต่การพัฒนายังไม่สมดุล
ซึงก่อปั ญหาสําคัญ ได้แก่ ปั ญหาความแตกต่างไม่เท่าเทียมกันในการกระจายความเจริ ญในประเทศ ปั ญหาการขาดแคลนบริ การพืนฐาน ปั ญหา
เศรษฐกิจ ปั ญหาสังคม ปั ญหาความเสื อมโทรมของสิ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ปั ญหาระบบราชการ ปั ญหาทีดินราคาสูง ฯลฯ

กิจกรรม 13.2.1 โปรดสรุ ปประเด็นปั ญหาสําคัญทีได้รับการระบุไว้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที 1-3


* ประเด็นปั ญหาสําคัญทีเกิดขึนในช่วงดังกล่าว ได้แก่ ปั ญหาด้านเกษตรกรรมและปั ญหาในชนบท ปั ญหาด้านประชาการ ปั ญหา
สาธารณสุข ปั ญหาการศึกษา ปัญหาการคมนาคมขนส่ง ปั ญหาเศรษฐกิจขาดดุลการค้าและปัจจัยการผลิตทางการเกษตรมีตน้ ทุนสูง ปั ญหา
การเมืองและความมันคง และปัญหาด้านบริ การสังคม

กิจกรรม 13.2.2 ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที 4-6 อะไรเป็ นประเด็นปั ญหาสําคัญทีรัฐบาลให้ความสนใจแก้ไข


* ประเด็นสําคัญทีเป็ นปั ญหา ได้แก่ 1. ปั ญหาภาวะเศรษฐกิจตกตํา 2. ปั ญหาสังคา 3. ปั ญหาประชากรและการว่างงาน 4. ปั ญหา
ความยากจนในชนบท 5. ปั ญหาความเสื อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม 6. ปั ญหาความสงบเรี ยบร้อยและความมันคง
7. ปั ญหาการบริ หารจัดการ

ตอนที 13.3 ปั ญหาทีสังคมไทยประสบจากกระแสโลกาภิวตั น์


1. สังคมโทรคมนาคมข่าวสารก่อให้เกิดการเปลียนแปลงทีรวดเร็วรุ นแรงแรงและกว้างขวาง ทําให้ประเทศต่างๆ ต้องพึงพากัน
อย่างใกล้ชิด และทําให้แต่ละประเทศต้องรับผลกระทบจากเหตุการณ์ทีเกิดขึนในสังคมโลกและระเบียบสากลอย่างทีไม่เคยเป็ นมาก่อน
2. ความมันคงในแต่ละประเทศในกระแสโลกาภิวตั น์มีความหมายครอบคลุมไปทุกด้านไม่วา่ จะเป็ นการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
ทําให้แต่ละประเทศจําเป็ นต้องร่ วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพราะความมันคงของแต่ละประเทศนันจะเกิดได้ก็ต่อเมือสังคมระดับภูมิภาคหรื อ
ระดับโลกต้องมีความมันคงด้วย
- 33 -

3. สังคมไทยในกระแสโลกาภิวตั น์ได้รับผลกระทบจากการเปลียนแปลงในสังคมโลก ทําให้ได้รับความเสี ยหายจากเหตุการณ์ที


เกิดขึนนอกประเทศ ปั ญหาเหล่านีเป็ นเรื องทีแก้ไขป้ องกันได้ยาก เพราะมีตน้ เหตุจากนอกประเทศและผลกระทบนันเกิดขึนอย่างรวดเร็ ว
หรื อคาดไม่ถึง

กิจกรรม 13.3.2 ปั ญหาด้านการเมืองและความมันคงทีสังคมไทยเผชิญทีสําคัญได้แก่ปัญหาอะไร


* ปั ญหาชายแดนซึงเป็ นปั ญหาต่อเนืองมาเป็ นเวลาช้านาน ปั ญหากิจกรรมทีเป็ นภัยต่อความมันคง ปั ญหาคนต่างชาติ และปั ยหา
ผลกระทบจากเหตุการณ์ต่างประเทศ

กิจกรรม 13.3.3 โปรดสรุ ปภาพรวมของปั ญหาทีสังคมไทยเผชิญในกระแสโลกาภิวตั น์


* ปั ญหาทีสังคมไทยเผชิญในกระแสโลกาภิวตั น์ทีสําคัญ ได้แก่ ปั ญหาความรุ นแรง ปั ญหาพฤติกรรมเยาวชน ปั ญหาการศึกษา
ปั ญหาโรคเอดส์ และรวมไปถึงปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึงได้รับแรงผลักดันจากความสะดวกรวดเร็ วของอิเล็กทรอนิกส์และ
โทรคมนาคม

หน่ วยที 14 แนวทางการเผชิญปัญหาของไทยในสังคมโลก


1. หลังการเปลียนแปลงการปกครองแผ่นดิน ประเทศไทยต้องเผชิญกับปั ญหาและแรงกดดันทังจากภายในและภายนอก จน
จําเป็ นต้องดําเนินการแก้ไขปั ญหาและพัฒนาประเทศโดยใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็ นเครื องมือสําคัญ
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมีการกําหนดประเด็นปั ญหา กําหนดวัตถุประสงค์เป้ าหมาย นโยบายและกรอบแนวทาง กําหนด
ยุทธศาสตร์ และแนววิธีดาํ เนินการ โดยมีการปรับปรุ งแผนให้สอดคล้องสับสภาพปั ญหาทีเกิดขึน และมอบหมายหน่วยงานทีเกียวข้องไป
ดําเนินการให้เกิดผลตามแผน
3. รายละเอียดทีปรากฏในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ถือเป็ นตัวอย่างสําคัญทีนักศึกษาความติดตามวิเคราะห์ เพือ
ทราบความเคลือนไว้ในการพัฒนาประเทศ ทังนี แนวทางสําคัญในการเผชิญปั ญหาของไทย ได้แก่ การพัฒนาปรับปรุ งโครงสร้างพืนฐาน
ต่างๆ การพัฒนาระบบการบริ หารการพัฒนา ระบบการบริ หารจัดการ คุณาภาพประชากร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เสถียรภาพและ
การเจริ ญเติบโตทางการเงินการคลัง การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่วนในสังคม เป็ นต้น

ตอนที 14.1 การแก้ ปัญหาและพัฒนาของไทยตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 1-3


1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที 1 มุ่งเพิมรายได้และยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนโดยการระดมทรัพยากร
ของประเทศมาใช้ให้เป็ นประโยชน์สูงสุด และพัฒนาความกินดีอยูด่ ี ตลอดจนพัฒนาคุณภาพมนุษย์
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 2 เป็ นแผนทีเสริ มเติมจากแผนฉบับที 1 โดยเสริ มนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนากําลังคนและการพัฒนาภาคการผลิต
3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที 3 มุ่งปรับปรุ งโครงสร้างทางเศรษฐกิจและขยายขีดความสามารถทางการผลิต
และมุ่งพัฒนาบริ การทางด้านสังคมเพือให้เกิดความสมดุลของการพัฒนา

กิจกรรม 14.1.1 โปรดสรุ ปประเด็นสําคัญในการเผชิญปั ญหาและการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 1


* แผนพัฒนาฯ ฉบับที 1 มุ่งพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นหลัก โดยส่งเสิรมการผลิดต้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รักษาเสถียรภาพ
ทางการเงิน ส่งเสริ มสหกรณ์ เร่ งพัฒนาด้านการพลังงาน การสาธารณูปโภค การจัดจําหน่าย การคมนาคม และมีการพัฒนาสังคมในด้าน
การสาธารณสุขและสังคมสงเคราะห์

กิจกรรม 14.1.2 โปรดระบุหัวข้อประเด็นสําคัญทีรัฐบาลมุ่งดําเนินการเพือแก้ปัญหาและพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 2


* ประเด็นสําคัญในการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 2 ประกอบด้วย
1. การพัฒนาเศรษฐกิจ 2. การพัฒนาคน 3. การส่งเสริ มเกษตรกรรม 4. การพัฒนาอุตสาหกรรม 5. การคมนาคมและขนส่ง
6. การพัฒนาสังคมและสาธารณูปโภค 7. การสาธารณสุข
- 34 -

กิจกรรม 14.1.3 โปรดสรุ ปแนวทางการเผชิญปั ญหาทีรัฐบาลให้ความสําคัญและประเด็นหลักทีรัฐบาลเน้นในการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ


ฉบับที 3
* แนวทางสําคัญในการเผชิญปั ญหาของรัฐตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 3 ประกอบด้วย 1. การลดอัตราการเพิมของจํานวนประชากร
2. การกระจายบริ การด้านเศรษฐกิจและสังคม 3. การสร้างโอกาสให้แก่ประชาชน

ตอนที 14.2 การแก้ ปัญหาและพัฒนาของไทยตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 4-6


1. แผนพัฒนาฯ ฉบับที 4 เป็ นการตอบสนองภาวะเศรษฐกิจทีซบเซา ช่องว่างทางเศรษฐกิจและสังคมของคนในชาติ ปั ญหาความ
มันคงและความเสื อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม
2. แผนพัฒนาฯ ฉบับที 5 ให้ความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจทีมุ่งให้เกิดความปรองดองในชาติ ทังนีเนืองจากประเทศไทยต้อง
เผชิญภัยด้านความมันคงทังจากภายในและภายนอกประเทศ จึงให้ความสําคัญกับการเร่ งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ แก้ไขปั ญหาความยากจน ใน
ขณะเดียวกันก็ตอ้ งเร่ งกระจายการบริ การสังคมให้ทวถึ
ั ง พยายามฟื นฟูเศรษฐกิจและการเงินของประเทศ รวมทังปฏิรูประบบการบริ หารงาน
พัฒนาของภาครัฐ
3. แผนพัฒนาฯ ฉบับที 6 เน้นส่งเสริ มประสิ ทธิภาพในการพัฒนาประเทศ ประสิ ทธิภาพในการผลิตและมุ่งกระจายรายได้และ
ความเจริ ญไปสู่ส่วนต่างๆ ของสังคม ถือเป็ นการดําเนินการต่อเนืองจากทิศทางการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที 5

กิจกรรม 14.2.3 จงสรุ ปแนวทางในการพัฒนาตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 6 และแผนหลักในการพัฒนาตามแผนดังกล่าว


* แนวทางสําคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที 6 มี 3 แนวทาง ได้แก่ การเพิมประสิ ทธิภาพในการพัฒนาประเทศ การปรับปรุ งระบบ
การผลิต การตลาด และการยกระดับคุณภาพปั จจัยพืนฐานทางเศรษฐกิจ
สําหรับแผนหลักสําคัญ ได้แก่ 1. แผนพัฒนาส่วนรวม 2. แผนพัฒนาคน สังคม และวัฒนธรรม 3. แผนพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม 4. แผนพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5. แผนพัฒนาการบริ หารและการทบทวนบทบาทภาครัฐ
6. แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ 7. แผนพัฒนาการผลิต การตลาด และการสร้างงาน 8. แผนพัฒนาบริ การพืนฐาน 9. แผนพัฒนาเมืองและพืนที
เฉพาะ 10. แผนพัฒนาชนบท

ตอนที 14.3 การแก้ปัญหาและพัฒนาของประเทศไทยตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที 7-9


1. แผนพัฒนาฯ ฉบับที 7 มีวตั ถุประสงค์หลัก 3 ประการ ได้แก่ 1. การขยายตัวทางเศรษฐกิจ 2. การกระจายรายได้และการพัฒนา
สู่ภูมิภาคและชนบท 3. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คุณภาพชีวิต สิ งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ
2. แผนพัฒนาฯ ฉบับที 8 ตระหนักความจริ งทีว่าการเร่ งรัดพัฒนาเศรษฐกิจเป็ นหลักนํามาซึงปั ญหาสังคม และไม่สามารถประกัน
ให้เกิดการพัฒนาทียังยืนได้ จึงพยายามเน้นให้มีการพัฒนาอย่างสมดุลในทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็ นด้านการพัฒนาคุณภาพคน พัฒนาคุณภาพ
สแวดล้อมสังคม พัฒนาเศรษฐกิจ การอนุรักษ์และดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม และการพัฒนาระบบบริ หารจัดการของทุก
ส่วนในสังคม
3. แผนพัฒนาฯ ฉบับที 9 เป็ นแผนทีมีทิศทางการจัดทําชัดเจนตามแนวการจัดทําแผนกลยุทธ์ คือมีการกําหนดปรัชญาหรื อแนวนโยบาย
พืนฐานเป็ นกรอบในการจัดทํา ในทีนีใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุยเดช และ
กําหนดวิสัยทัศน์หรื อลักษณะของสังคมไทยทีพึงประสงค์ กําหนดวัตถุประสงค์เป้ าหมาย กําหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางวิธีดาํ เนินการที
ชัดเจนกว่าทีเคยใช้ในแผนพัฒนาฯ ก่อนหน้านี

หน่ วยที 15 แนวโน้ มของไทยในสังคมโลก


1. สังคมโลกจากอดีตถึงปัจจุบนั ได้มีวิวฒั นาการในด้านต่างๆ มายาวนายกว่าจะปรากฏอย่างทุกวันนี และวิวฒั นาการดังกล่าว
นอกจากสร้างความเจริ ญให้กบั สังคมโลกแล้วยังได้สร้างและสังสมปั ญหาต่างๆ เอาไว้อยูห่ ลายประการ
2. การกําหนดนโยบายต่างประเทศของไทยในแต่ละยุคแต่ละสมัยนัน ไทยจะกําหนดนโยบายโดยคํานึงถึงผลประโยชน์ของ
ประเทศชาติเป็ นหลักสําคัญ
- 35 -

3. สังคมไทยในอนาคตมีลกั ษณะเป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ โดยต้องรู ้ให้เท่าทันโลกภายนอก เพือเป้ าหมายการสร้างสังคมไทยที


พึงประสงค์ในอนาคต โดยทิศทางในอนาคตของประเทศไทยต้องตอบสนองต่อสภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวิทยาการของ
โลก

ตอนที 15.1 สังคมโลกจากอดีตถึงปัจจุบัน


1. สังคมโลกได้มีวิวฒั นาการจากอดีตถึงปั จจุบนั มาเป็ นเวลายาวนาน โดยเริ มต้นจากสังคมเรี ยบง่ายมาเป็ นสังคมทีมีความสลับซับซ้อน
ในปัจจุบนั
2. ปั ญหาทีเกิดขึนในสังคมโลกปัจจุบนั มีอยูม่ ากมาย และปั ญหาทีสําคัญคือปั ญหาความแปลกแยกซึงเป็ นสาเหตุสาํ คัญของปั ญหา
อืนๆ ทีติดตามมาอีกหลากหลาย เช่น ปั ญหาอาชญากรรม ปั ญหายาเสพติด เป็ นต้น

กิจกรรม 15.1.1 เมือสงครามโลกครังทีสองสิ นสุดลงก่อให้เกิดผลใดต่อสังคมโลก


* มีประเทศใหม่เกิดขึนอย่างมากมายอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ การทีมีประเทศใหม่เกิดขึนอย่างมากนีทําให้
สภาพของสังคมโลกเปลียนแปลงไป ประเทศเกิดใหม่ส่วนใหญ่ยงั ยากจน ความไม่พร้อมและความด้อยพัฒนาทําให้มีปัญหาทังทางด้าน
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมตามมาอย่างมาก

กิจกรรม 15.1.2 ปั ญหาทีสําคัญทีสุดของสังคมโลกในปัจจุบนั คือปัญหาใด


* ปั ญหาทีสําคัญทีสุดของสังคมโลกในปั จจุบนั คือ ปั ญหาความแปลกแยก ซึงเป็ นสาเหตุของปั ญหาอืนๆ ทีติดตามมาอีกมากมาย
เช่น ปั ญหาอาชญากรรม ปั ญหายาเสพติด เป็ นต้น

ตอนที 15.2 นโยบายของไทยในสังคมโลก


1. สังคมโลกเป็ นสังคมทีมีความเจริ ญก้าวหน้า มันคงและสงบสุข รู ปแบบของสังคมโลกทีพึงปรารถนา คือ การมีสหพันธ์รัฐโลก
การใช้กลไกระหว่างชาติช่วยจัดระเบียบโลก และการให้มีสังคมโลกทีเป็ นอันหนึงอันเดียวกัน
2. การกําหนดนโยบายต่างประเทศของไทยสมัยก่อนการเปลียนแปลงการปกครองแผ่นดินอยูท่ ีผูน้ าํ และข้าราชบริ พารใกล้ชิด แต่
พอหลังการเปลียนแปลงการปกครองแผ่นดินการกําหนดนโยบายต่างประเทศของไทยขึนอยูก่ บั ปัจจัยหลายประการ

กิจกรรม 15.2.1 รู ปแบบในอนาคตของสังคมโลกแตกต่างกันไปหลายรู ปกบบ แต่พอจะสรุ ปได้อย่างกว้างๆ 3 รู ปแบบ คืออะไร


* 1. สังคมโลในรู ปแบบทีมีรัฐบาลสหพันธรัฐโลก
2. สังคมโลกในรู ปแบบทีใช้กลไกระหว่างชาติช่วยจัดระเบียบ หรื อทีรู ้จกั กันทัวไปว่าขบวนการสร้างสันติภาพในโลกโดยผ่าน
กฏหมายโลก
3. รู ปแบบของสังคมโลกทีมุง่ ให้สังคมโลกมีลกั ษณะเป็ นอันหนึงอันเดียวกัน

กิจกรรม 15.2.2 ปัจจัยสําคัญทีกําหนดนโยบายต่างประเทศของไทยมีอะไรบ้าง


* ปั จจัยสําคัญทีกําหนดนโยบายต่างประเทศของไทย ได้แก่
1. ผลประโยชน์ของชาติ
2. การเมืองระหว่างประเทศ
3. การเมืองภายในประเทศ
4. ระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
5. ผูก้ าํ หนดนโยบายระหว่างประเทศ
- 36 -

ตอนที 15.3 อนาคตไทยในสังคมโลก


1. โลกปั จจุบนั ก้าวเข้าสู่ยคุ โลกาภิวตั น์เนืองจากอิทธิพลของความเจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาการด้านการสื อสารโทรคมนาคม และ
เทคโนโลยีสารสนเทศทีมีเครื อขายโยงใยไปทัวโลก ทําให้สงั คมเป็ นสังคมแห่งข่าวสารข้อมูล และโลกได้ถูกหลอมเป็ นหนึงเดียวกันไร้ซึง
พรมแดน
2. สังคมไทยในอนาคตมีลกั ษณะเป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ คือ ต้องรู ้เท่าทันโลกภายนอก ต้องมีการแข่งขัน และมีการร่ วมมือกัน
เพือเป้ าหมายการสร้างสังคมไทยทีพึงประสงค์ในอนาคต
3. ทิศทางในอนาคตของประเทศไทยเป็ นการตอบสนองต่อสภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวิทยาการของโลก โลกอนาคตมี
ความเกียวพันกันอย่างใกล้ชิดทังในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการสื อสารโทรคมนาคม การค้าเสรี จะเป็ นไปอย่างกว้างขวาง

กิจกรรม 15.3.1 วัฒนธรรมบริ โภคนิยมของโลกทุนนิยมแพร่ กระจายไปสู่ทวโลกมากขึ


ั นโดยทางใด
* วัฒนธรรมบริ โภคของโลกทุนนิยมแพร่ กระจายไปสู่ทวโลกมากขึ
ั น โดยไหลผ่านทางสื อมวลชนประเภทต่างๆ โดยเฉพาะอย่าง
ยิงโทรทัศน์ทีส่งผ่านดาวเทียมหรื อใยแก้ว และผ่านการสื อสารอิเล็กทรอนิกส์อืนๆ ได้แก่ อินเทอร์เน็ต เป็ นต้น

กิจกรรม 15.3.2 แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคต ต้องมีการพัฒนาทางด้านใดควบคูก่ นั ไปด้วย


* การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในอนาคตต้องมีการพัฒนาให้สอดคล้อมกับวิถีชีวิตของชุมชน สังคม และวัฒนธรรม ไม่ทาํ ลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมด้วยถึงจะเป็ นการพัฒนาทีจีรังยังยืน

กิจกรรม 15.3.3 นโยบายของไทยในการเปิ ดประเทศเสรี ทางการค้ามากขึนในอนาคต หมายถึงอะไร


* นโยบายของไทยในการเปิ ดประเทศให้เสรี ทางการค้ามากขึน หมายความว่า จะเกิดความสะดวกทังต่อคนไทยทีจะเคลือนย้าย
การลงทุน การเดินทาง และการรับเทคโนโลยีระดับระหว่างประเทศ และทังต่อคนต่างประเทศ (โดยเฉพาะประเทศในกลุ่มเขตการค้า) ที
จะลงทุน เดินทางมาประกอบอาชีพ หรื อท่องเทียวในประเทศไทยมากขึน

You might also like